Creative Media and Design 2014-2015

Page 1



ศิลปกรรม​ศาสตร​บัณฑิต (ศป.บ.) Bachelor of Fine and Applied Arts (B.F.A.) คณะ​ศิลปกรรม​ศาสตร์ มี​จุด​มุ่ง​หมาย​ที่​จะ​ผลิต​บัณฑิต​ที่​มี​ ความ​รท​ู้ าง​ดา้ น​ศลิ ปะ​และ​การ​ออกแบบ ด้วย​การ​พฒ ั นา​ศกั ยภาพ​ทาง​ ด้าน​การ​คิด​วิเคราะห์ และ​การ​สร้างสรรค์​ผล​งาน​ใน​วิถี​ทาง​ของ​งาน​ ศิลปะ​และ​การ​ออกแบบ​สมัย​ใหม่ โดย​มี​วัตถุประสงค์​ที่​จะ​ให้​วิชาชีพ​ แต่ละ​สาขา​สามารถ​เอือ้ ป​ ระโยชน์ซ​ งึ่ ก​ นั แ​ ละ​กนั อีกท​ งั้ ไ​ด้ม​ ก​ี าร​จดั การ​ เรียน​การ​สอน​ที่​ให้​นัก​ศึกษา​เป็น​ศูนย์กลาง​การ​เรียน​รู้ เพื่อ​กระตุ้น​ให้​ นัก​ศึกษา​ได้​ฝึก​การ​พัฒนา​ความ​คิด ตลอด​จน​ฝึก​ทักษะ​ทาง​ด้าน​ วิชาชีพ​รวม​ถึง​การ​ใช้​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​ใน​งาน​ศิลปะ​และ​การ​ ออกแบบ​ได้​อย่าง​มปี​ ระสิทธิภาพ ปัจจุบัน​คณะ​ศิลปกรรม​ศาสตร์ มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ เปิด​ สอน 4 สาขา​วิชา คือ สาขา​วิชา​การ​ออกแบบ​นิเทศ​ศิลป์ สาขา​วิชา​ทัศน​ศิลป์ สาขา​วิชา​การ​ออกแบบ​แฟชั่น​และ​สิ่ง​ทอ สาขา​วิชา​การ​ออกแบบผลิตภัณฑ์

สาขา​วิชา​การ​ออกแบบ​นิเทศ​ศิลป์ สาขา​วิชา​การ​ออกแบบ​นิเทศ​ศิลป์​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​ที่​จะ​ผลิต บัณฑิต​ที่​มี​ความ​คิด​สร้างสรรค์ เข้าใจ​หลัก​การ​และ​หน้าที่​ของ​นัก-​ ออกแบบ​และ​มี​จรรยา​บรรณ​ใน​การ​ประกอบ​วิชาชีพ​การ​ออกแบบ นิเทศ​ศลิ ป์ ลักษณะ​การ​เรียน​การ​สอน​เน้นห​ ลักก​ าร​เรียน​รด​ู้ ว้ ย​ตนเอง ให้ม​ อ​ี สิ ระ​ทาง​ความ​คดิ แ​ ละสามารถ​น�​ ำ เสนอ​ความ​คดิ ส​ ร้างสรรค์อ​ ย่าง​ มี​หลัก​เกณฑ์แ​ ละ​มเี​หตุผล รู้จักก​ าร​วางแผน​และ​ดำ�เนิน​การ​ออกแบบ​ อย่าง​มี​ระบบ​โดย​ฝึก​ปฏิบัติ​งาน​ส่วน​บุคคล​และ​การ​ทำ�งาน​เป็นก​ลุ่ม​ เรียน​รู้​เทคโนโลยี​ที่​ช่วย​ใน​การ​ออกแบบ​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

เมื่อ​จบ​การ​ศึกษา​สามารถ​ประกอบ​อาชีพ​เป็น​นัก​ออกแบบ​ กราฟิก (Graphic Designer) นัก​ออกแบบ​โฆษณา (Creative) นัก​ออกแบบ​งาน​อิน​เตอร์​แอค​ทีฟ (Interactive Media Designer) นั ก ​ออกแบบ​ตัว​อักษร (Typographer) นัก​ออกแบบ​บรรจุ​ภัณฑ์ (Packaging Designer) นัก​ออกแบบ​กราฟิก​เพื่อ​สภาพ​แวดล้อม (Environmental Graphic Designer) นัก​ออก​แบบเว็บ​ไซต์ (Website Designer) นัก​เขียน​ภาพ​ประกอบ (IIIustrator) ช่าง​ภาพ (Photographer) ส​ไต​ลิสท์ (Stylist) นักเขียนการ์ตูน (Animator) และ​ประกอบ​ อา​ชี​พอื่นๆ ใน​สาขา​ที่​เกี่ยวข้อง

หลักสูตร

หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ นิเทศศิลป์ แยกออกเป็นแผนการศึกษา คือ แผนการศึกษา 4 ปี แบบ ปกติ และแผนการศึกษา 4 ปี แบบสหกิจศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้

แผนการศึกษา 4 ปี แบบปกติ

จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 140 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 กลุ่มวิชาบังคับ 15 กลุ่มวิชาเลือก 6 หมวดวิชาเฉพาะ 104 วิชาแกน 18 วิชาเอก-บังคับ 71 วิชาเอก-เลือก 15 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 รวม 140

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

หลักสูตรปริญญาตรี 191


หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy 192 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 3 3 3

หมวดวิชาเฉพาะ (104 หน่วยกิต)

วิชาแกน (18 หน่วยกิต) ศก. 101 วาดเส้น 1 FA 101 Drawing I ศก. 200 ประวัติศาสตร์ศิลปะและการออกแบบ FA 200 History of Art and Design อน. 101 วาดเส้นเพื่อการออกแบบ CD 101 Design Drawing อน. 102 พื้นฐานการออกแบบนิเทศศิลป์ CD 102 Communication Design Fundamental อน. 103 พื้นฐานการเขียนแบบสำ�หรับนิเทศศิลป์ CD 103 Basic Technical Drawing for Communication Design อน. 104 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ CD 104 Computer-Aided Design วิชาเอก-บังคับ (71 หน่วยกิต) อน. 121 การออกแบบนิเทศศิลป์ 1 CD 121 Communication Design I อน. 222 การออกแบบนิเทศศิลป์ 2 CD 222 Communication Design II อน. 223 การออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 223 Communication Design III อน. 324 การออกแบบนิเทศศิลป์ 4 CD 324 Communication Design IV อน. 325 การออกแบบนิเทศศิลป์ 5 CD 325 Communication Design V อน. 326 การปฏิบัติงานวิชาชีพ CD 326 Job Training

หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3

4 4 4 4 4 0


หน่วยกิต อน. 428 การเตรียมโครงการออกแบบ 3 CD 428 Degree Project Proposal อน. 429 โครงการออกแบบนิเทศศิลป์ 6 CD 429 Degree Project in Communication Design อน. 131 ตัวพิมพ์เพื่อการออกแบบ 1 3 CD 131 Typography I อน. 232 ตัวพิมพ์เพื่อการออกแบบ 2 3 CD 232 Typography II อน. 133 การถ่ายภาพ 3 CD 133 Photography อน. 234 ภาพประกอบ 3 CD 234 Illustration อน. 235 การออกแบบเพื่อการสื่อสารข้อมูล 3 CD 235 Information Graphic Design อน. 236 การออกแบบสื่อภาพเคลื่อนไหว 3 CD 236 Time-based Media Design อน. 237 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 3 CD 237 Editorial Design อน. 238 การกำ�กับศิลป์ 3 CD 238 Art Direction อน. 211 ประวัติศาสตร์การออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 211 History of Communication Design อน. 312 ประเด็นร่วมสมัยในการออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 312 Contemporary Issues in Communication Design อน. 339 การออกแบบสื่อส่งเสริมการขาย 3 CD 339 Visual Communication in Promotional Design อน. 313 วิธีวิจัยในการออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 313 Research Methods in Communication Design

หน่วยกิต อน. 314 การดำ�เนินธุรกิจและการตลาด 3 CD 314 Management and Marketing อน. 415 การประกอบวิชาชีพออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 415 Professional Practice in Communication Design วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากกลุ่มวิชาดังต่อไปนี้ วิชาเอก-เลือกการออกแบบโฆษณา (Advertising Design) อน. 3411 การถ่ายภาพโฆษณา 3 CD 3411 Advertising Photography อน. 3421 การแต่งภาพขั้นสูง 3 CD 3421 Advanced Photography Retouching อน. 3431 การผลิตภาพยนตร์วิดีโอ 3 CD 3431 Video Production อน. 3441 การสร้างสรรค์งานโฆษณา 1 3 CD 3441 Creative Advertising I อน. 4451 การสร้างสรรค์งานโฆษณา 2 3 CD 4451 Creative Advertising II วิชาเอก-เลือกแอนิเมชั่น (Animation) อน. 3412 การเขียนสตอรี่บอร์ดสำ�หรับแอนิเมชั่น 3 CD 3412 Storyboard for Animation อน. 3422 การออกแบบคาร์แร็กเตอร์ 3 CD 3422 Character Design อน. 3432 การออกแบบแอนิเมชั่น 2 มิติ 3 CD 3432 Classic Animation and Stop Motion อน. 3442 การออกแบบแอนิเมชั่น 3 มิติ 3 CD 3442 3D Modeling and Animation หลักสูตรปริญญาตรี 193


หน่วยกิต อน. 4452 การจัดองค์ประกอบภาพเคลื่อนไหว 3 CD 4452 Digital Compositing and Matte Painting วิชาเอก-เลือกการออกแบบสื่อวิดีโอและภาพเคลื่อนไหว (Digital Video Production and Moving Image) อน. 3412 การเขียนสตอรี่บอร์ดสำ�หรับแอนิเมชั่น 3 CD 3412 Storyboard for Animation อน. 3431 การผลิตภาพยนตร์วิดีโอ 3 CD 3431 Video Production อน. 3433 การออกแบบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว 3 CD 3433 Motion Graphics Design อน. 3443 การออกแบบเทคนิคพิเศษสำ�หรับภาพเคลือ่ นไหว 3 CD 3443 Visual Effect อน. 4452 การจัดองค์ประกอบภาพเคลื่อนไหว 3 CD 4452 Digital Compositing and Matte Painting วิชาเอก-เลือกภาพประกอบ (Illustration) อน. 3414 ภาพ ความคิด และการสื่อสาร CD 3414 Image and Idea for Communication อน. 3424 ภาพประกอบเพื่อการเล่าเรื่อง CD 3424 Illustrative Storytelling อน. 3434 ภาพประกอบสำ�หรับสื่อสิ่งพิมพ์ CD 3434 Illustration for Publishing อน. 3442 การออกแบบคาร์แร็กเตอร์ CD 3442 Character Design อน. 3432 การออกแบบแอนิเมชั่น 2 มิติ CD 3432 Classic Animation and Stop Motion

194 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 3 3 3 3

วิชาเอก-เลือกการออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟ (Interactive Media) หน่วยกิต อน. 3433 การออกแบบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว 3 CD 3433 Motion Graphics Design อน. 3425 การออกแบบเว็บไซต์และอินเตอร์เฟซ 3 CD 3425 Web and Interface Design อน. 3435 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นสำ�หรับ 3 สื่ออินเตอร์แอคทีฟ CD 3435 Interactive Media Programming อน. 3445 การออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟ 3 CD 3445 Interactive Media Design อน. 4455 การออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟขั้นสูง 3 CD 4455 Advanced Interactive Media Design

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

นักศึกษาสามารถเลือกวิชาต่อไปนี้หรือวิชาอื่น ๆ ที่เปิดสอน ในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ หรือวิชาที่คณะฯ อนุมัติให้เป็นวิชาเลือกเสรี รวมแล้วต้องไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ดังรายวิชาต่อไปนี้ ศก. 105 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 1 3 FA 105 History of Arts I อน. 251 การนำ�เสนอผลงานส่วนบุคคล 3 CD 251 Portfolio อน. 252 การพิมพ์ซิลสกรีน 3 CD 252 Silk Screen อน. 253 กระบวนการพิมพ์ 3 CD 253 Print Production อน. 254 การออกแบบกราฟิกสำ�หรับบรรจุภัณฑ์ 3 CD 254 Graphic Design for Packaging


แผนการศึกษา 4 ปี แบบสหกิจศึกษา

จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 140 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 104 หน่วยกิต วิชาแกน 18 หน่วยกิต วิชาเอก-บังคับ 77 หน่วยกิต วิชาเอก-เลือก 9 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 140 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) หน่วยกิต อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ 3 EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน 3 EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด 3 EN 013 English for Expressing Ideas กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity

ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หน่วยกิต 3 3

3 3 3 3

หมวดวิชาเฉพาะ (104 หน่วยกิต)

วิชาแกน (18 หน่วยกิต) ศก. 101 วาดเส้น 1 3 FA 101 Drawing I ศก. 200 ประวัติศาสตร์ศิลปะและการออกแบบ 3 FA 200 History of Art and Design อน. 101 วาดเส้นเพื่อการออกแบบ 3 CD 101 Design Drawing อน. 102 พื้นฐานการออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 102 Communication Design Fundamental อน. 103 พื้นฐานการเขียนแบบสำ�หรับนิเทศศิลป์ 3 CD 103 Basic Technical Drawing for Communication Design อน. 104 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ 3 CD 104 Computer-Aided Design หลักสูตรปริญญาตรี 195


วิชาเอก-บังคับ (77 หน่วยกิต) หน่วยกิต อน. 121 การออกแบบนิเทศศิลป์ 1 4 CD 121 Communication Design I อน. 222 การออกแบบนิเทศศิลป์ 2 4 CD 222 Communication Design II อน. 223 การออกแบบนิเทศศิลป์ 3 4 CD 223 Communication Design III อน. 324 การออกแบบนิเทศศิลป์ 4 4 CD 324 Communication Design IV อน. 327 สหกิจศึกษาสำ�หรับการออกแบบนิเทศศิลป์ 7 CD 327 Cooperative Education for Communication Design อน. 428 การเตรียมโครงการออกแบบ 3 CD 428 Degree Project Proposal อน. 429 โครงการออกแบบนิเทศศิลป์ 6 CD 429 Degree Project in Communication Design อน. 131 ตัวพิมพ์เพื่อการออกแบบ 1 3 CD 131 Typography I อน. 232 ตัวพิมพ์เพื่อการออกแบบ 2 3 CD 232 Typography II อน. 133 การถ่ายภาพ 3 CD 133 Photography อน. 234 ภาพประกอบ 3 CD 234 Illustration อน. 235 การออกแบบเพื่อการสื่อสารข้อมูล 3 CD 235 Information Graphic Design อน. 236 การออกแบบสื่อภาพเคลื่อนไหว 3 CD 236 Time-based Media Design อน. 237 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 3 CD 237 Editorial Design 196 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต อน. 238 การกำ�กับศิลป์ 3 CD 238 Art Direction อน. 211 ประวัติศาสตร์การออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 211 History of Communication Design อน. 312 ประเด็นร่วมสมัยในการออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 312 Contemporary Issues in Communication Design อน. 339 การออกแบบสื่อส่งเสริมการขาย 3 CD 339 Visual Communication in Promotional Design อน. 313 วิธีวิจัยในการออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 313 Research Methods in Communication Design อน. 314 การดำ�เนินธุรกิจและการตลาด 3 CD 314 Management and Marketing อน. 415 การประกอบวิชาชีพออกแบบนิเทศศิลป์ 3 CD 415 Professional Practice in Communication Design สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา 3 CO 301 Pre-Cooperative Education วิชาเอก-เลือก (9 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากกลุ่มวิชาดังต่อไปนี้ วิชาเอก-เลือกการออกแบบโฆษณา (Advertising Design) อน. 3411 การถ่ายภาพโฆษณา 3 CD. 3411 Advertising Photography อน. 3421 การแต่งภาพขั้นสูง 3 CD. 3421 Advanced Photography Retouching อน. 4451 การสร้างสรรค์งานโฆษณา 2 3 CD. 4451 Creative Advertising II


วิชาเอก-เลือกแอนิเมชั่น (Animation) หน่วยกิต อน. 3412 การเขียนสตอรี่บอร์ดสำ�หรับแอนิเมชั่น 3 CD 3412 Storyboard for Animation อน. 3422 การออกแบบคาร์แร็กเตอร์ 3 CD 3422 Character Design อน. 4452 การจัดองค์ประกอบภาพเคลื่อนไหว 3 CD 4452 Digital Compositing and Matte Painting วิชาเอก-เลือกการออกแบบสื่อวิดีโอและภาพเคลื่อนไหว (Digital Video Production and Moving Image) อน. 3412 การเขียนสตอรี่บอร์ดสำ�หรับแอนิเมชั่น 3 CD 3412 Storyboard for Animation อน. 3431 การผลิตภาพยนตร์วิดีโอ 3 CD 3431 Video Production อน. 4452 การจัดองค์ประกอบภาพเคลื่อนไหว 3 CD 4452 Digital Compositing and Matte Painting วิชาเอก-เลือกภาพประกอบ (Illustration) อน. 3414 ภาพ ความคิด และการสื่อสาร CD 3414 Image and Idea for Communication อน. 3424 ภาพประกอบเพื่อการเล่าเรื่อง CD 3424 Illustrative Storytelling อน. 3432 การออกแบบแอนิเมชั่น 2 มิติ CD 3432 Classic Animation and Stop Motion

3

อน. 4455 การออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟขั้นสูง CD 4455 Advanced Interactive Media Design

หน่วยกิต 3

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

นักศึกษาสามารถเลือกวิชาต่อไปนี้หรือวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนใน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หรือวิชาทีค่ ณะฯ อนุมตั ิให้เป็นวิชาเลือกเสรีรวม แล้วต้องไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ดังรายวิชาต่อไปนี้ ศก. 105 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 1 3 FA 105 History of Arts I อน. 251 การนำ�เสนอผลงานส่วนบุคคล 3 CD 251 Portfolio อน. 252 การพิมพ์ซิลสกรีน 3 CD 252 Silk Screen อน. 253 กระบวนการพิมพ์ 3 CD 253 Print Production อน. 254 การออกแบบกราฟิกสำ�หรับบรรจุภัณฑ์ 3 CD 254 Graphic Design for Packaging

3 3

วิชาเอก-เลือกการออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟ (Interactive Media) อน. 3433 การออกแบบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว 3 CD 3433 Motion Graphics Design อน. 3425 การออกแบบเว็บไซต์และอินเตอร์เฟซ 3 CD 3425 Web and Interface Design หลักสูตรปริญญาตรี 197


สาขา​วิชา​ทัศน​ศิลป์ สาขา​วิชาทัศน​ศิลป์​มี​วัตถุประสงค์​ที่​จะ​ผลิต​บัณฑิต​ที่​มี​ความ​ รู้​ทาง​ด้าน​ศิลป​วัฒนธรรม​อย่าง​ลึก​ซึ้ง​และ​กว้าง​ไกล โดย​มี​เป้าห​ มาย​ที่​ จะ​พัฒนา​ศักยภาพ​ทาง​ความ​คิด การ​สร้างสรรค์ การนำ�​เสนอ​ผล​งาน​ ศิลปกรรม​ทก​ี่ า้ วหน้าแ​ ละ​สามารถ​เชือ่ ม​โยง​ศลิ ปะ​เข้าก​ บั ส​ งั คม​ได้อ​ ย่าง​ กว้าง​ขวาง นักศ​ กึ ษา​สาขา​วชิ า​ทศั น​ศลิ ป์ จะ​ได้เ​รียน​รพ​ู้ นื้ ฐ​ าน​ทาง​ศลิ ปะ ทฤษฎี ปรัชญา​และ​ประวัติศาสตร์​ศิลปะ รวม​ไป​ถึง​การ​สร้าง​ทักษะ​ ความ​สามารถ​ใน​เชิงเ​ทคนิคก​ าร​ผลิตผล​งาน โดย​การ​ศกึ ษา​ดงั ก​ ล่าว​จะ​ เปิดโ​อกาส​ให้น​ กั ศ​ กึ ษา​เป็นศ​ นู ย์กลาง​ของ​การ​เรียน​รด​ู้ ว้ ย​การ​สอน​แบบ​ จัด​กลุ่ม​วิจารณ์ การ​ร่วม​สัมมนา​กับ​คณาจารย์ ศิลปิน ​และ​นัก​วิชา​การ​ จาก​ภายใน​และ​ภายนอก​มหาวิทยาลัย การ​อบรม​เชิงป​ ฏิบตั ก​ิ าร​รวม​ไป​ ถึง​การ​ร่วม​กิจกรรม​ทาง​วิชา​การ​ที่​สาขา​วิชา​จัด​ขึ้น​ร่วม​กับ​องค์กร​และ​ สถาบัน​ศิลปะ​อื่นๆ ทั้งใ​น​และ​ต่าง​ประเทศ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

บัณฑิตข​ อง​สาขา​วชิ า​ทศั น​ศลิ ป์จ​ ะ​มค​ี วาม​รท​ู้ าง​ดา้ น​จติ รกรรม ประติมากรรม ภาพ​พิมพ์ ภาพถ่าย วีดิ​ทัศน์ งาน​ไม้ งาน​โลหะ คอมพิ ว เตอร์ กราฟิ ก ฯลฯ ทำ�ให้​บัณฑิต​มี​ความ​รู้​เพียง​พ อที่ ​จะ สร้างสรรค์​ผล​งาน​หรือ​สามารถ​นำ�​ความ​รู้​เหล่า​นี้​ไป​ประยุกต์​ให้​เข้า​กับ​ การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ทาง​ด้าน​ศิลปกรรม​แขนง​ต่างๆ ได้​อย่าง​กว้าง​ขวาง อัน​จะ​ท�ำ ให้​สามารถ​ออก​ไป​ประกอบ​อาชีพ​พฒ ั นา​สงั คมได้​อย่าง​หลาก​ หลาย ทัง้ ใ​น​สาขา​วชิ าชีพอ​ สิ ระ เช่น ศิลปิน นัก​วจิ ารณ์ศ​ ลิ ปะ นัก​วชิ า​การ ผูด​้ �ำ เนินธ​ รุ กิจท​ าง​ศลิ ป​วฒ ั นธรรม ฯลฯ รวม​ไป​ถงึ ส​ ามารถ​รว่ ม​งาน​กบั ​ องค์กร​ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ หอ​ศิลป์​ สถาบัน​การ​ศึกษา บริษัท​ โฆษณา และ​ประกอบอาชีพอื่นๆ ในสาขาที่เกี่ยวข้อง

198 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หลักสูตร

หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ แยก ออกเป็นแผนการศึกษาแบบปกติ และแบบสหกิจศึกษา โดยมีราย ละเอียดดังนี้ แผนการศึกษา 4 ปี แบบปกติ และสหกิจศึกษา จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 139 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 103 หน่วยกิต วิชาแกน 24 หน่วยกิต วิชาเอก-บังคับ 70 หน่วยกิต วิชาเอก-เลือก 9 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 139 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World


ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หมวดวิชาเฉพาะ (103 หน่วยกิต)

วิชาแกน (24 หน่วยกิต) ศก. 101 วาดเส้น 1 FA 101 Drawing I ศก. 102 วาดเส้น 2 FA 102 Drawing II ศก. 103 การออกแบบ 2 มิติ FA 103 Two Dimensional Design ศก. 104 การออกแบบ 3 มิติ FA 104 Three Dimensional Design ศก. 105 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 1 FA 105 History of Arts I

หน่วยกิต 3 3 3

3 3 3 3

3 3 3 3 3

หน่วยกิต ศก. 106 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 2 3 FA 106 History of Arts II ศก. 107 ทฤษฎีสี 3 FA 107 Color Theory ศก. 108 พื้นฐานคอมพิวเตอร์เพื่อศิลปะและการออกแบบ 3 FA 108 Basic Visual Computing วิชาเอก-บังคับ (70 หน่วยกิต) ทศ. 121 จิตรกรรม 1 3 VA 121 Painting I ทศ. 122 จิตรกรรม 2 3 VA 122 Painting II ทศ. 223 ประติมากรรม 1 3 VA 223 Sculpture I ทศ. 224 ภาพพิมพ์1 3 VA 224 Printmaking I ทศ. 225 ศิลปะภาพถ่าย 3 VA 225 Photography ทศ. 226 ประติมากรรม 2 3 VA 226 Sculpture II ทศ. 227 ภาพพิมพ์ 2 3 VA 227 Printmaking II ทศ. 228 มีเดียร์อาร์ต 3 VA 228 Media Art ทศ. 231 ศิลปะร่วมสมัยและประเด็นหลังสมัยใหม่ 3 VA 231 Contemporary Arts and Postmodern Issues ทศ. 232 ศิลปะร่วมสมัยและประเด็นหลังสมัยใหม่ในเอเชีย 3 VA 232 Contemporary Arts and Postmodern Issues in Asia ทศ. 333 การทำ�ประเทศไทยให้เป็นสมัยใหม่กับศิลปะ 3 VA 333 Modernization and Thai Arts หลักสูตรปริญญาตรี 199


หน่วยกิต ทศ. 334 สุนทรียศาสตร์ 1 3 VA 334 Aesthetic I ทศ. 335 สุนทรียศาสตร์ 2 3 VA 335 Aesthetic II ทศ. 336 ศิลปะวิจารณ์ 3 VA 336 Art Criticism ทศ. 341 ทัศนศิลป์ 1 4 VA 341 Visual Arts I ทศ. 342 ทัศนศิลป์ 2 4 VA 342 Visual Arts II ทศ. 437 วัฒนธรรมทางการเห็น 3 VA 437 Visual Culture ทศ. 443 ทัศนศิลป์ 3 4 VA 443 Visual Arts III ทศ. 444 การสัมมนาและวิเคราะห์ผลงานทัศนศิลป์ 4 VA 444 Seminar and Analysis in Visual Arts ทศ. 445 การเตรียมโครงการทัศนศิลป์ 3 VA 445 Degree Project Preparation ทศ. 446 โครงการทัศนศิลป์ 6 VA 446 Degree Project in Visual Arts วิชาเอก-เลือก (9 หน่วยกิต) 1. นักศึกษาทีเ่ ลือกเรียนแผนการศึกษาแบบปกติ สามารถเลือก จากรายวิชาดังต่อไปนี้ 2. นักศึกษาที่เลือกแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา ต้องผ่าน สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา ก่อนลงทะเบียนเรียน ทศ. 368 สหกิจ ศึกษา รวม 6 หน่วยกิต และอีก 3 หน่วยกิต นักศึกษาสามารถเลือก จากรายวิชาดังต่อไปนี้ 200 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต ทศ. 351 ภาพถ่ายในสตูดิโอ 3 VA 351 Studio Photography ทศ. 352 การผลิตวิดีโอ 3 VA 352 Video Production ทศ. 361 การฝึกทักษะสำ�หรับการดำ�เนินชีวติ ในเชิงวิชาชีพ 3 VA 361 Professional Preparation ทศ. 362 การจัดการองค์กรทางศิลปะ 3 VA 362 Art Management ทศ. 363 พิพิธภัณฑ์ศึกษา 3 VA 363 Museum Studies ทศ. 364 องค์ความรู้เพื่อการเป็นภัณฑารักษ์ 3 VA 364 Curatorial Knowledge ทศ. 365 การตลาดสำ�หรับองค์กรทางศิลปวัฒนธรรม 3 VA 365 Marketing for Art Organizations ทศ. 366 ศิลปะไทยและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม 3 VA 366 Thai Arts and Cultural Identities ทศ. 367 สัญวิทยา 3 VA 367 Semiotics ทศ. 368 สหกิจศึกษา 6 VA 368 Cooperative Education


หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งเลื อ กเรี ย นรายวิ ช าอื่ น ที่ เ ปิ ด สอนใน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือเลือกเรียนใน รายวิชาดังต่อไปนี้ หน่วยกิต กม. 102 กฏหมายธุรกิจ 3 LA 102 Business Law ศก. 311 การศึกษาทฤษฎีของความรู้ผ่านแนวคิด 3 ของงานสถาปัตยกรรมไทย FA 311 Epistemology through Thai Architecture ศก. 312 ศิลปะการใช้ตัวพิมพ์เชิงทดลอง 3 FA 312 Experimental Typography ศก. 313 การออกแบบหนังสือเชิงทดลอง 3 FA 313 Experimental Book Design ศก. 332 ศิลปปริทัศน์ 3 FA 332 Survey of Art ศก. 351 ศิลปกรรมพื้นบ้าน 3 FA 351 Folk Arts ศก. 431 การดำ�เนินธุรกิจการออกแบบ 3 FA 431 Design Management สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา 3 CO 301 Pre-Cooperative Education อน. 234 ภาพประกอบ 3 CD 234 Illustration

สาขา​วิชา​การ​ออกแบบ​แฟชั่น​และ​สิ่ง​ทอ สาขา​วิชา​การ​ออกแบบ​แฟชั่นแ​ ละ​สิ่ง​ทอ มุ่ง​เน้น​ให้​นักศ​ ึกษา​ ได้เ​รียน​รพ​ู้ นื้ ฐ​ าน​ทาง​ศลิ ปะ ฝึกท​ กั ษะ​ทางการ​ออกแบบ และ​การ​ท�ำ งาน​ อย่าง​เป็น​ระบบ โดย​เปิด​โอกาส​ให้​นัก​ศึกษา​แสดงออก​ทาง​ด้าน​ความ​ คิด​สร้างสรรค์ รวม​ทั้ง​มี​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​ทาง​ด้าน​การ​จัดการ​การ​ ออกแบบ​แฟชัน่ เ​พือ่ เ​ป็นการ​เตรียม​ความ​พร้อม​ใน​การ​ออก​ไป​ประกอบ​ อาชีพ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​วิชาชีพ

บัณฑิต​ของ​สาขา​วิชา​การ​ออกแบบ​แฟชั่น​และ​สิ่ง​ทอ​จะ​เป็น​ผู้​ มีค​ วาม​พร้อม​ทงั้ ท​ าง​ดา้ น​ทฤษฎีแ​ ละ​การ​ออกแบบ บัณฑิตท​ ส​ี่ �ำ เร็จก​ าร​ ศึกษา​สามารถ​ประกอบ​อาชีพ​ได้​ทั้ง​ใน​สาขา​วิชา​หลัก เช่น Fashion Designer, Costume Designer, Fashion IIIustrator, Fashion Merchandiser, Fashion Stylist, Fashion Accessories Designer, Pattern Designer รวม​ถึง​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​จัดการระบบ​งาน​ ออกแบบ เช่น Fashion Consultant, Fashion Show Co-ordinator, Brand Manager, Fashion Buyer ซึง่ ก​ าร​ประกอบ​อาชีพใ​น​สาขา​ตา่ งๆ เหล่า​นี้​สามารถ​ทำ�ได้​ทั้ง​การ​ประกอบ​อาชีพ​อิสระ การ​ประกอบธุรกิจ​ ส่วน​ตัว และ​การ​ทำ�งาน​ใน​องค์กร​หรือ​สถาบัน ทั้ง​หน่วย​งาน​ราชการ​ และ​เอกชน

หลักสูตร

หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ แฟชั่นและสิ่งทอ แยกออกเป็นแผนการศึกษาแบบปกติ และแบบ สหกิจศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้ แผนการศึกษา 4 ปี แบบปกติ และสหกิจศึกษา จำ�นวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 140 หน่วยกิต

หลักสูตรปริญญาตรี 201


หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 104 หน่วยกิต วิชาแกน 21 หน่วยกิต วิชาเอก-บังคับ 68 หน่วยกิต วิชาเอก-เลือก 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 140 หน่วยกิต

กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

วิชาแกน (21 หน่วยกิต) ศก. 101 วาดเส้น 1 FA 101 Drawing I ศก. 102 วาดเส้น 2 FA 102 Drawing 2 ศก. 103 การออกแบบ 2 มิติ FA 103 Two Dimensional Design ศก. 104 การออกแบบ 3 มิต FA 104 Three Dimensional Design ศก. 105 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 1 FA 105 History of Arts I ศก. 106 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 2 FA 106 History of Arts II ศก. 107 ทฤษฎีสี FA 107 Color Theory

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต 3 GE 115 The Art of Life

202 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาเฉพาะ (104 หน่วยกิต)

