Blpd Newsletter Volume 71

Page 1

BLPD Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 71 เดือน กันยำยน 2557 BLPD Article : DNA คือ อะไร...ตรวจ DNA BLPD Corner : การใช้ งานฟังก์ ชั่นใน MS Excel

เปิ ดประตูสู่ อาเซียน : E-learning กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

ข่ าววิทยาศาสตร์ : ส่ งดาวเทียมโคจรรอบดาวอังคาร

Q & A : ปั ญหาการรบกวนการวิเคราะห์ ด้วยเทคนิค ICP-MS แนะนาหลักสู ตร : Flame Atomic Absorption Spectroscopy

โปรดส่งข้อคิดเห็น คำแนะนำหรือคำถำมที่ blpd@dss.go.th โทร. 02-2017425 โทรสำร 02-2017429 หำกต้องกำรยกเลิกกำรรับข่ำวสำร กรุณำแจ้งที่ blpd@dss.go.th ข้อมูลเพิ่มเติม http://blpd.dss.go.th/


สวัสดีเดือนที่ฝนตกเกือบทุกวัน รักษาสุขภาพ เดินทางไปไหน ระมัดระวังกันด้วยนะคะ บางคนอาจจะเบื่อที่ ฝนตก ถ้าลองคิดในแง่ดี แล้ว ธรรมชาติก็ยังคง หมุนเวียนไป ท่าให้ชุ่มฉ่​่า ขอให้คิดในสิ่งที่ดี ไม่ว่าจะท่างาน หรือ ท่า อะไรก็ขอให้มีสติ ท่าอะไรก็จะมีความสุข นอกจากที่ตัวเองมีความสุขแล้ว ก็อย่าลืมแบ่งปันน่าใจให้กับคนรอบข้างด้วย นะคะ และสิ่งที่ พศ. อยากแบ่งปัน คือการถ่ายทอดความรู้ ซึ่งตอนนี ทางส่านักฯ ได้จัดท่าแผนการฝึกอบรมประจ่าปี งบประมาณ 2558 เสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนฝึกอบรม สมัคร ออนไลน์ ได้ตังแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557 ได้ที่ http://blpd.dss.go.th/registeronline/ ข้าถึงข้อมูลในส่านักฯ ได้ที่ http://blpd.dss.go.th/ และส่าหรับฝึกอบรมผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้าถึง ที่ http://www.e-learning.dss.go.th/ พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ

หลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น Q001 Q004

สถิติส่าหรับงานวิเคราะห์ทดสอบ ข้อก่าหนด ISO/IEC 17025

21-22 ต.ค. 57 30-31 ต.ค. 57

สถำนที่อบรม อำคำรสถำนศึกษำเคมีปฏิบัติ กรมวิทยำศำสตร์บริกำร รายละเอียดเพิ่มเติม และสมัครออนไลน์ได้ที่ http://blpd.dss.go.th/ ติดต่อสอบถาม : คุณจรวยพร แดงจิ๋ว โทรศัพท์ : 087 095 7475 0 2201 7460, 094 336 3455 2 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 1 เ ดื อ น กั น ย ำ ย น 2 5 5 7


