Blpd Newsletter Volume 90,June 2016

Page 1

BLPD Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 90 เดือน มิถุนำยน 2559

เปิดประตูสู่อำเซียน ตลำดอุตสำหกรรมยำนยนต์อำเซียน Q&A Log Out ออกจำก Facebook BLPD Article อำหำรคลีน (Clean Food) Science update ข่ำววิทยำศำสตร์ ตั้งชื่อธำตุใหม่ แนะนำหลักสูตร กำรวิเครำะห์คุณภำพน้ำเสีย (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) BLPD Corner Internet of Things (IoT)

โปรดส่งข้อคิดเห็น คำแนะนำหรือคำถำมที่ blpd@dss.go.th โทร. 02-2017425 โทรสำร 02-2017429 หำกต้องกำรยกเลิกกำรรับข่ำวสำร กรุณำแจ้งที่ blpd@dss.go.th ข้อมูลเพิ่มเติม http://blpd.dss.go.th/


สวัสดีสมาชิก พศ. สาร ทุกท่าน วันที่ 9 มิถุนายน 2559 นี้ เป็นวันสาคัญของชาวไทย เป็นวันที่ทุกคนพร้อมใจ กันใส่เสื้อสีเหลือง เพื่อแสดงความจงรักภักดี เนื่องในโอกาสมหามงคลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราช สมบัติครบ 70 ปี หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่างร่วมมือร่วมใจ จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยสมาชิกสามารถเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆ ได้ทางเว็บไซต์ของหน่วยงานที่จัดกิจกรรมได้เลยค่ะ สาหรับท่านใดที่สนใจ ฝึกอบรมกับทางสานักฯ ทั้งฝึกอบรมระยะสั้น และฝึกอบรมผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถเข้าดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทางเว็บไซต์ http://blpd.dss.go.th มีหลักสูตรที่ พัฒนาเพิ่มเติมขึ้นใหม่หลายหลักสูตรค่ะ

หลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น C012 Q011

การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของวิธีทางสอบเทียบ การจัดการเครื่องมือในระบบ ISO/IEC 17025

4 กรกฎาคม 2559 5 กรกฎาคม 2559

Q00 B008

การใช้ Root Cause Analysis (RCA) ในระบบคุณภาพห้องปฏิบัตกิ าร เทคนิคการใช้และการดูแลรักษาพีเอชมิเตอร์

7 กรกฎาคม 2559 8 กรกฎาคม 2559

M011

ความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการ

8 กรกฎาคม 2559

I002

การใช้ UV-VIS Spectrophotometer ในการวิเคราะห์ทดสอบ

12-15 กรกฎาคม 2559

การกาจัดของเสียอันตรายในห้องปฏิบัติการ ข้อกาหนดสาหรับการทดสอบความชานาญห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17043 Eng program GHS (Globally Harmonized System of Classification and labelling of Chemicals) Eng program Disposal of Hazardous Waste Managemen Eng program Designing and Remodeling for Safer Chemical Laboratories

13-14 กรกฎาคม 2559 26-27 กรกฎาคม 2559

B006 Q0

5-6 กรกฎาคม.2559 14-15 กรกฎาคม.2559 28-29 กรกฎาคม 2559

สถำนที่อบรม อำคำรสถำนศึกษำเคมีปฏิบัติ กรมวิทยำศำสตร์บริกำร รายละเอียดเพิ่มเติม และสมัครออนไลน์ได้ที่ http://blpd.dss.go.th/ ติดต่อสอบถาม : คุณจรวยพร แดงจิ๋ว โทรศัพท์ : 087 095 7475 0 2201 7460 2 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 9 0