หน่วยกิต 3 3 3 3

3 3 3 3 3 3 3


วิชาเอก-บังคับ (68 หน่วยกิต) หน่วยกิต อฟ. 121 การเขียนภาพประกอบการออกแบบแฟชั่น 3 FD 121 Fashion Drawing and Illustration อฟ. 122 โครงสร้างการออกแบบแฟชั่น 1 3 FD 122 Fashion Construction I อฟ. 211 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 1 4 FD 211 Fashion and Textile Design I อฟ. 212 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 2 4 FD 212 Fashion and Textile Design II อฟ. 223 โครงสร้างการออกแบบแฟชั่น 2 3 FD 223 Fashion Construction II อฟ. 224 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 3 FD 224 Computer Aided Design for Fashion and Textile Application อฟ. 225 การออกแบบเครื่องประกอบเครื่องแต่งกาย 3 FD 225 Accessories Design อฟ. 226 กระบวนการทอผ้า 3 FD 226 Weaving Design Process อฟ. 231 ประวัติศาสตร์การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 3 FD 231 History of Fashion and Textile อฟ. 232 ศิลปะสัญจรเครื่องแต่งกายและสิ่งทอไทย 3 FD 232 Survey of Thai Fashion and Textile (ยกเว้นแผนสหกิจศึกษา) อฟ. 241 การตลาดเพื่อการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 3 FD 241 Marketing for Fashion and Textile Design อฟ. 313 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 3 4 FD 313 Fashion and Textile Design III อฟ. 314 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 4 4 FD 314 Fashion and Textile Design IV

หน่วยกิต อฟ. 327 กระบวนการย้อมและพิมพ์สิ่งทอ 3 FD 327 Print and Dyeing Design Process อฟ. 328 การออกแบบสิ่งทอเชิงประยุกต์ 3 FD 328 Creative Textile Design อฟ. 342 การสร้างตราสินค้าแฟชั่นและสิ่งทอ 3 FD 342 Fashion and Textile Branding อฟ. 343 การบริหารสินค้าแฟชั่น 3 FD 343 Fashion Merchandising อฟ. 361 การปฏิบัติงานวิชาชีพ 0 FD 361 Job Training (ยกเว้นแผนสหกิจศึกษา) อฟ. 415 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 5 4 FD 415 Fashion and Textile Design V อฟ. 416 การเตรียมโครงการออกแบบ 3 FD 416 Degree Project Preparation อฟ. 417 โครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 6 FD 417 Degree Project in Fashion and Textile Design สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (เฉพาะแผนสหกิจศึกษา) 3 CO 301 Pre-Cooperative Education วิชาเอก-เลือก สำ�หรับนักศึกษาแผนปกติ (รวม 15 หน่วยกิต) อฟ. 371 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ เอ FD 371 Major Design Elective A อฟ. 372 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ บี FD 372 Major Design Elective B อฟ. 373 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ซี FD 373 Major Design Elective C อฟ. 374 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ดี FD 374 Major Design Elective D

3 3 3 3

หลักสูตรปริญญาตรี 203


อฟ. 475 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ อี FD 475 Major Design Elective E สำ�หรับนักศึกษาแผนสหกิจศึกษา (รวม 15 หน่วยกิต) อฟ. 371 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ เอ FD 371 Major Design Elective A อฟ. 372 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ บี FD 372 Major Design Elective B อฟ. 430 สหกิจศึกษา FD 430 Cooperative Education

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

หน่วยกิต 3

3 3 9

นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย กรุงเทพ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือเลือกเรียนในรายวิชาดังต่อไป นี้ กม. 102 กฎหมายธุรกิจ 3 LA 102 Business Law ศก. 332 ศิลปปริทรรศน์ 3 FA 332 Survey of Art ศก. 351 ศิลปกรรมพื้นบ้าน 3 FA 351 Folk Arts ศก. 352 การนำ�เสนอผลงานส่วนบุคคล 3 FA 352 Portfolio ศก. 431 การดำ�เนินธุรกิจการออกแบบ 3 FA 431 Design Management อน. 263 การถ่ายภาพ 3 CD 263 Photography ทศ. 334 สุนทรียศาสตร์ 1 3 VA 334 Aesthetic I 204 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์

สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขาใหม่ล่าสุดของคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ เราสร้างนักศึกษาให้เป็น Creator หรือผู้สร้างสรรค์ สอนโดยนักออกแบบผลิตภัณฑ์มืออาชีพที่มีประสบการณ์การทำ�งาน ในต่างประเทศ ทีน่ �ำ ศาสตร์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง มาบูรณาการเชิงประยุกต์ เพื่อมาพัฒนาเน้นควบคู่ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ครอบคลุมการ ออกแบบการจัดการการพัฒนาวัสดุทางการออกแบบผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์ ภาษาต่างประเทศ กฎหมาย และการส่งเสริมเอกลักษณ์ ของชาติ เพื่อสร้างนักออกแบบที่มีศักยภาพได้มาตรฐาน เป็นที่ ยอมรับของภาคธุรกิจ สังคม ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

บัณฑิต​ที่​สำ�เร็จ​การ​ศึกษาสาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ​์ สามารถ​ประกอบ​อาชีพ​ได้​หลากหลายอาชีพ เช่น นักออกแบบ ผลิตภัณฑ์ นักวิจัยและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ นักพัฒนาผลิตภัณฑ์ นักออกแบบการบริการ นักออกแบบนวัตกรรม นักประดิษฐ์ทาง หั ต ถศิ ล ป์ นั ก ออกแบบการสื่ อ สารระหว่ า งเทคโนโลยี กั บ ผู้ ใ ช้ นักออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ นักพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ นักออกแบบอัตลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ นักออกแบบสินค้าบริโภค นักสร้างต้นแบบ นักออกแบบ วัสดุ นักวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาเซียน ผู้ประกอบการรายย่อยในธุรกิจ ออกแบบผลิตภัณฑ์ นักบริหารและจัดการการออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็นต้น


หลักสูตร

หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ แยกออกเป็นแผนการศึกษาแบบปกติ และแผนการศึกษา แบบสหกิจศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้ จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 140 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 104 หน่วยกิต วิชาแกน 21 หน่วยกิต วิชาเอก-บังคับ 68 หน่วยกิต วิชาเอก-เลือก 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 140 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World

ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หมวดวิชาเฉพาะ (104 หน่วยกิต)

วิชาแกน (21 หน่วยกิต) ศก. 101 วาดเส้น 1 FA 101 Drawing I ศก. 102 วาดเส้น 2 FA 102 Drawing II ศก. 103 การออกแบบ 2 มิติ FA 103 Two Dimension Design ศก. 104 การออกแบบ 3 มิติ FA 104 Three Dimension Design ศก. 105 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 1 FA 105 History of Arts I

หน่วยกิต 3 3 3

3 3 3 3

3 3 3 3 3 หลักสูตรปริญญาตรี 205


ศก. 106 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 2 FA 106 History of Arts II ศก. 107 ทฤษฎีสี FA. 107 Color Theory

หน่วยกิต 3 3

วิชาเอก-บังคับ (65 หน่วยกิต) อผ. 172 ความคิดสร้างสรรค์สำ�หรับการออกแบบ 3 ผลิตภัณฑ์ PD 172 Creative Thinking for Product Design อผ. 251 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 4 PD 251 Product Design I อผ. 252 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 2 4 PD 252 Product Design II อผ. 271 นวัตกรรมวัสดุ 1 3 PD 271 Material Innovation I อผ. 272 เทคนิคการเขียนแบบและการนำ�เสนองาน 3 สำ�หรับนักออกแบบผลิตภัณฑ์ PD 272 Drawing and Presentation Technic for Product Designer อผ. 273 ปฏิบัติการสร้างต้นแบบ 1 3 PD. 273 Studio Modeling I อผ. 274 ปฏิบัติการสร้างต้นแบบ 2 3 PD 274 Studio Modeling II อผ. 275 การตอบสนองของมนุษย์เพื่อการออกแบบ 3 ผลิตภัณฑ์ PD 275 Human Sensibility Ergonomic in Product Design อผ. 276 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อนักออกแบบ 3 ผลิตภัณฑ์ PD 276 Applications for Product Designers 206 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต อผ. 351 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 3 4 PD 351 Product Design III อผ. 352 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 4 4 PD 352 Product Design IV อผ. 361 ประวัติศาสตร์การออกแบบผลิตภัณฑ์ 3 PD 361 History of Product Design อผ. 362 การสำ�รวจและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาเซียน 3 PD 362 Survey and Analysis of ASEAN Product อผ. 371 นวัตกรรมวัสดุ 2 3 PD 371 Material Innovation II อผ. 373 การออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าบริโภค 3 PD 373 Consumer Product Design อผ. 377 การออกแบบอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ 3 PD 377 Product Identity Design อผ. 382 การปฏิบัติงานวิชาชีพ 0 PD 382 Job Training อผ. 451 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 5 4 PD 451 Product Design V อผ. 456 การเตรียมโครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ 3 PD 456 Degree Project Preparation อผ. 457 โครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ 6 PD 457 Degree Project in Product Design วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) 1. นักศึกษาที่เลือกแผนการเรียนแบบปกติ สามารถเลือกจาก รายวิชาดังต่อไปนี้ 2. นักศึกษาทีเ่ ลือกแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา ต้องผ่านวิชา สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา ก่อนลงทะเบียนเรียน อฟ. 430 สหกิจ ศึกษา รวม 6 หน่วยกิต และอีก 9 หน่วยกิต นักศึกษาสามารถเลือก จากรายวิชาดังต่อไปนี้


อผ. 391 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ เอ PD 391 Major Design Elective A อผ. 392 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ บี PD 392 Major Design Elective B อผ. 393 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ซี PD 393 Major Design Elective C อผ. 394 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ดี PD 394 Major Design Elective D อผ. 395 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ อี PD 395 Major Design Elective E

สำ�หรับนักศึกษาแผนสหกิจศึกษา (รวม 6 หน่วยกิต) อผ. 430 สหกิจศึกษา FD 430 Cooperative Education

หน่วยกิต 3 3 3 3 3

หน่วยกิต ศก. 431 การดำ�เนินธุรกิจการออกแบบ 3 FA 431 Design Management ทศ. 324 สุนทรียศาสตร์ 1 3 VA 324 Aesthetic I อน. 263 การถ่ายภาพ 3 CD 263 Photography อน. 267 ภาพประกอบ 3 CD 267 Illustration สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา 3 CO 301 Pre-Cooperative Education

6

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

นักศึกษาจะต้องเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย กรุงเทพ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือเลือกเรียนในรายวิชาดังต่อไป นี้ กม. 102 กฏหมายธุรกิจ 3 LA 102 Business Law ศก. 301 ภาษาอังกฤษเพื่อศิลปะการออกแบบ 3 FA 301 English for Art and Design ศก. 332 ศิลปปริทัศน์ 3 FA 322 Survey of Art ศก. 351 ศิลปกรรมพื้นบ้าน 3 FA 351 Folk Arts ศก. 352 การนำ�เสนอผลงานส่วนบุคคล 3 FA 352 Portfolio หลักสูตรปริญญาตรี 207



สถาปัตยกรรม​ศาสตร​บัณฑิต (สถ.บ.) Bachelor of Architecture (B.Arch.) คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ เป็ น คณะสถาปั ต ย์ แ นวใหม่ หลักสูตร 2 ภาษา ที่ดีที่สุดสำ�หรับโลกอนาคต ผสมผสานและแลก เปลี่ยนองค์ความรู้ในระดับนานาชาติ นำ�ไปสู่การสร้างทัศนคติที่เปิด กว้างแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมในฐานะสถาปนิกและนักออกแบบใน อนาคต มุ่งสร้างมืออาชีพระดับอินเตอร์ที่พร้อมสำ�หรับทุกความคิด สร้างสรรค์ โดยตลอด 5 ปีการศึกษา นักศึกษาจะได้ฝึกทักษะทาง วิชาชีพกับคณาจารย์สถาปนิกระดับอาชีพจาก Top 10 Design Firms บริษัทชั้นนำ� 10 อันดับในประเทศไทย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่ กระตุ ก ต่ อ มความคิ ด สร้ า งสรรค์ ด้ ว ยสถาปั ต ยกรรมระดั บ รางวั ล มากมาย ปัจจุบนั คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปิด สอน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม เมื่อสำ�เร็จการศึกษาจะได้รับปริญญา สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) Bachelor of Architecture (B.Arch.) สาขาวิชาการออกแบบภายใน เมือ่ สำ�เร็จการศึกษาจะได้รบั ปริญญา ศิลปบัณฑิต (ศล.บ.) Bachelor of Fine Arts (B.F.A.)

สาขา​วิชา​สถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรมบูรณาการเชิงประยุกต์ศาสตร์และ ศิลป์ทเี่ กีย่ วข้องมาพัฒนาเป็นหลักสูตรทีส่ ามารถผลิตสถาปนิกวิชาชีพ ในสาขาสถาปัตยกรรมหลักทีเ่ พียบพร้อมด้วยความสามารถและความ คิดสร้างสรรค์ทั้งการออกแบบและการบริหารจัดการงานออกแบบได้ ทุกขัน้ ตอนของการบริการวิชาชีพสถาปัตยกรรม การเรียนการสอนมุง่ เน้นศาสตร์การออกแบบที่ร่วมสมัย การค้นคว้า และวิเคราะห์ข้อมูล ที่เป็นระบบ ผนวกองค์ความรู้ และทักษะเชิงเทคนิคในการบริหาร จัดการและการสื่อสารงานออกแบบ เพื่อให้บัณฑิตที่สำ�เร็จการศึกษา มีความพร้อมในการทำ�งานวิชาชีพสถาปัตยกรรมในระดับสากล มี ความสามารถในการทำ � งานทุ ก ขั้ น ตอนของการบริ การวิ ช าชี พ สถาปัตยกรรม มีความรู้ความเข้าใจต่อกลไก ระบบ และทิศทางใน อนาคตของงานบริการวิชาชีพสถาปัตยกรรมธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง องค์กร วิชาชีพและสังคม ทั้งในระดับองค์กร ชาติ และสากล สภาสถาปนิ ก ได้ รั บ รองมาตราฐานวิ ช าการหลั ก สู ต ร สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2555) ของ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

บัณฑิตที่สำ�เร็จการศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรม สามารถ นำ�ความรู้ไปประกอบอาชี​ีพที่หลากหลาย เช่น สถาปนิก นักวิชาการ นักวิจยั เจ้าของกิจการ นักพัฒนาโครงการ นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่ปรึกษาโครงการ ผู้ประสานงานโครงการ นักออกแบบอิสระ

หลักสูตรปริญญาตรี 209


หลักสูตร

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (5 ปีการศึกษา) มี จำ�นวน 170 หน่วยกิต มีโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาแบบปกติ และ แบบสหกิจศึกษา ดังนี้ หลักสูตรการศึกษาแบบปกติ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 134 หน่วยกิต วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 24 หน่วยกิต วิชาเอก-บังคับ 95 หน่วยกิต วิชาเอก-เลือก 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 170 หน่วยกิต หลักสูตรการศึกษาแบบสหกิจศึกษา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มวิชาบังคับ กลุ่มวิชาเลือก หมวดวิชาเฉพาะ วิชาพื้นฐานวิชาชีพ วิชาเอก-บังคับ วิชาสหกิจศึกษา วิชาเอก-เลือก หมวดวิชาเลือกเสรี รวม

210 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

30 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 134 หน่วยกิต 24 หน่วยกิต 91 หน่วยกิต 13 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 170 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

3 3 3 3


หมวดวิชาเฉพาะ (134 หน่วยกิต)

หน่วยกิต วิชาพื้นฐานวิชาชีพ (24 หน่วยกิต) กลุ่มวิชาพื้นฐาน (24 หน่วยกิต) (ตามเกณฑ์ข้อบังคับสภาสถาปนิกฯ กำ�หนดกลุ่มวิชาพื้นฐานไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต) สถพ. 161 การวาดเส้นและแสดงผลงาน 1 3 ARF 161 Drawing and Rendering I สถพ. 162 การวาดเส้นและแสดงผลงาน 2 3 ARF 162 Drawing and Rendering II สถพ. 163 การออกแบบเบื้องต้น 3 ARF 163 Basic Design สถพ. 164 การเขียนแบบเบื้องต้น 3 ARF 164 Basic Graphic and Drafting สถพ. 165 วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในการออกแบบ 3 ARF 165 Science and Mathematics in Design สถพ. 166 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและการออกแบบ 1 3 ARF 166 History of Architecture and Design I สถพ. 167 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและการออกแบบ 2 3 ARF 167 History of Architecture and Design II สถพ. 361 สถาปัตยกรรมไทย 3 ARF 361 Thai Architecture วิชาเอก-บังคับ (95 หน่วยกิต) กลุ่มวิชาหลัก (50 หน่วยกิต) (ตามเกณฑ์ข้อบังคับสภาสถาปนิกฯ กำ�หนดกลุ่มวิชาหลักไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต) สถป. 151 การออกแบบสถาปัตยกรรม 1 4 ARC 151 Architectural Design I สถป. 152 การออกแบบสถาปัตยกรรม 2 4 ARC 152 Architectural Design II สถป. 253 การออกแบบสถาปัตยกรรม 3 4 ARC 253 Architectural Design III

หน่วยกิต สถป. 254 การออกแบบสถาปัตยกรรม 4 4 ARC 254 Architectural Design IV สถป. 355 การออกแบบสถาปัตยกรรม 5 4 ARC 355 Architectural Design V สถป. 356 การออกแบบสถาปัตยกรรม 6 4 ARC 356 Architectural Design VI สถป. 451 การออกแบบสถาปัตยกรรมใน 3 กลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ARC 451 Architectural Design in Southeast Asian Nations สถป. 452 วิธีการวางแผนและวิจัยโครงการออกแบบ 3 สถาปัตยกรรม ARC 452 Programming and Research Methods in Architecture สถป. 457 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7 4 ARC 457 Architectural Design VII สถป. 458 การออกแบบสถาปัตยกรรม 8 4 (สำ�หรับนักศึกษาที่เลือกเรียนแบบปกติ) ARC 458 Architectural Design VIII สถป. 551 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 ARC 551 Thesis Preparation สถป. 552 วิทยานิพนธ์ 9 ARC 552 Thesis กลุ่มวิชาเทคโนโลยี (24 หน่วยกิต) (ตามเกณฑ์ข้อบังคับสภาสถาปนิกฯ กำ�หนดกลุ่มวิชาเทคโนโลยีไม่ น้อยกว่า 20 หน่วยกิต) สถป. 171 การก่อสร้างและวัสดุในงานสถาปัตยกรรม 1 3 ARC 171 Construction and Materials in Architecture I สถป. 272 การก่อสร้างและวัสดุในงานสถาปัตยกรรม 2 3 ARC 272 Construction and Materials in Architecture II หลักสูตรปริญญาตรี 211


หน่วยกิต สถป. 273 การก่อสร้างและวัสดุในงานสถาปัตยกรรม 3 3 ARC 273 Construction and Materials in Architecture III สถป. 274 การออกแบบและวิเคราะห์โครงสร้าง 1 3 ARC 274 Structural Design and Analysis I สถป. 275 การออกแบบและวิเคราะห์โครงสร้าง 2 3 ARC 275 Structural Design and Analysis II สถป. 276 งานระบบประกอบอาคาร 1 3 ARC 276 Building System I สถป. 374 การก่อสร้างและวัสดุในงานสถาปัตยกรรม 4 3 ARC 374 Construction and Materials in Architecture IV สถป. 377 งานระบบประกอบอาคาร 2 3 ARC 377 Building System II กลุม่ วิชาสนับสนุน (21 หน่วยกิต) (ตามเกณฑ์ขอ้ บังคับสภาสถาปนิกฯ กำ�หนดกลุ่มวิชาสนับสนุนไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต) สถป. 281 คอมพิวเตอร์สำ�หรับการปฏิบัติงาน 3 ออกแบบสถาปัตยกรรม 1 ARC 281 Computer for Architectural Practice I สถป. 282 คอมพิวเตอร์สำ�หรับการปฏิบัติงาน 3 ออกแบบสถาปัตยกรรม 2 ARC 282 Computer for Architectural Practice II สถป. 381 กฎหมายและระเบียบข้อบังคับอาคาร 3 ARC 381 Law and Building Codes สถป. 382 การออกแบบตกแต่งภายใน 3 ARC 382 Interior Design สถป. 383 ภูมิสถาปัตยกรรมและการวางผังบริเวณ 3 ARC 383 Landscape Architecture and Site Planning สถป. 384 การออกแบบผังเมือง 3 ARC 384 Urban Design 212 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต สถป. 482 การปฏิบัติงานวิชาชีพ 0 ARC 482 Internship สถป. 581 การประกอบวิชาชีพออกแบบสถาปัตยกรรม 3 ARC 581 Professional Practicein Architectural Design วิชาสหกิจศึกษา (สำ�หรับนักศึกษาที่เลือกเรียนแบบสหิจศึกษา 13 หน่วยกิต) สถป. 459 สหกิจศึกษาในการประกอบวิชาชีพ 10 สถาปัตยกรรม ARC 459 Cooperative Education in Architectural Practice สถป. 499 เตรียมสหกิจศึกษา 3 ARC 499 Pre-Cooperative Education วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) กลุ่มวิชา Architectural Design& Production Management สถป. 491 การจัดการองค์กรและการออกแบบ 3 สถาปัตยกรรม ARC 491 Architectural Design and Organization Management สถป. 492 การศึกษาความเป็นไปได้โครงการ 3 ARC 492 Project Feasibility Study สถป. 493 นวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิตงานออกแบบ 3 ARC 493 Innovative Technology in Design Production สถป. 591 การจัดทําเอกสารประกอบโครงการ 3 ARC 591 Project Design Documentation สถป. 592 การสื่อสารในการให้บริการวิชาชีพสถาปัตยกรรม 3 ARC 592 Communication in Architectural Services


กลุ่มวิชา Architectural Construction Management หน่วยกิต สถป. 494 การสำ�รวจปริมาณและการประมาณราคา 3 ARC 494 Quantity Survey and Cost Estimation สถป. 495 การจัดการเอกสารก่อสร้าง 3 ARC 495 Construction Documentation สถป. 496 การบริหารงานก่อสร้าง 3 ARC 496 Construction Management สถป. 594 คอมพิวเตอร์สำ�หรับการบริหารงานก่อสร้าง 3 ARC 594 Computer Applications in Construction Management สถป. 595 การจัดการระบบอาคาร 3 ARC 595 Building Service Management

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

นักศึกษาจะต้องเลือกเรียนรายวิชาอืน่ ทีเ่ ปิดสอนในมหาวิทยาลัย กรุงเทพ ไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต หรือเลือกเรียนในรายวิชาดังต่อไปนี้ กม. 103 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจ 3 LA 103 Introduction to Business Law กม. 102 กฎหมายธุรกิจ 3 LA 102 Business Law จก. 101 ความรู้เบื้องต้นทางธุรกิจ 3 MG 101 Introduction to Business จก. 112 การจัดการ 3 MG 112 Management ธป. 321 การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ 3 IB 321 International Business Management ตล. 212 การตลาด 3 MK 212 Marketing อม. 201 การจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ 3 OH 201 Organization and Human Resource Management

หน่วยกิต ปช. 200 หลักการประชาสัมพันธ์ 3 PR 200 Public Relations Principles สต. 200 การสื่อสารตราเชิงบูรณาการ 3 BD 200 Integrated Brand Communications อน. 261 ศิลปะการใช้ตัวพิมพ์ 3 CD 261 Typography อน. 263 การถ่ายภาพ 3 CD 263 Photography อน. 267 ภาพประกอบ 3 CD 267 Illustration อน. 266 การออกแบบสื่อ 4 มิติ 3 CD 266 Time-based Media Design บธ. 111 การคิดแบบสร้างสรรค์ 3 BA 111 Creative Thinking บธ. 211 ความรู้เบื้องต้นทางธุรกิจ 3 BA 211 Introduction to Business บธ. 312 การพัฒนาบุคลิกภาพ 3 BA 312 Personality Development บธ. 313 ทักษะสำ�หรับนักธุรกิจ 3 BA 313 Business Professional Skills จธท.122 การพูดภาษาจีน 1 3 CIB 122 Chinese Speaking I อก. 333 ภาษาอังกฤษสำ�หรับการค้าระหว่างประเทศ 3 EN 333 Englishfor International Trade อก. 359 การสนทนาเชิงธุรกิจ 3 EN 359 Business Speech Communication ศก. 109 ศิลปะนิยม 3 FA 109 Art Appreciation หลักสูตรปริญญาตรี 213


ศก. 317 พฤติกรรมผู้บริโภคเบื้องต้น FA 317 Introduction to Consumer Behavior ศป. 201 ภาษาไทยธุรกิจ LB 201 Business Thai ศป. 211 ตรรกวิทยา LB 211 Logic ศป. 311 จิตวิทยาเพื่อชีวิตและการทำ�งาน LB 311 Psychology for Life and Work ศป. 313 จิตวิทยาเพื่อพัฒนาภาวะผู้นำ� LB 313 Psychology for Leadership ศศ. 222 เศรษฐกิจพอเพียง EC 222 Sufficiency Economy

หน่วยกิต 3

3

บั ณ ฑิ ต ที่ สำ � เร็ จ การศึ ก ษาสาขาวิ ช าการออกแบบภายใน สามารถนำ�ความรู้ไปประกอบอาชี​ีพที่หลากหลาย เช่น สถาปนิก ภายใน มัณฑนากร นักออกแบบภายใน นักวิชาการ นักวิจัย เจ้าของ กิจการ ที่ปรึกษาโครงการ ผู้ประสานงานโครงการ นักออกแบบ เครื่องเรือน นักออกแบบอิสระ นักออกแบบนิทรรศการ

3

หลักสูตร

3

3 3

สาขา​วิชาการออกแบบภายใน หลักสูตรที่ผลิตนักวิชาชีพในสาขาสถาปัตยกรรมภายในและ มัณฑนศิลป์ หรือสถาปนิกภายใน ที่เพียบพร้อมด้วยศักยภาพและ ความคิดสร้างสรรค์ ทัง้ ในเชิงการออกแบบและการบริหารจัดการ โดย มุง่ เน้นศาสตร์การออกแบบทีร่ ว่ มสมัย ผนวกองค์ความรูใ้ นเชิงเทคนิค ในการผลิตและจัดการในทุกขั้นตอนของงานออกแบบ และมีความ เข้าใจและสามารถวิเคราะห์งานออกแบบได้ เพื่อให้บัณฑิตที่สำ�เร็จ การศึกษามีความพร้อมที่จะทำ�งานวิชาชีพในระดับสากล มีความ สามารถในการทำ�งานทุกขั้นตอนของงานออกแบบ มีความรู้ความ เข้าใจต่อกลไก ระบบ และทิศทาง ในอนาคตของงานออกแบบ ธุรกิจ ที่เกี่ยวข้อง องค์กรวิชาชีพและสังคมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

214 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 144 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 108 หน่วยกิต วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 21 หน่วยกิต วิชาเอก-บังคับ 72 หน่วยกิต วิชาเอก-เลือก 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 144 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3


กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) หน่วยกิต ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หมวดวิชาเฉพาะ (108 หน่วยกิต)

3 3 3 3

วิชาพื้นฐานวิชาชีพ (21 หน่วยกิต) (ตามเกณฑ์ข้อบังคับสภาสถาปนิกฯ กำ�หนดกลุ่มวิชาพื้นฐานไม่น้อย กว่า 21 หน่วยกิต) สถพ. 161 การวาดเส้นและแสดงผลงาน 1 3 ARF 161 Drawing and Rendering I สถพ. 162 การวาดเส้นและแสดงผลงาน 2 3 ARF 162 Drawing and Rendering II สถพ. 163 การออกแบบเบื้องต้น 3 ARF 163 Basic Design

หน่วยกิต สถพ. 164 การเขียนแบบเบื้องต้น 3 ARF 164 Basic Graphic and Drafting สถพ. 165 วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในการออกแบบ 3 ARF 165 Science and Mathematics in Design สถพ. 166 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและการออกแบบ 1 3 ARF 166 History of Architecture and Design I สถพ. 167 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและการออกแบบ 2 3 ARF 167 History of Architecture and Design II วิชาเอก-บังคับ (72 หน่วยกิต) กลุ่มวิชาหลัก (42 หน่วยกิต) (ตามเกณฑ์ข้อบังคับสภาสถาปนิกฯ กำ�หนดกลุ่มวิชาหลักไม่น้อยกว่า 33 หน่วยกิต) อภน. 151 การออกแบบภายใน 1 4 INT 151 Interior Design I อภน. 152 การออกแบบภายใน 2 4 INT 152 Interior Design II อภน. 251 ทฤษฎีและการวิพากษ์งานสถาปัตยกรรมภายใน 3 INT 251 Theory and Criticism of Interior Architecture อภน. 253 การออกแบบภายใน 3 4 INT 253 Interior Design III อภน. 254 การออกแบบภายใน 4 4 INT 254 Interior Design IV อภน. 352 วิธีการวางแผนโครงการออกแบบภายใน 3 INT 352 Programming Methods in Interior Design อภน. 355 การออกแบบภายใน 5 4 INT 355 Interior Design V อภน. 356 การออกแบบภายใน 6 4 INT 356 Interior Design VI อภน. 457 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 INT 457 Thesis Preparation หลักสูตรปริญญาตรี 215


อภน. 458 วิทยานิพนธ์การออกแบบภายใน INT 458 Thesis in Interior Design

หน่วยกิต 9

กลุ่ ม วิ ช าเทคโนโลยี (18 หน่ ว ยกิ ต ) (ตามเกณฑ์ ข้ อ บั ง คั บ สภา สถาปนิกฯ กำ�หนดกลุ่มวิชาเทคโนโลยีไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต) สถป. 171 การก่อสร้างและวัสดุในงานสถาปัตยกรรม 1 3 ARC 171 Construction and Materials in Architecture 1 สถป. 276 งานระบบประกอบอาคาร 1 3 ARC 276 Building System I สถป. 377 งานระบบประกอบอาคาร 2 3 ARC 377 Building System II อภน. 271 วัสดุอุปกรณ์และการก่อสร้างงานตกแต่งภายใน 3 INT 271 Materials and Interior Construction อภน. 372 การศึกษาโครงสร้างงานสถาปัตยกรรม 3 ภายในสาธารณะ INT 372 Public Interior Architectural Studies อภน. 373 การออกแบบเครื่องเรือน 3 INT 373 Furniture Design กลุม่ วิชาสนับสนุน (12 หน่วยกิต) (ตามเกณฑ์ขอ้ บังคับสภาสถาปนิกฯ กำ�หนดกลุ่มวิชาสนับสนุนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) สถป. 281 คอมพิวเตอร์สำ�หรับการปฏิบัติงานออกแบบ 3 สถาปัตยกรรม 1 ARC 281 Computer for Architectural Practice I สถป. 282 คอมพิวเตอร์สำ�หรับการปฏิบัติงานออกแบบ 3 สถาปัตยกรรม 2 ARC 282 Computer for Architectural Practice II อภน. 283 ระเบียบวิธีวิจัยและกระบวนการในการออกแบบ 3 INT 283 Research Methodology and Process in Design 216 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต อภน. 381 การปฏิบัติงานวิชาชีพ 0 INT 381 Internship อภน. 482 การประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน 3 และมัณฑนศิลป์ INT 482 Professional Practice in Interior Architecture วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) กลุ่ม Hospitality Design (การออกแบบภายในพื้นที่เพื่อการโรงแรม และการบริการ) อภน. 391 การสร้างแนวความคิดและนวัตกรรม 3 ในงานออกแบบพื้นที่การให้บริการ INT 391 Conceptual Thinking and Innovation in Hospitality Design อภน. 392 การออกแบบรีสอร์ทและสปา 3 INT 392 Resort and Spa Design อภน. 393 สภาพแวดล้อมในการออกแบบอาคาร 3 เพื่อการโรงแรม INT 393 Environments of Hospitality Design อภน. 491 การออกแบบและวางผังพื้นที่บริการอาหาร 3 และเครื่องดื่ม INT 491 Food and Beverage Space Planning and Design อภน. 495 เอกสารงานก่อสร้างในงานออกแบบภายใน 3 INT 495 Construction Document in Interior Design กลุ่ม Exhibition Design and Event Management (การออกแบบ นิทรรศการและการบริหารการสร้างสรรค์กิจกรรม) อภน. 394 การสร้างแนวความคิดและนวัตกรรม 3 ในงานออกแบบนิทรรศการ INT 394 Conceptual Thinking and Innovation in Exhibition Design