BLPD Corner : กำรใช้งำนฟังก์ชั่นใน MS Excel เรียบเรียงโดย ลัดดาวัลย์ เยียดยัด

ตอนที่ 1 : SUM, SUMIF และ SUMIFS ใน MS Excel มีฟังก์ชั่นในการค่านวณหลากหลาย มีทังฟังก์ชั่นง่ายๆ เช่น การนับจ่านวน การหาผลรวม ไป จนถึงฟังก์ชั่นขันสูง เช่น ฟังก์ชั่นทางสถิติ การเงิน คณิตศาสตร์ ในบทความนีจะให้ความรู้เรื่องการใช้งานฟังก์ชั่นที่ ใช้งานทั่วไป เหมาะส่าหรับการค่านวณเบืองต้น และสามารถ น่าไปประยุกต์ใช้งานได้ ส่าหรับตอนที่ 1 จะเริ่มต้นจาก ฟังก์ชั่นการหาผลรวม ซึ่งใน MS Excel จะใช้ฟังก์ชั่น SUM ในฟังก์ชั่นนีมี 3 รูปแบบ ได้แก่ SUM (การหาผลรวม) เช่น ผลรวมของยอดขายสินค้าทังหมด, SUMIF (การหาผลรวม แบบมีเงื่อนไข) เช่น ผลรวมของยอดขายสินค้าแยกตาม ประเภทสินค้า และ SUMIFS (การหาผลรวมแบบมีหลาย เงื่อนไข) เช่น ผลรวมของยอดขายสินค้าแยกตามประเภท สินค้า และแยกตามภูมิภาค ซึ่งแต่ละรูปแบบมีวิธีการใช้งาน ดังนี SUM (กำรหำผลรวม) เป็นการหาผลรวมตัวเลข ทังหมดที่ระบุ ซึ่งสามารถระบุเป็นช่วงของเซลล์ อาร์เรย์ ค่าคงที่ สูตร หรือผลลัพธ์จากฟังก์ชั่นอื่น ตัวอย่าง เช่น SUM(A1:A5) หาผลรวมของตัวเลข ทังหมดในช่วงเซลล์ A1 ถึง A5 SUM(A1, A3, A5) หา ผลรวมของตัวเลขในเซลล์ A1, A3 และ A5 รูปแบบ SUM(number1, [number2], …) number1 (ต้องระบุ) ตัวเลขตัวแรกที่ต้องการบวก เข้าด้วยกัน number2,,... (ระบุหรือไม่ก็ได้) ตัวเลขตัวที่ 2 ถึง 255 ที่ต้องการบวกเข้าด้วยกัน BLPD NEWSLETTER

หมายเหตุ 1. แต่ละเซลล์ใน sum_range จะถูก น่ามารวมเฉพาะเมื่อตรงกับเงื่อนไขที่ระบุทังหมด 2. เซลล์ใน sum_range ที่มีค่าเป็น TRUE จะมีค่า เป็น 1 ขณะที่เซลล์ใน sum_range ที่มีค่าเป็น FALSE จะมี ค่าเป็น 0 (ศูนย์) 3. criteria_range จะต้องมีจ่านวนแถวและคอลัมน์ เท่ากับ sum_range 4. สามารถใช้อักขระตัวแทน เครื่องหมายค่าถาม (?) และเครื่องหมายดอกจัน (*) ในเงื่อนไขได้ เครื่องหมาย ค่าถามใช้แทนอักขระหนึ่งตัว เครื่องหมายดอกจันใช้แทน อักขระมากกว่าหนึ่งตัว ถ้าต้องการค้นหาเครื่องหมายค่าถาม หรือเครื่องหมายดอกจันจริงๆ ให้พิมพ์เครื่องหมายตัวหนอน (~) หน้าอักขระ ตัวอย่ำง

SUMIF (กำรหำผลรวมแบบมีเงื่อนไข) เป็นการหาผลรวมของค่าต่างๆ ในช่วงเซลล์ที่ เป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุ ตัวอย่าง เช่น SUMIF (B2:B25,">5") หาผลรวมเฉพาะค่าที่มากกว่า 5 ในช่วงเซลล์ B1 ถึง B25 SUMIF(B2:B5, "John", C2:C5) หาผลรวมเฉพาะ ค่าในช่วงเซลล์ C2 ถึง C5 โดยเซลล์ที่ตรงกันในช่วง B2 ถึง B5 มีค่าเท่ากับ "John" อ่ำนต่อหน้ำที่ 4 ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 1 เ ดื อ น กั น ย ำ ย น 2 5 5 7 | 3