เ ดื อ น

มิ ถุ น ำ ย น 2 5 5 9


BLPD Corner : Internet of Things (IoT) นวพร เลิศธาราธัต

ในโลกปัจจุบันมีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็นจานวนมาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยทาการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต กับอุปกรณ์ ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เคลื่อนที่ ต่า งๆ และนั ก พั ฒ นายั ง ประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น เครื่ อ งมื อ อั จ ฉริ ย ะ ต่ า งๆ เพิ่ ม มากขึ้ น ตั้ ง แต่ สมาร์ ท โฟน ไปจนถึ ง อุ ป กรณ์ เครื่ อ งใช้ ต่ า ง ๆ รวมทั้ ง แอปพลิ เ คชั่ น ใช้ ง าน โดยอุ ป กรณ์ จานวนมากจะใช้คาว่า Smart เพื่อสื่ อถึงความเป็ น อัจฉริยะ เ ช่ น Smart Home ห รื อ Smart Watch ซึ่ ง เ พิ่ ม ค ว า ม สะดวกสบายให้กับผู้ใช้งานมากขึ้น ลักษณะเช่นนี้ จะเรียกว่า Internet of Things (IoT) นิ ย ามของ IoT จะหมายถึ ง การที่ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ถู ก เชื่อมโยงเข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ต โดยอาศัยตัวเซ็นเซอร์ ในการ สื่อสารกัน ทาให้มนุษย์สามารถสั่งการ ควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ เช่น การสั่ งเปิ ด -ปิ ด อุป กรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้า สั่ งเปิด -ปิ ด สวิตซ์ไฟตามห้องต่าง ๆ ที่มีคนหรือไม่มีคนอยู่ การวัดปริมาณ จราจร และข้อมูลรถยนต์ขณะเคลื่อนที่ อย่างไรก็ตามแม้ IoT จะเป็นเทคโนโลยีที่มีประโยชน์ในหลายด้านแต่ก็มาพร้อมกับ ความเสี่ยง เพราะหากระบบรักษาความปลอดภัยของอุปกรณ์ และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ดีพอ ก็อาจทาให้มีผู้ไม่ประสงค์ดี เข้ามาทาสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ต่ออุปกรณ์ข้อมูลสารสนเทศหรือ ความเป็นส่วนตัวของบุคคลได้ ดังนั้น การพัฒนาไปสู่ IoT จึงมี ความจาเป็นต้องพัฒนามาตรการและเทคนิคในการรักษาความ ปลอดภัยระบบสารสนเทศควบคู่กันไปด้วย ซึ่งสามารถสรุป ข้อดีและข้อพึงระวังของ IoT ได้ ดังนี้ ประโยชน์หรือข้อดีของ IoT 1. ด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม จะช่วยเพิ่มคุณค่าให้กับ สินค้าและบริการ เช่น เทคโนโลยี Smart Home และ Smart Car หรือการได้สินค้าใหม่ ๆ ออกสู่ตลาด เช่น Smart Watch หรือในเรื่องการลดค่าใช้จ่าย เช่น การลด ใช้พลังงาน 2. ด้านการแพทย์สาธารณสุข โดยการพัฒนาเครื่องมือ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีขนาดเล็กสาหรับวัด สัญญาณชีพของผู้ป่วย-ผู้สูงอายุและส่งข้อมูลไปยัง บุคลากรทางการแพทย์ หรือส่งข้อความเรียกหน่วยกู้ชีพ หรือรถฉุกเฉิน ช่วยให้การรักษาเป็นไปได้รวดเร็วขึ้น 3.ด้านคุณภาพชีวิตและสังคม เช่น การผลักดันเทคโนโลยี BLPD NEWSLETTER