หน่วยกิต อภน. 395 การออกแบบนิทรรศการ 3 INT 395 Exhibition Design อภน. 396 การออกแบบและจัดการพิพิธภัณฑ์ 3 INT 396 Museum Design and Management อภน. 492 การบริหารการสร้างสรรค์กิจกรรม 3 INT 492 Event Management อภน. 495 เอกสารงานก่อสร้างในงานออกแบบภายใน 3 INT 495 Construction Document in Interior Design กลุ่ม Retail Space Design (การออกแบบพื้นที่ค้าปลีก) อภน. 397 การสร้างแนวความคิดและนวัตกรรม 3 ในงานออกแบบพื้นที่ค้าปลีก INT 397 Conceptual Thinking and Innovation in Retail Space อภน. 398 การออกแบบพื้นที่ค้าปลีก 3 INT 398 Retail Space Design อภน. 399 กลไกทางสังคมกับการออกแบบพื้นที่ค้าปลีก 3 INT 399 Social Mechanism and Retail Space Designing อภน. 493 อัตลักษณ์และเรขศิลปในสภาพแวดล้อม 3 ในงานออกแบบภายใน INT 493 Corporate Identity and Environmental Graphic in Interior Design อภน. 495 เอกสารงานก่อสร้างในงานออกแบบภายใน 3 INT 495 Construction Document in Interior Design

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

นักศึกษาสามารถเลือกวิชาต่อไปนี้หรือวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอน ในมหาวิทยาลัยกรุงเทพทีค่ ณะฯ อนุมตั ิให้เป็นวิชาเลือก รวมแล้วต้อง ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

หน่วยกิต นศ. 216 วาทวิทยา 3 CA 216 Speech ศศ. 201 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 3 EC 201 Micro-Economics ศป. 305 สังคีตนิยม 3 LB 305 Music Appreciation จก. 323 การบริหารสำ�นักงาน 3 MG 323 Office Management ตล. 212 การตลาด 3 MK 212 Marketing ตล. 328 การตลาดบริการ 3 MK 328 Services Marketing กม. 102 กฎหมายธุรกิจ 3 LA 102 Business Law ทย. 327 การพูดในที่ชุมชน 3 TH 327 Public Speaking ศก. 431 การดำ�เนินธุรกิจออกแบบ 3 FA 431 Design Management ศก. 432 ศึกษาและสำ�รวจงานศิลปะและสถาปัตยกรรมไทย 3 FA 432 Survey of Thai Art and Architecture ศก. 433 ศึกษางานศิลปะและงานออกแบบนานาชาติ 3 FA 433 International Art and Design Studies กง. 329 การประเมินราคาอสังหาริมทรัพย์ 3 FI 329 Real Estate Appraisal กง. 412 การศึกษาความเป็นไปได้และการประเมินโครงการ 3 FI 412 Feasibility Study and Project Evaluation สต. 302 การพัฒนาเอกลักษณ์และการออกแบบตรา 3 BD 302 Brand Identity Development and Design คก. 121 วัสดุวิศวกรรม 3 ME 121 Engineering Materials หลักสูตรปริญญาตรี 217



นิเทศ​ศาสตร​บัณฑิต (นศ.บ.) Bachelor of Arts (Communication Arts) B.A. (Communication Arts) สร้างนักสื่อสารหัวใจสร้างสรรค์ที่มีความเป็นมืออาชีพ ซึ่ง เหนือกว่าด้วยคุณภาพของหลักสูตรทีบ่ รู ณาการความโดดเด่นของทุก สาขาวิชา ผนวกเข้ากับเทคโนโลยีการเรียนการสอนที่ครบวงจรและ ทันสมัยในระดับชั้นน�ำของอาเซียน ถึงพร้อมด้วยห้องปฏิบัติการและ อุปกรณ์การเรียนการสอนที่ทันสมัยระดับมืออาชีพ เพื่อให้นักศึกษา ได้ฝึกปฏิบัติจริงและรองรับการใช้งานของนักศึกษาแบบ 1 ต่อ 1 อาทิ ห้องปฏิบัติการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ Center for Cinematic and Digital Arts ศูนย์ผลิตภาพยนตร์และผลงานดิจิตอลครบวงจรที่ทัน สมัย และคณะละคร BU Theatre Company นับเป็นการเตรียมความ พร้อมทีจ่ ะก้าวสูก่ ารสร้างสรรค์ผลงานระดับมืออาชีพ ในทุกสาขาวิชา และเพือ่ ตอบรับการเปลีย่ นแปลงของอุตสาหกรรมการสือ่ สารทีก่ า้ วล�ำ้ หน้าอย่างรวดเร็ว ให้ความสำ�คัญกับการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการสร้างความ สัมพันธ์และเปิดโอกาสให้อาจารย์และนักศึกษาได้รว่ มพัฒนาศักยภาพ ในการผลิตผลงานและสร้างสรรค์นวัตกรรมการสือ่ สารทัง้ ในรูปแบบที่ แตกต่าง เนือ้ หาทีเ่ ข้มข้น โดนใจและมีมาตรฐานสากล รวมถึงสะท้อน พัฒนาการของสังคมอย่างเป็นรูปธรรม อย่างเช่น ผลงานละครเวทีที่ เปิดการแสดงมาแล้วทั้งในประเทศ ในเอเชียและในยุโรป สนุกกับการ เรียนรู้และสร้างสรรค์ผลงานราวกับมืออาชีพด้วยหลักสูตรที่เข้มข้น ทางวิชาการและทางปฏิบตั กิ าร เพือ่ สร้างนักนิเทศศาสตร์ทมี่ คี วามคิด นอกกรอบ สร้างสรรค์ และลงมือทำ�ได้จริง ให้กับสังคมไทย ปัจจุบันคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปิดสอน 7 สาขาวิชา คือ • สาขา​วิชา​การ​ประชาสัมพันธ์ • สาขา​วิชา​วารสารศาสตร์ • สาขา​วิชา​การ​โฆษณา

• สาขา​วิชา​ศิลปะ​การ​แสดง ทักษะสร้างสรรค์ศิลปะการ​แสดง ศิลปะการแสดงนานาชาติ • สาขา​วิชา​วิทยุ​กระจาย​เสียงและ​วิทยุ​โทรทัศน์ • สาขา​วิชา​ภาพยนตร์ การผลิตภาพยนตร์ การบริหารงานภาพยนตร์ ภาพยนตร์ศึกษาและการผลิตภาพยนตร์ทางเลือก • สาขา​วิชา​การ​สื่อสารตรา

หลักสูตร

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต แยกออกเป็นแผนการศึกษา แบบปกติ และแผนการศึกษาแบบสหกิจศึกษา โดยมีรายละเอียด ดังนี้ จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 96 หน่วยกิต วิชาแกน 36 หน่วยกิต วิชาเอก-บังคับ 30 หน่วยกิต วิชาเอก-เลือก 15 หน่วยกิต วิชาโท 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 9 หน่วยกิต รวม 135 หน่วยกิต

หลักสูตรปริญญาตรี 219


หมวด​วิชา​ศึกษา​ทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy 220 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 3 3 3

หมวดวิชาเฉพาะ (96 หน่วยกิต)

หน่วยกิต วิชาแกน (36 หน่วยกิต) วิชาบังคับนอกสาขา (9 หน่วยกิต) สถ. 203 สถิติเพื่อสังคมศาสตร์ 3 ST 203 Statistics for Social Sciences อก. 340 ภาษาอังกฤษสำ�หรับนิเทศศาสตร์มืออาชีพ 1 3 EN 340 English for Professional Communication Arts I อก. 341 ภาษาอังกฤษสำ�หรับนิเทศศาสตร์มืออาชีพ 2 3 EN 341 English for Professional Communication Arts II วิชาบังคับในสาขา (27 หน่วยกิต) นทศ. 101 การสื่อสารเบื้องต้น 3 COM 101 Introduction to Communication นทศ. 102 ความรูเ้ บือ้ งต้นทางกฎหมาย 3 สำ�หรับนิเทศศาสตร์ COM 102 Introduction to Law for Communication Arts นทศ. 103 วาทวิทยา 3 COM 103 Speech นทศ. 104 การถ่ายภาพดิจิทัล 3 COM 104 Digital Photography นทศ. 105 การวิจัยการสื่อสารเบื้องต้น 3 COM 105 Introduction to Communication Research นทศ. 106 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ 3 COM 106 Integrated Marketing Communications นทศ. 107 สื่อมวลชนกับสังคม 3 COM 107 Mass Media and Society เลือกเรียน 3 วิชาจาก 7 วิชาต่อไปนี้ (6 หน่วยกิต) นทศ. 111 การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น COM 111 Introduction to Public Relations

2


หน่วยกิต นทศ. 112 วารสารศาสตร์เบื้องต้น 2 COM 112 Introduction to Journalism นทศ. 113 การโฆษณาเบื้องต้น 2 COM 113 Introduction to Advertising นทศ. 114 ศิลปะการแสดงเบื้องต้น 2 COM 114 Introduction to Performing Arts นทศ. 115 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เบื้องต้น 2 COM 115 Introduction to Broadcasting นทศ. 116 การภาพยนตร์เบื้องต้น 2 COM 116 Introduction to Film นทศ. 117 การสื่อสารตราเบื้องต้น 2 COM 117 Introduction to Brand Communications

หมวดวิชาเลือกเสรี (9 หน่วยกิต)

นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งเลื อ กเรี ย นรายวิ ช าอื่ น ที่ เ ปิ ด สอนใน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต หรือเลือกเรียนใน รายวิชาดังต่อไปนี้ นทศ. 151 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจบันเทิง 3 COM 151 Public Relations for Entertainment Business นทศ. 152 การพัฒนาบุคลิกภาพเพือ่ วิชาชีพการประชาสัมพันธ์ 3 COM 152 Personality Development for Public Relations Profession นทศ. 153 การประชาสัมพันธ์เพื่อธุรกิจขนาดกลาง 3 และขนาดย่อม COM 153 Public Relations for Small and Medium Business Enterprises นทศ. 154 การประชาสัมพันธ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 3 COM 154 Public Relations for Creative Industries นทศ. 155 การเจรจาต่อรองและการแก้ปญั หาความขัดแย้ง 3 COM 155 Negotiation and Conflict Resolution

หน่วยกิต นทศ. 156 การประชาสัมพันธ์ทางการเมือง 3 COM 156 Political Public Relations นทศ. 157 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจสันทนาการ 3 COM 157 Public Relations for Recreation นทศ. 158 การสื่อสารเพื่อสุขภาพ 3 COM 158 Health communication นทศ. 159 การประชาสัมพันธ์บุคคลผู้มีชื่อเสียง 3 COM 159 Public Relations for Celebrity นทศ. 160 การเขียนเชิงสร้างสรรค์สำ�หรับงานกิจกรรม 3 และการนำ�เสนอ COM 160 Creative Writing for Event and Presentation นทศ. 161 การวางแผนและการบริหารกิจกรรม 3 เชิงสร้างสรรค์ COM 161 Creative Event Planning and Management นทศ. 251 ทักษะการเป็นผู้ประกาศ 3 COM 251 Newscaster Performance นทศ. 252 ประวัติศาสตร์วารสารศาสตร์ 3 COM 252 History of Journalism นทศ. 253 การรายงานข่าวกีฬา 3 COM 253 Sport Reporting นทศ. 254 การรายงานข่าวเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 COM 254 ICT Reporting นทศ. 255 การแปลข่าว 3 COM 255 News Translation นทศ. 256 ศิลปะและสุนทรียศาสตร์เพื่อ 3 งานวารสารศาสตร์ COM 256 Arts and Aesthetics for Journalism นทศ. 257 การผลิตสารคดีเชิงข่าว 3 COM 257 News Documentary Production หลักสูตรปริญญาตรี 221


หน่วยกิต นทศ. 258 การสื่อข่าวเฉพาะทาง 3 COM 258 Specialized Reporting นทศ. 351 การโฆษณาสำ�หรับผู้ประกอบการขนาดกลาง 3 และขนาดย่อม COM 351 Advertising for SMEs นทศ. 352 แฟ้มผลงานสร้างสรรค์ 3 COM 352 Creative Portfolio นทศ. 353 การออกแบบเพื่อการสื่อสาร 3 COM 353 Communication Design นทศ. 354 การโฆษณาเพื่อการค้าสมัยใหม่ 3 COM 354 Advertising for Modern Trade นทศ. 355 การถ่ายภาพในสตูดิโอ 3 COM 355 Studio Photography นทศ. 356 การสร้างภาพเคลื่อนไหวในงานโฆษณา 3 COM 356 Motion Graphics in Advertising นทศ. 357 กิจกรรมพิเศษทางการตลาด 3 COM 357 Event Marketing นทศ. 358 การฝึกงานโฆษณา 3 COM 358 Advertising Internship นทศ. 359 ทักษะทางภาษาสำ�หรับผู้ประกอบ 3 วิชาชีพโฆษณา COM 359 Language Skills for Advertising Practitioner นทศ. 360 ศึกษาเชิงประสบการณ์ธุรกิจโฆษณา 3 ระหว่างประเทศ COM 360 International Field Study in Advertising นทศ. 461 การแต่งหน้าสำ�หรับการแสดง 3 COM 461 Theatre Make-up นทศ. 462 การแต่งหน้าสำ�หรับการแสดงขั้นสูง 3 COM 462 Advanced Theatrical Make-up 222 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต นทศ. 463 การออกแบบมัลติมเี ดียสำ�หรับการแสดงบนเวที 3 COM 463 Multimedia Design for Live Performance นทศ. 464 การสร้างอุปกรณ์ประกอบฉาก 3 COM 464 Props Making นทศ. 465 ละครหุ่น 3 COM 465 Puppetry นทศ. 466 ละครใบ้ 3 COM 466 Mime นทศ. 467 นาฏลีลาร่วมสมัย 3 COM 467 Contemporary Dance นทศ. 468 นาฏศิลป์ไทย 3 COM 468 Thai Dance นทศ. 469 แนวโน้มศิลปะในละคร โทรทัศน์ 3 และภาพยนตร์ COM 469 Art Trend in Theatre, Television and Film นทศ. 470 วาดสีฉาก 3 COM 470 Scene Painting นทศ. 471 การออกแบบฉาก 3 COM 471 Scenic Design นทศ. 472 การออกแบบแสง 3 COM 472 Lighting Design นทศ. 473 การออกแบบเครื่องแต่งกาย 3 COM 473 Costume Design นทศ. 474 ประวัติการละคร 3 COM 474 History of Theatre นทศ. 475 การศึกษาการแสดงสากล 3 COM 475 World Performing Arts Studies นทศ. 476 ละครตะวันออก 3 COM 476 Oriental Drama


หน่วยกิต นทศ. 477 โอเปรา 3 COM 477 Opera นทศ. 478 ละครเบรคชท์ 3 COM 478 Brechtian Theatre นทศ. 479 ละครแอบเสิร์ด 3 COM 479 Absurd Theatre นทศ. 480 ผู้หญิงในละคร 3 COM 480 Women in Drama and Theatre นทศ. 481 ละครในการศึกษา 3 COM 481 Theatre in Education นทศ. 482 การแสดงเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ 3 COM 482 Acting for Personality Development นทศ. 483 การอ่านเพื่อสื่อความหมาย 3 COM 483 Oral Interpretation นทศ. 484 ละครสำ�หรับเด็ก 3 COM 484 Theatre for Children นทศ. 485 ทฤษฎีการแสดงและการกำ�กับการแสดง 3 COM 485 Theories of Acting and Directing นทศ. 486 ละครแนวทดลอง 3 COM 486 Experimental Theatre นทศ. 487 เชคสเปียร์ในสังคมร่วมสมัย 3 COM 487 Shakespeare in Contemporary Society นทศ. 488 โศกนาฏกรรม 3 COM 488 Tragedy นทศ. 489 สุขนาฏกรรม 3 COM 489 Comedy นทศ. 490 การศึกษาแนวโน้มศิลปะการแสดงร่วมสมัย 3 COM 490 Contemporary Trend in Performing Arts นทศ. 491 ละครไทยในสังคมร่วมสมัย 3 COM 491 Thai Drama in Contemporary Society

หน่วยกิต นทศ. 551 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อสังคม 3 COM 551 Social Broadcasting นทศ. 552 การผลิตรายการสารคดี 3 COM 552 Documentary Production นทศ. 553 การผลิตรายการกีฬา 3 COM 553 Sports Production นทศ. 554 การออกแบบแสงสำ�หรับงานวิทยุโทรทัศน์ 3 COM 554 Lighting Design for Television นทศ. 555 การใช้เสียงในงานวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์ 3 COM 555 Voice Work in Broadcasting นทศ. 556 การผลิตงานวิดีทัศน์ระบบ 3 มิติ 3 COM 556 3D Video Production นทศ. 557 การควบคุมการผลิตในงานวิทยุโทรทัศน์ 3 และสื่อสมัยใหม่ COM 557 Producing for Television and New Media นทศ. 558 ระบบสื่อมวลชนโลก 3 COM 558 Global Media System นทศ. 559 ดนตรีในงานสื่อสารมวลชนร่วมสมัย 3 COM 559 Music in Contemporary Mass Media นทศ. 651 การแสดงสำ�หรับภาพยนตร์ 3 COM 651 Acting for Film นทศ. 652 เทคนิคการแสดงขั้นสูงสำ�หรับงานภาพยนตร์ 3 COM 652 Acting for the Cameras: Advanced Techniques นทศ. 653 ปฏิบัติการการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ 3 COM 653 Film Narrative Workshop นทศ. 654 ปฏิบัติการการสร้างดนตรีประกอบ 3 สำ�หรับภาพยนตร์ COM 654 Scoring for Film Workshop หลักสูตรปริญญาตรี 223


หน่วยกิต นทศ. 655 การตกแต่งฉากและเครื่องประกอบการแสดง 3 COM 655 Set Decoration and Props นทศ. 656 กราฟิกและภาพเคลื่อนไหว 3 COM 656 Graphics and Animation นทศ. 657 วิวัฒนาการภาพยนตร์เอเชีย 3 COM 657 Surveys of Asian Films นทศ. 658 วิวัฒนาการภาพยนตร์ยุโรปและอเมริกา 3 COM 658 Surveys of European and American Films นทศ. 659 วิวัฒนาการภาพยนตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3 COM 659 Surveys of South East Asian Films นทศ. 660 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตร์ทดลอง 3 COM 660 Experimental Filmmaking Workshop นทศ. 661 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตร์สารคดี 3 COM 661 Documentary Filmmaking Workshop นทศ. 662 สัมมนากระบวนการทำ�งานของนักสร้าง 3 ภาพยนตร์ไทย COM 662 Thai Filmmaker Master Class นทศ. 663 การควบคุมความต่อเนื่องในงานภาพยนตร์ 3 COM 663 Continuity in Film นทศ. 664 เทคนิคการตัดต่อภาพยนตร์ขั้นสูง 3 COM 664 Advanced Digital Editing Techniques นทศ. 665 เทคนิคพิเศษและการประกอบภาพ 3 COM 665 Special Effects and Digital Compositing for Film นทศ. 666 งานเก็บภาพยนตร์และภาพเคลื่อนไหว 3 COM 666 Film Archive Studies นทศ. 751 สื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสารตรา 3 COM 751 Digital Media for Brand Communications นทศ. 752 การสร้างความสัมพันธ์ตราเชิงกลยุทธ์ 3 COM 752 Strategic Brand Relationships

224 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต นทศ. 753 สุนทรียภาพเพื่อการสื่อสารตรา 3 COM 753 Aesthetics in Brand Communications นทศ. 754 การสร้างตราแฟชั่น 3 COM 754 Fashion Branding นทศ. 755 การสร้างตราผู้มีชื่อเสียง 3 COM 755 Celebrity Branding นทศ. 756 การสร้างตราในธุรกิจท่องเที่ยว 3 COM 756 Tourism Branding นทศ. 757 การสื่อสารตรากับสังคม 3 COM 757 Brand Communications and Society นทศ. 758 การสร้างตราธุรกิจบันเทิง 3 COM 758 Entertainment Branding นทศ. 759 เรื่องเฉพาะทางการสื่อสารตรา 3 COM 759 Selected Topics in Brand Communications นทศ. 851 การค้นคว้าอิสระ 3 COM 851 Independent Study นทศ. 852 การสื่อสารมวลชนระหว่างประเทศ 3 COM 852 International Mass Communication นทศ. 853 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา 3 COM 853 Development Communication นทศ. 854 สันติภาพศึกษา 3 COM 854 Peace Studies นทศ. 855 การสื่อสารระหว่างบุคคล 3 COM 855 Interpersonal Communication นทศ. 856 เพศในวัฒนธรรมนิยม 3 COM 856 Sex in Popular Culture นทศ. 857 โครงการบริการวิชาการแก่สังคม 3 แบบบูรณาการ COM 857 Integrated Academic Social Responsibility Project


สาขา​วิชา​การ​ประชาสัมพันธ์ (ภาค​ปกติ​และ​ภาค​พิเศษ) เหนือกว่าด้วยหลักสูตรทีส่ ร้างนักประชาสัมพันธ์ยคุ ใหม่ทมี่ าก ด้วยความคิดสร้างสรรค์ มองการณ์ไกล ก้าวล�้ำไปกับเทคโนโลยี และ แนวโน้มของโลกธุรกิจสมัยใหม่อย่างรอบด้าน เรียนรูก้ ารคิดวิเคราะห์ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การด�ำเนินงานประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ เสริมโอกาสทีเ่ หนือกว่าด้วยการฝึกปฏิบตั กิ บั Event Organizer ชือ่ ดัง ระดับโลก ฝึกทักษะด้านการสือ่ สาร การผลิตสือ่ การจัดกิจกรรมพิเศษ เติมประสบการณ์ด้วยกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลาย พร้อมเป็นนักประชาสัมพันธ์มอื อาชีพทีเ่ ก่งคิด เก่งสร้างสรรค์ พร้อมเผชิญกับทุกปัญหา พลิกวิกฤตสู่โอกาสด้วยปฏิบัติการ ที่เป็นจริง พร้อมก้าวน�ำอย่างโดดเด่นเพื่อสร้างภาพลักษณ์และชื่อเสียง อันดีงาม สร้างศรัทธา สร้างความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนระหว่างองค์กรกับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

นักประชาสัมพันธ์ (Public Relations Practitioner) พนักงาน สื่อสารองค์กร (Corporate Communication Officer) พนักงานบริษัท ตัวแทนด้านประชาสัมพันธ์ (Public Relations Agent) พนักงานบริษทั ที่ปรึกษาด้านการประชาสัมพันธ์ (Public Relations Consultant) พนักงานบริษัทรับออกแบบและจัดกิจกรรม (Event Organizer) พนั ก งานด้ า นลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ สื่อมวลชนสัมพันธ์ (Customer Relations, Investor Relations, Community Relations, Media Relations) นักวิจัย นักวิเคราะห์เพื่อ การประชาสัมพันธ์ (Public Relations Researcher, Public Relations Analyst) นักเขียน นักถ่ายภาพ นักออกแบบ และนักผลิ​ิตสื่อเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ (Public Relations Writer, Public Relations Photographer, Public Relations Media Designer and Producer) ทีป่ รึกษากลยุทธ์ดา้ นการประชาสัมพันธ์และสือ่ สารองค์กร (Strategic

Public Relations & Corporate Communication Consultant) นักประชาสัมพันธ์อิสระ (Freelance Public Relations) วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) หน่วยกิต ปชส. 201 การบริหารความสัมพันธ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3 PRT 201 Stakeholder Relationship Management ปชส. 202 การประชาสัมพันธ์เพื่อการประกอบการธุรกิจ 3 PRT 202 Public Relations for Business Enterprises ปชส. 203 การประชาสัมพันธ์องค์กร 3 PRT 203 Corporate Public Relations ปชส. 204 การวิจยั และการประเมินผลเพือ่ การประชาสัมพันธ์ 3 PRT 204 Public Relations Research and Evaluation ปชส. 205 การเขียนงานประชาสัมพันธ์ขั้นพื้นฐาน 3 PRT 205 Fundamental Public Relations Writing ปชส. 301 การออกแบบเนือ้ หาและการผลิตสือ่ ประชาสัมพันธ์ 3 PRT 301 Message Design and Public Relations Material Production ปชส. 302 สื่อดิจิทัลและการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ 3 PRT 302 Digital Media and Public Relations Production ปชส. 401 การวางแผนการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ 3 PRT 401 Strategic Public Relations Planning ปชส. 402 สัมมนาวิชาชีพการประชาสัมพันธ์ 3 PRT 402 Seminar in Public Relations ปชส. 403 การฝึกงานวิชาชีพการประชาสัมพันธ์ 3 PRT 403 Public Relations Professional Internship หรือ ปชส. 404 โครงการประชาสัมพันธ์ 3 PRT 404 Public Relations Project สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา 3 (สำ�หรับนักศึกษาทีเ่ ลือกแผนการศึกษาแบบสหกิจศึกษา) CO 301 Pre-Cooperative Education หลักสูตรปริญญาตรี 225


วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) หน่วยกิต นักศึกษาเลือกเรียน 15 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้ ปชส. 311 การเขียนเชิงกลยุทธ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 PRT 311 Strategic Public Relations Writing ปชส. 312 สื่อนวัตกรรมเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 PRT 312 Innovative Media for Public Relations ปชส. 313 ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 PRT 313 Creativity for Public Relations ปชส. 314 การประชาสัมพันธ์ระดับสากล 3 PRT 314 Global Public Relations ปชส. 315 การบริหารประเด็นและการสื่อสารในภาวะวิกฤติ 3 PRT 315 Issue Management and Crisis Communication ปชส. 321 การสื่อสารด้วยกิจกรรมเบื้องต้น 3 PRT 321 Introduction to Event Communication ปชส. 322 กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์กบั การสือ่ สารแบบบูรณาการ 3 PRT 322 Creative Event and Integrated Communications ปชส. 323 หลักการสร้างสรรค์และเทคโนโลยีสำ�หรับกิจกรรม 3 PRT 323 Creative Direction and Event Technology ปชส. 420 การสื่อสารด้วยกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ 3 และโครงการสนับสนุน PRT 420 Creative Event and Sponsorship Communication ปชส. 421 การสร้างสรรค์กิจกรรมส่งเสริมการตลาด 3 PRT 421 Creative Direction for Marketing Events ปชส. 422 การสร้างสรรค์กิจกรรมส่งเสริมองค์กร 3 PRT 422 Creative Direction for Corporate Events ปชส. 405 สหกิจศึกษาสำ�หรับนักประชาสัมพันธ์ 6 (สำ�หรับนักศึกษาทีเ่ ลือกแผนการศึกษาแบบสหกิจศึกษา) PRT 405 Cooperative Education for Public Relations

226 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จาก 1) กลุม่ วิชาทีภ่ าควิชาอืน่ ของคณะฯ กำ�หนดให้เป็นวิชาโท หรือ 2) กลุ่มวิชาของคณะอื่นที่คณะฯ อนุมัติให้เป็นวิชาโท 3) กลุ่มวิชาที่ภาควิชาการประชาสัมพันธ์กำ�หนดให้เป็นวิชาโท การปรับเปลี่ยนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทให้อยู่ ในดุลพินิจของ คณบดี วิชาโทการประชาสัมพันธ์ (สำ�หรับนักศึกษาที่ไม่ได้เรียนในสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์) นักศึกษาเรียน 5 วิชา ดังต่อไปนี้ หน่วยกิต ปชส. 202 การประชาสัมพันธ์เพื่อการประกอบการธุรกิจ 3 PRT 202 Public Relations for Business Enterprise ปชส. 203 การประชาสัมพันธ์องค์กร 3 PRT 203 Corporate Public Relations ปชส. 205 การเขียนงานประชาสัมพันธ์ขั้นพื้นฐาน 3 PRT 205 Fundamental Public Relations Writing ปชส. 401 การวางแผนการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ 3 PRT 401 Strategic Public Relations Planning ปชส. 420 การสื่อสารด้วยกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ 3 และโครงการสนับสนุน PRT 420 Creative Event and Sponsorship Communication


สาขา​วิชา​วารสารศาสตร์ หลั ก สู ต ร Convergence Journalism ของภาควิ ช า วารสารศาสตร์ออกแบบมาเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงของการ ทำ�งานทางด้านวารสารศาสตร์ ในโลกยุคหลอมรวมสื่อ ซึ่งต้องการ นักวารสารศาสตร์ทมี่ ที กั ษะในการนำ�เสนอเนือ้ หาทัง้ ในสือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ สื่อออนไลน์ รวมถึงสื่อใหม่ ด้วย คณาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒทิ างวิชาการ และมีประสบการณ์ในการทำ�งาน รวมทัง้ เครือ่ งมือทีท่ นั สมัยและเพียงพอต่อจำ�นวนนักศึกษา ทำ�ให้ภาค วิชาฯ มีความพร้อมทีจ่ ะผลิตบัณฑิตทีม่ คี วามคิดอันแหลมคม รวมทัง้ มีทักษะในการคิดและผลิตเนื้อหาทางวารสารศาสตร์ เพื่อนำ�เสนอใน สือ่ หลากหลายรูปแบบ บัณฑิตทีส่ ำ�เร็จหลักสูตรวารสารศาสตร์สามารถ ประกอบอาชีพได้หลากหลาย

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

นักข่าวหนังสือพิมพ์ (Journalist) นักข่าววิทยุโ​ทรทัศน์แ​ ละ​ วิทยุก​ ระจาย​เสียง (Broadcast News Journalist) ผูป้ ระกาศข่าว (News Anchor) กองบรรณาธิการ (Editorial Staff) บรรณาธิการข่าว (News Editor) นักเขียนอิสระ (Freelance Writer) คอลัมน์นิสต์ (Columnist) นักวิชาการด้านวารสารศาสตร์ (Journalism Scholar) วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) วสศ. 201 การหลอมรวมสื่อทางวารสารศาสตร์ CJR 201 Convergence Journalism วสศ. 202 การสื่อข่าวและการเขียนข่าว 1 CJR 202 News Reporting I วสศ. 203 การสื่อข่าวและการเขียนข่าว 2 CJR 203 News Reporting II วสศ. 204 การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน CJR 204 Current Affairs

หน่วยกิต 2 3 3 2

หน่วยกิต วสศ. 205 การบรรณาธิกรวารสารศาสตร์สิ่งพิมพ์ 2 CJR 205 Print Journalism Editing วสศ. 301 การถ่ายภาพวารสารศาสตร์ 3 CJR 301 Photojournalism วสศ. 302 เทคนิคการผลิตรายการข่าววิทยุกระจายเสียง 2 และวิทยุโทรทัศน์ CJR 302 Broadcast News Technique วสศ. 303 การออกแบบ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และเว็บเพจ 3 CJR 303 Publication and Web Design Production วสศ. 304 การบริหารงานสื่อวารสารศาสตร์เชิงหลอมรวม 2 CJR 304 Convergence Journalism Management วสศ. 305 การบรรณาธิกรวารสารศาสตร์เพื่อ 2 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CJR 305 Broadcast Journalism Editing วสศ. 401 ประเด็นในงานวารสารศาสตร์เชิงหลอมรวม 3 CJR 401 Special Topics in Convergence Journalism วสศ. 402 การฝึกงานวารสารศาสตร์ 3 CJR 402 Journalism Internship วสศ. 403 การศึกษาเฉพาะเรื่อง หรือ 3 CJR 403 Individual Study วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) วสศ. 211 การเขียนเชิงวารสารศาสตร์ 3 CJR 211 Journalistic Writing วสศ. 311 การเขียนเชิงวารสารศาสตร์ผ่านสื่อ 3 หลากหลายประเภท CJR 311 Journalistic Writing across Media วสศ. 312 วารสารศาสตร์เชิงวิจัย 3 CJR 312 Precision and Data Journalism หลักสูตรปริญญาตรี 227