รูปแบบ SUMIF(range, criteria, [sum_range]) range (ต้องระบุ) ช่วงของเซลล์ที่ต้องการให้ทดสอบ ตามเงื่อนไข เซลล์ในแต่ละช่วงอาจเป็นตัวเลขหรือชื่อ อาเรย์ หรือการอ้างอิงเซลล์ที่มีค่าเป็นตัวเลข ค่าว่างและข้อความจะ ถูกละเว้น criteria (ต้องระบุ) เงื่อนไขสามารถอยู่ในรูปแบบของ ตัวเลข นิพจน์ การอ้างอิงเซลล์ ข้อความ หรือฟังก์ชั่น ตัวอย่างเช่น 32, ">32", B5, 32, "32", "apples" หรือ TODAY() หมายเหตุ เงื่อนไขที่เป็นข้อความหรือเงื่อนไขที่มี สัญลักษณ์ทางตรรกะหรือทางคณิตศาสตร์ต้องอยู่ใน เครื่องหมายอัญประกาศ (") sum_range (ระบุหรือไม่ก็ได้) เป็นช่วงเซลล์จริง (ที่ต้องการหาผลรวม) นอกเหนือจากที่ระบุไว้ใน range หาก ไม่ได้ระบุ sum_range ไว้ Excel จะใช้ range แทน หมายเหตุ sum_range ไม่จ่าเป็นต้องมีขนาด เดียวกับ range โดย Excel จะก่าหนดเซลล์บนซ้ายสุดใน sum_range เป็นเซลล์เริ่มต้น แล้วจึงหาผลรวมของเซลล์ที่มี ขนาดสอดคล้องกับ range ตัวอย่าง

sum_range (ต้องระบุ) ช่วงของเซลล์ที่ต้องการหา ผลรวม ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขหรือชื่อ อาเรย์ หรือการอ้างอิง เซลล์ที่มีค่าเป็นตัวเลข ค่าว่างและข้อความจะถูกละเว้น criteria_range1 (ต้องระบุ) ช่วงของเซลล์ที่ต้องการ ให้ทดสอบเงื่อนไข criteria 1 (ต้องระบุ) เงื่อนไขสามารถอยู่ในรูปแบบ ของตัวเลข นิพจน์ การอ้างอิงเซลล์ ข้อความใน criteria_range1 ตัวอย่างเช่น เงื่อนไขอาจแสดงเป็น 32, "32", ">32", "แอปเปิ้ล", หรือ B4 criteria_range2, criteria2, … (ระบุหรือไม่ก็ได้) ช่วงของเซลล์ที่ต้องการให้ทดสอบเงื่อนไขเพิ่มเติมและเงื่อนไข ที่สัมพันธ์กัน ซึ่งสามารถสร้างได้ถึง 127 เงื่อนไขหมายเหตุ 1. แต่ละเซลล์ใน sum_range จะถูกน่ามารวมเฉพาะเมื่อตรงกับ เงื่อนไขที่ระบุทังหมด 2. เซลล์ใน sum_range ที่มีค่าเป็น TRUE จะมีค่า เป็น 1 ขณะที่เซลล์ใน sum_range ที่มีค่าเป็น FALSE จะมี ค่าเป็น 0 (ศูนย์) 3. criteria_range จะต้องมีจ่านวนแถวและคอลัมน์ เท่ากับ sum_range 4. สามารถใช้อักขระตัวแทน เครื่องหมายค่าถาม (?) และเครื่องหมายดอกจัน (*) ในเงื่อนไขได้ เครื่องหมาย ค่าถามใช้แทนอักขระหนึ่งตัว เครื่องหมายดอกจันใช้แทน อักขระมากกว่าหนึ่งตัว ถ้าต้องการค้นหาเครื่องหมายค่าถาม SUMIFS (กำรหำผลรวมแบบมีหลำยเงื่อนไข) เป็น หรือเครื่องหมายดอกจันจริงๆ ให้พิมพ์เครื่องหมายตัวหนอน การหาผลรวมของค่าต่างๆ ที่ตรงกับเงื่อนไขที่ได้ระบุไว้ โดย (~) หน้าอักขระ สามารถระบุได้หลายเงื่อนไข ตัวอย่าง ตัวอย่างเช่น SUMIFS(A1:A20, B1:B20, ">0", C1:C20, "<10") ผลรวมค่าต่างๆ ในช่วงเซลล์ A1 ถึง A20 เมื่อเซลล์ที่ตรงกันใน B1 ถึง B20 มีค่ามากกว่าศูนย์ (0) และ จ่านวนที่ตรงกันในเซลล์ C1 ถึง C20 มีค่าน้อยกว่า 10 รูปแบบ SUMIFS(sum_range, criteria_range1, criteria1, ที่มำ : http://office.microsoft.com/th-th/excel-help/ HA102752944.aspx?CTT=1 [criteria_range2, criteria2], …) 4 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 1 เ ดื อ น กั น ย ำ ย น 2 5 5 7