Smart City จะช่วยให้ทุกคนที่อยู่อาศัยในเมืองมีสภาพ ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีการควบคุมระบบไฟจราจร ระบบ ตรวจจับมลภาวะ ระบบตรวจสอบสาธารณูปโภคพื้นฐาน และอื่นๆ ทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความ สะดวกสบายเพิ่มขึ้น 4.ด้านแรงงาน ทาให้มีความต้องการแรงงานด้านที่ เกี่ยวกับไอทีมากขึ้น ข้อควรระวังของ IoT 1. IoT อาศัยสัญญาณอินเทอร์เน็ตในการเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์ต่าง ๆ หากสัญญาณอินเทอร์เน็ตเกิดชะงักหรือที่ เรียกว่าสัญญาณล่ม จะทาให้ไม่สามารถส่งสัญญาณควบคุมสิ่ง ต่างๆ ได้ ทาให้ระบบต่างๆ อาจเกิดการสูญเสียก่อให้เกิดความ เสียหายได้ 2.อุปกรณ์ที่เชื่อมโยงจะต้องมีการโปรแกรมข้อมูล เพื่อให้ เชื่อมโยงการทางานได้ หากมีการทางานของระบบที่ ผิดพลาดทาให้การคานวณหรือคาดการณ์ผิดพลาดจะทา ให้เกิดผลกระทบได้ เช่น การคาดการณ์การจราจร ผิดพลาด ทาให้เกิดปัญหารถติดเพิ่มมากขึ้น การแย่งที่ จอดรถเพิ่มขึ้น 3. หากมีผู้ประสงค์ร้ายพบช่องโหว่ของระบบ จะสามารถ เจาะเข้าระบบและนาข้อมูลผู้ใช้งาน หรือข้อมูลที่สาคัญต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ในทางไม่ดีได้ เว็บไซต์ IoT Analytics ได้สารวจและจัดอันดับการ ประยุกต์ใช้ Internet of Things โดยรวบรวมจากแหล่ งบน อินเตอร์เน็ตยอดนิยมหลักๆ 3 แหล่งได้แก่ สถิติการค้นหาใน Google การแชร์ บ น Twitter และจากที่ มี ค นพู ด ถึ ง บน Linkedin มีรายละเอียดดังรูปที่ 1 โดยจะขอกล่าวถึง 3 ลาดับ แรก ดังนี้

รูปที่ 1 ผลสารวจผู้ใช้งานอุปกรณ์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Latest

Update: July 16, 2015 : Ranking for Q2/2015)

ปี ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 9 0

อ่ำนต่อหน้ำที่ 4

เ ดื อ น

มิ ถุ น ำ ย น 2 5 5 9 | 3


BLPD Corner Internet of Things (IoT) (ต่อจำกหน้ำที่ 2) 3.Smart Home หรือ บ้านอัจฉริยะ คือการเชื่อมโยงและ ทาการควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ในบ้านเข้าด้วยกัน เพื่อ การตรวจสอบ ดูแลภายในบ้าน โดยสามารถเชื่อมต่อทั้ง จากภายนอกบ้านและจากภายในบ้าน เช่น การเปิด เครื่องปรับอากาศจากที่ทางานหรือระหว่างเดินทาง การ เปิด-ปิดสวิตซ์ไฟโดยการตรวจจับแสงสว่าง

1.Wearables คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ สามารถติดตั้งใช้งานบนส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพื่อความ สะดวกในการใช้งานเพราะสามารถนาติดตัวไปได้ทุกที่ โดยทางานเป็นอุปกรณ์เดี่ยวๆ หรือร่วมกับอุปกรณ์อื่น เช่น Smartphone ก็ได้ สาหรับประเทศไทยมีโฆษณา สินค้าประเภท Wearables เช่น Smart watch จาก หลายค่าย

รูปที่ 2 Smart

Watch

2.Smart City หรือ เมืองอัจฉริยะ คือ เมืองที่มีการนา เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อทาให้คุณภาพชีวิตของพลเมืองดีขึ้น มีความสะดวกสบายและเข้าถึงการบริการของเมืองนั้นได้ อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงระบบรักษาความปลอดภัยที่เพิ่มมาก ขึ้นด้วย เช่น การจัดการพลังงานไฟฟ้า การจัดการจราจร

รูปจาก

http://smarthomeenergy.co.uk/what-smart-home รูปที่ 4 Smart

Home

Internet of Thing เป็นสิ่งที่กาลังเกิดขึ้นและกาลัง มาแรงอยู่ในขณะนี้ เชื่อว่าจะมีอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเกิดขึ้นอีก จานวนมาก ข้อดีคือทาให้ผู้บริโภคได้รับประโยชน์ในสิ่งใหม่นี้ แต่ก็มีข้อที่ต้องพึงระวังดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ดังนั้นต้อง ติดตามกันว่า IoT จะออกเทคโนโลยีหรืออุปกรณ์ใดมาให้ใช้ งานกันต่อไปในอนาคต อ้างอิง