หน่วยกิต วสศ. 411 การปฏิบัติการด้านหนังสือพิมพ์ 3 CJR 411 Newspaper Workshop วสศ. 412 การปฏิบัติการด้านวารสารศาสตร์ทาง หรือ 3 วิทยุกระจายเสียง CJR 412 Radio Journalism Workshop วสศ. 413 การปฏิบัติการด้านนิตยสาร 3 CJR 413 Magazine Workshop วสศ. 414 การปฏิบัติการด้านวารสารศาสตร์ หรือ 3 ทางวิทยุโทรทัศน์ CJR 414 Television Journalism Workshop หมายเหตุ: นักศึกษาที่เลือกเรียนวิชา วสศ. 411 จะต้องเรียน วสศ. 414 ในภาคการศึกษาที่ 2 นักศึกษาที่เลือกเรียนวิชา วสศ. 412 จะต้องเรียน วสศ. 413 ในภาคการศึกษาที่ 2 วิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จาก 1) กลุม่ วิชาทีภ่ าควิชาอืน่ ของคณะนิเทศศาสตร์กำ�หนดให้เป็น วิชาโท 2) ภาควิชาใดมีวิชาเอกเลือกสองสาขา นักศึกษาที่เรียนเอก เลือกสาขาหนึ่ง สามารถเลือกเรียนอีกสาขาหนึ่งเป็นวิชาโทได้ หรือ 3) กลุ่มวิชาของคณะอื่นที่คณะนิเทศศาสตร์อนุมัติ ให้เป็น วิชาโท

228 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วิชาโทวารสารศาสตร์ (สำ�หรับนักศึกษาที่ไม่ได้เรียนในสาขาวิชาวารสารศาสตร์) หน่วยกิต วสศ. 201 การหลอมรวมสื่อทางวารสารศาสตร์ 2 CJR 201 Convergence Journalism วสศ. 202 การสื่อข่าวและการเขียนข่าว 1 3 CJR 202 News Reporting I วสศ. 211 การเขียนเชิงวารสารศาสตร์ 3 CJR 211 Journalistic Writing วสศ. 301 การถ่ายภาพวารสารศาสตร์ 3 CJR 301 Photojournalism วสศ. 302 เทคนิคการผลิตรายการข่าววิทยุกระจายเสียง 2 และวิทยุโทรทัศน์ CJR 302 Broadcast News Technique วสศ. 304 การบริหารงานสื่อวารสารศาสตร์เชิงหลอมรวม 2 CJR 304 Convergence Journalism Management


สาขา​วิชา​การ​โฆษณา จากประสบการณ์ ใ นการสร้ า งคนโฆษณาที่ ใ ช้ ค วามคิ ด สร้างสรรค์นำ�การตลาดจนเป็นทีย่ อมรับในแวดวงนักการโฆษณา ด้วย หลักสูตรที่ออกแบบให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ที่เป็น เอกลักษณ์เพื่อก้าวสู่การเป็นนักโฆษณา ผู้บริหารงานโฆษณา และ ครีเอทีฟที่มีศักยภาพระดับมืออาชีพ ด้วยผู้สอนที่มีประสบการณ์และ ความเชี่ยวชาญ รวมทั้งอาจารย์พิเศษที่มีชื่อเสียงจากบริษัทตัวแทน โฆษณา (Advertising Agency) ชั้นนำ� บริษัทวิจัยด้านการโฆษณา (Advertising Research Company) และบริษัทผลิตงานโฆษณา (Production House) สาขาวิชาการโฆษณายังมุง่ เน้นการเรียนรูอ้ ย่างสร้างสรรค์และ ปฏิบัติได้จริง ฝึกฝน และพัฒนาการสร้างสรรค์สื่อรูปแบบใหม่ การ วางแผนรณรงค์ โฆษณาที่เน้นกระบวนการคิดอย่างครบวงจรและมี มาตรฐาน เพือ่ ให้เจ้าของผลิตภัณฑ์สามารถนำ�ผลงานโฆษณาไปใช้ได้ ในสถานการณ์จริง หลักสูตรของสาขาวิชาการโฆษณายังมุ่งเน้นให้ผู้ เรียนสร้างสรรค์ได้มากกว่าการโฆษณา ด้วยการส่งเสริมให้ส่งผลงาน เข้าประกวดทัง้ ระดับในประเทศและนานาชาติ การอบรมสัมมนา และ โครงการประกวดแคมเปญโฆษณาประจำ�ปีระดับประเทศของภาควิชา หรือโครงการ MADD Awards เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การปฏิบัติ ควบคูก่ บั การเรียนรูห้ ลักสูตรสาขาวิชาการโฆษณาทีเ่ ปิดโลกแห่งความ คิดสร้างสรรค์สู่การเป็นนักโฆษณาที่มีศักยภาพระดับมืออาชีพ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

นักสร้างสรรค์งานโฆษณา (Creative) ผู้กำ�กับศิลป์ (Art Director) ผู้เขียนบทโฆษณา (Copywriter) ผู้บริหารงานลูกค้า (Account Executive, Account Manager, Account Director) ผู้วางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planner) ผู้วางแผนสื่อโฆษณา (Media Planner) ผู้ซื้อสื่อโฆษณา (Media Buyer) ผู้ออกแบบกราฟิกทางสื่อ สิ่งพิมพ์เพื่อการโฆษณา (Graphic Designer) ผู้ควบคุมการผลิตงาน

โฆษณา (Producer) ผู้กำ�กับภาพยนตร์โฆษณา (Advertising Film Director) วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) หน่วยกิต ฆษณ. 201 ความคิดเชิงวิพากษ์และความคิดสร้างสรรค์ 3 ADV 201 Critical and Creative Thinking ฆษณ. 202 การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค 3 ADV 202 Advertising and Consumer Behavior ฆษณ. 203 การโฆษณากับสังคม 3 ADV 203 Advertising in Contemporary Society ฆษณ. 204 ความคิดสร้างสรรค์ในการโฆษณา 3 ADV 204 Creativity in Advertising ฆษณ. 305 การวิจัยการโฆษณา 3 ADV 305 Advertising Research ฆษณ. 306 การสร้างตราเชิงกลยุทธ์ 3 ADV 306 Strategic Branding ฆษณ. 407 การวางแผนช่องทางการโฆษณา 3 ADV 407 Advertising Channel Planning ฆษณ. 408 การจัดการโฆษณา 3 ADV 408 Advertising Management ฆษณ. 409 แผนรณรงค์โฆษณา 3 ADV 409 Advertising Campaign ฆษณ. 410 สัมมนาการโฆษณา 3 ADV 410 Seminar in Advertising

หลักสูตรปริญญาตรี 229


วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต เลือก 5 วิชาจาก 8 วิชา) บังคับเลือก 2 วิชา หน่วยกิต ฆษณ. 311 การออกแบบกราฟิกและการผลิตโฆษณา 3 ADV 311 Graphic Design and Advertising Production ฆษณ. 312 การผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการโฆษณา 3 ADV 312 Digital Media Production for Advertising เลือกเรียน 3 วิชา จาก 6 วิชาต่อไปนี้ ฆษณ. 313 การเขียนข้อความโฆษณา 3 ADV 313 Copywriting ฆษณ. 314 การสร้างสรรค์สื่อรูปแบบใหม่ 3 ADV 314 Innovative Approach of New Media Landscapes ฆษณ. 315 การวิเคราะห์การตลาดเพื่อการโฆษณา 3 ADV 315 Marketing Analysis for Advertising ฆษณ. 316 การบริหารงานลูกค้า 3 ADV 316 Client Management ฆษณ. 417 การก�ำกับศิลป์ในงานโฆษณา 3 ADV 417 Art Directions in Advertising ฆษณ. 418 การโฆษณาระหว่างประเทศ 3 ADV 418 International Advertising วิชาโท (15 หน่วยกิต) (ส�ำหรับนักศึกษาที่เรียนในสาขาวิชาการ โฆษณา) นักศึกษาภาควิชาการโฆษณาสามารถเลือกเรียนวิชาโท ได้จาก 1) กลุม่ วิชาทีภ่ าควิชาอืน่ ของคณะนิเทศศาสตร์กำ� หนดให้เป็น วิชาโท หรือ 2) กลุม่ วิชาของคณะอืน่ ทีค่ ณะนิเทศศาสตร์อนุมตั ิให้เรียนเป็น วิชาโท 230 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

**การปรับเปลีย่ นรายวิชาในกลุม่ วิชาโทให้อยู่ในดุลยพินจิ ของ คณบดี วิชาโทการโฆษณา (ส�ำหรับนักศึกษาที่ไม่ได้เรียนในสาขาวิชาการ โฆษณา) นักศึกษาเรียน 5 วิชาที่ภาควิชาการโฆษณาก�ำหนด ดังต่อ ไปนี้ หน่วยกิต ฆษณ. 202 การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค 3 ADV 202 Advertising and Consumer Behavior ฆษณ. 203 การโฆษณากับสังคม 3 ADV 203 Advertising in Contemporary Society ฆษณ. 204 ความคิดสร้างสรรค์ในการโฆษณา 3 ADV 204 Creativity in Advertising ฆษณ. 314 การสร้างสรรค์สื่อรูปแบบใหม่ 3 ADV 314 Innovative Approach of New Media Landscapes ฆษณ. 407 การวางแผนช่องทางการโฆษณา 3 ADV 407 Advertising Channel Planning


สาขา​วิชา​ศิลปะ​การ​แสดง เปล่งประกายความคิดสร้างสรรค์ในวงการศิลปะการแสดงไม่ ว่าจะอยู่ในบทบาทของผูก้ ำ�กับ ผูเ้ ขียนบท ผูอ้ อกแบบ ศิลปินนักแสดง หรือผู้ทำ�งานอยู่เบื้องหลัง ด้วยการเรียนการสอนที่เน้นความคิด สร้างสรรค์และการปฏิบัติจริง เพื่อให้นักศึกษาได้สร้างงานอย่างมี เอกลักษณ์เฉพาะตัว หลักสูตรของภาควิชาฯ มีลักษณะการเรียนการ สอนที่เน้นกระบวนการเรี​ียนรู้และการสร้างสรรค์ผลงานร่วมกันอย่าง ใกล้ชิดระหว่างนักศึกษากับคณาจารย์ประจำ� คณาจารย์พิเศษ ศิลปิน รับเชิญที่ล้วนมีผลงานสร้างสรรค์ระดับนานาชาติ หรือนักการละคร ผูป้ ฏิบตั งิ านจริงในวงการศิลปะการแสดง เพือ่ ความเป็นโรงเรียนผลิต มืออาชีพ (Professional School) ทีม่ ผี ลงานสร้างสรรค์ระดับแถวหน้า ของภูมิภาคเอเซีย

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

นักแสดง (Actor) ผู้ ก�ำกับการแสดง (Director) ผู้เขียนบท ละครเวที โทรทัศน์ และภาพยนตร์ (Playwright, Script Writer fot TV and Film) ผู้ ฝึก สอนการแสดง (Acting Coach) นักละครบ�ำบัด (Dram a Th e rap ist ) นั ก ก ารละครเพื่อการพัฒนา (Drama for Development Practitioner) นักร้อง (Vocalist) นาฏยศิลปิน (Dancer) นักออกแบบลีลา (Choreographer) นักมนุษยวิทยาการละคร (Drama Anthropologist) นักวิจารณ์ละครและภาพยนตร์ (Theatre and Film Critic) ผู้ควบคุมล�ำดับการแสดง (Show Master) ผู้ก�ำกับเวที (Stage Manag e r) นักวิชา การด้ า น ศิลปะการละครหรือนักนาฏกรรมพินิจ (Dram a tur g ) ผู้อ อกแบบ เ พื่อการแสดง (Theatre Designer) ผู้จดั การโครงการศิลปะการแสดง (Performing Arts Project Manager) ผู้อ�ำนวยการแสดง (Producer)

หมวดวิชาเฉพาะ (96 หน่วยกิต)

วิชาแกน (25 หน่วยกิต) หน่วยกิต นทศ. 002 แนวทางการวิจัยศิลปะสังคมและวัฒนธรรม 2 เพื่อการสื่อสาร COM 002 Approaches in Art and Socio-Cultural Research for Communication นทศ. 003 สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อโครงการ 2 เชิงสังคมและวัฒนธรรม COM 003 Integrated Marketing Communication Strategy for Socio-Cultural Project นทศ. 004 การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2 COM 004 Stakeholder Analysis นทศ. 005 มิติชุมชนเชิงสังคมและวัฒนธรรม 3 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อการสื่อสาร COM 005 Socio-Cultural Community Dimension of Southeast Asian for Communication นทศ. 006 การรณรงค์เพือ่ จริยธรรมสังคมและการรูเ้ ท่าทันสือ่ 2 COM 006 Campaign for Social Ethics and Media Literacy นทศ. 101 การสื่อสารเบื้องต้น 3 COM 101 Introduction to Communication นทศ. 102 ความรู้เบื้องต้นทางกฎหมายสำ�หรับนิเทศศาสตร์ 3 COM 102 Introduction to Law for Communication Arts นทศ. 104 การถ่ายภาพดิจิทัล 3 COM 104 Digital Photography นทศ. 107 สื่อมวลชนกับสังคม 3 COM 107 Mass Media and Society นทศ. 116 การภาพยนตร์เบื้องต้น 2 COM 116 Introduction to Film

หลักสูตรปริญญาตรี 231


วิชาเอก-บังคับ (25 หน่วยกิต) หน่วยกิต ศปส. 100 ปริทัศน์งานสร้างละคร 1 PFA 100 Introduction to Theatre Production ศปส. 106 ศิลปะการแสดงนิทรรศน์ 2 PFA 106 Aspects of Performing Arts ศปส. 110 พื้นฐานการแสดง 2 PFA 110 Fundamental Acting ศปส. 120 พื้นฐานการเขียนบทละคร 2 PFA 120 Fundamental Dramatic Writing ศปส. 130 ปริทัศน์งานออกแบบเพื่อการแสดง 2 PFA 130 Introduction to Scenography ศปส. 140 ปริทัศน์การละครเพื่อการพัฒนา 2 PFA 140 Introduction to Theatre for Development ศปส. 107 งานฉากและเวที 2 PFA 107 Stagecraft ศปส. 150 ปริทัศน์ประวัติศาสตร์การละครสากล 3 PFA 150 Introduction to Historiography of World Theatre ศปส. 151 วรรณกรรมการละครสากล 1 3 PFA 151 World Dramatic Literature I ศปส. 152 วรรณกรรมการละครสากล 2 3 PFA 152 World Dramatic Literature II ศปส. 153 ทฤษฎีและการวิจารณ์การแสดง 3 PFA 153 Performance Theory and Criticism วิชาเอก-เลือก (31 หน่วยกิต) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. วิชาเอกเลือกตามความชำ�นาญเฉพาะทาง แบ่งออกเป็น 2 สาขา ดังนี้ 1.1 สาขาทักษะสร้างสรรค์ศิลปะการแสดง (12 หน่วยกิต) ศปส. 101 งานสร้างละคร 1 1 PFA 101 Theatre Production I 232 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต ศปส. 102 งานสร้างละคร 2 1 PFA 102 Theatre Production II ศปส. 103 งานสร้างละคร 3 1 PFA 103 Theatre Production III ศปส. 104 งานสร้างละคร 4 1 PFA 104 Theatre Production IV ศปส. 105 งานสร้างละคร 5 1 PFA 105 Theatre Production V ศปส. 911 การเตรียมโครงการศิลปะการแสดงนิพนธ์ 3 PFA 911 Degree Project in Performing Arts Preparatory ศปส. 912 ศิลปะการแสดงนิพนธ์ 4 PFA 912 Degree Project in Performing Arts หรือ 1.2 สาขาศิลปะการแสดงนานาชาติ (12 หน่วยกิต) ศปส. 251 การละครชาติพันธ์ุและประวัติศาสตร์ศึกษา: 3 ประเด็นและกระบวนวิธี PFA 251 Theatre Ethno-Historiography Studies: Issues and Methods ศปส. 252 ภูมิหลังและวิวัฒนาการการละครไทย 3 PFA 252 Background and Development of Thai Theatre ศปส. 253 การละครเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา 3 PFA 253 Southeast Asian Theatre Studies ศปส. 950 การศึกษาและวิจัยเอกเทศศิลปะการแสดง 3 นานาชาติ PFA 950 Individual Study and Research in International Performing Arts


2. วิชาเอกเลือก-ทั่วไป (19 หน่วยกิต) แบ่งออกเป็น 2 สาขา ดังนี้ 2.1 สาขาทักษะสร้างสรรค์ศิลปะการแสดง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มย่อย โดยเลือกเพียง 1 กลุ่ม ดังนี้ 2.1.1 กลุม่ เน้นทักษะการแสดงและการกำ�กับการแสดง/ขับร้อง และดนตรี/นาฏลีลา/ การบริหารจัดการศิลปะการแสดง (19 หน่วยกิต) หน่วยกิต ศปส. 111 การเตรียมความพร้อมของนักแสดง 1 1 PFA 111 Actor’s Tools Preparation I ศปส. 112 การเตรียมความพร้อมของนักแสดง 2 1 PFA 112 Actor’s Tools Preparation II ศปส. 113 การเตรียมความพร้อมของนักแสดง 3 1 PFA 113 Actor’s Tools Preparation III ศปส. 211 การแสดง 1: แก่นมนุษย์และงานแสดง 2 PFA 211 Acting I: Human Essence and the Craft of Acting ศปส. 212 การแสดง 2: วิถีเพื่อการแสดงละครสัจนิยม 2 และธรรมชาตินิยม PFA 212 Acting II: Approach for Realism and Naturalism ศปส. 312 การแสดง 3: ศิลปะการแสดงละครเวที 2 PFA 312 Acting III: The Art of Stage Acting ศปส. 510 พื้นฐานการกำ�กับการแสดง 2 PFA 510 Fundamental Directing เลือกอีก 4 วิชา (8 หน่วยกิต) จาก 18 วิชา ตามทักษะเฉพาะ ทางจากรายวิชาต่อไปนี้ ศปส. 213 การอ่านออกเสียงเพื่อตีความหมาย 2 PFA 213 Oral Interpretation ศปส. 214 ประเภทและแนวละคร: จากบทสู่การแสดง 2 PFA 214 Genres and Styles of Plays: From Text to Performance

หน่วยกิต ศปส. 411 การแสดง 4: ศิลปะการแสดงสำ�หรับ 2 ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ PFA 411 Acting IV: The Art of Acting for Television and Film ศปส. 412 การแสดง 5: ละครสมัยใหม่หลังจากแนวสัจนิยม 2 และธรรมชาตินิยม PFA 412 Acting V: Departure from Realism and Naturalism ศปส. 511 การกำ�กับการแสดง 1: ละครสัจนิยม 2 และธรรมชาตินิยม PFA 511 Directing I: Realism and Naturalism ศปส. 512 การกำ�กับการแสดง 2: ละครสมัยใหม่ 2 หลังจากแนวสัจนิยมและธรรมชาตินิยม PFA 512 Directing II : Departure from Realism and Naturalism ศปส. 611 ขับร้องและดนตรี 1 2 PFA 611 Musical Performance I ศปส. 612 ขับร้องและดนตรี 2 2 PFA 612 Musical Performance II ศปส. 613 ขับร้องและดนตรี 3 2 PFA 613 Musical Performance III ศปส. 614 ขับร้องและดนตรี 4 2 PFA 614 Musical Performance IV ศปส. 711 นาฏลีลา 1 2 PFA 711 Dance Technique I ศปส. 712 นาฏลีลา 2 2 PFA 712 Dance Technique II ศปส. 713 นาฏลีลา 3 2 PFA 713 Dance Technique III ศปส. 714 นาฏลีลา 4 2 PFA 714 Dance Technique IV หลักสูตรปริญญาตรี 233


หน่วยกิต ศปส. 811 การกำ�กับเวที 1 2 PFA 811 Stage Management I ศปส. 812 การกำ�กับเวที 2 2 PFA 812 Stage Management II ศปส. 813 การควบคุมและลำ�ดับการแสดง 2 PFA 813 Show Mastering ศปส. 814 การอำ�นวยการสร้างและการบริหารจัดการ 2 ศิลปะการแสดง PFA 814 Performing Arts Producing and Administration

เลือก 1 วิชา (2 หน่วยกิต) หน่วยกิต ศปส. 421 การเขียนละครเพลง 2 PFA 421 Musical Theatre Writing ศปส. 422 การดัดแปลงบทสำ�หรับเวที โทรทัศน์ 2 และภาพยนตร์ PFA 422 Script Adaptation for Stage, TV and Screen ศปส. 423 การเขียนบทภาพยนตร์ 2 PFA 423 Screenwriting ศปส. 424 การเขียนบทละครโทรทัศน์ 2 PFA 424 Television Drama Writing

2.1.2 กลุ่มเน้นทักษะการเขียนบท (19 หน่วยกิต) ศปส. 220 วัตถุดิบ แรงบันดาลใจ และความคิดสร้างสรรค์ 2 ในการเขียนบทเพื่อการแสดง PFA 220 The Art of Dramatic Writing ศปส. 221 การเขียนองค์ประกอบสำ�คัญของบทละคร 2 PFA 221 Writing Workshop on Elements of a Play ศปส. 222 การเขียนบทละคร 1 2 PFA 222 Playwriting I ศปส. 223 วรรณคดีสุนทรียนิยม 3 PFA 223 Aesthetic Appreciation of Literature ศปส. 224 นักเขียนบทละครและการสร้างสรรค์งาน 2 PFA 224 Playwrights on Playwriting ศปส. 225 ละคร ภาพยนตร์ นวนิยาย: ศิลปะเปรียบเทียบ 2 PFA 225 Theatre, Film, Narrative: Transformation of Style ศปส. 226 ละครกับสังคม 2 PFA 226 Drama and Society ศปส. 322 การเขียนบทละคร 2 2 PFA 322 Playwriting II

2.1.3 กลุม่ เน้นทักษะการออกแบบเพือ่ การแสดง (19 หน่วยกิต) ศปส. 230 ประวัติศาสตร์ศิลป์ 2 PFA 230 History of Art ศปส. 231 วาดภาพระบายสี 2 PFA 231 Drawing and Painting ศปส. 232 ผัสสะแห่งแสงสี 2 PFA 232 Perception of Light and Colour ศปส. 233 อารมณ์ของผิวสัมผัสและสี 2 PFA 233 Feeling of Texture and Colour ศปส. 234 พื้นที่และการสร้างภาพบนเวที 2 PFA 234 Sense of Space and Stage Picturing ศปส. 235 เทคนิคระบายสีและจำ�ลองภาพในงานออกแบบ 2 เพื่อการแสดง PFA 235 Painting and Rendering Techniques in Scenography ศปส. 433 การออกแบบภาพรวมเพื่อสื่อบันทึกภาพ 3 PFA 433 Scenography for Recorded Media

234 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


เลือกเพียง 1 วิชา (2 หน่วยกิต) ศปส. 331 ออกแบบฉาก 1 PFA 331 Set Design I ศปส. 431 ออกแบบเครื่องแต่งกาย 1 PFA 431 Costume Design I ศปส. 531 ออกแบบแสง 1 PFA 531 Lighting Design I เลือกเพียง 1 วิชา ( 2 หน่วยกิต) ศปส. 332 ออกแบบฉาก 2 PFA 332 Set Design II ศปส. 432 ออกแบบเครื่องแต่งกาย 2 PFA 432 Costume Design II ศปส. 532 ออกแบบแสง 2 PFA 532 Lighting Design II 2.1.4 กลุ่มเน้นทักษะศิลปะการละครเพื่อการพัฒนา (19 หน่วยกิต) ศปส. 240 ละครสร้างสรรค์ PFA 240 Creative Drama ศปส. 241 ละครบำ�บัดเบื้องต้น PFA 241 Fundamental of Dramatherapy ศปส. 242 ระบบการศึกษาเปรียบเทียบ PFA 242 Comparative Education System ศปส. 243 ละครและการศึกษา: บูรณาการ เพื่อการพัฒนามนุษย์ PFA 243 Drama and Education: The Integration for Human Development ศปส. 341 ปฏิบัติการละครประเด็นศึกษา 1 PFA 341 Theatre in Education Practicum I

หน่วยกิต 2 2 2

2 2 2

2 2 3 2

2

ศปส. 342 ปฏิบัติการละครประเด็นศึกษา 2 PFA 342 Theatre in Education Practicum II ศปส. 343 ปฏิบัติการละครชุมชน PFA 343 Community Theatre Practicum ศปส. 440 สื่อพื้นบ้านของไทย PFA 440 Thai Traditional Media ศปส. 441 สื่อพื้นบ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ PFA 441 Southeast Asian’s Traditional Media

หน่วยกิต 2 2 2 2

2.2 สาขาศิลปะการแสดงนานาชาติ (19 หน่วยกิต) แบ่งออก เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 2.2.1 กลุ่ ม เน้ น ความชำ�นาญศิ ล ปะการแสดงศึ ก ษา (19 หน่วยกิต) ศปส. 351 การละครและการเมือง 3 PFA 351 Theatre and Politics ศปส. 352 การละครตะวันออกและอาฟริกัน 3 PFA 352 Oriental and African Theatre ศปส. 353 ภูมิหลังและวิวัฒนาการการละครอเมริกัน 3 PFA 353 Background and Development of American Theatre ศปส. 450 มานุษยวิทยาศิลปะการละคร 3 PFA 450 Theatre Anthropology เลือก 1 วิชา (3 หน่วยกิต) ศปส. 354 ความบันเทิงวัฒนธรรมกระแสนิยม 3 PFA 354 Popular Entertainment ศปส. 355 อุตสาหกรรมบันเทิงสากล 3 PFA 355 Survey of World Entertainment Industry ศปส. 356 ประเด็นคัดสรรทางมานุษยวิทยาศิลปะการละคร 3 PFA 356 Selected Issues in Theatre Anthropology หลักสูตรปริญญาตรี 235


หน่วยกิต ศปส. 357 สัมมนาอัตวิสัยจริงแท้ในงานวิจัยศิลปะการแสดง 3 PFA 357 Authentic Subjectivity in Performing Arts Research: Seminar เลือกเพียง 1 วิชา (4 หน่วยกิต) ศปส. 358 โครงการศิลปะการแสดงสากล 4 PFA 358 World Performance Project ศปส. 359 สร้างเสริมประสบการณ์ศิลปะการแสดงนานาชาติ 4 PFA 359 International Performing Arts Internship ศปส. 457 ศิลปะการแสดงของไทย: โครงการอนุรักษ์ 4 มรดกวัฒนธรรม PFA 457 Thai Performing Art: Cultural Heritage Conservation Project ศปส. 451 วิจัยดนตรีชาติพันธ์ุ 4 PFA 451 Ethnomusicology Research ศปส. 452 วิจัยละครชาติพันธ์ุ 4 PFA 452 Ethnotheatre Research ศปส. 453 พิธีกรรม ละคร และการแสดง 4 PFA 453 Ritual, Theatre and Performance 2.2.2 กลุ่ ม เน้ น ความชำ�นาญวรรณกรรมการละครและ นาฏกรรมพินิจ (19 หน่วยกิต) ศปส. 550 วรรณคดีเปรียบเทียบเพื่อนาฏกรรมพินิจ 3 PFA 550 Comparative Literature for Dramaturgy ศปส. 551 ทฤษฎีและวรรณกรรมการละครสมัยใหม่ 3 PFA 551 Modern Dramatic Theory and Literature ศปส. 552 จิตวิทยาในวรรณกรรมการละคร 3 PFA 552 Psychology in Dramatic Literature 236 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต ศปส. 553 วรรณกรรมการละครตะวันออก 3 PFA 553 Eastern Dramatic Literature ศปส. 554 วรรณกรรมการละครไทย 3 PFA 554 Thai Dramatic Literature ศปส. 555 ปฏิบัติการวิจารณ์การละครขั้นสูง 2 PFA 555 Advanced Drama and Theatre Criticism Workshop ศปส. 556 ปฏิบัติการนาฏกรรมพินิจ 2 PFA 556 Dramaturgy Workshop วิชาโท (15 หน่วยกิต) ศปส. 100 ปริทัศน์งานสร้างละคร 1 PFA 100 Introduction to Theatre Production ศปส. 106 ศิลปะการแสดงนิทรรศน์ 2 PFA 106 Aspects of Performing Arts ศปส. 110 พื้นฐานการแสดง 2 PFA 110 Fundamental Acting ศปส. 120 พื้นฐานการเขียนบทละคร 2 PFA 120 Fundamental Dramatic Writing ศปส. 140 ปริทัศน์การละครเพื่อการพัฒนา 2 PFA 140 Introduction to Theatre for Development ศปส. 252 ภูมิหลังและวิวัฒนาการการละครไทย 3 PFA 252 Background and Development of Thai Theatre ศปส. 253 การละครเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา 3 PFA 253 Southeast Asian Theatre Studies


สาขา​วิชาวิทยุ​กระจาย​เสียงและ​วิทยุ​โทรทัศน์ จากความใฝ่ฝันและจินตนาการ ก้าวสู่เส้นทางแห่งความคิด สร้างสรรค์ ในงานด้านสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ที่เปิด กว้างและกำ�ลังได้รับความนิยมสูงสุด โดยหลักสูตรการเรียนการสอน มุ่งเน้นทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในการนำ�ความคิดสร้างสรรค์สู่ การปฏิบัติงานจริง ตลอดจนการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการ ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง (Radio Program Production) และ การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ (Television Program Production) เทียบเท่าระดับมืออาชีพ ทั้งยังสามารถเลือกศึกษากระบวนการผลิต รายการเฉพาะรูปแบบตามความถนัดและความสนใจ ได้ใช้พลังความ คิดสร้างสรรค์งานอันมีเอกลักษณ์ ใหม่ๆ เฉพาะบุคคลได้อย่างเต็ม ศักยภาพ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

ผู้กำ�กับรายการ (Program Director) ผู้ควบคุมการผลิต รายการทางโทรทัศน์ (Television Program Producer) ผู้ควบคุมการ ผลิตรายการทางวิทยุกระจายเสียง (Radio Program Producer) ผู้เขียนบทรายการทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Script Writer) ผูก้ ำ�กับเวที (Stage Director) ผูป​้ ระกาศทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ (Broadcast Announcer) ผูด้ ำ�เนินรายการทางวิทยุ กระจายเสียง (Radio Host) ผู้ดำ�เนินรายการทางวิทยุโทรทัศน์ (Television Host) ผู้ออกแบบสร้างสรรค์งานผลิตรายการโทรทัศน์ (Broadcast Production Designer) ผู้ออกแบบกราฟิกทางโทรทัศน์ (Television Graphic Designer) ช่างภาพโทรทัศน์ (Camera Operator) ผู้ สื่ อ ข่ า วทางวิ ท ยุ กระจายเสี ย งและวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ (Broadcast News Reporter)

วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) หน่วยกิต วสท. 201 การเป็นผู้ประกาศรายการทาง 3 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ BRC 201 Broadcast Announcing วสท. 202 การเขียนบทรายการข่าวและสารคดี 2 BRC 202 Non Fictional Writing for Broadcasting วสท. 203 การออกแบบสร้างสรรค์งานผลิตรายการ 3 BRC 203 Broadcast Production Design วสท. 204 การเขียนบทรายการสาระบันเทิงและละคร 2 BRC 204 Fictional Writing for Broadcasting วสท. 205 เทคนิคการผลิตงานในสื่อดิจิทัล 3 BRC 205 Digital Media Production Techniques วสท. 301 การสร้างสรรค์ภาพเพื่อการเล่าเรื่อง 3 ส�ำหรับงานวิทยุโทรทัศน์ BRC 301 Creating the Visual Story for Television วสท. 302 การประยุกต์งานวิจัยในงานวิทยุกระจายเสียง 2 และวิทยุโทรทัศน์ BRC 302 Applied Research in Broadcasting วสท. 303 การวิพากษ์รายการวิทยุกระจายเสียง 3 และวิทยุโทรทัศน์ BRC 303 Broadcast Criticism วสท. 401 การบริหารและการเป็นเจ้าของธุรกิจใน 3 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ BRC 401 Electronic Media Management and Entrepreneurship วสท. 402 สัมมนาในงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3 BRC 402 Seminar in Broadcasting วสท. 403 การฝึกงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3 BRC 403 Broadcast Internship หรือ วสท. 404 โครงการเฉพาะด้านวิทยุกระจายเสียง 3 และวิทยุโทรทัศน์ BRC 404 Broadcasting Project หลักสูตรปริญญาตรี 237


วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) หมวด ก. วิชาเอกเลือก 5 รายวิชา (11 หน่วยกิต) หน่วยกิต วสท. 311 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 2 BRC 311 Radio Production วสท. 312 ฝึกปฏิบตั กิ ารบริหารจัดการสถานีวทิ ยุกระจายเสียง 2 ในระบบดิจิทัล 1 BRC 312 Digital Radio Station Operations I วสท. 313 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ความคมชัดสูง 1 2 BRC 313 High Definition Television Production I วสท. 411 ฝึกปฏิบตั กิ ารบริหารจัดการสถานีวทิ ยุกระจายเสียง 2 ในระบบดิจิทัล 2 BRC 411 Digital Radio Station Operations II วสท. 412 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ความคมชัดสูง 2 3 BRC 412 High Definition Television Production II หมวด ข. วิชาเอกเลือกทักษะการผลิตรายการ เลือก 1 วิชาจากรายวิชาต่อไปนี้ (2 หน่วยกิต) วสท. 321 การประยุกต์งานเสียงและดนตรีเพื่อสื่อวิทยุ 2 กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ BRC 321 Sound and Music Application in Broadcasting วสท. 322 การผลิตรายการโทรทัศน์ในระบบเสมือนจริง 2 BRC 322 Virtual Studio System for Television Production วสท. 323 การสร้างภาพเคลื่อนไหวส�ำหรับงานโทรทัศน์ 2 และสื่อสมัยใหม่ BRC 323 Motion Graphic for Television and New Media หมวด ค. วิชาเอกเลือกการผลิตรายการเฉพาะ เลือก 1 วิชาจากรายวิชาต่อไปนี้ (2 หน่วยกิต) วสท. 421 การบรรยายเหตุการณ์พิเศษ 2 BRC 421 Special Events Announcing and Commentary 238 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต วสท. 422 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์นอกสถานที่ 2 BRC 422 Broadcast Field Production วสท. 423 การผลิตรายการข่าววิทยุกระจายเสียง 2 และวิทยุโทรทัศน์ในยุคใหม่ BRC 423 Newscast Production in New Age วิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จาก 1) กลุ่มวิชาที่ภาควิชาอื่นของคณะนิเทศศาสตร์ก�ำหนดให้ เป็นวิชาโท หรือ 2) กลุ่มวิชาของคณะอื่นที่คณะนิเทศศาสตร์อนุมัติให้เรียน เป็นวิชาโท **การปรับเปลี่ยนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทให้อยู่ในดุลยพินิจของคณบดี วิชาโทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (ส�ำหรับนักศึกษา ที่ไม่ได้เรียนในสาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์) นักศึกษา เรียน 5 วิชาที่ภาควิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ก�ำหนด ดังต่อไปนี้ วสท. 201 การเป็นผู้ประกาศรายการทางวิทยุกระจายเสียง 3 และวิทยุโทรทัศน์ BRC 201 Broadcast Announcing วสท. 203 การออกแบบสร้างสรรค์งานผลิตรายการ 3 BRC 203 Broadcast Production Design วสท. 301 การสร้างสรรค์ภาพเพื่อการเล่าเรื่องส�ำหรับ 3 งานวิทยุโทรทัศน์ BRC 301 Creating the Visual Story for Television วสท. 303 การวิพากษ์รายการวิทยุกระจายเสียง 3 และวิทยุโทรทัศน์ BRC 303 Broadcast Criticism วสท. 401 การบริหารและการเป็นเจ้าของธุรกิจในสื่อ 3 อิเล็กทรอนิกส์ BRC 401 Electronic Media Management and Entrepreneurship


สาขา​วิชา​ภาพยนตร์ ก้ า วเข้ า สู ่ อุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ ร ะดั บ มื อ อาชี พ ด้ ว ย หลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอนที่ก้าวทันความเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีล�้ำสมัย คณาจารย์ที่มีชื่อเสียงในวงการและมีผลงาน สร้างชือ่ ระดับนานาชาติ พร้อมด้วยศูนย์ภาพยนตร์แห่งโลกดิจทิ ลั แบบ ครบวงจร (Center for Cinematic and Digital Arts) ที่พรั่งพร้อมไป ด้วยเครือ่ งมืออุปกรณ์ระดับ High-end และโรงภาพยนตร์ระบบดิจทิ ลั ระดับมาตรฐานสากล รองรับการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมทักษะ ขั้นสูงจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพื่อสร้างคนท�ำหนังรุ่นใหม่ไฟแรง เปีย่ มด้วยพลังความคิดสร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี มีทกั ษะด้านการ บริหารจัดการ การหาทุนสร้าง การประชาสัมพันธ์ การน�ำเสนอผล งานในระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมภาพยนตร์ รอบรูศ้ าสตร์ภาพยนตร์ เชิงลึกในฐานะทีเ่ ป็นสือ่ ศิลปะ และผลผลิตทางวัฒนธรรมของประเทศ ตลอดจนโอกาสในการน�ำเสนอไอเดียแก่ผอู้ ำ� นวยการสร้างตัวจริงเพือ่ ผลิตผลงานป้อนสู่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยและสากล

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

ผูก้ ำ�กับภาพยนตร์ (Director) ผูเ้ ขียนบทภาพยนตร์ (Screenwriter) ผู้อำ�นวยการสร้าง (Producer) ผู้กำ�กับศิลป์ (Art Director) ผู้ออกแบบงานสร้าง (Production Designer) ผู้กำ�กับภาพ (Director of Photography) ผู้ลำ�ดับภาพ (Film Editor) ผู้สร้างสรรค์เทคนิค พิเศษด้านต่างๆ ในภาพยนตร์ (Special Effects and Visual Effects Designer) นักเขียนนักวิจารณ์ภาพยนตร์ (Film Critics) นักวิชาการ ด้านภาพยนตร์ (Film Scholars) ผู้จัดเทศกาลภาพยนตร์ (Festival Director)

วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) หน่วยกิต ภพย. 101 สุนทรียศาสตร์แห่งภาพยนตร์ 3 FLM 101 Film Aesthetics ภพย. 102 เทคนิคภาพยนตร์ 2 FLM 102 Film Techniques ภพย. 203 ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ 3 FLM 203 Film History ภพย. 204 ศิลปะการเล่าเรื่อง 2 FLM 204 Arts of Storytelling ภพย. 205 ปฏิบัติการงานเขียนบทภาพยนตร์ 2 FLM 205 Screenwriting Workshop ภพย. 206 ปฏิบัติการงานออกแบบและภาพรวม 2 ในงานภาพยนตร์ FLM 206 Design and Visualization Workshop for Film ภพย. 207 การถ่ายภาพยนตร์ 2 FLM 207 Cinematography ภพย. 208 อุตสาหกรรมภาพยนตร์นานาชาติ 3 FLM 208 International Film Industry ภพย. 309 การวิเคราะห์วิจารณ์ภาพยนตร์ 3 FLM 309 Film Analysis and Criticism ภพย. 400 สัมมนาภาพยนตร์เชิงวิชาชีพและสังคม 3 FLM 400 Seminar in Film and Society ภพย. 435 ปฏิบัติการการเตรียมการโครงการสารนิพนธ์ 2 FLM 435 Degree Project Preparation Workshop ภพย. 436 โครงการสารนิพนธ์ภาพยนตร์ 3 FLM 436 Degree Project in Film

หลักสูตรปริญญาตรี 239


วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) วิชาเอกเลือกการผลิตภาพยนตร์ หมวด ก. วิชาเอกเลือก 4 รายวิชา (9 หน่วยกิต) ภพย. 300 การก�ำกับภาพ FLM 300 Directing for the Screen ภพย. 310 การก�ำกับศิลป์ FLM 310 Art Direction ภพย. 312 ปฏิบัติการการออกแบบภาพยนตร์ FLM 312 Production Design Workshop ภพย. 311 ศิลปะนิยมเพื่องานภาพยนตร์ FLM 311 Art Appreciation for Film หมวด ข. วิชาเอกเลือก 4 รายวิชา (9 หน่วยกิต) ภพย. 300 การก�ำกับภาพ FLM 300 Directing for the Screen ภพย. 320 การบันทึกเสียงส�ำหรับ งานภาพยนตร์ FLM 320 Sound Recording for Film ภพย. 322 ปฏิบัติการการผลิตเสียงใน งานภาพยนตร์ FLM 322 Audio Post Production Workshop ภพย. 321 ดนตรีวิจักษ์เพื่องานภาพยนตร์ FLM 321 Music Appreciation for Film หมวด ค. วิชาเอกเลือก 4 รายวิชา (9 หน่วยกิต) ภพย. 300 การก�ำกับภาพ FLM 300 Directing for the Screen ภพย. 330 การถ่ายภาพยนตร์ขั้นสูง FLM 330 Advanced Cinematography ภพย. 332 การจัดแสงส�ำหรับงานภาพยนตร์ FLM 332 Lighting for Film 240 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต 2 2 2 3

2 2 2 3

2 2 2

ภพย. 311 ศิลปะนิยมเพื่องานภาพยนตร์ FLM 311 Art Appreciation for film หมวด ง. วิชาเอกเลือก 4 รายวิชา (9 หน่วยกิต) ภพย. 300 การก�ำกับภาพ FLM 300 Directing for the Screen ภพย. 340 การก�ำกับนักแสดงส�ำหรับงานภาพยนตร์ FLM 340 Directing Actors for Film ภพย. 341 ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ในฐานะประพันธกร FLM 341 Film Authorship ภพย. 342 ปฏิบัติการงานเขียนบทภาพยนตร์ขั้นสูง FLM 342 Advanced Screenwriting Workshop หมวด จ. วิชาเอกเลือก 4 รายวิชา (9 หน่วยกิต) ภพย. 300 การก�ำกับภาพ FLM 300 Directing for the Screen ภพย. 350 การตัดต่อภาพยนตร์ FLM 350 Film Editing ภพย. 351 การสร้างผลพิเศษทางภาพส�ำหรับ งานภาพยนตร์ FLM 351 Visual Effects for Film ภพย. 352 ปฏิบัติการกระบวนการหลังการผลิต FLM 352 Post Production Workshop

หน่วยกิต 3

2 2 3 2

2 3 2 2

และทุกหมวดต้องเรียน 3 รายวิชา (6 หน่วยกิต) ภพย. 431 กลยุทธ์สร้างสรรค์เพื่อความเป็นผู้ประกอบการ 2 ในธุรกิจบันเทิง FLM 431 Creative Strategies for Entrepreneurship in Entertainment Business


ภพย. 433 การผลิตภาพยนตร์ FLM 433 Film Production ภพย. 434 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตร์ดิจิทัล FLM 434 Digital Film Production Workshop

หน่วยกิต 2 2

วิชาเอกเลือกการบริหารงานภาพยนตร์ 6 รายวิชา (15 หน่วยกิต) ภพย. 360 การบริหารและการจัดจ�ำหน่ายภาพยนตร์ 3 FLM 360 Film Administration and Distribution ภพย. 361 การวางแผนการผลิตภาพยนตร์ 2 FLM 361 Production Planning for Film ภพย. 362 การบริหารงานเทศกาลภาพยนตร์ 3 FLM 362 Film Curating and Exhibition ภพย. 431 กลยุทธ์สร้างสรรค์เพื่อความเป็นผู้ประกอบการ 2 ในธุรกิจบันเทิง FLM 431 Creative Strategies for Entrepreneurship in Entertainment Business ภพย. 437 การฝึกงานภาพยนตร์ 3 FLM 437 Film Internship ภพย. 441 การอ�ำนวยการสร้างภาพยนตร์ 2 FLM 441 Producing for Film วิชาเอกเลือกภาพยนตร์ศึกษาและการผลิตภาพยนตร์ทางเลือก 6 รายวิชา (15 หน่วยกิต) ภพย. 370 แนวคิดร่วมสมัยในภาพยนตร์ 3 และทฤษฎีภาพยนตร์ FLM 370 Contemporary Themes in Film: Theory and Practice ภพย. 371 สุนทรียศาสตร์ขั้นสูงในงานภาพยนตร์ 3 FLM 371 Advanced Film Aesthetics ภพย. 372 พื้นที่ เวลา เสียงและภาพเคลื่อนไหว 2 FLM 372 Space, Time, Sound, and Moving Images

หน่วยกิต ภพย. 373 ภาพยนตร์และคนดู 3 FLM 373 Film and Spectatorship ภพย. 431 กลยุทธ์สร้างสรรค์เพื่อความเป็นผู้ประกอบการ 2 ในธุรกิจบันเทิง FLM 431 Creative Strategies for Entrepreneurship in Entertainment Business และเลือก 1 รายวิชา (2 หน่วยกิต) ภพย. 342 ปฏิบัติการงานเขียนบทภาพยนตร์ขั้นสูง 2 FLM 342 Advanced Screenwriting Workshop หรือ ภพย. 471 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตร์ทางเลือก 2 FLM 471 Alternative Filmmaking Workshop วิ ช าโท (15 หน่ ว ยกิ ต ) (ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นในสาขาวิ ช า ภาพยนตร์) นักศึกษาสาขาวิชาภาพยนตร์ สามารถเลือกเรียนวิชาโท ได้จาก 1) กลุม่ วิชาทีภ่ าควิชาอืน่ ของคณะนิเทศศาสตร์กำ� หนดให้เป็น วิชาโท หรือ 2) กลุม่ วิชาของคณะอืน่ ทีค่ ณะนิเทศศาสตร์อนุมตั ิให้เรียนเป็น วิชาโท **การปรับเปลี่ยนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทให้อยู่ในดุลยพินิจของคณบดี วิ ช าโทภาพยนตร์ (ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ม่ ไ ด้ เ รี ย นในสาขาวิ ช า ภาพยนตร์) นักศึกษาเรียน 5 วิชาที่ภาควิชาภาพยนตร์ก�ำหนดจาก รายวิชาดังต่อไปนี้ ภพย. 101 สุนทรียศาสตร์แห่งภาพยนตร์ 3 FLM 101 Film Aesthetics ภพย. 102 เทคนิคภาพยนตร์ 2 FLM 102 Film Techniques ภพย. 204 ศิลปะการเล่าเรื่อง 2 FLM 204 Arts of Storytelling หลักสูตรปริญญาตรี 241


หน่วยกิต ภพย. 206 ปฏิบัติการงานออกแบบและภาพรวม 2 ในงานภาพยนตร์ FLM 206 Design and Visualization Workshop for Film ภพย. 208 อุตสาหกรรมภาพยนตร์นานาชาติ 3 FLM 208 International Film Industry ภพย. 309 การวิเคราะห์วิจารณ์ภาพยนตร์ 3 FLM 309 Film Analysis and Criticism

สาขา​วิชา​การ​สื่อสาร​ตรา ก้าวสู่การเป็นนักวางแผนกลยุทธ์ และการสื่อสารตราที่เป็น เสมือนทรัพย์สินอันล�้ำค่าของสินค้าและองค์กร หลักสูตรการสื่อสาร ตราจะบ่ ม เพาะและฝึ ก ฝนให้ ผู ้ เ รี ย นเป็ น ผู ้ มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ (Creativity) การเป็นนักคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinker) รวมถึง การเป็นนักปฏิบัติ (Doer) ที่มีทักษะการปฏิบัติสามารถน�ำสิ่งที่คิดไป ถ่ายทอดได้อย่างแท้จริง ผู้เรียนจะได้สมั ผัสและได้เรียนรูก้ ระบวนการ ทางกลยุทธ์ การสื่อสารถึงกลุ่มเป้าหมายจนน�ำไปสู่การตัดสินใจซื้อ รวมทั้งเกิดความผูกพันในระยะยาว อีกทั้งยังได้เรียนรู้วิธีการสร้าง ภาพลักษณ์ รวมถึงการชุบชีวิตใหม่ให้แบรนด์ ด้วยการสร้างความ เข้าใจเชิงลึกต่อกลุ่มเป้าหมาย (Consumer Insight) รู้เรื่องเครื่องมือ การสื่อสารแบรนด์แบบ 360 องศา การสร้างแบรนด์ภายในองค์กร และการออกแบบเอกลักษณ์ อาทิ การออกแบบสี โลโก้ สโลแกน เครือ่ งแบบ บรรยากาศภายในส�ำนักงานหรือร้านค้าเพือ่ การก้าวสูก่ าร เป็นนักวางแผนกลยุทธ์การสื่อสารตราที่เหนือกว่าด้วยความคิด สร้างสรรค์ อันจะน�ำพาแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ (Product Branding) ธุรกิจบริการ (Service Branding) บุคคล (Personal Branding) สถาน ที่ (Place Branding) และกิจกรรม (Event Branding) ไปสูค่ วามส�ำเร็จ 242 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

และยังเปิดโอกาสให้ปฏิบัติงานจริงกับหน่วยงาน และองค์กรชั้นน�ำ ด้านการสือ่ สารแบรนด์ทจี่ ะเตรียมความพร้อมส�ำหรับการก้าวออกไป เป็นนักสื่อสารแบรนด์มืออาชีพ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

นักกลยุทธ์ด้านการสื่อสารตรา (Brand Communictions Strategist) นักออกแบบเอกลักษณ์ตรา (Brand Identity Designer) บุคลากรในฝ่ายต่างๆ อาทิ ฝ่ายสือ่ สารแบรนด์ (Brand Communications Department) ฝ่ายสื่อสารองค์การ (Corporate Communications Department) ฝ่ายสื่อสารการตลาด (Marketing Communications Department) บริษัทที่ปรึกษาด้านการสร้างและสื่อสารตรา (Brand Agency or Brand Consultant Company) ฝ่ายการตลาด (Marketing Deparment) และบริษัทรับจัดกิจกรรมการสื่อสารตรา (Event Organizer) วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) หน่วยกิต สสต. 201 การพัฒนากลยุทธ์ตรา 3 BDC 201 Brand Strategy Development สสต. 202 ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการสื่อสารตรา 3 BDC 202 Creativity for Brand Communications สสต. 203 การจัดการคุณค่าตรา 3 BDC 203 Brand Equity Management สสต. 204 กลยุทธ์ช่องทางการสื่อสารและสัมผัสแห่งตรา 3 BDC 204 Brand Channels and Sense Strategy สสต. 301 การวิจัยการสื่อสารตรา 3 BDC 301 Brand Communications Research สสต. 302 การออกแบบเอกลักษณ์ตรา 3 BDC 302 Brand Identity Design สสต. 303 การผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารตรา 3 BDC 303 Media Production for Brand Communications


หน่วยกิต สสต. 401 การวางแผนรณรงค์การสื่อสารตรา 3 BDC 401 Brand Communications Campaign Planning สสต. 402 การฝึกงานวิชาชีพด้านการสื่อสารตรา 3 BDC 402 Brand Communications Professional Internship หรือ สสต. 403 โครงการสื่อสารตรา 3 BDC 403 Brand Communications Project สสต. 404 สัมมนาการสื่อสารตรา 3 BDC 404 Seminar in Brand Communications วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) สสต. 311 การวิเคราะห์และทำ�ความเข้าใจเชิงลึก 3 ผู้ที่เกี่ยวข้อง BDC 311 Stakeholder Insight and Analysis สสต. 312 ทักษะการนำ�เสนองานและการเจรจาต่อรอง 3 BDC 312 Negotiation and Presentation Skills สสต. 313 การสื่อสารตราองค์การ 3 BDC 313 Corporate Brand Communications สสต. 411 การจัดการการสื่อสารตราเชิงกลยุทธ์ 3 BDC 411 Strategic Brand Communications Management สสต. 412 การสื่อสารตราระดับโลก 3 BDC 412 Global Brand Communications

วิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จาก 1) กลุ่มวิชาที่ภาควิชาอื่นของคณะฯ กำ�หนดให้เป็นวิชาโท หรือ 2) กลุ่มวิชาของคณะอื่นที่คณะฯ อนุมัติให้เป็นวิชาโท 3) กลุ่มวิชาที่ภาควิชาการสื่อสารตรากำ�หนดให้เป็นวิชาโท การปรับเปลี่ยนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทให้อยู่ในดุลพินิจของ คณบดี วิชาโทการสื่อสารตรา (สำ�หรับนักศึกษาที่ไม่ได้เรียนในสาขา วิชาการสื่อสารตรา) นักศึกษาเรียน 5 วิชาที่ภาควิชาการสื่อสารตรา กำ�หนด โดยมีรายวิชาดังต่อไปนี้ หน่วยกิต สสต. 203 การจัดการคุณค่าตรา 3 BDC 203 Brand Equity Management สสต. 204 กลยุทธ์ช่องทางการสื่อสารและสัมผัสแห่งตรา 3 BDC 204 Brand Channels and Sense Strategy สสต. 312 ทักษะการนำ�เสนองานและการเจรจาต่อรอง 3 BDC 312 Negotiation and Presentation Skills สสต. 411 การจัดการการสื่อสารตราเชิงกลยุทธ์ 3 BDC 411 Strategic Brand Communications Management สสต. 412 การสื่อสารตราระดับโลก 3 BDC 412 Global Brand Communications

หลักสูตรปริญญาตรี 243



ศิลป​ศาสตร​บัณฑิต (ศศ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) คณะ​มนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว ​มุ่ง​ผลิต​ บัณฑิต​ท​มี่ ​คี วาม​ร​คู้ วาม​ชำ� นาญ​ใน​ธรุ กิจ​การ​ทอ่ ง​เทีย่ ว​และ​การ​โรงแรม และ​การ​ใช้​ภาษา ทั้ง​ภาษา​ไทย ภาษา​อังกฤษ ภาษาจีน และ​ภาษา อื่น ๆ เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น บัณฑิตส​ ามารถ​สื่อ​ความ​หมาย​โดย​ใช้​ภาษา​ ได้​อย่าง​มปี​ ระสิทธิภาพ​ใน​ทักษะ 4 ด้าน คือ ฟัง พูด อ่าน ​และ​เขียน นอกจาก​นี้​คณะ​ยัง​มุ่ง​ฝึกฝน​ให้น​ ัก​ศึกษา​เป็นผ​ ู้​มี​มารยาท มีน​ �้ำใจ​ไมตรี รูจ้ กั ​คดิ ​อย่าง​ม​เี หตุผล และ​สามารถ​วเิ คราะห์​วจิ ารณ์​ใน​เรือ่ ง​ท​อี่ า่ น​หรือ​ สิ่ง​ที่​พบเห็นใ​น​ชีวิตป​ ระจ�ำ​วัน ตลอด​จน​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​ค้นคว้า บัณฑิต​คณะ​มนุษยศาสตร์​และการจัดการการท่องเที่ยว จึง​มี​ความ​ พร้อม​ที่​จะ​เข้า​ท�ำงาน​ใน​ธุรกิจ​ประเภท​ต่าง ๆ องค์กร​ระหว่าง​ประเทศ​ หรือศ​ ึกษา​ต่อ​ใน​ระดับ​ทสี่​ ูง​ขึ้น ปั จ จุ บัน ​ค ณะ​มนุษ ยศาสตร์แ ละการจัดการการท่อ งเที่ ย ว มหาวิทยาลัยก​ รุงเทพ เปิดส​ อน 8 สาขา​วิชา คือ สาขา​วิชา​ภาษา​อังกฤษ สาขา​วิชา​ภาษา​ไทย สาขา​วิชา​ภาษา​จีน​เพื่อ​การ​ท่อง​เที่ยว​และ​การ​โรงแรม สาขา​วิชา​ภาษา​จีน​เพื่อ​ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ สาขา​วิชา​การ​จัดการ​การ​โรงแรม สาขา​วิชา​การ​จัดการ​การ​ท่อง​เที่ยว สาขา​วิชา​การ​จัดการ​ธุรกิจสายการบิน สาขา​วิชา​การ​จัดการการ​โรงแรมและภัตตาคาร (หลักสูตรนานาชาติ) นัก​ศึกษา​แต่ละ​สาขา​วิชา​สามารถ​เลือก​เรียน​วิชาโท​ได้​อีก 1 สาขา​วชิ า เพือ่ ช​ ว่ ย​เสริมค​ วาม​รแ​ู้ ละ​ประสบการณ์ใ​ห้ห​ ลาก​หลาย​ยงิ่ ข​ นึ้ ทั้ง​ใน​สาขา​วิชา​ทคี่​ ณะ​เปิดส​ อน​และ​หมวด​วิชา​อื่น ๆ เช่น บริหารธุรกิจ ประชาสัมพันธ์ เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ ภาษา​ญี่ปุ่น และ​ภาษา​จีน เป็นต้น

สาขา​วิชา​ภาษา​อังกฤษ สาขา​วิชา​ภาษา​อังกฤษ คณะ​มนุษยศาสตร์และการจัดการ การท่องเที่ยว ตระหนัก​ถึง​ความ​เปลี่ยนแปลง​อย่าง​รวดเร็ว​ใน​ทุก​ด้าน​ ของ​สังคม จึง​มุ่ง​มั่น​ที่​จะ​ผลิต​บุคลากร​ที่​มี​ความ​รู้​อย่าง​ลึก​ซึ้ง​ทาง​ด้าน​ ภาษาศาสตร์​และ​วรรณคดี มี​ความ​เชี่ยวชาญ​ใน​การ​ใช้​ทักษะ​ภาษา​ อังกฤษ​ทั้ง​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน​ได้​ใกล้​เคียง​กับ​เจ้าของ​ภาษา เป็น​ผู้​รัก​การ​เรียน​รู้ สามารถ​คิด​วิเคราะห์ และ​ตัดสิน​ใจ​ได้​ด้วย​ตนเอง เป็นค​ น​ทนั ​สมัย พร้อม​ทจ​ี่ ะ​ปรับต​ วั ใ​ห้​เข้า​กบั ส​ ภาพ​แวดล้อม​และ​ความ​ เปลี่ยนแปลง​ของ​โลก​ยุค​ปัจจุบัน​และ​ที่​สำ�คัญ​เป็น​ผู้​มี​มนุษยสัมพันธ์​ดี และ​มี​ความ​พร้อม​ที่​จะ​ศึกษา​ต่อ​ใน​ระดับ​ที่​สูง​ขึ้น เพื่อ​บรรลุ​จุด​ประสงค์​ดัง​กล่าว คณะ​มนุษยศาสตร์​และการ จัดการการท่องเที่ยว จึง​สร้าง​หลักสูตร​ท​่มี ​ีคณ ุ ค่า​ตอ่ ​ผ​้เู รียน โดย​เน้น​ ผู้​เรียน​เป็น​ศูนย์กลาง (Learner - Centered Design) เพื่อ​พัฒนา​ ศักยภาพ​ของ​ผู้​เรียน​โดย​รวม ทั้ง​ทาง​ด้าน​การ​พัฒนา​สติ​ปัญญา (IQ) และ​ความ​ฉลาด​ทาง​อารมณ์ (EQ) ดัง​นั้น​กิจกรรม​การ​เรียนการ​ สอน​จึง​มุ่ง​เน้น​การ​สร้าง​โอกาส​ให้​นัก​ศึกษา​ได้​เรียน​รู้​ด้วย​ตนเอง​จาก​ ประสบการณ์​จริง กระตุ้น​ให้​นัก​ศึกษา​แสดง​ความ​คิด​เห็น​ต่อ​บท​ เรียน​โดย​ใช้​ภาษา​อังกฤษ​เป็น​สื่อ​ใน​บรรยากาศ​การ​เรียน​ที่​สนุกสนาน​ และ​เป็น​กันเอง​เพียบ​พร้อม​ด้วย​สื่อ​การ​เรียน​การ​สอน​ที่​ทัน​สมัย อาทิ คอมพิวเตอร์ และ​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ทาง​ภาษา​ที่​สมบูรณ์แ​ บบ เพือ่ ส​ ง่ เ​สริมใ​ห้น​ กั ศ​ กึ ษา​มป​ี ระสบการณ์ค​ วาม​รอ​ู้ ย่าง​กว้าง​ขวาง​ ใน​สาขา​วิชา​อื่นๆ สาขา​วิชา​ภาษา​อังกฤษ​จึง​เปิดโ​อกาส​ให้น​ ัก​ศึกษา​ สามารถ​เลือก​เรียน​วิชาโท​ได้​ตาม​ความ​สนใจ เช่น บริหารธุรกิจ ประชาสัมพันธ์ การ​ท่อง​เที่ยว​และ​การ​โรงแรม เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ และ​ภาษา​ต่าง​ประเทศ​อื่นๆ เป็นต้น

หลักสูตรปริญญาตรี 245


โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

จาก​อดีต​จนถึง​ปัจจุบัน คณะ​มนุษยศาสตร์​และการจัดการ การท่องเที่ยว ได้​ผลิต​บุคลากร​ที่​มี​คุณภาพ​เพียบ​พร้อม​ทั้ง​ด้าน​สติ​ ปัญญา ความ​รู้ และ​ความ​ฉลาด​ทาง​อารมณ์ เป็นท​ ย​่ี อมรับข​ อง​หน่วย​ งาน​และ​องค์กร​ตา่ ง ๆ อย่าง​แพร่​หลาย ​บัณฑิต​ของ​คณะ​มี​โอกาส​ได้​ รับ​ใช้​สังคม​ใน​หลาก​หลาย​อาชีพ ทั้ง​ทาง​ด้าน​วิชา​การ​และบริการ อาทิ ประชาสัมพันธ์ เลขานุการ ธุรการ การ​ท่อง​เที่ยว​และ​การ​โรงแรม สาย​การ​บิน การ​ธนาคาร ธุรกิจ​ใน​รูป​แบบ​ต่างๆ วงการ​หนังสือ​และ​ สื่อ​สิ่ง​พิมพ์ วงการ​แปล องค์กร​ระหว่าง​ประเทศ และ​งาน​อื่นๆ อีก​ มากมาย​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ใช้ภ​ าษา​อังกฤษ ปริญญา​ตรีศ​ ิลปศาสตรบัณฑิต สาขา​วิชา​ภาษา​อังกฤษ หรือ ศศ.บ. (ภาษา​อังกฤษ) จะ​ต้อง​มี​จำ�นวน​หน่วยกิต​ไม่​น้อย​กว่า 135 หน่วยกิต โดย​แยก​ออก​เป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 39 หน่วยกิต วิชาเอก-บังคับ 30 หน่วยกิต วิชาเอก-เลือก 15 หน่วยกิต วิชาวิชาโท 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 135 หน่วยกิต

246 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

3 3 3 3


หมวดวิชาเฉพาะ (99 หน่วยกิต)

วิชาพื้นฐานวิชาชีพ (39 หน่วยกิต) หน่วยกิต อก. 101 ทักษะพื้นฐานในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3 EN 101 English Study Skills อก. 131 ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 1 3 EN 131 English Grammar I อก. 132 ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 2 3 EN 132 English Grammar II อก. 140 พื้นฐานการเขียน 3 EN 140 Essentials of Writing อก. 223 วรรณกรรมเบื้องต้น 3 EN 223 Introduction to Literature อก. 242 การเขียนย่อหน้า 3 EN 242 Paragraph Writing อก. 244 การเขียนเรียงความ 3 EN 244 Essay Writing อก. 253 การฟังและการพูด 3 EN 253 Listening and Speaking อก. 261 ภาษาทัศนา 3 EN 261 Introduction to Language อก. 262 สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ 3 EN 262 English Phonetics อก. 281 กลยุทธ์การอ่าน 3 EN 281 Reading Strategies อก. 282 การพัฒนาการอ่าน 3 EN 282 Reading Development อก. 369 การออกเสียงภาษาอังกฤษ 3 EN 369 English Pronunciation

วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) อก. 325 การอ่านวรรณกรรม EN 325 Reading Literature อก. 344 การเขียนเรียงความระดับสูง EN 344 Advanced Writing อก. 362 โครงสร้างภาษาอังกฤษ EN 362 Structure of English อก. 371 การแปลอังกฤษเป็นไทย EN 371 English-Thai Translation อก. 372 การแปลไทยเป็นอังกฤษ EN 372 Thai-English Translation อก. 442 การเขียนเชิงวิชาการ EN 442 Academic Writing อก. 446 การเขียนเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ EN 446 Business Writing อก. 456 กลยุทธ์การน�ำเสนอ EN 456 Presentation Strategies อก. 468 ภาษาและสังคม EN 468 Language and Society อก. 491 วัฒนธรรมกับการสื่อสาร EN 491 Intercultural Communication

หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

วิชาเอก-เลือก (นักศึกษาเลือกเรียน 15 หน่วยกิต จากรายวิชา ดังต่อไปนี้) สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา 3 CO 301 Pre-Cooperative Education อก. 326 การอ่านวรรณกรรมข้ามวัฒนธรรม 3 EN 326 Reading across Cultures อก. 334 ภาษาอังกฤษส�ำหรับธุรกิจท่องเที่ยว 3 EN 334 English for Tourism Industry หลักสูตรปริญญาตรี 247


หน่วยกิต อก. 335 ภาษาอังกฤษส�ำหรับการจัดการในส�ำนักงาน 3 EN 335 English for Office Management อก. 336 ภาษาอังกฤษส�ำหรับธุรกิจการบิน 3 EN 336 English for Airline Industry อก. 337 การพัฒนาทักษะการอภิปราย 3 EN 337 Discussion Skills Development อก. 358 การพัฒนาทักษะการฟัง 3 EN 358 Listening Skills Development อก. 359 การสนทนาเชิงธุรกิจ 3 EN 359 Business Speech Communication อก. 392 การสื่อสารภาษาอังกฤษกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 EN 392 English Communication and IT อก. 400 สหกิจศึกษา 6 EN 400 Cooperative Education อก. 481 สัมมนาประเด็นปัจจุบัน 3 EN 481 Seminar in Contemporary Issues อก. 486 การอ่านเชิงธุรกิจ 3 EN 486 Reading in Business วิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จาก 1) กลุ่ ม วิ ช าที่ภาควิชาอื่นของคณะฯ ก�ำหนดให้เป็นวิชาโท หรือ 2) กลุ่มวิชาของคณะอื่นที่คณะฯ อนุมัติให้เป็นวิชาโท 3) กลุ่มวิชาที่ภาควิชาภาษาอังกฤษก�ำหนดให้เป็นวิชาโท การ ปรับเปลี่ยนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทให้อยู่ในดุลพินิจของ คณบดี

248 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวด​วิชา​เลือก​เสรี (6 หน่วยกิต)

นักศ​ กึ ษา​จะ​ตอ้ ง​เลือก​เรียน​อกี อ​ ย่าง​นอ้ ย 6 หน่วยกิต จาก​รายวิชา​ ที่นักศึกษาสนใจ

สาขา​วิชา​ภาษา​ไทย​

นัก​ศึกษา​ที่​เรียน​สาขา​นี้​จะ​ได้​ศึกษา​ภาษา​ไทย​ที่ ​ใช้​ใน​การ​ สื่อสาร​งาน​ธุรกิจ งาน​สื่อสาร​มวลชน รวม​ถึง​ลีลา​การ​ใช้​ภาษา​ไทย​ ใน​แง่​มุม​ต่างๆ ทำ�ให้​มี​ความ​เชี่ยวชาญ​ใน​การ​ใช้​ภาษา​ไทย​เป็น​อย่าง​ ดี สามารถ​นำ�​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​โอกาส​ต่างๆ ได้​อย่าง​เหมาะ​สม​และ​มี​ ประสิทธิภาพ​ต่อ​ไป ด้าน​การ​ใช้​ภาษา นัก​ศึกษา​จะ​ได้​ฝึกฝน​ทักษะ​ทาง​ภาษา​ให้​มี​ ประสิทธิภาพ ทั้ง​การ​ฟัง การ​พูด การ​อ่าน และ​การ​เขียน อีก​ทั้ง​ยัง​ ศึกษา​การ​ใช้​ภาษา​ใน​แง่​มุม​ต่าง ๆ อย่า​งลึก​ซึ้ง อาทิ การ​ใช้​ภาษา​ไทย​ ใน​สื่อมวลชน การ​เขียน​ทาง​วารสารศาสตร์ การ​เขียน​บทความ​และ​ สารคดี การ​เขียน​เพื่อ​การ​ประชาสัมพันธ์ การ​เขียน​เพื่อ​ธุรกิจ ส่วน​ ด้าน​วรรณกรรม นัก​ศึกษา​จะ​ได้​เรียน​วรรณกรรม​ไทย​สมัยต​ ่าง ๆ ตั้ง​ แต่​อดีต​จนถึง​ปัจจุบัน การ​ศึกษา​ทั้งสอง​ด้าน​นี้​จะ​เป็น​พื้น​ฐาน​สำ�หรับ​ การ​ประกอบ​อาชีพ และ​ศึกษา​ทาง​ด้าน​ภาษา​ใน​ระดับ​ปริญญา​โท​และ​ ปริญญา​เอก​ต่อ​ไป

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

ผูท​้ จ​ี่ บ​การ​ศกึ ษา​สาขา​วชิ า​ภาษา​ไทยจะ​เป็นบ​ ณ ั ฑิตท​ ม​ี่ ค​ี วาม​รู้ ความ​สามารถ​ดา้ น​การ​ใช้ภ​ าษา​ไทย​เป็นอ​ ย่าง​ดี อีกท​ งั้ ส​ ามารถ​ประกอบ​ อาชีพใ​น​สาขา​สอ่ื สาร​มวลชน สาขา​ธรุ กิจ และ​งาน​วชิ า​การ อาทิ นักข​ า่ ว นัก​จัด​รายการ​วิทยุ-โทรทัศน์ นัก​หนังสือพิมพ์ พิธีกร ผู้​ประกาศ​ข่าว นักการ​ตลาด เลขานุการ ครู อาจารย์ นัก​วิชา​การ


ปริญญา​ตรี​ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา​วิชา​ภาษา​ไทย ​หรือ ศศ.บ. (ภาษา​ไทย) จะ​ตอ้ ง​มจ​ี ำ�นวน​หน่วยกิตไ​ม่น​ อ้ ย​กว่า 132 หน่วยกิต โดย​แยก​ออก​เป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชา​เฉพาะ 96 หน่วยกิต วิชาแกน 36 หน่วยกิต ​วิชา​เอก-บังคับ 30 หน่วยกิต วิชา​เอก-เลือก 15 หน่วยกิต ​วิชาโท 15 หน่วยกิต หมวดวิชา​เลือก​เสรี 6 หน่วยกิต รวม 132 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต) กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) หน่วยกิต อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ 3 EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน 3 EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด 3 EN 013 English for Expressing Ideas กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity

ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หน่วยกิต 3 3

3 3 3 3

หมวดวิชาเฉพาะ (96 หน่วยกิต)

วิชาแกน (36 หน่วยกิต) ทย. 102 กลยุทธ์การเรียน 3 TH 102 Learning Strategies ทย. 103 การพัฒนาทักษะการอ่าน 3 TH 103 Reading Skills Development ทย. 141 อัตลักษณ์วรรณกรรมไทย 3 TH 141 Identity of Thai Literature ทย. 221 ภาษากับวัฒนธรรม 3 TH 221 Language and Culture ทย. 261 ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว 3 TH 261 The Art of Prose Writing ทย. 262 การใช้ภาษาไทยในสื่อมวลชน 3 TH 262 Thai Usage in Mass Media หลักสูตรปริญญาตรี 249


ทย. 306 ศิลปะการพูด TH 306 The Art of Speaking ทย. 307 กลยุทธ์การนำ�เสนอ TH 307 Presentation Strategies ทย. 322 ภาษาศาสตร์ภาษาไทย TH 322 Thai Linguistics ทย. 324 ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย TH 324 Foreign Languages in Thai อก. 140 พื้นฐานการเขียน EN 140 Essentials of Writing อก. 253 การฟังและการพูด EN 253 Listening and Speaking

หน่วยกิต 3

วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) ทย. 204 การสรุปความ TH 204 Summary Writing ทย. 242 วรรณกรรมไทยสมัยปัจจุบัน TH 242 Modern Thai Literature ทย. 243 ลีลาภาษาในงานเขียน TH 243 Styles in Literary Works ทย. 263 การเขียนเพื่อธุรกิจ TH 263 Writing for Business ทย. 344 ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมจากวรรณกรรมไทย TH 344 Cultural Reflection on Thai Literary Works ทย. 366 การเขียนบทความและสารคดี TH 366 Article and Feature Writing ทย. 368 ศิลปะการเขียนร้อยกรอง TH 368 The Art of Poetry Writing 250 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 3 3 3 3

3 3 3 3 3 3 3

หน่วยกิต ทย. 370 การวิจัยเบื้องต้นทางภาษาและวรรณกรรมไทย 3 TH 370 Basic Research Methodology in Thai Language and Literature ทย. 447 ศิลปะการวิจารณ์ 3 TH 447 The Art of Criticism ทย. 469 สัมมนาการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน 3 TH 469 Seminar in Thai Usage วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) 1. นักศึกษาจะต้องเลือกศึกษา 1 กลุ่มวิชาเอก-เลือก จากกลุ่ม วิชาดังต่อไปนี้ 2. นักศึกษาที่เลือกแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา ต้องเลือก วิชา สศ.301 เตรียมสหกิจศึกษา และวิชา ทย.400 สหกิจศึกษา รวม 9 หน่วยกิต และอีก 6 หน่วยกิต เลือกจากวิชาในกลุ่มวิชาเอก-เลือก กลุ่มวิชาทักษะภาษาไทย สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (สำ�หรับแผนสหกิจศึกษา) CO 301 Pre-Cooperative Education ทย. 205 การอ่านทางธุรกิจ TH 205 Business Reading ทย. 206 การอ่านเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต TH 206 Reading for Better Living ทย. 364 การเขียนทางวารสารศาสตร์ TH 364 Journalistic Writing ทย. 365 สื่อสิ่งพิมพ์ TH 365 Publications ทย. 367 การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ TH 367 Writing for Public Relations ทย. 400 สหกิจศึกษา (สำ�หรับแผนสหกิจศึกษา) TH 400 Cooperative Education

3 3 3 3 3 3 6


หน่วยกิต ทย. 408 ศิลปะการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำ�วัน 3 TH 408 The Art of Thai Usage in Daily Life ทย. 425 ความรู้พื้นฐานทางภาษาบาลีและสันสกฤต 3 TH 425 Introduction to Pali and Sanskrit ทย. 426 สำ�นวนในภาษาไทยปัจจุบัน 3 TH 426 Modern Thai Expressions ทย. 427 การแปลภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย 3 TH 427 Translation from a Foreign Language into Thai ทย. 470 ศิลปะการอ่านออกเสียง 3 TH 470 The Art of Oral Reading ทย. 471 การเขียนบันเทิงคดี 3 TH 471 Fiction Writing ทย. 472 การจัดการประชุม 3 TH 472 Conference Organizing ทย. 473 วาทศิลป์ 3 TH 473 Rhetoric ทย. 481 การศึกษาเฉพาะเรื่อง 3 TH 481 Study in Special Topics กลุ่มวิชาวรรณกรรมไทย สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (สำ�หรับแผนสหกิจศึกษา) 3 CO 301 Pre-Cooperative Education ทย. 283 สุนทรียภาพในศิลปะไทย 3 TH 283 Thai Art Appreciation ทย. 400 สหกิจศึกษา (สำ�หรับแผนสหกิจศึกษา) 6 TH 400 Cooperative Education ทย. 445 มรดกวรรณกรรมไทย 3 TH 445 Thai Literary Heritage ทย. 448 วรรณกรรมประวัติศาสตร์ 3 TH 448 Thai Historical Literature

หน่วยกิต ทย. 449 วรรณกรรมศาสนา 3 TH 449 Religious Literature ทย. 450 วรรณกรรมประเพณี 3 TH 450 Literature Related to Thai Customs and Traditions ทย. 451 วรรณกรรมนิราศ 3 TH 451 Niras ทย. 452 วรรณกรรมการแสดง 3 TH 452 Thai Dramatic Literature ทย. 453 วรรณกรรมท้องถิ่น 3 TH 453 Local Literary Works ทย. 455 วรรณกรรมสำ�หรับเด็ก 3 TH 455 Children Literature ทย. 456 วรรณกรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว 3 TH 456 Thai Literature for Tourism ทย. 457 พัฒนาการเพลงไทย 3 TH 457 Development of Thai Song ทย. 458 วรรณศิลป์ในเพลง 3 TH 458 Literary Arts in Song ทย. 459 วรรณกรรมข้ามวัฒนธรรม 3 TH 459 Cross- cultural Literature ทย. 482 ภูมิปัญญาไทยกับวรรณกรรม 3 TH 482 Thai Wisdom and Literature ทย. 483 อิทธิพลของสังคมโลกที่มีต่อภาษา 3 และวรรณกรรมไทย TH 483 Impact of Globalization on Thai Language and Literature

หลักสูตรปริญญาตรี 251


วิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จาก 1) กลุ่มวิชาที่ภาควิชาอื่นของคณะฯ กำ�หนดให้เป็นวิชาโท 2) นักศึกษาที่เรียนวิชาเอก-เลือกกลุ่มวิชาหนึ่ง สามารถเลือก เรียนวิชาเอก-เลือกอีกกลุ่มวิชาหนึ่งเป็นวิชาโทได้ เช่น นักศึกษาที่ เลือกกลุ่มวิชาทักษะภาษาไทยเป็นวิชาเอก-เลือก สามารถเลือกกลุ่ม วิชาวรรณกรรมไทย เป็นวิชาโทได้ 3) กลุม่ วิชาของคณะอืน่ ทีค่ ณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการ ท่องเที่ยวอนุมัติให้เป็นวิชาโท หมายเหตุ การปรับเปลีย่ นรายวิชาในกลุม่ วิชาโทให้อยู่ในดุลพินจิ ของ คณบดี

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งเลื อ กเรี ย นรายวิ ช าอื่ น ที่ เ ปิ ด สอนใน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือเลือกเรียนใน รายวิชาดังต่อไปนี้ หน่วยกิต ศป. 103 อารยธรรมเปรียบเทียบ 3 LB 103 Comparative Civilization ศป. 105 ทักษะการศึกษา 3 LB 105 Study Skills ศป. 144 ความรู้เบื้องต้นทางวิทยาศาสตร์การกีฬา 3 LB 144 Introduction to Sports Science ศป. 145 โภชนาการเพื่อสุขภาพและการดำ�รงชีวิต 3 LB 145 Nutrition for Health and Living ศป. 146 การจัดการแข่งขันกีฬา 3 LB 146 Organization of Sport Competition

252 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศป. 147 การจัดการกิจกรรมการออกกำ�ลังกาย และการกีฬา LB 147 Exercise and Sports Management ศป. 148 การจัดการและบริหารนันทนาการ LB 148 Recreation Management ศป. 213 ความรู้เบื้องต้นทางมนุษยศาสตร์ LB 213 Introduction to Humanities ศป. 222 กระบวนการกลุ่ม LB 222 Group Processes ศป. 303 ศิลปวัฒนธรรมไทย LB 303 Thai Culture ศป. 304 การครองเรือน LB 304 Family Studies ศป. 305 สังคีตนิยม LB 305 Music Appreciation ศป. 502 ปรัชญาจีน LB 502 Chinese Philosophy ศป. 503 ปรัชญาญี่ปุ่น LB 503 Japanese Philosophy ศป. 505 พุทธศาสนากับสังคมไทย LB 505 Buddhism and Thai Society ศป. 509 พุทธจริยศาสตร์ LB 509 Buddhist Ethics

หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3


สาขา​วิชา​ภาษา​จีน​เพื่อก​ าร​ท่อง​เที่ยว​และ​การ​โรงแรม

นัก​ศึกษา​ที่​เรียน​สาขา​นี้​จะ​ได้​ศึกษา​ภาษา​จีน​ควบคู่​ไป​กับ​ ความ​รู้​ทาง​ด้าน​ธุรกิจ​การ​ท่อง​เที่ยว​และ​การ​โรงแรม นัก​ศึกษา​จะ​มี​ โอกาส​ฝึกฝน​ภาษา​จีน​ใน​ทุกๆ ด้าน​จน​เกิด​ความ​ชำ�นาญ ทั้ง​ทักษะ​ การ​พูด การ​ฟัง การ​อ่าน และ​การ​เขียน อีก​ทั้งย​ ังม​ ี​โอกาส​ได้​ศึกษา​ ดู​งาน​ทาง​ด้าน​การ​ท่อง​เที่ยว​และ​การ​โรงแรม​เพื่อ​เพิ่มพูน​ทักษะ​และ​ ประสบการณ์​ภายนอก​ห้องเรียน​ให้​แก่​นัก​ศึกษา ซึ่ง​จะ​เป็น​ประโยชน์​ ใน​การ​ศึกษา​ต่อ​หรือก​ าร​ทำ�งาน​ใน​อนาคต

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

บัณฑิตท​ จ​่ี บ​ใน​สาขา​นจ​้ี ะ​มท​ี กั ษะ​การ​ใช้ภ​ าษา​จนี อ​ ยูใ​่ น​ระดับด​ แ​ี ละ​ มี​ความ​ร​้คู วาม​สามารถ​ใน​งาน​ท​่เี กีย่ ว​กบั ​การ​ทอ่ ง​เทีย่ ว​และ​การ​โรงแรม​ ทำ�ให้​บณั ฑิต​สามารถ​เลือก​ประกอบ​อาชีพไ​ด้​หลาย​สาขา เช่น นัก​เขียน นัก​วชิ า​การ นัก​แปล งาน​บริการ มัคคุเทศก์ บริษทั ​ทอ่ ง​เทีย่ ว พนัก​งาน​ โรงแรม สาย​การ​บนิ พนัก​งาน​บริษทั และ​นกั ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น โครงสร้างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ​สาขา​วชิ า​ภาษาจีนเพือ่ ​ การท่อง​เที่ยวและการโรงแรม แยกออกเป็น 2 แผนการศึกษา คือ แผนการศึกษา 4 ปี แบบปกติ และแผนการศึกษา 4 ปี แบบสหกิจศึกษา จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต โดย​แยก​ออก​เป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชา​เฉพาะ 99 หน่วยกิต ​วิชาแกน 39 หน่วยกิต ​วิชา​เอก-บังคับ 30 หน่วยกิต วิชา​เอก-เลือก 15 หน่วยกิต ​วิชาโท 15 หน่วยกิต หมวดวิชา​เลือก​เสรี 6 หน่วยกิต รวม 135 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

3 3 3 3

หลักสูตรปริญญาตรี 253


หมวดวิชาเฉพาะ (99 หน่วยกิต)

วิชาแกน (39 หน่วยกิต) หน่วยกิต ภอจ. 110 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 3 ELC 110 Chinese for Communication I ภอจ. 111 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 3 ELC 111 Chinese for Communication II ภอจ. 120 การออกเสียงภาษาจีน 3 ELC 120 Chinese Phonetics ภอจ. 121 การฟังและการพูดภาษาจีน 1 3 ELC 121 Chinese Listening and Speaking I ภอจ. 130 การอ่านภาษาจีน 1 3 ELC 130 Chinese Reading I ภอจ. 140 การเขียนภาษาจีน 3 ELC 140 Chinese Writing ภอจ. 222 การฟังและการพูดภาษาจีน 2 3 ELC 222 Chinese Listening and Speaking II ภอจ. 231 การอ่านภาษาจีน 2 3 ELC 231 Chinese Reading II ภอจ. 232 การอ่านข่าว 3 ELC 232 News Reading ภอจ. 241 ไวยากรณ์ภาษาจีน 1 3 ELC 241 Chinese Grammar I ภอจ. 242 ไวยากรณ์ภาษาจีน 2 3 ELC 242 Chinese Grammar II ภอจ. 250 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ 3 ELC 250 Chinese for Business Communication ภอจ. 260 วัฒนธรรมจีน 3 ELC 260 Chinese Culture

254 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) หน่วยกิต ภจร. 351 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว 1 3 ECH 351 Chinese for Tourism I ภจร. 352 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว 2 3 ECH 352 Chinese for Tourism II ภจร. 353 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการโรงแรม 1 3 ECH 353 Chinese for Hospitality I ภจร. 354 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการโรงแรม 2 3 ECH 354 Chinese for Hospitality II ภจร. 355 ภาษาจีนเพื่อการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ 3 ECH 355 Chinese for Advertising and Public Relations ภจร. 356 ภาษาจีนเพื่อการปฏิบัติงานฝ่ายห้องพัก 3 ECH 356 Chinese for Room Division Operation ภจร. 457 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการบิน 3 ECH 457 Chinese for Airline Industry ภจร. 458 ภาษาจีนสำ�หรับมัคคุเทศก์ 3 ECH 458 Chinese for Tour Guide ภจร. 459 ภาษาจีนเพื่อการบริการในธุรกิจการท่องเที่ยว 3 และการโรงแรม ECH 459 Chinese for Services in Tourism and Hospitality Business ภอจ. 467 ศึกษาดูงาน 3 ELC 467 Field Trip วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) 1. นักศึกษาแผนการเรียนแบบปกติ เลือกเรียน 15 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้ 2. นักศึกษาที่เลือกแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา ต้องเลือก วิชา สศ.301 เตรียมสหกิจศึกษา และวิชา ภจร.400 สหกิจศึกษา รวม 9 หน่วยกิต และอีก 6 หน่วยกิต เลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้


หน่วยกิต สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (สำ�หรับแผนสหกิจศึกษา) 3 CO 301 Pre-Cooperative Education ภจร. 333 การอ่านภาษาจีนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว 3 และการโรงแรม ECH 333 Chinese Reading for Tourism and Hospitality ภจร. 343 การเขียนภาษาจีนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว 3 และการโรงแรม ECH 343 Chinese Writing for Tourism and Hospitality ภจร. 361 ภาษาจีนเพื่อการบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3 ECH 361 Chinese for Food and Beverage Service ภจร. 362 ภาษาจีนเพื่อการบริการในธุรกิจสถานพยาบาล 3 ECH 362 Chinese for Health Services ภจร. 400 สหกิจศึกษา (สำ�หรับแผนสหกิจศึกษา) 6 ECH 400 Cooperative Education ภจร. 412 การแปลล่ามภาษาจีนเพื่อธุรกิจการบริการ 3 ECH 412 Chinese Interpretation for Service Businesses ภจร. 463 ทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทยและจีน 3 ECH 463 Tourism Resources in Thailand and China ภจร. 464 จีนศึกษาเพื่อการนำ�เที่ยว 3 ECH 464 Chinese Studies for Tour Guide ภจร. 465 วรรณกรรมจีนเพื่อการท่องเที่ยว 3 ECH 465 Chinese Literature for Tourism ภจร. 466 สัมมนาการใช้ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว 3 และการโรงแรม ECH 466 Seminar in Chinese Usage for Tourism and Hospitality

วิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จาก 1) กลุม่ วิชาทีภ่ าควิชาอืน่ ของคณะฯ กำ�หนดให้เป็นวิชาโท หรือ 2) กลุ่มวิชาของคณะอื่นที่คณะฯ อนุมัติให้เป็นวิชาโท 3) กลุม่ วิชาทีภ่ าควิชาภาษาตะวันออกและเอเชียศึกษากำ�หนด ให้เป็นวิชาโท การปรับเปลี่ยนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทให้อยู่ในดุลพินิจ ของคณบดี วิชาโทของภาควิชาภาษาตะวันออกและเอเชียศึกษา วิชาโทภาษาจีน หน่วยกิต ภอจ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 1 3 ELC 201 Chinese Language and Culture I ภอจ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 3 ELC 202 Chinese Language and Culture II ภอจ. 301 ภาษาจีนเพื่อการใช้งานในสำ�นักงาน 3 ELC 301 Chinese for Office Work ภอจ. 302 ภาษาจีนเพื่องานบริการ 3 ELC 302 Chinese for Service Careers ภอจ. 401 จีนศึกษา 3 ELC 401 Chinese Studies วิชาโทภาษาญี่ปุ่น ภอญ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 1 ELJ 201 Japanese Language and Culture I ภอญ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 2 ELJ 202 Japanese Language and Culture II ภอญ. 301 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการใช้งานในสำ�นักงาน ELJ 301 Japanese for Office Work ภอญ. 302 ภาษาญี่ปุ่นเพื่องานบริการ ELJ 302 Japanese for Service Careers

3 3 3 3

หลักสูตรปริญญาตรี 255


ภอญ. 401 ญี่ปุ่นศึกษา ELJ 401 Japanese Studies วิชาโทภาษาเวียดนาม ภอว. 201 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 1 ELV 201 Vietnamese Language and Culture I ภอว. 202 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 2 ELV 202 Vietnamese Language and Culture II ภอว. 301 ภาษาเวียดนามเพื่อการใช้งานในสำ�นักงาน ELV 301 Vietnamese for Office Work ภอว. 302 ภาษาเวียดนามเพื่องานบริการ ELV 302 Vietnamese for Service Careers ภอว. 401 เวียดนามศึกษา ELV 401 Vietnamese Studies วิชาโทภาษาเกาหลี ภอล. 201 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 1 ELK 201 Korean and Culture I ภอล. 202 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 2 ELK 202 Korean and Culture II ภอล. 301 ภาษาเกาหลีเพื่อการใช้งานในสำ�นักงาน ELK 301 Korean for Office Work ภอล. 302 ภาษาเกาหลีเพื่องานบริการ ELK 302 Korean for Service Careers ภอล. 401 เกาหลีศึกษา ELK 401 Korean Studies

256 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต 3

3 3 3 3 3

3 3 3 3 3

วิชาโทภาษามลายู ภอม. 201 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 1 ELM 201 Malay Language and Culture I ภอม. 202 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 2 ELM 202 Malay Language and Culture II ภอม. 301 ภาษามลายูเพื่อการใช้งานในสำ�นักงาน ELM 301 Malay for Office Work ภอม. 302 ภาษามลายูเพื่องานบริการ ELM 302 Malay for Service Careers ภอม. 401 มลายูศึกษา ELM 401 Malay Studies วิชาโทเอเชียศึกษา ภอศ. 201 วัฒนธรรมเอเชียตะวันออก EAS 201 Eastern Asia Culture ภอศ. 202 ศิลปะเอเชียร่วมสมัย EAS 202 Asian Contemporary Arts ภอศ. 301 เอเชียยุคใหม่ในสังคมโลก EAS 301 Modern Asia in the World ภอศ. 302 ความร่วมมือทางธุรกิจในอาเซียน EAS 302 Business Cooperation in ASEAN ภอศ. 401 ปรัชญาตะวันออก EAS 401 Eastern Philosophy

หน่วยกิต 3 3 3 3 3

3 3 3 3 3


สาขา​วิชา​ภาษา​จีน​เพื่อธ​ ุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ สาขา​วิชา​ภาษา​จีน​เพื่อ​ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ คณะ​มนุษยศาสตร์ และการจัดการการท่องเที่ยว เป็น​หลัก สูตร​สห​วิท ยาการที่​ บูรณ​า​การ​ความ​รู้​และ​ทักษะ​ภาษา​จีน​ทั้ง​ใน​ด้าน​การ​ฟัง การ​พูด การ​ อ่าน และ​การ​เขียน ให้​เข้า​กบั ​ทฤษฎี​และ​ความ​ร​ใู้ น​การ​ทำ​ � ธรุ กิจ​ระหว่าง​ ประเทศ รวม​ถึง​การ​ศึกษา​ดู​งาน​ที่​สาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อ​ให้​ ผู้​เรียน​มี​ความ​รอบรู้​ทั้ง​ใน​ด้าน​วิชา​การ และ​ประสบการณ์ต​ รง​ทางการ​ ท�ำ​ธรุ กิจระหว่าง​ประเทศ อัน​จะ​เป็น​ประโยชน์​ใน​การ​ศกึ ษา​ตอ่ หรือ​การ​ ท�ำ​ธรุ กิจ​กบั ช​ าว​จนี ท​ งั้ ท​ ​อี่ ยู​ใ่ น​ประเทศ​ไทย ใน​สาธารณรัฐประชาชน​จนี และ​ใน​ประ​เท​ศอื่นๆ ทั่ว​โลก​ได้​อย่าง​มปี​ ระสิทธิภาพ

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มวิชาบังคับ กลุ่มวิชาเลือก หมวดวิชาเฉพาะ วิชาแกน วิชาเอก-บังคับ วิชาเอก-เลือก วิชาโท หมวดวิชาเลือกเสรี รวม

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

บัณฑิตท​ จบ​ ​​ี่ ใน​สาขา​วชิ า​นี้ จะ​เป็นผ​ ท​ู้ ม​ี่ ค​ี วาม​คดิ แ​ ละ​วสิ ยั ท​ ศั น์​ กว้าง​ไกล สามารถ​ผสม​ผสาน​ความ​รู้​และ​ทักษะ​ภาษา​จีน​ให้​เข้า​กับ​ ความ​รใ​ู้ น​เรือ่ ง​ของ​การ​ทำ�​ธรุ กิจก​ บั ช​ าว​จนี ไ​ด้เ​ป็นอ​ ย่าง​ดี ทำ�ให้บ​ ณ ั ฑิต สามารถ​เลือกประกอบอาชีพได้​หลาก​หลาย​สาขา ทัง้ ด​ า้ น​วชิ า​การ ​เช่น การ​เป็นอ​ าจารย์ หรือก​ าร​เป็นน​ กั แ​ ปล และ​ใน​แวดวง​ทาง​ธรุ กิจ​ เช่น การ​ เป็น​นัก​ประชาสัมพันธ์ การ​เป็น​ล่าม การ​ทำ�งาน​ธนาคาร การ​ทำ�งาน​ ใน​สาย​การ​บิน​ต่างๆ ที่​ใช้ภ​ าษา​จีน หรือ​การ​ทำ�งาน​ใน​บริษัทช​ าว​จีน​ที่​ มี​อยูท่​ ั่วไป​ทั้ง​ใน​และ​ต่าง​ประเทศ เป็นต้น โครงสร้างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา​วชิ า​ภาษา​จนี ​เพือ่ ​ ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ แยกออกเป็น 2 แผนการศึกษา คือ แผนการ ศึกษา 4 ปี แบบปกติ และแผนการศึกษา 4 ปี แบบสหกิจศึกษา จ�ำนวน หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต โดย​แยก​ออก​เป็น

30 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 99 หน่วยกิต 39 หน่วยกิต 30 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต 135 หน่วยกิต

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens หลักสูตรปริญญาตรี 257


ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน GE 117 Mathematics for Daily Life ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ GE 118 Life and Health ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หน่วยกิต 3 3 3 3 3

หมวดวิชาเฉพาะ (99 หน่วยกิต)

วิชาแกน (39 หน่วยกิต) ภอจ. 110 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 ELC 110 Chinese for Communication I ภอจ. 111 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 ELC 111 Chinese for Communication II ภอจ. 120 การออกเสียงภาษาจีน ELC 120 Chinese Phonetics ภอจ. 121 การฟังและการพูดภาษาจีน 1 ELC 121 Chinese Listening and Speaking I ภอจ. 130 การอ่านภาษาจีน 1 ELC 130 Chinese Reading I ภอจ. 140 การเขียนภาษาจีน ELC 140 Chinese Writing ภอจ. 222 การฟังและการพูดภาษาจีน 2 ELC 222 Chinese Listening and Speaking II 258 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 3 3 3 3 3 3

ภอจ. 231 การอ่านภาษาจีน 2 ELC 231 Chinese Reading II ภอจ. 232 การอ่านข่าว ELC 232 News Reading ภอจ. 241 ไวยากรณ์ภาษาจีน 1 ELC 241 Chinese Grammar I ภอจ. 242 ไวยากรณ์ภาษาจีน 2 ELC 242 Chinese Grammar II ภอจ. 250 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ ELC 250 Chinese for Business Communication ภอจ. 260 วัฒนธรรมจีน ELC 260 Chinese Culture

หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3

วิชาเอก-บังคับ (30 หน่วยกิต) ภจธ. 350 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจจีนเบื้องต้น 3 ECB 350 Chinese for Business Introduction ภจธ. 351 ภาษาจีนเพื่อหลักการจัดการ 3 ECB 351 Chinese for Management Principles ภจธ. 352 ภาษาจีนเพื่อหลักการตลาด 3 ECB 352 Chinese for Marketing Principles ภจธ. 353 ภาษาจีนเพื่อการจัดการผลิตภัณฑ์ 3 และราคาระหว่างประเทศ ECB 353 Chinese for International Product and Price Management ภจธ. 354 ภาษาจีนเพื่อเศรษฐกิจและการค้าของจีน 3 ECB 354 Chinese for Chinese Economy and Trade ภจธ. 355 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการเงินและการธนาคาร 3 ECB 355 Chinese for Finance and Banking