BLPD Article : DNA คือ อะไร...ตรวจ DNA กันไปทำไม เรียบเรียงโดย จุฑำมำศ ภูมิภำค

ควำมหลังครั้งก่อน DNA ถูกค้นพบครังแรกโดยนักเคมีชาวสวิสชื่อ ฟรีดริช มีเชอร์ (Johann Friedrich Miecher) เมื่อปี ค.ศ. 1869 (เมื่อ 145 ปีที่แล้ว) ต่อมา เจมส์ วัตสัน (James Dewey Watson) นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน และ ฟรานซิส คริก (Francis Harry Compton Crick) นักอณูชีววิทยาชาวอังกฤษ ได้ค้บพบโครงสร้างของ DNA และสร้าง แบบจำลองโครงสร้ำงของ DNA (DNA Structure Model) ทังคู่ได้รับ รางวัลโนเบลสาขาการแพทย์หรือสรีรวิทยาในปี ค.ศ. 1962 ซึ่งนับเป็น จุดเริ่มต้นของยุคเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ (DNA Technology)

What is DNA ? ดีเอ็นเอ (DNA) หรือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic acid) เป็นสาร พันธุกรรมที่อยู่ในเซลล์เนือเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น เม็ดเลือดขาว ตัวอสุจิ กระดูก กล้ามเนือ เยื่อบุกระพุ้งแก้ม DNA เกิดจากการผสมผสานระหว่างครึ่งหนึ่งของ DNA ของพ่อ และแม่ (Parent) ซึ่งสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลาน (Offspring) ได้ทังสีผม หน้าตา แขน ขา ใบหู

กำรตรวจ DNA การตรวจ DNA โดยทั่วไปมีวัตถุประสงค์ 2 อย่าง คือ การตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายโลหิต และการตรวจ DNA ทางนิติเวช กำรตรวจพิสูจน์ควำมสัมพันธ์ทำงสำยโลหิต 1. การตรวจดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์ความเป็นบิดา 2. การตรวจดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์ความเป็นมารดา 3. การตรวจดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์ความเป็นพี่น้อง 4. การตรวจดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์ความเป็นฝาแฝด 5. การตรวจดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์ทารกในครรภ์ 6. การตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์ความเป็นปู่ ย่า ตา ยาย 7. การตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์ความเป็นลุง ป้า น้า อา กำรตรวจ DNA ทำงนิติเวช 1. การตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล (Identification) ในกรณีศพนิรนาม หรือ บุคคลสูญหาย เพื่อพิสูจน์ว่า ผู้ตาย คือใคร หรือตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายโลหิตระหว่างผู้ตายกับญาติที่มาติดต่อขอรับศพ 2.การตรวจพิสูจน์ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันระหว่างวัตถุพยานต่างๆ เช่น คราบเลือด คราบอสุจิ เส้นผม เส้นขน ชินส่วนเนือเยื่อ ที่พบติดบนร่างกายของผู้เสียหาย ผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้กระท่าความผิด หรือพบในบริเวณสถานที่เกิดเหตุ อ่ำนต่อหน้ำที่ 9 BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 1 เ ดื อ น กั น ย ำ ย น 2 5 5 7 | 5