รูปจาก http://thehackernews.com/2015/07/smart-city-cyber-

attack.html รูปที่ 3 Smart

4 |BLPD NEWSLETTER

City

ปี ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 9 0

1 .http://www.bangkokgis.com/ bangkokgis_2008/system_file/-t1439539799.pdf 2. https://www.techtalkthai.com/thai-enterpriseon-internet-of-things-technology-for-businessstrategies/ 3.https://iot-analytics.com/iot-applicationranking/

เ ดื อ น

มิ ถุ น ำ ย น 2 5 5 9


แนะนำหลักสูตร : กำรวิเครำะห์คุณภำพน้ำเสีย (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) นพเก้า เอกอุ่น น้าเสียที่เกิดจากห้องปฏิบัติการหรือจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นน้าเสียที่มีการปนเปื้อนสารอินทรีย์ หรือ สาร อนินทรีย์ หากน้าเสียที่ค่าของสารปนเปื้อนดังกล่าวสูงเกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกาหนด ถูกปล่อยสู่แหล่งน้าธรรมชาติ จะ ก่อให้เกิดอันตรายเป็นสารพิษแก่ประชาชนที่อุปโภคบริโภคน้าจากแหล่งน้านั้น ดังนั้นผู้ประกอบการและผู้เกี่ยวข้อง จาเป็นต้องคานึงถึงผลกระทบนี้ จึงต้องมีการวิเคราะห์คุณภาพของน้าเสียทั้งทางกายภาพและชีวภาพให้อยู่ในค่าที่ไม่เกิน จากที่มาตรฐานหรือกฎหมายกาหนด หรือต้องมีระบบบาบัดน้าเสียก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้าต่างๆ ซึ่งมีอยู่หลาย พารามิเตอร์ด้วยกัน เช่น ค่าความเป็นกรด-ด่าง ค่าของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids, SS) ค่าของแข็งละลายน้า ทั้งหมด (Total Dissolved Solids, TDS) รวมถึงการวิเคราะห์ค่าไนโตรเจนในรูปที เค เอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN) ด้วย ทั้งนี้ การวิเคราะห์ค่าไนโตรเจนในรูปที เค เอ็น ถือเป็นส่วนที่มีความสาคัญควบคู่ไปกับการติดตามดูแล ประสิทธิภาพ ของระบบบาบัดน้าเสีย และมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมจะต้องมีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการวิเคราะห์ค่าดังกล่าวนี้ เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์ที่ถูกต้องแม่นยา และน่าเชื่อถือ กรมวิทยาศาสตร์บริการ โดยสานักฯ เปิดให้บริการฝึกอบรมหลักสูตร “การวิเคราะห์คุณภาพน้าเสีย (Total Kjeldahl Nitrogen, TKN)” โดยการฝึกอบรมมุ่งเน้นให้ผู้เข้ารับอบรมมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ สาเหตุของการปนเปื้อน และ ความสาคัญของค่า Total Kjeldahl Nitrogen, TKN รวมถึงการเตรียมตัวอย่างก่อนการวิเคราะห์ และการควบคุมคุณภาพ ผลการวิเคราะห์ ท่านที่สนใจสามารถสมัครฝึกอบรมออนไลน์ได้ที่ http://blpd.dss.go.th หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ 0 2201 7460, 0 2201 7453

BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 9 0

เ ดื อ น

มิ ถุ น ำ ย น 2 5 5 9 | 5


Q&A : Log Out ออกจาก Facebook ที่เปิดในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคนอื่น ดลยา สุขปิติ