หน่วยกิต ภจธ. 456 ภาษาจีนเพื่อโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ 3 ECB 456 Chinese for International Logistics ภจธ. 457 ภาษาจีนเพื่อการจัดการธุรกิจน�ำเข้าและส่งออก 3 ECB 457 Chinese for Import-Export Management ภจธ. 458 ภาษาจีนเพื่อการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ 3 ในสถานการณ์ปัจจุบัน ECB 458 Chinese for International Business Management in Current Issues ภอจ. 467 ศึกษาดูงาน 3 ELC 467 Field Trip วิชาเอก-เลือก (15 หน่วยกิต) 1. นักศึกษาแผนการเรียนแบบปกติ เลือกเรียน 15 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้ 2. นั ก ศึ กษาที่เลือกแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา ต้องเลือก วิชา สศ.301 เตรียมสหกิจศึกษา และวิชา ภจธ.400 สหกิจศึกษา รวม 9 หน่วยกิต และอีก 6 หน่วยกิต เลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (ส�ำหรับแผนสหกิจศึกษา) 3 CO 301 Pre-Cooperative Education ภจธ. 360 บุคลิกภาพของนักธุรกิจยุคใหม่ 3 ECB 360 Personality of Businessman in New Era ภจธ. 361 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในส�ำนักงาน 3 ECB 361 Chinese for Office Communication ภจธ. 362 ภาษาจีนเพื่อการน�ำเสนอและการเจรจาต่อรอง 3 ทางธุรกิจ ECB 362 Chinese for Business Presentation and Negotiation ภจธ. 363 ภาษาจีนเพื่อการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ 3 ECB 363 Chinese for Advertising and Public Relations ภจธ. 400 สหกิจศึกษา (ส�ำหรับแผนสหกิจศึกษา) 6 ECB 400 Cooperative Education

หน่วยกิต ภจธ. 412 การแปลล่ามภาษาจีนเชิงธุรกิจ 3 ECB 412 Chinese Interpretation for Business ภจธ. 464 ภาษาจีนเพื่อพฤติกรรมผู้บริโภคชาวจีน 3 ECB 464 Chinese for Chinese Consumer Behavior ภจธ. 465 สัมมนาธุรกิจระหว่างประเทศ 3 ECB 465 Seminar in International Business ภจธ. 466 การค้นคว้าอิสระ 3 ECB 466 Independent Studies วิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จาก 1) กลุม่ วิชาทีภ่ าควิชาอืน่ ของคณะฯ ก�ำหนดให้เป็นวิชาโท หรือ 2) กลุ่มวิชาของคณะอื่นที่คณะฯ อนุมัติให้เป็นวิชาโท 3) กลุม่ วิชาทีภ่ าควิชาภาษาตะวันออกและเอเชียศึกษาก�ำหนด ให้เป็นวิชาโทการปรับเปลี่ยนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณบดี วิชาโทของภาควิชาภาษาตะวันออกและเอเชียศึกษา วิชาโทภาษาจีน ภอจ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 1 3 ELC 201 Chinese Language and Culture I ภอจ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 3 ELC 202 Chinese Language and Culture II ภอจ. 301 ภาษาจีนเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน 3 ELC 301 Chinese for Office Work ภอจ. 302 ภาษาจีนเพื่องานบริการ 3 ELC 302 Chinese for Service Careers ภอจ. 401 จีนศึกษา 3 ELC 401 Chinese Studies หลักสูตรปริญญาตรี 259


วิชาโทภาษาญี่ปุ่น ภอญ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 1 ELJ 201 Japanese Language and Culture I ภอญ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 2 ELJ 202 Japanese Language and Culture II ภอญ. 301 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ELJ 301 Japanese for Office Work ภอญ. 302 ภาษาญี่ปุ่นเพื่องานบริการ ELJ 302 Japanese for Service Careers ภอญ. 401 ญี่ปุ่นศึกษา ELJ 401 Japanese Studies วิชาโทภาษาเวียดนาม ภอว. 201 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 1 ELV 201 Vietnamese Language and Culture I ภอว. 202 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 2 ELV 202 Vietnamese Language and Culture II ภอว. 301 ภาษาเวียดนามเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ELV 301 Vietnamese for Office Work ภอว. 302 ภาษาเวียดนามเพื่องานบริการ ELV 302 Vietnamese for Service Careers ภอว. 401 เวียดนามศึกษา ELV 401 Vietnamese Studies วิชาโทภาษาเกาหลี ภอล. 201 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 1 ELK 201 Korean and Culture I ภอล. 202 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 2 ELK 202 Korean and Culture II 260 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต 3 3 3 3 3

3 3 3 3 3

3 3

ภอล. 301 ภาษาเกาหลีเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ELK 301 Korean for Office Work ภอล. 302 ภาษาเกาหลีเพื่องานบริการ ELK 302 Korean for Service Careers ภอล. 401 เกาหลีศึกษา ELK 401 Korean Studies วิชาโทภาษามลายู ภอม. 201 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 1 ELM 201 Malay Language and Culture I ภอม. 202 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 2 ELM 202 Malay Language and Culture II ภอม. 301 ภาษามลายูเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ELM 301 Malay for Office Work ภอม. 302 ภาษามลายูเพื่องานบริการ ELM 302 Malay for Service Careers ภอม. 401 มลายูศึกษา ELM 401 Malay Studies วิชาโทเอเชียศึกษา ภอศ. 201 วัฒนธรรมเอเชียตะวันออก EAS 201 Eastern Asia Culture ภอศ. 202 ศิลปะเอเชียร่วมสมัย EAS 202 Asian Contemporary Arts ภอศ. 301 เอเชียยุคใหม่ในสังคมโลก EAS 301 Modern Asia in the World ภอศ. 302 ความร่วมมือทางธุรกิจในอาเซียน EAS 302 Business Cooperation in ASEAN ภอศ. 401 ปรัชญาตะวันออก EAS 401 Eastern Philosophy

หน่วยกิต 3 3 3

3 3 3 3 3

3 3 3 3 3


หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

นั ก ศึ ก ษาสามารถเลื อ กเรี ย นวิ ช าอื่ น ๆ ที่ เ ปิ ด สอนใน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หรือวิชาที่ได้รับอนุมัติโดยคณบดี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

สาขา​วิชา​การ​จัดการ​การ​โรงแรม สาขา​วชิ า​การ​จดั การ​การ​โรงแรม คณะ​มนุษยศาสตร์แ​ ละการ จัดการการท่องเทีย่ ว มุง่ เ​น้นท​ จ​ี่ ะ​พฒ ั นา​นกั ศ​ กึ ษา​ให้ม​ ท​ี กั ษะ​ภาษา​ตา่ ง​ ประเทศ​และ​เป็น​บุคลากร​ที่​มี​คุณภาพ​ใน​สาขา​วิชาชีพ​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ ธุรกิจ​โรงแรม สาขา​วิชา​ได้​นำ�​เทคโนโลยี​และ​วิทยาการ​ที่​ทัน​สมัย​มา​ ใช้​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ซึ่ง​พร้อม​ด้วย​ห้อง​ปฏิบัติก​ าร​ต่างๆ เช่น ห้อง​ ปฏิบตั ก​ิ าร​คอมพิวเตอร์ ห้อง​ปฏิบตั ก​ิ าร​สว่ น​หน้าข​ อง​โรงแรม ห้อง​พกั ​ มาตรฐาน​และ​หอ้ ง​ชดุ ภัตตาคาร คอฟ​ฟช​ี่ อป ห้อง​ครัว เพือ่ เ​สริมท​ กั ษะ​ และ​ประสบการณ์ใ​น​การ​ปฏิบตั ง​ิ าน​เฉพาะ​สาขา​แก่น​ กั ศ​ กึ ษา นอกจาก​ นี้​สาขา​วิชา​ได้​จัด​โครงการ​พิเศษ​เพื่อ​เป็นการ​เพิ่มพูน​ความ​รู้​และ​ ประสบการณ์ ​ใน​ต่าง​ประเทศ​สำ�หรับ​นัก​ศึกษา​ที่​สนใจ เช่น โครงการ​ ทัศนศึกษา​และ​ดง​ู าน​ทงั้ ใ​น​ประเทศ​และ​ตา่ ง​ประเทศ และ​โครงการ​ศกึ ษา​ ภาษา​และ​ฝึกงาน​ต่าง​ประเทศ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

บัณฑิตข​ อง​สาขา​วชิ าการ​จดั การ​การ​โรงแรม​สามารถ​นำ�​ความ​ รู้ และ​ประสบการณ์ ​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​อุตสาหกรรม​การ​บริการ รวม​ทั้ง​ ธุรกิจ​ทเี่​กี่ยวข้อง ปัจจุบัน​บัณฑิต​สาขา​วิชา​การ​จัดการ​การ​โรงแรม​ประกอบ​ อาชีพ​ต่างๆ เช่น ผู้​จัดการ​โรงแรม พนัก​งาน​โรงแรม เจ้าของ​ ภัตตาคาร นัก​จัด​ดอกไม้ นักอ​ อกแบบ​อาหาร พ่อ​ครัว พนัก​งาน​สป​ า นัก​ประชาสัมพันธ์ เจ้า​หน้าที่​ฝ่าย​ลูกค้า​สัมพันธ์ เป็นต้น

ปริญญา​ตรี​​ศิลปศาสตรบัณฑิต ​สาขา​วิชา​การ​จัดการ​การ โรงแรมหรือ ศศ.บ. (การจัดการการโรงแรม) จะ​ตอ้ ง​มจ​ี ำ�นวน​หน่วยกิต​ ไม่​น้อย​กว่า 138 หน่วยกิต โดย​แยก​ออก​เป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 96 หน่วยกิต วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 30 หน่วยกิต วิชาเฉพาะ 66 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต หมวดวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 6 หน่วยกิต รวม 138 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity หลักสูตรปริญญาตรี 261


ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หมวดวิชาเฉพาะ (96 หน่วยกิต)

หน่วยกิต 3 3 3 3

วิชาพื้นฐานวิชาชีพ (30 หน่วยกิต) กร. 234 เทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการโรงแรม 3 HM 234 Information Technology in Hotel Industry ทร. 164 บุคลิกภาพส�ำหรับบุคลากรในอุตสาหกรรมบริการ 3 HT 164 Personality for Service Professionals ทร. 190 อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วและการโรงแรมเบือ้ งต้น 3 HT 190 Introduction to Tourism and Hotel Industry 3 ทร. 192 กฎหมายและจรรยาบรรณในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 192 Law and Ethics in Tourism and Hotel Industry ทร. 261 จิตวิทยาบริการ 3 HT 261 Service Psychology ทร. 298 พฤติกรรมผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 และการโรงแรม HT 298 Consumer Behavior in Tourism and Hotel Industry

262 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หน่วยกิต ทร. 299 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 299 Communicative English for Tourism and Hotel Industry ทร. 393 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 393 Human Resource Management in Tourism and Hotel Industry ทร. 395 การจัดการกลยุทธ์และนวัตกรรมในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 395 Strategy and Innovation Management in Tourism and Hotel Industry ทร. 491 การวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 และการโรงแรม HT 491 Research for Tourism and Hotel Industry

วิชาเฉพาะ (66 หน่วยกิต)

วิชาเฉพาะบังคับ (36 หน่วยกิต) ธบ. 200 ธุรกิจสายการบิน 3 AB 200 Airline Business กร. 211 การจัดการงานส่วนหน้า 3 HM 211 Front Office Operations and Management กร. 212 การจัดการงานแม่บ้าน 3 HM 212 Housekeeping Operations and Management กร. 222 การบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3 HM 222 Food and Beverage Services กร. 224 การประกอบอาหารเบื้องต้น 3 HM 224 Introduction to Culinary Operations กร. 322 การจัดการภัตตาคาร 3 HM 322 Restaurant Management


หน่วยกิต กร. 435 การเป็นผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโรงแรม 3 HM 435 Entrepreneurship in Hotel Industry กร. 468 สัมมนาในอุตสาหกรรมโรงแรม 3 HM 468 Seminar in Hotel Industry ทร. 224 ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว 3 HT 224 Geography for Tourism ทร. 293 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม 3 HT 293 Marketing for Tourism and Hotel ทร. 296 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน 3 ส�ำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 296 Accounting & Financial Management for Tourism & Hotel Industry ทร. 369 การจัดการการขนส่งผู้โดยสาร 3 HT 369 Managing Passenger Logistics

หน่วยกิต กร. 342 กายวิภาคศาสตร์ส�ำหรับการนวดแผนไทย 3 HM 342 Anatomy for Thai Massage กร. 441 การนวดแผนไทย 3 HM 441 Thai Massage กร. 470 อาหารไทย 3 HM 470 Thai Cuisine กร. 472 ขนมหวานไทย 3 HM 472 Thai Dessert กร. 473 ขนมหวานแบบจัดใส่ถ้วยและจาน 3 HM 473 Verrines and Plated Dessert กร. 474 ขนมอบขั้นพื้นฐาน 3 HM 474 Basic Patisserie กร. 475 อาหารฟิวชั่น 3 HM 475 Fusion Food

วิชาเฉพาะเลือก (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะด้านการจัดการการท่องเที่ยว ทท. 203 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 3 TM 203 Creative Tourism ทท. 221 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการการประชุม 3 การจัดนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล TM 221 Introduction to MICE Management ทท. 241 การจัดการธุรกิจเพื่อการพักผ่อนและบันเทิง 3 TM 241 Leisure and Entertainment Business Management ทท. 324 การจัดการงานอีเวนท์ 3 TM 324 Event Management ทท. 341 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการพักผ่อนและบันเทิง 3 TM 341 Recreational Activities for Leisure and Entertainment ทท. 425 การจัดนิทรรศการ 3 TM 425 Exhibition Management

กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะ (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนกลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะได้ 1 กลุ่มจากกลุ่มวิชาต่อไปนี้ หรือเลือกเรียนเฉพาะรายวิชาจากกลุ่มวิชา ความสนใจเฉพาะใดๆ ที่เปิดในคณะจนครบ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะด้านโรงแรม กร. 231 การจัดการการโรงแรม 3 HM 231 Hotel Management กร. 321 การจัดการการจัดเลี้ยง 3 HM 321 Banquet and Catering Management กร. 333 กลยุทธ์ทางการตลาดส�ำหรับธุรกิจโรงแรม 3 HM 333 Strategic Hotel Sales and Marketing กร. 241 การจัดการธุรกิจสปา 3 HM 241 Spa Operations and Management

หลักสูตรปริญญาตรี 263


ทท. 445 การจัดการธุรกิจเรือส�ำราญ TM 445 Cruise Business Management ทท. 452 การจัดการงานเทศกาล TM 452 Festival Management ทท. 454 การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ TM 454 International Tourism ทท. 456 การท่องเที่ยวภายในประเทศ TM 456 Domestic Tourism

หน่วยกิต 3 3 3 3

กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะด้านการจัดการธุรกิจสายการบิน ธบ. 201 การจัดการและการด�ำเนินงานท่าอากาศยาน 3 AB 201 Airport Management and Operations ธบ. 205 ศัพท์เทคนิคในธุรกิจสายการบิน 3 AB 205 Aviation Terminology ธบ. 221 การบริการผู้โดยสารภาคพื้น 3 AB 221 Ground Passenger Service ธบ. 231 การบริการผู้โดยสารบนเครื่องบิน 3 AB 231 In-flight Passenger Service ธบ. 252 การพัฒนาบุคลิกภาพและการสร้างเสริมภาพลักษณ์ 3 AB 252 Personality Development and Image Grooming ธบ. 311 เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การส�ำรองทีน่ งั่ สายการบิน 3 AB 311 Information Technology for Airline Reservation ธบ. 341 การขนส่งสินค้าทางอากาศ 3 AB 341 Air Cargo Management ธบ. 351 ความปลอดภัยของผู้โดยสารสายการบิน 3 AB 351 Airline Passenger Safety ธบ. 401 การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า 3 AB 401 Customer Relations Management 264 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศเพื่องานอาชีพ (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จากกลุม่ วิชาภาษาต่างประเทศ เพื่องานอาชีพได้ 1 กลุ่มจากกลุ่มวิชาต่อไปนี้ หรือเลือกเรียนเฉพาะ รายวิชาจนครบ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจสายการบิน หน่วยกิต ธบ. 309 ภาษาอังกฤษเพื่อบุคลากรสายการบิน 3 AB 309 English for Airline Personnel ธบ. 319 ภาษาอังกฤษเพื่อการสำ�รองที่นั่ง 3 และการจัดจำ�หน่ายบัตรโดยสาร AB 319 English for Reservation and Ticketing ธบ. 329 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสารภาคพื้น 3 AB 329 English for Ground Passenger Service ธบ. 339 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสาร 3 บนเครื่องบิน AB 339 English for In-flight Passenger Service ธบ. 349 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการอาหาร 3 ในธุรกิจสายการบิน AB 349 English for Airline Catering Management กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม กร. 391 ภาษาอังกฤษสำ�หรับการปฏิบัติงานฝ่ายห้องพัก HM 391 English for Room Division Operations กร. 392 ภาษาอังกฤษสำ�หรับการโรงแรม HM 392 English for Hotel กร. 491 ภาษาอังกฤษสำ�หรับอุตสาหกรรมบริการ HM 491 English for Hospitality Industry กร. 492 ภาษาอังกฤษสำ�หรับเชฟ HM 492 English for Chef

3 3 3 3


กร. 493 ภาษาอังกฤษสำ�หรับพนักงานสปา HM 493 English for Spa Personnel กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ทท. 402 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการท่องเที่ยว TM 402 English Reading and Writing for Tourism ทท. 411 ภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว TM 411 Basic English for Tourism ทท. 412 ภาษาอังกฤษขั้นสูงเพื่อการท่องเที่ยว TM 412 Advanced English for Tourism ทท. 415 ภาษาอังกฤษสำ�หรับธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว TM 415 English for Travel Agency ทท. 428 ภาษาอังกฤษสำ�หรับมัคคุเทศก์ TM 428 English for Tour Guide

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

หน่วยกิต 3

3 3 3 3 3

วิชาเลือกเสรีในคณะ ได้แก่ รายวิชาดังต่อไปนีแ้ ละ/หรือวิชาอืน่ ใดของ คณะที่ได้รับอนุมัติให้เป็นวิชาเลือกเสรี สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา 3 CO 301 Pre-Cooperative Education กร. 336 พฤติกรรมองค์การในอุตสาหกรรมบริการ 3 HM 336 Organization Behavior in Hospitality Industry กร. 362 การผสมเครื่องดื่ม 3 HM 362 Bartending กร. 363 การแกะสลัก 3 HM 363 Food Carving กร. 364 ศิลปะการตกแต่งอาหาร 3 HM 364 Food Styling

หน่วยกิต กร. 366 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไวน์ 3 HM 366 Introduction to Wine กร. 369 ศิลปะในการชงกาแฟ 3 HM 369 The Arts of Coffee Making กร. 371 การจัดดอกไม้เบื้องต้น 3 HM 371 Basic Flower Arrangement กร. 372 การจัดดอกไม้ขั้นสูง 3 HM 372 Advanced Flower Arrangement กร. 385 การศึกษาเฉพาะเรื่องในอุตสาหกรรมการโรงแรม 3 HM 385 Independent Studies in Hotel Industry วิชาเลือกเสรีนอกคณะ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่นที่เปิด สอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ทุกวิชาที่นักศึกษาสนใจ ยกเว้นวิชาที่ กำ�หนดให้เป็นวิชาศึกษาทั่วไป เพื่อนับหน่วยกิตรวมไว้ในหมวดวิชา เลือกเสรี

หมวดวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (6 หน่วยกิต)

นักศึกษาสามารถเลือก 1 วิชาจากรายวิชาต่อไปนี้ กร. 465 การฝึกงาน 6 HM 465 Internship กร. 466 สหกิจศึกษาในอุตสาหกรรมโรงแรม HM 466 Cooperative Education in Hotel Industry 6

หลักสูตรปริญญาตรี 265


สาขา​วิชา​การ​จัดการ​การ​ท่อง​เที่ยว

สาขา​วิชา​การ​จัดการ​การ​ท่อง​เที่ยว คณะ​มนุษยศาสตร์​และ การจัดการการท่องเที่ยวมุ่ง​เน้น​พัฒนา​นัก​ศึกษา​ให้​เป็น​บุคลากร​ที่​ มี​คุณภาพ​และ​เป็น​มือ​อาชีพ​ใน​อุตสาหกรรม​การ​ท่อง​เที่ยว จึง​นำ�​ วิทยาการ​และ​เทคโนโลยี​ที่​ทัน​สมัย​มา​ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​เรียน​การ​สอน เพื่อ​เสริม​ทักษะ​และ​ประสบการณ์ ​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ​ใน​อนาคต​ได้​ อย่าง​มปี​ ระสิทธิภาพ วิชา​ต่างๆ ที่​เปิดส​ อน​มี​เนื้อหา​ครอบคลุม​ความ​ รูท​้ าง​ดา้ น​การ​บริหาร​จดั การ​ธรุ กิจท​ อ่ ง​เทีย่ ว​ทงั้ ท​ ฤษฎีแ​ ละ​ปฏิบตั ิ อีกท​ งั้ ​ นัก​ศึกษา​จะ​ได้​มี​โอกาส​ทัศนศึกษา​นอก​สถาน​ที่​ทั้ง​ใน​ประเทศ​และ​ต่าง​ ประเทศ และ​เข้า​ร่วม​กิจกรรม​หรือ​โครงการ​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​ท่อง​เที่ยว นอกจาก​นส​ี้ าขา​วชิ า​ยงั ม​ ค​ี วาม​สมั พันธ์อ​ นั ด​ ก​ี บั ธ​ รุ กิจแ​ ละ​องค์กร​ทเ​ี่ กีย่ ว​ กับ​การ​ท่อง​เที่ยว รวม​ถึง​สถาบัน​การ​ศึกษา​ต่าง​ประเทศ เพื่อ​อำ�นวย​ ประโยชน์แ​ ก่น​ กั ศ​ กึ ษา​ใน​การ​แสวงหา​ประสบการณ์จ​ าก​การ​ฝกึ งาน​และ​ โอกาส​ใน​การ​ศึกษา​ต่อ​ต่าง​ประเทศ

โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ

บัณฑิตข​ อง​สาขา​การ​จดั การ​การ​ทอ่ ง​เทีย่ ว​สามารถ​นำ�​ความ​รู้ และ​ประสบการณ์ไ​ป​ประยุกต์ใ​ช้ใ​น​อตุ สาหกรรม​การ​ทอ่ ง​เทีย่ ว​และ​การ​ บริการ รวม​ทั้ง​ธุรกิจท​ ี่​เกี่ยวข้อง ปัจจุบัน​บัณฑิต​สาขา​วิชา​การ​จัดการ​การ​ท่อง​เที่ยว​ประกอบ​ อาชีพต​ า่ งๆ เช่น ผูป​้ ระกอบ​การ​ธรุ กิจน​ ำ�​เทีย่ ว พนักง​าน​บริษทั น​ ำ�​เทีย่ ว มัคคุเทศก์ ผูป​้ ระสาน​งาน​ธรุ กิจก​ าร​ประชุมแ​ ละ​การ​จดั ส​ มั มนา นักการ​ ตลาด​การ​ท่อง​เที่ยว ปริญญาตรีศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่อง เทีย่ ว หรือ ศศ.บ. (การจัดการการท่องเทีย่ ว) จะต้องมีหน่วยกิตไม่นอ้ ย กว่า 138 หน่วยกิต โดยแยกเป็น

266 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 96 หน่วยกิต วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 30 หน่วยกิต วิชาเฉพาะ 66 หน่วยกิต • วิชาเฉพาะบังคับ 36 หน่วยกิต • วิชาเฉพาะเลือก 30 หน่วยกิต -กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะ (15 หน่วยกิต) -กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศเพื่องานอาชีพ (15 หน่วยกิต) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต หมวดวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 6 หน่วยกิต รวม 138 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity


ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

หมวดวิชาเฉพาะ (96 หน่วยกิต)

หน่วยกิต 3 3

3 3

วิชาพื้นฐานวิชาชีพ (30 หน่วยกิต) ทร. 160 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 และการบริการเบื้องต้น HT 160 Introduction to Tourism and Hospitality Industry ทร. 162 กฎหมายและจรรยาบรรณในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการบริการ HT 162 Law and Ethics in Tourism and Hospitality Industry ทร. 164 บุคลิกภาพสำ�หรับบุคลากรในอุตสาหกรรมบริการ 3 HT 164 Personality for Service Professionals ทร. 234 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว 3 และการบริการ HT 234 Information Technology for Tourism and Hospitality ทร. 261 จิตวิทยาบริการ 3 HT 261 Service Psychology

หน่วยกิต ทร. 264 พฤติกรรมผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 และการบริการ HT 264 Consumer Behavior in Tourism and Hospitality Industry ทร. 269 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการบริการ HT 269 Communicative English for Tourism and Hospitality Industry ทร. 363 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการบริการ HT 363 Human Resource Management in Tourism and Hospitality Industry ทร. 365 การจัดการกลยุทธ์และนวัตกรรมในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการบริการ HT 365 Strategy and Innovation Management in Tourism and Hospitality Industry ทร. 461 การวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 และการบริการ HT 461 Research for Tourism and Hospitality Industry

วิชาเฉพาะ (66 หน่วยกิต)

วิชาเฉพาะบังคับ (36 หน่วยกิต) ธบ. 200 ธุรกิจสายการบิน AB 200 Airline Business ทร. 224 ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว HT 224 Geography for Tourism ทร. 263 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวและการบริการ HT 263 Marketing for Tourism and Hospitality

3 3 3

หลักสูตรปริญญาตรี 267


หน่วยกิต ทร. 266 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน 3 สำ�หรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ HT 266 Accounting and Financial Management for Tourism and Hospitality Industry ทร. 369 การจัดการการขนส่งผู้โดยสาร 3 HT 369 Managing Passenger Logistics ทท. 211 การจัดการธุรกิจนำ�เที่ยว 3 และธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว TM 211 Tour Operator and Travel Agency Management ทท. 306 การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3 TM 306 Sustainable Tourism Planning ทท. 333 ไทยศึกษาเพื่อการนำ�เที่ยว 3 TM 333 Thai Studies for Tour Guiding ทท. 403 การเป็นผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว 3 TM 403 Entrepreneurship in Tourism Industry ทท. 435 หลักการมัคคุเทศก์ 3 TM 435 Principles of Tour Guide ทท. 444 กลยุทธ์การตลาดสำ�หรับแหล่งท่องเที่ยว 3 TM 444 Strategic Destination Marketing ทท. 468 สัมมนาในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 TM 468 Seminar in Tourism Industry วิชาเฉพาะเลือก (30 หน่วยกิต) กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะ (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนกลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะได้ 1 กลุ่มจากกลุ่มวิชาต่อไปนี้ หรือเลือกเรียนเฉพาะรายวิชาจากกลุ่มวิชา ความสนใจเฉพาะใดๆ ที่เปิดในคณะ จนครบ 15 หน่วยกิต

268 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะด้านการจัดการการท่องเที่ยว หน่วยกิต ทท. 203 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 3 TM 203 Creative Tourism ทท. 221 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการการประชุม 3 การจัดนิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล TM 221 Introduction to MICE Management ทท. 241 การจัดการธุรกิจเพื่อการพักผ่อนและบันเทิง 3 TM 241 Leisure and Entertainment Business Management ทท. 242 การจัดการธุรกิจรีสอร์ทและสปา 3 TM 242 Resort and Spa Business Management ทท. 324 การจัดการงานอีเวนท์ 3 TM 324 Event Management ทท. 341 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการพักผ่อนและบันเทิง 3 TM 341 Recreational Activities for Leisure and Entertainment ทท. 424 การจัดการธุรกิจรีสอร์ทและสปา 3 TM 424 Resort and Spa Business Management ทท. 425 การจัดนิทรรศการ 3 TM 425 Exhibition Management ทท. 445 การจัดการธุรกิจเรือส�ำราญ 3 TM 445 Cruise Business Management ทท. 452 การจัดการงานเทศกาล 3 TM 452 Festival Management ทท. 454 การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ 3 TM 454 International Tourism ทท. 456 การท่องเที่ยวภายในประเทศ 3 TM 456 Domestic Tourism


กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะด้านการจัดการการโรงแรม กร. 231 การจัดการการโรงแรม HM 231 Hotel Management กร. 321 การจัดการการจัดเลี้ยง HM 321 Banquet and Catering Management กร. 333 กลยุทธ์ทางการตลาดส�ำหรับธุรกิจโรงแรม HM 333 Strategic Hotel Sales and Marketing กร. 241 การจัดการธุรกิจสปา HM 241 Spa Operations and Management กร. 342 กายวิภาคศาสตร์ส�ำหรับการนวดแผนไทย HM 342 Anatomy for Thai Massage กร. 441 การนวดแผนไทย HM 441 Thai Massage กร. 470 อาหารไทย HM 470 Thai Cuisine กร. 472 ขนมหวานไทย HM 472 Thai Dessert กร. 473 ของหวานแบบจัดใส่แก้วและจาน HM 473 Verrines and Plated Dessert กร. 474 ขนมอบขั้นพื้นฐาน HM 474 Basic Patisserie กร. 475 อาหารฟิวชั่น HM 475 Fusion Food

หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

กลุ่มวิชาความสนใจเฉพาะด้านการจัดการการธุรกิจสายการบิน ธบ. 201 การจัดการและการด�ำเนินงานท่าอากาศยาน 3 AB 201 Airport Management and Operations ธบ. 205 ศัพท์เทคนิคในธุรกิจสายการบิน 3 AB 205 Aviation Terminology

หน่วยกิต ธบ. 221 การบริการผู้โดยสารภาคพื้น 3 AB 221 Ground Passenger Service ธบ. 231 การบริการผู้โดยสารบนเครื่องบิน 3 AB 231 In-flight Passenger Service ธบ. 252 การพัฒนาบุคลิกภาพและการสร้างเสริมภาพลักษณ์ 3 AB 252 Personality Development and Image Grooming ธบ. 311 เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การส�ำรองทีน่ งั่ สายการบิน 3 AB 311 Information Technology for Airline Reservation ธบ. 341 การขนส่งสินค้าทางอากาศ 3 AB 341 Air Cargo Management ธบ. 351 ความปลอดภัยของผู้โดยสารสายการบิน 3 AB 351 Airline Passenger Safety ธบ. 401 การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า 3 AB 401 Customer Relations Management กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศเพื่องานอาชีพ (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้จากกลุม่ วิชาภาษาต่างประเทศ เพื่องานอาชีพได้ 1 กลุ่มจากกลุ่มวิชาต่อไปนี้ หรือเลือกเรียนเฉพาะ รายวิชาจนครบ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจสายการบิน ธบ. 309 ภาษาอังกฤษเพื่อบุคลากรสายการบิน 3 AB 309 English for Airline Personnel ธบ. 319 ภาษาอังกฤษเพื่อการสำ�รองที่นั่ง 3 และการจัดจำ�หน่ายบัตรโดยสาร AB 319 English for Reservation and Ticketing ธบ. 329 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสารภาคพื้น 3 AB 329 English for Ground Passenger Service ธบ. 339 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสารบนเครื่องบิน 3 AB 339 English for In-flight Passenger Service หลักสูตรปริญญาตรี 269