ข่ำววิทยำศำสตร์: ส่งดาวเทียมโคจรรอบดาวอังคาร เรียบเรียงโดย ปวิน งามเลิศ

ประเทศอิ น เดี ย ประสบความส่ า เร็ จ กั บ ภารกิ จ การส่ ง ดาวเที ย มโคจรรอบดาวอั ง คาร หรื อ Mars Orbiter Mission (MOM) โดยดาวเที ย ม Mangalyaan (แปลว่ า Mars Craft ใน ภาษาฮินดี) ได้เดินทางเข้าสู่ต่าแหน่งที่ก่าหนดไว้บนวงโคจรรอบ ดาวอังคารได้อย่างราบรื่นในวันที่ 24 กันยายน 2557 และได้ส่ง ภาพถ่ายทางอวกาศภาพแรกของพืนผิวดาวอังคารจากความสู ง 7,300 กิโลเมตร ระยะของภาพ 376 เมตร มายังโลก หลังจากได้มี ภำพที่ 2 a) การบรรจุดาวเทียม Mangkalayaan ในยาน การปล่อยยานอวกาศ Polar Satellite Launch Vehicle (PSLV อวกาศ PSLV-C25 ที่มา : http://www.isro.gov.in C25) ซึ่ ง บรรจุ ด าวเที ย มส่ า รวจนี ขึ นสู่ อ วกาศเมื่ อ วั น ที่ 5 พฤศจิ ก ายน 2556 ณ ฐานปล่ อ ยจรวด the Satish Dhawan Space Centre เมื อ ง Sriharikota จั ง หวั ด Andhra Pradesh ภายใต้การด่าเนินการของ Indian Space Research Organization (ISRO) โครงการนีใช้งบประมาณไป 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 2,400 ล้านบาท ซึ่งน้อยกว่าการใช้งบประมาณของ NASA เกือบสิบเท่า และเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ครังนีนับเป็น ความส่าเร็ จอีกก้าวหนึ่งของโครงการวิจัย ด้านอวกาศ ในการส่ ง ภำพที่ 2 b) ดาวเทียม Mangkalayaan เมื่อเข้าสู่วงโคจร ดาวเทียมเพื่อการพาณิชย์ การน่าร่อง และการวิจัยของอินเดีย ... ของดาวอังคาร ที่มา : https://www.facebook.com/ ท่านสามารถอ่านข่าวเพิ่มเติมและติดตามภารกิจการส่ารวจดาว isromom อั ง ค า ร ข อ ง ด า ว เ ที ย ม Mangkalayaan ไ ด้ ที่ http:// www.isro.gov.in แ ล ะ https://www.facebook.com/ isromom

ภำพที่ 1 การปล่อยยานอวกาศ PSLV-C25 ซึ่งบรรจุดาวเทียม Mangkalayaan เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2556 ที่มา : http://www.isro.gov.in 6 |BLPD NEWSLETTER

ภำพที่ 3 ภาพถ่ายทางอวกาศภาพแรกของพืนผิวดาวอังคารจาก ความสูง 7,300 กิโลเมตร ระยะของภาพ 376 เมตร เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2557 ที่มา : http://www.isro.gov.in

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 1 เ ดื อ น กั น ย ำ ย น 2 5 5 7


Q & A : ปัญหาการรบกวนการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค ICP-MS เรียบเรียงโดย นพเก้า เอกอุ่น

ถาม ปัญหาการรบกวนการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค ICP-MS ที่พบบ่อยมีอะไรบ้าง และแก้ปัญหานันอย่างไร ตอบ 1. การรบกวนทางสเปกตรัม (spectral interferences) โดยการซ้อนทับกันของสเปกตรัม อาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น การเกิดการรวมตัวกันของไอออน 2 ตัวขึนไป (polyatomic interference) เกิดจากธาตุที่เกิดไอออไนเซชันในล่าดับที่ สูงขึนท่าให้ได้อัตราส่วนมวลต่อประจุที่ครึ่งหนึ่งของมวลอะตอม (doubly charged interference) และการเกิดจาก อะตอมของธาตุต่างชนิดกันที่มีเลขมวลเท่ากัน (isobaric interference) กำรแก้ไขปัญหำนี้ อำจทำได้โดยกำรกำจัดสำรที่ ก่อกำรรบกวนกำรวิเครำะห์ออกไป เช่น กำรตกตะกอน กำรแยกสำร หรืออำจใช้สมกำรทำงคณิตศำสตร์เพื่อหักล้างการ รบกวน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีพลาสมาเย็น (cool/cold plasma) การใช้เทคโนโลยี collision/reaction cells ซึ่งเป็น เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการใช้หน่วยวิเคราะห์ไอออนที่มีประสิทธิภาพสูง 2. การรบกวนจากสารอื่นในตัวอย่าง (matrix interferences) ซึ่งสารอื่นในตัวอย่างอาจท่าให้สัญญาณการ วิเคราะห์เพิ่มขึนหรือลดลง โดยมากจะท่าให้สัญญาณลดลง สารอื่นในตัวอย่างนีอาจมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการ ส่งผ่านของสารตัวอย่างเข้าสู่พลาสมา หรือส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของพลาสมาได้ กำรแก้ปัญหำนี้คือ วิธีการ เติมสารมาตรฐานภายใน (internal standardization) ท่าได้โดยเติมสารมาตรฐานซึ่งเป็นธาตุคนละตัวกับธาตุที่ก่าลังจะ วิเคราะห์ ในปริมาณที่เท่าๆ กันทังในสารละลายตัวอย่าง และสารละลายมาตรฐาน รวมถึงใน reagent blanks ด้วย เพื่อวัด ค่าอัตราส่วนของสัญญาณที่ได้เทียบกับสาร internal standard 3. การรบกวนประเภท space-charge interference ซึ่งมักเกิดกับการวิเคราะห์ธาตุที่มีมวลน้อยๆ ในตัวอย่างที่มี ธาตุมวลสูงปนอยู่ในปริมาณมาก โดยไอออนของธาตุที่มีมวลสูงนีจะผลักไอออนของธาตุที่มีมวลน้อยกว่าซึ่งคือธาตุที่ต้องการ วิเคราะห์ให้ออกจากแนวกลางของล่าไอออน ท่าให้สัญญาณที่วัดได้น้อยกว่าความเป็นจริง กำรแก้ปัญหำคือ วิธีการเติมสาร มาตรฐานภายใน หรือการปรับศักย์ไฟฟ้าที่เลนส์ของระบบ ion optics ให้มีค่าเหมาะสม เพื่อบังคับการเคลื่อนที่ไอออนของ ธาตุที่วิเคราะห์ให้สามารถเดินทางผ่านไปยังหน่วยตรวจประมวลผลได้ 4. การเกิดการสะสมของเกลือ (salt build-up) ท่าให้เกิดการกีดขวางบริเวณ sampler cone สามารถแก้ไขโดย การเจือจางสารตัวอย่างให้มีปริมาณ total dissolved solid น้อยกว่า 0.1% หรืออาจใช้เทคนิค flow injection ในการน่า ตัวอย่างเข้าสู่ระบบการวิเคราะห์เพื่อลดปริมาณการน่าเข้าของสารตัวอย่าง หรือการเตรียมตัวอย่างด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อ ก่าจัดสารอื่นในตัวอย่างก่อนการวิเคราะห์ เอกสารอ้างอิง รศ. แม้ น อมรสิทธิ์ และคณะ. หลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่ องมือ (Principles and Techniques of Instrumental Analysis Spectroscopy). พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : บริ ษัท ชวนพิมพ์ 50 จากัด, 2552. BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 1 เ ดื อ น กั น ย ำ ย น 2 5 5 7 | 7


เปิดประตูสู่อาเซียน : E-learning กับกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ เพื่อเข้ำสู่ประชำคมอำเซียน เรียบเรียงโดย อารีย์ คชฤทธิ์

ประชาคมสังคม และวัฒนธรรม เป็นเสาหลักที่ส่าคัญ ของการสร้างประชาคมอาเซียน ซึ่งครอบคลุมทังเรื่องของการ พั ฒ นาคน สวั ส ดิ ก ารสั ง คม ความยุ ติ ธ รรมในสั ง คม การ สร้างอัตลักษณ์ของอาเซียน การลดช่องว่างระหว่างกัน และ การอยู่ ใ นสภาพแวดล้ อ มที่ ดีอ ย่ า งยั่ งยื น มีเ ป้ า หมายหลั ก ๆ ความร่ ว มมือ ตามกฎบั ตรอาเซีย น ในหมวดที่ ห นึ่ง ว่า ด้ว ย วัตถุประสงค์ และหลักการของของอาเซียน ดังนี 1.เพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น เพื่ อ ท่ า ให้ แน่ใจว่าในภูมิภาคมีการคุ้มครองสภาพแวดล้อม ความยั่งยืน ของทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และ คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน 2. เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยผ่านความร่วมมือที่ ใกล้ชิดยิ่งขึนในด้านการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเสริมสร้างพลังประชาชนและ เสริมสร้างความเข้มแข็งแห่งประชาคมอาเซียน