คำถำม: หำกลืม Log Out ออกจำก Facebook ที่เปิดในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคนอื่น ต้องทำอย่ำงไรเพื่อป้องกันควำม ปลอดภัยของข้อมูล ? คำตอบ : วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่คุณใช้คอมพิวเตอร์ของคนอื่นใน การ Log In เพื่อใช้งาน Facebook และลืม Log Out ออก เมื่อเสร็จงานแล้ว ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อคุณได้ หากมีคนมาใช้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นต่อจากคุณ และนา Account ใน Facebook ของคุณไปใช้ในทางที่ผิด ให้ดำเนินกำรตำมขั้นตอนต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 คลิกที่มุมบนขวำมือของหน้ำ Facebook

ขั้นที่ 2 เลือกที่ Setting

ขั้นที่ 3 เลือกที่ Security

ขั้นที่ 4 เลือก Where You’re Logged In

ขั้นที่ 5 เลือก Where You’re Logged In อีกครั้ง

จะปรากฏจานวนเครื่องทั้งหมดที่คุณได้ Log In ล่าสุด และยังไม่ได้ Log Out โดยสังเกตได้จากเวลา Last Accessed (เข้าใช้ล่าสุด) อ่านต่อหน้า 7 6 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 9 0

เ ดื อ น

มิ ถุ น ำ ย น 2 5 5 9


Q&A Log Out ออกจาก Facebook ที่เปิดในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคนอื่น (ต่อจำกหน้ำที่ 6) ขั้นที่ 6 เลือก End Activities ที่รำยชื่อเครื่องที่คุณ ต้องกำร Log Out

ขั้นที่ 7 เมื่อคลิกที่ End Activities แล้ว รำยชื่อ ที่คุณต้องกำร Log Out จะหำยไป

ซึ่งแสดงว่าได้ทาการ Log Out ออกจากคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ แล้ว ทั้งนี้ เราควร log out ออกทุกครั้งหลังจากใช้ งานแล้ว เพื่อป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลของเรา อ้างอิงจาก http://www.techinsider.io/log-out-facebook-another-computer-device-2016-1 https://www.beartai.com/news/itnews/78544

Science update : ข่าววิทยาศาสตร์ ตั้งชื่อธาตุใหม่ อารีย์ คชฤทธิ์

เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2559 ดร.พิเชษฐ ดุรงคเวโรจน์ รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เขียนบทความลงในเฟสบุ๊ก เรื่องการตั้งชื่อธาตุซึ่งค้นพบใหม่ จานวน 4 ชนิด ในตารางธาตุลาดับที่ 113, 115, 117 และ 118 และมีการตั้งชื่อตามกติกาของสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ หรือ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) โดยชาวญี่ปุ่นเสนอชื่อธาตุใหม่ลาดับที่ 113 “นิฮอนเนียม (Nh)” ส่วนทีมรัสเซีย และสหรัฐเสนอชื่อธาตุลาดับที่ 115, 117 และ 118 ว่า มอสโกเวียม (Mc), เทนเนสซีน (Ts) และออแกนนิสซัน (Og) ตามลาดับ ซึ่งสามารถอ่านรายละเอียดของบทความ และกติกาการตั้งชื่อธาตุได้ที่https://www.facebook.com/ permalink.php?story_fbid=894855720637737&id=652623864860925 และ http://iupac.org/elements.html

BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 9 0

เ ดื อ น

มิ ถุ น ำ ย น 2 5 5 9 | 7


BLPD Article : อำหำรคลีน (Clean Food) จุฑามาศ ภูมิภาค

อำหำรคลีน (Clean Food) คืออะไร?

3. Cut Down on Saturated Fat หลีกเลีย่ งการทานอาหารที่มี

หลายๆ คนอาจเข้าใจเรื่องอาหารคลีนเป็นอย่างดีแล้ว และยังมีอีกหลายคนที่สงสัยอยู่ว่าอาหารคลีนคืออะไร อาหาร คลีน คือ อาหารที่สด สะอาด ไม่ผ่านการปรุงแต่งด้วยสารเคมี ใด ๆ หรือผ่านการแปรรูปน้อยที่สุด และมีสารอาหารครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่พอเพียงต่อความต้องการของร่างกาย ข้อ สาคัญของอาหารคลีน คือทุกอย่างต้องสดใหม่ และปลอด สารพิษ

ไขมันอิ่มตัวมากๆ เช่น พวกอาหารฟาสฟู้ดส์ทั้งหลาย 4. Reduce Alcohol Intake ลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ถึงแม้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์บางชนิดอาจส่งผลดีต่อร่างกาย แต่ต้องดื่ม ในปริมาณที่พอเหมาะ (ไวน์ 5 ออนซ์, เหล้า 1½ ออนซ์, เบียร์ 12 ออนซ์) ซึ่งหากดื่มมากเกินไปจะส่งผลเสียอย่างร้ายแรงต่อร่างกาย 5. Un-Sweeten Your Diet ไม่เติมน้าตาลเพิ่มลงไปในอาหาร (สมาคมโรคหัวใจอเมริกัน แนะนาให้ผู้หญิงทานไม่เกิน 6 ช้อนชาต่อวัน และผู้ชายไม่เกิน 9 ช้อนชาต่อวัน) 6. Watch the Salt การทานอาหารที่มีเกลือมากๆ ทาให้ร่างกาย ได้รับโซเดียมมากเกินความจาเป็น อาจส่งผลให้เกิดโรคความดัน โลหิตสูง 7. Choose Whole Grains เลือกทานธัญพืชซึ่งผ่านกระบวนการแปร รูปน้อย และยังมีสารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกายมากมาย

ทำไมต้องอำหำรคลีน?

8. Eat Less Meat ลดการทานเนื้อสัตว์ลง เป็นการลดการได้รับไขมัน

อาหารคลีนช่วยให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกายสามารถดึงดูด อิ่มตัวลง ประโยชน์จากอาหารเข้าสูร่ ่างกายได้มากกว่า และทาให้มสี ุขภาพดีใน ระยะยาว สาหรับคนที่ต้องการควบคุมน้าหนักจะทานอาหารคลีนควบ 9. Up Your Fruit Intake ทานผลไม้มากขึ้น เพราะผลไม้ขึ้นชื่อว่า คู่กับการออกกาลังกาย เพราะนอกจากจะช่วยลดน้าหนักแล้วยังช่วยให้ เป็น “nature’s candy” มีความหวานตามธรรมชาติ และยังช่วย มีสุขภาพที่ดีอีกด้วย ให้มีสุขภาพที่ดี กินคลีนแล้วต้องนึกถึงอะไรบ้ำง

10. Nix Refined Grains เลือกธัญพืชที่ผ่านการขัดสีน้อยๆ เพราะ

1. Limit Processed Foods ต้องเป็นอาหารที่ผ่านกระบวนการแปร การขัดสีจะทาให้ส่วนที่มคี ุณค่าทางอาหารในธัญพืชหลุดออกไป รูปหรือปรุงแต่งให้น้อยที่สุด เพราะอาหารที่ผา่ นกระบวนการแปรรูป หรือปรุงแต่งหลายขั้นตอนจะเต็มไปด้วย โซเดียม น้าตาล และไขมัน ซึ่ง อ้ำงอิง http://cleanfoodhealthyliving.com/ เกินความจาเป็นของร่างกาย http://www.ananda.co.th/ 2. Bump Up Your Veggies ทานผักให้มากขึ้น เนื่องจากผักมีคุณค่า