มรดกของภูมิภาคยิ่งขึน(1) จะเห็ น ได้ ว่ า การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ด้ า น การศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นวัตถุประสงค์หลักข้อ หนึ่ ง ที่ ต้ อ งด่ า เนิ น การ เพื่ อ การเตรี ย มพร้ อ มในการเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียน ทังปัจจุบันนีมีการพัฒ นาเทคโนโลยีการ สื่อสารแบบไร้สาย (Wireless) เพิ่มมากขึน และมีการพัฒนา อย่างรวดเร็ว ที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ โทรศัพท์มือถือ ท่าให้ รูปแบบ การศึกษาหาความรู้ได้รับการพัฒนา ตามไปด้ ว ย จึ ง เกิ ด การเรี ย นผ่ า น อุปกรณ์ เคลื่ อนที่แบบไร้ส ายต่ างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ แบบพกพา (Notebook) , ไอแพด (iPad) หรื อ แท๊ บ เล็ ต (Tablet) หรือที่เรียกว่าการเรียนแบบ Mobile learning หรือ M-learning

ส่านักพัฒนาศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ 3. เพื่อเพิ่มพูนความเป็นอยู่ที่ดีและการด่ารงชีวิตของ ประชาชนอาเซียนด้วยการให้ประชาชน มีโอกาสที่ทัดเทียมกัน กรมวิทยาศาสตร์บริการ ได้ให้บริการฝึกอบรมหลักสูตรด้าน ในการเข้ าถึ งการพัฒ นามนุ ษย์ สวั ส ดิ การสั งคม และความ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และ ยุติธรรม การเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ของ 4. เพื่อส่งเสริมอาเซียนที่ประชาชนเป็นศูนย์กลางใน ประชาชนในภูมิภาคอาเซียน ทุกภาคส่ ว นของสั งคม ได้ รั บ การส่ ง เสริ ม ให้ มี ส่ ว นร่ ว มและ บรรณานุกรม ได้ รั บ ผลประโยชน์ จ ากกระบวนการรวมตั ว และการสร้ า ง ประชาคมอาเซียน อาเซียน รู้ไว้ได้เปรียบแน่, สุรินทร์ พิศสุวรรณ, สุกัญญา มกราวุธ, พิมพ์ครังที่ 4 กรุงเทพฯ ส่านักพิมพ์ 5. เพื่อส่ ง เสริ ม อัตลั ก ษณ์ของอาเซีย นโดยผ่ า นการ อมรินทร์พรินติงแอนพับลิชชิ่ง, 2555, หน้า 130 ส่งเสริมความส่านึกถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและ 8 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 1 เ ดื อ น กั น ย ำ ย น 2 5 5 7


แนะนาหลักสูตร : Flame Atomic Absorption Spectroscopy (FAAS) เรียบเรียงโดย ดลยา สุขปิติ

เทคนิคอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรสโคปี (Atomic Absorption Spectroscopy, AAS) เป็นเทคนิคการ วิเคราะห์ธาตุอย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถวิเคราะห์ได้ทังเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ที่ได้รับความนิยมมากวิธี หนึ่ง เพราะเป็นเทคนิคที่ให้ความเที่ยง ความแม่น มีสภาพไวสูงและเป็นเทคนิคที่มีความเฉพาะดีมาก ประกอบกับค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ไม่สูงนัก ดังนันห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ โดยทั่วไปจะมีเครื่อง อะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรโฟโตมิเตอร์อยู่ด้วยเสมอความสามารถของเทคนิคนีสูงมาก เพราะ สามารถใช้วิเคราะห์ธาตุต่างๆ ได้ถึง 67 ธาตุ ซึ่งนับว่ามากพอควรส่าหรับเครื่องมือเพียงอย่างเดียวท่าให้การใช้งานเป็นไปอย่าง มีประสิทธภาพ ส่านักฯ จึงได้พัฒนาหลักสูตร Flame Atomic Absorption Spectroscopy (FAAS) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการของเครื่อง AAS และเสริมทักษะการใช้และดูแลรักษาเครื่องมือ ผู้เรียนสามารถน่าไป ประยุกต์ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (e-learning) และ m-learning ได้ ทังนี smart phone หรือ tablet ต้องมีคุณสมบัติดังนีne หรือ Tabet ที่เหมาะสมในกา 1. ระบบปฏิบัติการ Android ที่รองรับ: Android 4.0 ขึนไป เปิดด้วย Firefox 2. ระบบปฏิบัติการ iOS ที่รองรับ: iOS 6 ขึนไป เปิดด้วย Safari 3. ระบบปฏิบัติการ Windows Phone ที่รองรับ: ตังแต่ 8 ขึนไป เปิดด้วย Internet Explorer 10 หรือสูงกว่า ** สามารถลงทะเบียนและเรียนได้ฟรี ที่ http://www.e-learning.dss.go.th/

DNA คือ อะไร (ต่อจำกหน้ำที่ 5) เทคนิควิธีกำรตรวจ DNA ที่มีในปัจจุบัน 1. การตรวจลายพิมพ์ DNA (DNA Fingerprint) คือ การ สกัดสาร DNA จากนิวเคลียสของเซลล์ ซึ่งวิธีการนีสามารถ ตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายโลหิตระหว่างบุคคลในการ เป็น บิดา-มารดา-บุตร 2. การตรวจสารพันธุกรรม DNA ที่อยู่ในไมโตคอนเดรีย ของเซลล์ (Mitochondrial DNA) คือ การสกัดสาร DNA จากส่วนองค์ประกอบย่อยของเซลล์ที่มีชื่อว่า ไมโตคอนเดรีย ซึ่งเทคนิควิธีการตรวจแบบนีสามารถใช้ตรวจเพื่อพิสูจน์ ความสัมพันธ์ทางสายโลหิตระหว่างบุคคลที่สืบสายพันธุ์มา จากมารดาเดียวกัน เช่น พี่-น้อง ร่วมมารดาเดียวกัน ลูกพี่ลูกน้อง ที่มีมารดาเป็นพี่สาว-น้องสาว ที่ถือก่าเนิดจากยายคน เดียวกัน BLPD NEWSLETTER

3. การตรวจสารพันธุกรรมในโครโมโซมเพศชาย (Y-STR) อ้ำงอิง http://www.365haber.org/2014/08/29/kanser-dnayaiz-birakiyor/ http://www.changsunha.com/recreate/ deoxyribonucleic-acid-dna-check/ http://www.dnathailand.com/service.html http://www.goosiam.com/health/ html/0002179.html http://www.isnhotnews.com/2010/09/อย่าตกเทรนด์ตรวจ-dna-คืออะ/ http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx? ID=2142 ปี ที่ 6 ฉ บั บ ที่ 7 1 เ ดื อ น กั น ย ำ ย น 2 5 5 7 | 9


สานักพัฒนาศักยภาพ นักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์บริการ อาคารสถานศึกษาเคมีปฏิบัติ 75/7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 Phone: 0 2201 7425

ที่ปรึกษำ ดร. จันทร์เพ็ญ เมฆำอภิรักษ์ บรรณำธิกำร นำงสำวปัทมำ นพรัตน์ กองบรรณำธิกำร นำงชุติมำ วิไลพันธ์ นำงอำรีย์ คชฤทธิ์

Fax: 0 2201 7429 E-mail: blpd@dss.go.th

http://blpd.dss.go.th : http://www.e-learning.dss.go.th

โปรดส่งข้อคิดเห็น คำแนะนำหรือคำถำมที่ blpd@dss.go.th โทร. 02-2017425 โทรสำร 02-2017429 หำกต้องกำรยกเลิกกำรรับข่ำวสำร กรุณำแจ้งที่ blpd@dss.go.th ข้อมูลเพิ่มเติม http://blpd.dss.go.th/


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.