http://www.eatingwell.com/

ทางอาหารที่จาเป็นต่อร่างกายมากมาย และทีส่ าคัญ ผักต้องสด

http://www.intouchcompany.com/

และปลอดสารพิษด้วย

http://www.thaihealth.or.th/

8 |BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 9 0

เ ดื อ น

มิ ถุ น ำ ย น 2 5 5 9


เปิดประตูสู่อำเซียน : ตลำดอุตสำหกรรมยำนยนต์อำเซียน พันธกานต์ ตั้งวศินธรรม

ปัจจุบันกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นตลาดยานยนต์ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ด้วยกาลังการผลิต ทั้งภูมิภาคมากถึง 4.5 ล้านคัน และเป็นที่คาดการณ์ว่าจะก้าวขึ้นมาเป็นอันดับที่ 6 ของโลกได้ในปี 2561 ถือเป็น กลุ่มอุตสาหกรรมที่น่าจับตามองเป็นอย่างมาก ไทยก็เป็นอีกประเทศที่มีความหนาแน่นของรถยนต์มา­กเป็น อันดับ 2 ของประเทศในอาเซียน รองจากอินโดนีเซีย ในขณะที่เพื่อน บ้านอีกหลายประเทศยังคงเบาบาง และมีแนวโน้มที่จะต้องการซื้อ รถยนต์มาก ด้วยจานวนประชากรมากกว่า 600 ล้านคน และการเติบโต ของ GDP ตลอดจนกาลังการผลิตรถยนต์ทั้งภูมิภาคที่มา­กถึง 4.5 ล้าน คัน ทาให้เป็นที่คาดการณ์กันว่าภายในปี 2561 อาเซียนจะมีตลาดยาน ยนต์ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ได้รับการส่งเสริมเป็นอย่างมากใน ภูมิภาคอาเซียน เช่น ประเทศไทยที่ส่งเสริมการผลิตรถยนต์อีโคคาร์ ส่วนอินโดนีเซียก็เพิ่มกาลังการผลิตเพื่อ ตอบสนองความต้องการในประเทศ และมาเลเซียที่เปิดรับการลงทุนของรถต่างสัญชาติ ดังนั้นเมื่อประชาคม อาเซียนรวมตัวเป็นตลาดเดียวจะส่งผลดีต่อการซ­ือขายแลกเปลี่ยนยานยนต์และชิ้นส่วน ตลอดจนการไหลเวียน ของทุนในภูมิภาค แต่สิ่งสาคัญที่ต้องดาเนินการคือการปรับมาตรฐานการผลิตให้สอดคล้องเป็นที่ยอมรับในระดับ

เดียวกันหรือการยอมรับร่วมกัน จะเห็นได้ว่าอุตสาหกรรมยานยนต์ในอาเซียนเป็นอีกหนึ่งกลุ่มธุรกิจที่น่าจับตา มอง ด้วยเป็นตลาดที่ค่อนข้างมีศักยภาพ หากสามารถประสานความร่วมมือกันภายใต้กรอบอาเซียน จะช่วย ผลักดันอุตสาหกรรมยานยนต์ภูมิภาคสู่การแข่งขันในตลาดโลกได้ต่อไป ข้อมูลอ้ำงอิง https://www.youtube.com/watch?v=laDQlvLQI38 http://www.tnamcot.com/content/227483 http://www.xn--800-dklar5b9ejc8hrbc3sbb3il5je7l1a.com/images/content/original-1411979480165.png http://www.xn--c3cwblb6cbc3c4b0bc8a1c6r.com/img/car.png

BLPD NEWSLETTER

ปี ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 8 ฉ บั บ ที่ 9 0

เ ดื อ น

มิ ถุ น ำ ย น 2 5 5 9 | 9


สานักพัฒนาศักยภาพ นักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์บริการ อาคารสถานศึกษาเคมีปฏิบัติ 75/7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 Phone: 0 2201 7425

ที่ปรึกษำ ดร. จันทร์เพ็ญ เมฆำอภิรักษ์ บรรณำธิกำร นำงสำวปัทมำ นพรัตน์ กองบรรณำธิกำร นำงชุติมำ วิไลพันธ์ นำงอำรีย์ คชฤทธิ์

Fax: 0 2201 7429 E-mail: blpd@dss.go.th

http://blpd.dss.go.th : http://www.e-learning.dss.go.th

โปรดส่งข้อคิดเห็น คำแนะนำหรือคำถำมที่ blpd@dss.go.th โทร. 02-2017425 โทรสำร 02-2017429 หำกต้องกำรยกเลิกกำรรับข่ำวสำร กรุณำแจ้งที่ blpd@dss.go.th ข้อมูลเพิ่มเติม http://blpd.dss.go.th/


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.