หน่วยกิต ธบ. 349 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการอาหาร 3 ในธุรกิจสายการบิน AB 349 English for Airline Catering Management กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม กร. 391 ภาษาอังกฤษสำ�หรับการปฏิบัติงานฝ่ายห้องพัก HM 391 English for Room Division Operations กร. 392 ภาษาอังกฤษสำ�หรับการโรงแรม HM 392 English for Hotel กร. 491 ภาษาอังกฤษสำ�หรับอุตสาหกรรมบริการ HM 491 English for Hospitality Industry กร. 492 ภาษาอังกฤษสำ�หรับเชฟ HM 492 English for Chef กร. 493 ภาษาอังกฤษสำ�หรับพนักงานสปา HM 493 English for Spa Personnel กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ทท. 402 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการท่องเที่ยว TM 402 English Reading and Writing for Tourism ทท. 411 ภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว TM 411 Basic English for Tourism ทท. 412 ภาษาอังกฤษขั้นสูงเพื่อการท่องเที่ยว TM 412 Advanced English for Tourism ทท. 415 ภาษาอังกฤษสำ�หรับธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว TM 415 English for Travel Agency ทท. 428 ภาษาอังกฤษสำ�หรับมัคคุเทศก์ TM 428 English for Tour Guide 270 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 3 3 3 3

3 3 3 3 3

หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต)

วิชาเลือกเสรีในคณะ ได้แก่ รายวิชาดังต่อไปนีแ้ ละ/หรือวิชาอืน่ ใดของ คณะที่ได้รับอนุมัติให้เป็นวิชาเลือกเสรี หน่วยกิต สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา 3 CO 301 Pre-Cooperative Education ทท. 204 การท่องเที่ยวเฉพาะทาง 3 TM 204 Niche Tourism ทท. 231 อารยธรรมโลกเพื่อการนำ�เที่ยว 3 TM 231 World Civilization for Tour Guiding ทท. 232 ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อการนำ�เที่ยว 3 TM 232 Arts and Cultures for Tour Guiding ทท. 314 เทคนิคการขายและการตลาด 3 สำ�หรับสินค้าทางการท่องเที่ยว TM 314 Selling and Marketing Techniques for Tourism Products ทท. 453 การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม 3 TM 453 Cultural Heritage Management ทท. 455 ประสบการณ์วัฒนธรรมต่างชาติ 3 TM 455 Cross-Cultural Experience ทท. 457 การค้นคว้าอิสระ 3 TM 457 Independent Study ทท. 458 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว 3 TM 458 Basic Economics for Tourism วิชาเลือกเสรีนอกคณะ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่นที่เปิด สอนในมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ทุกวิชาที่นักศึกษาสนใจ ยกเว้นวิชาที่ กำ�หนดให้เป็นวิชาศึกษาทั่วไป เพื่อนับหน่วยกิตรวมไว้ในหมวดวิชา เลือกเสรี


หมวดวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (6 หน่วยกิต)

นักศึกษาสามารถเลือก 1 วิชาจากรายวิชาต่อไปนี้ หน่วยกิต ทท. 465 การฝึกงาน 6 TM 465 Internship ทท. 466 สหกิจศึกษาในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 6 TM 466 Cooperative Education in Tourism Industry

สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน มุ่งเน้นผลิตนักศึกษา ให้มีความรู้และความเชี่ยวชาญ เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ สนองตอบ ความต้องการของธุรกิจสายการบินและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง โดยนำ� วิทยาการและเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาใช้ในการเรียนการสอน เพือ่ เสริม ทั ก ษะและประสบการณ์ ใ นการปฏิ บั ติ ง านภายหลั ง จบการศึ ก ษา หลักสูตรให้ความสำ�คัญกับการเรียนทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ วิชาต่างๆ มีเนือ้ หาครอบคลุมความรูเ้ กีย่ วกับการจัดการธุรกิจสายการ บินในด้านต่างๆ เช่น การบริการผูโ้ ดยสาร การจัดการตลาด การขนส่ง สินค้า การจัดการท่าอากาศยาน เทคโนโลยีและทักษะภาษาต่าง ประเทศ ภาควิชาจัดให้มหี อ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์และห้องปฏิบตั ิ การจำ�ลองสถานที่ทำ�งานของพนักงานสายการบิน เพื่อฝึกทักษะการ ปฏิบัติงานในตำ�แหน่งต่างๆ เช่น การบริการผู้โดยสารบนเครื่องบิน การบริการผู้โดยสารภาคพื้น การสำ�รองที่นั่ง การคิดราคา และการ ออกบัตรโดยสาร นอกจากนี้ ภาควิชายังมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ธุรกิจ สายการบินและธุรกิจที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเอื้อ ประโยชน์ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษานำ�ความรู้ จากการเรี ย นไปประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ สถานการณ์จริงระหว่างการฝึกงาน เพือ่ เตรียมความพร้อมในการเข้า สู่ตลาดแรงงานอย่างมืออาชีพ

โอกาสในการประกอบอาชีพ

บัณฑิตของสาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบินสามารถนำ� ความรูแ้ ละประสบการณ์ไปใช้ประกอบอาชีพต่าง ๆ ในธุรกิจสายการบิน เช่น พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน พนักงานต้อนรับภาคพื้น และ พนักงานในฝ่ายขนส่งสินค้าทางอากาศ นอกจากนี้ ยังสามารถทำ�งาน ในองค์การและธุรกิจอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจสายการบิน เช่น บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) กรมศุลกากร กรมการขนส่งทาง อากาศ สำ�นักงานตรวจคนเข้าเมือง และแผนกสำ�รองที่นั่งและจัด จำ�หน่ายบัตรโดยสารของบริษัทตัวแทนการท่องเที่ยว ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ สายการบิน หรือ ศศ.บ. (การจัดการธุรกิจสายการบิน) เปิดโอกาสให้ นักศึกษาเลือกเรียน 2 แผนการศึกษาดังนี้ - แผนการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาที่เลือกการฝึกงาน - แผนการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาที่เลือกเรียนสหกิจศึกษา ทัง้ สองแผนการเรียนจะต้องมีหน่วยกิตไม่นอ้ ยกว่า 138 หน่วยกิตโดย แยกออกเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 102 หน่วยกิต กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 39 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเอก 48 หน่วยกิต กลุ่มวิชาโท 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 138 หน่วยกิต

หลักสูตรปริญญาตรี 271


หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (30 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (9 หน่วยกิต) อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ EN 011 English in Action อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน EN 012 English for Daily Life อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด EN 013 English for Expressing Ideas

หน่วยกิต 3 3 3

กลุ่มวิชาบังคับ (15 หน่วยกิต) ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต 3 GE 111 Value of Graduates ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต 3 GE 112 Information Technology and the Future World ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ 3 GE 113 Thai Language for Creativity ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก 3 GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต 3 GE 115 The Art of Life กลุ่มวิชาเลือก (6 หน่วยกิต) ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� GE 116 Leadership Skills ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy

272 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 3

หมวดวิชาเฉพาะ (102 หน่วยกิต)

กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ (39 หน่วยกิต) หน่วยกิต ทร. 160 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3 และการบริการเบื้องต้น HT 160 Introduction to Tourism and Hospitality Industry ทร. 162 กฎหมายและจรรยาบรรณในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการบริการ HT 162 Law and Ethics in Tourism and Hospitality Industry ทร. 164 บุคลิกภาพสำ�หรับบุคลากรในอุตสาหกรรมบริการ 3 HT 164 Personality for Service Professionals ทร. 224 ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว 3 HT 224 Geography for Tourism ทร. 261 จิตวิทยาบริการ 3 HT 261 Service Psychology ทร. 263 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวและการบริการ 3 HT 263 Marketing for Tourism and Hospitality ทร. 265 วัฒนธรรมข้ามชาติเพื่ออุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการบริการ HT 265 Intercultural Studies for Tourism and Hospitality Industry ทร. 266 การบัญชีและการจัดการทางการเงินสำ�หรับ 3 ธุรกิจการท่องเที่ยวและการบริการ HT 266 Accounting and Financial Management for Tourism and Hospitality Industry ทร. 269 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการบริการ HT 269 Communicative English for Tourism and Hospitality Industry


หน่วยกิต ทร. 363 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรม 3 การท่องเที่ยวและการบริการ HT 363 Human Resource Management in Tourism and Hospitality Industry กลุ่มวิชาเอก (48 หน่วยกิต) ธบ. 200 ธุรกิจสายการบิน 3 AB 200 Airline Business ธบ. 201 การจัดการและการดำ�เนินงานท่าอากาศยาน 3 AB 201 Airport Management and Operations ธบ. 205 ศัพท์เทคนิคในธุรกิจสายการบิน 3 AB 205 Aviation Terminology ธบ. 221 การบริการผู้โดยสารภาคพื้น 3 AB 221 Ground Passenger Service ธบ. 231 การบริการผู้โดยสารบนเครื่องบิน 3 AB 231 In-flight Passenger Service ธบ. 252 การพัฒนาบุคลิกภาพและการสร้างเสริม 3 ภาพลักษณ์ AB 252 Personality Development and Image Grooming ธบ. 311 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสำ�รองที่นั่ง 3 สายการบิน AB 311 Information Technology for Airline Reservation ธบ. 319 ภาษาอังกฤษเพื่อการสำ�รองที่นั่ง 3 และการจัดจำ�หน่ายบัตรโดยสาร AB 319 English for Reservation and Ticketing ธบ. 329 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสารภาคพื้น 3 AB 329 English for Ground Passenger Service ธบ. 339 ภาษาอังกฤษเพือ่ การบริการผูโ้ ดยสารบนเครือ่ งบิน 3 AB 339 English for In-flight Passenger Service

หน่วยกิต ธบ. 341 การขนส่งสินค้าทางอากาศ 3 AB 341 Air Cargo Management ธบ. 401 การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า 3 AB 401 Customer Relations Management ธบ. 402 การจัดการสายการบินเชิงกลยุทธ์ 3 AB 402 Strategic Airline Management ธบ. 411 ราคาและบัตรโดยสาร 3 AB 411 Fares and Tickets ธบ. 465 การฝึกงาน 3 AB 465 Internship ธบ. 466 สหกิจศึกษาในธุรกิจสายการบิน หรือ AB 466 Cooperative Education in Airline Business ธบ. 468 สัมมนาธุรกิจสายการบิน 3 AB 468 Seminar in Airline Business กลุ่มวิชาโท (15 หน่วยกิต) นักศึกษาสามารถเลือกเรียนกลุม่ วิชาความสนใจเฉพาะได้จน ครบ 15 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้ กลุ่มวิชาโทการจัดการการท่องเที่ยว ทท. 203 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 3 TM 203 Creative Tourism ทท. 221 การจัดการการประชุม 3 TM 221 Introduction to MICE Management ทท. 241 การจัดการธุรกิจเพื่อการพักผ่อนและบันเทิง 3 TM 241 Leisure and Entertainment Business Management ทท. 324 การจัดการงานอีเวนท์ 3 TM 324 Event Management หลักสูตรปริญญาตรี 273


หน่วยกิต ทท. 341 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการพักผ่อนและบันเทิง 3 TM 341 Recreational Activities for Leisure and Entertainment ทท. 425 การจัดนิทรรศการ 3 TM 425 Exhibition Management TM 445 การจัดการธุรกิจเรือส�ำราญ 3 ทท. 445 Cruise Business Management ทท. 452 การจัดการงานเทศกาล 3 TM 452 Festival Management ทท. 454 การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ 3 TM 454 International Tourism ทท. 456 การท่องเที่ยวภายในประเทศ 3 TM 456 Domestic Tourism กลุ่มวิชาโทการจัดการการโรงแรม กร. 231 การจัดการการโรงแรม HM 231 Hotel Management กร. 321 การจัดการการจัดเลี้ยง HM 321 Banquet and Catering Management กร. 333 กลยุทธ์ทางการตลาดส�ำหรับธุรกิจโรงแรม HM 333 Strategic Hotel Sales and Marketing กร. 241 การจัดการธุรกิจสปา HM 241 Spa Operations and Management กร. 342 กายวิภาคศาสตร์ส�ำหรับการนวดแผนไทย HM 342 Anatomy for Thai Massage กร. 441 การนวดแผนไทย HM 441 Thai Massage กร. 470 อาหารไทย HM 470 Thai Cuisine กร. 472 ขนมหวานไทย HM 472 Thai Dessert

274 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

3 3 3 3 3 3 3 3

กร. 473 ขนมหวานแบบจัดใส่ถ้วยและจาน HM 473 Verrines and Plated Dessert กร. 474 ขนมอบขั้นพื้นฐาน HM 474 Basic Patisserie กร. 475 อาหารฟิวชั่น HM 475 Fusion Food

หน่วยกิต 3

กลุ่มวิชาโทภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ทท. 402 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการท่องเที่ยว TM 402 English Reading and Writing for Tourism ทท. 411 ภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว TM 411 Basic English for Tourism ทท. 412 ภาษาอังกฤษส�ำหรับธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว TM 412 Advanced English for Tourism ทท. 415 ภาษาอังกฤษส�ำหรับธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว TM 415 English for Travel Agency ทท. 428 ภาษาอังกฤษส�ำหรับมัคคุเทศก์ TM 428 English for Tour Guide กลุ่มวิชาโทภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม กร. 391 ภาษาอังกฤษส�ำหรับการปฏิบัติงานฝ่ายห้องพัก HM 391 English for Room Division Operations กร. 392 ภาษาอังกฤษส�ำหรับการโรงแรม HM 392 English for Hotel กร. 491 ภาษาอังกฤษส�ำหรับอุตสาหกรรมบริการ HM 491 English for Hospitality Industry กร. 492 ภาษาอังกฤษส�ำหรับเชฟ HM 492 English for Chef

3 3

3

3

3

3 3 3 3


กร. 493 ภาษาอังกฤษส�ำหรับพนักงานสปา HM 493 English for Spa Personnel กลุ่มวิชาโทภาษาจีน ภอจ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 1 ELC 201 Chinese Language and Culture I ภอจ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 ELC 202 Chinese Language and Culture II ภอจ. 301 ภาษาจีนเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ELC 301 Chinese for Office Work ภอจ. 302 ภาษาจีนเพื่องานบริการ ELC 302 Chinese for Service Careers ภอจ. 401 จีนศึกษา ELC 401 Chinese Studies กลุ่มวิชาโทภาษาญี่ปุ่น ภอญ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 1 ELJ 201 Japanese Language and Culture I ภอญ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 2 ELJ 202 Japanese Language and Culture II ภอญ. 301 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ELJ 301 Japanese for Office Work ภอญ. 302 ภาษาญี่ปุ่นเพื่องานบริการ ELJ 302 Japanese for Service Careers ภอญ. 401 ญี่ปุ่นศึกษา ELJ 401 Japanese Studies

หน่วยกิต 3

3 3 3 3 3

3 3 3 3 3

วิชาเลือกเสรีในคณะ หน่วยกิต ธบ. 206 การประชาสัมพันธ์เพื่อธุรกิจสายการบิน 3 AB 206 Public Relations for Airline Business ธบ. 251 เทคนิคการสื่อสารระหว่างบุคคล 3 AB 251 Interpersonal Communication Techniques ธบ. 309 ภาษาอังกฤษเพื่อบุคลากรสายการบิน 3 AB 309 English for Airline Personnel ธบ. 349 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการอาหารในธุรกิจ 3 สายการบิน AB 349 English for Airline Catering Management ธบ. 351 ความปลอดภัยของผู้โดยสารสายการบิน 3 AB 351 Airline Passenger Safety ธบ. 404 กฎหมายและข้อบังคับในธุรกิจการบิน 3 AB 404 Aviation Law and Regulations ธบ. 405 การจัดการบริการสายการบินต้นทุนต�่ำ 3 AB 405 Budget Airline Service Management ธบ. 407 การศึกษาอิสระ 3 AB 407 Independent Study ธบ. 408 การบริหารทรัพยากรการบิน 3 AB 408 Crew Resource Management ธบ. 469 การพัฒนาทักษะผ่านประสบการณ์ในต่างประเทศ 3 AB 469 Skills Development through International Experience วิชาเลือกเสรีนอกคณะ นั ก ศึ ก ษาสามารถเลื อ กเรี ย นรายวิ ช าอื่ น ที่ เ ปิ ด สอนใน มหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ทกุ วิชาทีน่ กั ศึกษาสนใจ ยกเว้นวิชาทีก่ ำ� หนด ให้เป็นวิชาศึกษาทั่วไป เพื่อนับหน่วยกิตรวมไว้ในหมวดวิชาเลือกเสรี

หมวดวิชาเลือกเสรี (Free Electives) 6 หน่วยกิต

นักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาเสรีอย่างน้อย 6 หน่วยกิต จากรายวิชาต่างๆ ที่คณะอนุมัติให้เป็นวิชาเลือกเสรี หลักสูตรปริญญาตรี 275


คำ�อธิบายรายวิชา อักษร​ย่อ​และ​หมายเลข​ประจำ�​วิชา อักษร​ยอ่ ป​ ระจำ�ว​ ชิ า จะ​เป็นอ​ กั ษร​ยอ่ 2 ตัว แสดง​ถงึ ห​ มวด​ วิชา ส่วน​หมายเลข​ประจำ�ว​ ชิ า​จะ​เป็นต​ วั เลข 3 หลัก ระหว่าง 101-900 ตัวเลข​หลัก​ร้อย​หมาย​ถึง ชั้น​ปโี​ดย​ประมาณ แต่​ไม่​ควร​เรียน​ก่อน​หรือ​ หลังช​ นั้ ​ปน​ี นั้ ม​ าก​กว่า 1 ปี ส่วน​ตวั เลข​หลัก​สบิ ​และ​หลัก​หน่วย​หมาย​ถงึ ​ ลำ�ดับ​วิชา หน่วยกิต คำ�ว​ า ่ หน่วยกิต หมาย​ถงึ หน่วย​ทแ​ี่ สดง​ปริมาณ​การ​ศกึ ษา ซึ่ง​มหาวิทยาลัยจ​ ัด​ให้​แก่น​ ักศ​ ึกษา​วิชา​ที่​ใช้​เวลา​บรรยาย​สัปดาห์​ละ 1 ชั่วโมง ตลอด​หนึ่ง​ภาค​การ​ศึกษา​ปกติ มีค​ ่า​เป็น 1 หน่วยกิต วิชา​ที่​ใช้​ เวลา​ปฏิบัติ​ทดลอง 2 ชั่วโมง​ต่อ 1 สัปดาห์ต​ ลอด​หนึ่ง​ภาค​การ​ศึกษา​ ปกติ มี​ค่า​เป็น 1 หน่วยกิต ยกเว้น​บาง​สาขา​วิชา ซึ่ง​อาจ​จะ​กำ�หนด​ เวลา​ให้​เป็น​อย่าง​อื่น​ได้ต​ าม​ความ​เหมาะ​สม

หมวดวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อล. 211 อิเล็กทรอนิกส์ 1 (3 หน่วยกิต) EL 211 Electronics I วิชาบังคับก่อน: ฟส. 103 ฟิสิกส์ทั่วไป 2 อุปกรณ์สารกึง่ ตัวนำ� คุณลักษณะทางกระแส แรงดัน และ ความถี่ของอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ� การวิเคราะห์และออกแบบวงจรได โอด การวิเคราะห์และออกแบบวงจรทรานซิสเตอร์ชนิดไบโพล่าร์ และ มอส ออปแอมป์และการประยุกต์ใช้งาน

276 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อล. 212 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ 1 (1 หน่วยกิต) EL 212 Electronics Laboratory I วิชาบังคับก่อน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส์ 1 หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคล้องกับวิชาอิเล็กทรอนิกส์ 1 อล. 213 ปฏิบัติ​การ​อิเล็กทรอนิกส์ 1 (1 หน่วยกิต) EL 213 Electronics Laboratory I วิชา​บังคับ​ก่อน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส์ 1 หรือ เรียน​ควบคู่​กัน ปฏิบัติ​การ​ทดลอง​ใน​เรื่อง การ​ใช้​งา​นออส​ซิลโล​สโคป คุณสมบัตไ​ิ ด​โอด วง​จร​เร​คติไ​ฟร์ คุณส​ มบัตข​ิ อ​ ง​ไบ​โพ​ลา​ ่ รท​์ รานซิสเตอร์ วงจร​ขยาย​ทรานซิสเตอร์ วงจร​สวิตช์​ด้วย​ทรานซิสเตอร์ การ​ใช้​งาน​ ซี​เนอ​ร์ ​ได​โอด วงจร​รวม​ออป​แอมป์​เบื้อง​ต้น อล. 214 พื้นฐานวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) EL 214 Basic Circuit and Electronics วิชาบังคับก่อน: ฟส. 105 ฟิสิกส์สมัยใหม่ กฎและทฤษฎีวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น เช่น กฎของโอห์ม กฎของเคอร์ชอฟฟ์ โนดและเมชทฤษฎีเทวินินและนอร์ตัน วงจร กระแสสลับเบื้องต้น เฟเซอร์การวิเคราะห์วงจรกระแสสลับที่สภาวะ คงตัว คุณสมบัติเบื้องต้นของไดโอดแบบต่าง ๆ และการประยุกต์ใช้ งาน คุณสมบัติของทรานซิสเตอร์แบบต่าง ๆ วงจรขยายสัญญาณ ความถี่ต�่ำแบบต่าง ๆ วงจรขยายแบบป้อนกลับ วงจรขยายก�ำลัง วงจรควบคุมก�ำลังไฟฟ้าเบื้องต้น วงจรรวมเบื้องต้น


อล. 215 ปฏิบัติการพื้นฐานวงจรไฟฟ้า (1 หน่วยกิต) และอิเล็กทรอนิกส์ EL 215 Basic Circuit and Electronics Laboratory วิชาบังคับก่อน: อล. 214 พื้นฐานวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบัติการการทดลองในเรื่องการใช้งานเครื่องมือวัดกฎ ของโอห์ม วงจรแบบอนุกรมขนานและผสม วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า และวงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า กฎของเคอร์ชอฟฟ์ การทดลองและ วิเคราะห์ด้วยวิธีเมช วิธีโนด ทฤษฎีเทวินินและนอร์ตัน คุณสมบัติ ไดโอด วงจรเรคติไฟร์ คุณสมบัตขิ องทรานซิสเตอร์ชนิดสองขัว้ วงจร ขยายทรานซิสเตอร์ วงจรสวิตช์ด้วยทรานซิสเตอร์ วงจรรวมออป แอมป์เบื้องต้น อล. 221 อิเล็กทรอนิกส์ 2 (3 หน่วยกิต) EL 221 Electronics II วิชาบังคับก่อน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส์ 1 วงจรขยายสัญญาณดิฟเฟอเรนเชียล วงจรเปรียบเทียบ ออปแอมป์และการใช้งานเบือ้ งต้น วงจรออสซิลเลเตอร์ การตอบสนอง ความถีข่ องวงจรขยายแบบป้อนกลับ วงจรขยายความถีส่ งู วงจรกรอง ความถี่แบบแอคทีฟ วงจรกระแสคงที่ วงจรเรคกูเลเตอร์ คุณสมบัติ และการใช้งานของฟิลด์เอฟเฟคทรานซิสเตอร์ มอสเฟท ไทรีสเตอร์ ยูเจที และพียูที ไอจีบีที เอสซีอาร์ ไตรแอคและอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ� ชนิดอื่นที่น่าสนใจ วงจรไอซีชนิดเชิงเส้นและชนิดลอจิก และการ ประยุกต์ใช้งาน

อล. 223 ปฏิบัติ​การ​อิเล็กทรอนิกส์ 2 (1 หน่วยกิต) EL 223 Electronics Laboratory II วิชา​บังคับ​ก่อน: อล. 221 อิเล็กทรอนิกส์ 2 หรือ​เรียน​ควบคูก่​ ัน ปฏิบัติก​ าร​ทดลอง​ใน​เรื่อง วง​จร​ขยาย​ดิฟเฟอเรน​เชีย​ล คุณสมบัต​แิ ละ​การ​ใช้​งาน​ขอ​งออป​แอมป์ลปู ​เปิด​และ​ลปู ​ปดิ วง​จร​ออส​ซิล​เลเต​อร์ วงจร​กรอง​ความถี่ วงจร​กระแส​คงที่ วงจร​ขยาย​ที่​ความถี่​ สูง คุณสมบัตแิ​ ละ​การ​ใช้​งาน​เฟ็ต​แบบ​รอย​ต่อ อล. 226 ระบบดิจิทัล (3 หน่วยกิต) EL 226 Digital System วิชาบังคับก่อน: อล. 214 พื้นฐานวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ระบบตรรกและพีชคณิตของบูลนี การออกแบบวงจรคอม บิเนชัน การวิเคราะห์และการออกแบบวงจรซีเควนเชียล เรจิสเตอร์ วงจรนับ การแปลงสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจทิ ลั การแปลงสัญญาณ ดิจิทัลเป็นแอนะล็อก และสถาปัตยกรรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์ อล. 227 ปฏิบัติการระบบดิจิทัล (1 หน่วยกิต) EL 227 Digital System Laboratory วิชาบังคับก่อน: อล. 226 ระบบดิจิทัล หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบัติการทดลองในเรื่อง ลอจิกเกท วงจรคอมบิเนชัน วงจรบวก-ลบ วงจรตรวจสอบพาริตี้ วงจรเปรียบเทียบ วงจรเข้ารหัสถอดรหัส วงจรมัลติเพล็ก-ดีมลั ติเพล็ก วงจรแล็ชและฟลิบฟลอบ วงจร นับแบบอะซิงโครนัสและซิงโครนัส ชิพเรจิสเตอร์

อล. 222 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ 2 (1 หน่วยกิต) EL 222 Electronics Laboratory II วิชาบังคับก่อน: อล. 221 อิเล็กทรอนิกส์ 2 หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิ บั ติ การทดลองในเรื่ อ งที่ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ช าอิ เ ล็ ก - ทรอนิกส์ 2 หลักสูตรปริญญาตรี 277


อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 (3 หน่วยกิต) EL 253 Digital System I วิชาบังคับก่อน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส์ 1 ระบบตรรกและพีชคณิตของบูลนี การออกแบบวงจรคอม บิเนชัน การวิเคราะห์และการออกแบบวงจรซีเควนเชียล รีจิสเตอร์ วงจรนับ หน่วยความจำ�ชนิดต่างๆ หลักการออกแบบวงจรที่ใช้เกทไอ ซีที่มีความเร็วในการทำ�งานต่างๆ กัน การแปลงสัญญาณอนาลอก เป็นดิจิทัล และการแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นอนาลอก อล. 254 ปฏิบัติการระบบดิจิทัล 1 (1 หน่วยกิต) EL 254 Digital System Laboratory I วิชาบังคับก่อน: อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคล้องกับวิชาระบบดิจทิ ลั 1 อล. 255 ปฏิบัติ​การ​ระบบ​ดิจิตอล 1 (1 หน่วยกิต) EL 255 Digital System Laboratory 1 วิชา​บังคับ​ก่อน: อล. 253 ระบบ​ดิจิตอล 1 หรือ​เรียน​ควบคู่​กัน ปฏิบัตกิ​ าร​ทดลอง​ใน​เรื่อง ลอ​จิก​เกต วง​จร​คอม​ไบเนชั่น วงจร​บวก-ลบ วงจร​ตรวจ​สอบ​พา​รต​ิ ี้ วงจร​เปรียบ​เทียบ วงจร​เข้า​รหัสถอดรหัส วง​จร​มลั ต​ เ​ิ พล​ก็ -ดีมลั​ ต​ เ​ิ พล​ก็ วง​จร​แล็ชแ​ ละ​ฟล​ บิ ฟ​ ล​ อบ วงจร​ นับ​แบ​บอ​ซิง​โค​รนัสแ​ ละ​ซิง​โค​รนัส ชิ​พรี​จสิ​ ​เตอร์ อล. 311 ระบบไมโครโปรเซสเซอร์ (3 หน่วยกิต) EL 311 Microprocessor System วิชาบังคับก่อน: อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 ไมโครโปรเซสเซอร์เบื้องต้น สถาปัตยกรรมของไมโคร โปรเซสเซอร์ เอแอลยู ริจิสเตอร์ แฟลก การจับเวลา คำ�สั่งและการ เขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสเซมบลี การเชือ่ มต่อหน่วยความจำ� การ เชือ่ มต่อไมโครโปรเซสเซอร์กบั วงจรภายนอก ระบบอินเทอร์รพั ท์ ผล ของคำ�สั่งต่อฮาร์ดแวร์ 278 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อล. 312 ปฏิบัติการไมโครโปรเซสเซอร์ (1 หน่วยกิต) EL 312 Microprocessor Laboratory วิชาบังคับก่อน: อล. 311 ระบบไมโครโปรเซสเซอร์ หรือเรียนควบคูก่ นั ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคล้องกับวิชาระบบไมโคร โปรเซสเซอร์ อล. 314 ปฏิบัติ​การ​ไมโคร​โปร​เซส​เซอร์ (1 หน่วยกิต) EL 314 Microprocessor Laboratory วิชา​บังคับ​ก่อน: อล. 311 ระบบ​ไมโคร​โปร​เซส​เซอร์ หรือ​เรียน​ควบคู่​กัน ปฏิบตั ก​ิ าร​ทดลอง​ใน​เรือ่ ง การ​เขียน​โปร​แก​รม​แอส​เซมบ​ล​ี้ เบือ้ ง​ตน้ กลุม่ ค​ �ำ ส​ งั่ ส​ �ำ หรับก​ าร​เขียน​โปรแกรม การ​ตดิ ต่อก​ บั ห​ น่วย​งาน​ ความ​จำ�​และ​อิน​พุต​เอา​ต์​พุต การ​โปรแกรม IC2855 (Programmable Peripheral Interface) การ​รบั ค​ า​ ่ จาก​อปุ กรณ์อ​ นิ พ​ ตุ แ​ ละ​แสดง​ผล​เอา​ต​์ พุต เช่น Scan Keyboard 7-Segment Dotmatrix การ​แปลง​สัญญาณ​ ดิจิตอล​เป็น​อ​นา​ล็อก​และ​อ​นา​ล็อก​เป็น​ดิจิตอล อล. 322 ระบบดิจิทัล 2 (3 หน่วยกิต) EL 322 Digital System II วิชาบังคับก่อน: อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 การออกแบบวงจรดิจิทัล ระดับรีจีสเตอร์ การออกแบบ สเตตมาชีน การควบคุมวงจรดิจิทัล ด้วยวิธีฮาร์ดไวร์และไมโคร โปรแกรม การออกแบบวงจรดิจิทัล ด้วยอุปกรณ์พีแอลดีและเอฟพีจี เอ การเขียนโปรแกรมวีเอชดีแอลและการจำ�ลองการทำ�งาน โครงสร้าง ของคอมพิวเตอร์เบือ้ งต้น การออกแบบซีพยี ู ซึง่ ประกอบด้วย เอแอล ยู รีจสี เตอร์และหน่วยควบคุม ด้วยโปรแกรมวีเอชดีแอล การเชือ่ มโยง ระบบกับอุปกรณ์รอบนอก การใช้แคดในการออกแบบวงจรดิจิทัล


อล. 323 ปฏิบัติการระบบดิจิทัล 2 (1 หน่วยกิต) EL 323 Digital System Laboratory II วิชาบังคับก่อน: อล. 322 ระบบดิจิทัล 2 หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคล้องกับวิชาระบบดิจทิ ลั 2 อล. 324 ปฏิบัติ​การ​ระบบ​ดิจิตอล 2 (1 หน่วยกิต) EL 324 Digital System Laboratory II วิชา​บังคับ​ก่อน: อล. 322 ระบบ​ดิจิตอล 2 หรือ​เรียน​ควบคู่​กัน ปฏิบตั ก​ิ าร​ทดลอง​ใน​เรือ่ ง แนะนำ�โ​ปรแกรม MAX+PLUS II และ​ภาษา VHDL การ​เขียน​โปรแกรม​อธิบาย​วง​จร​คอม​ไบเนชัน่ การ​ โปรแกรม​บน Programmable Logic Device (PAL) การ​สร้าง ALU โปรแกรม​อธิบาย​วง​จร​ซี​เค​วน​เชียล​ การ​สร้าง​สัญญาณ​ควบคุมไ​มโคร​ โปร​เซส​เซอร์ ไมโคร​โปร​เซส​เซอร์อ​ ย่าง​ง่าย ไมโคร​โปร​เซส​เซอร์​ชนิด RISC อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า (3 หน่วยกิต) EL 353 Electrical Instruments and Measurements วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า หน่วยและมาตรฐานของการวัดทางไฟฟ้า ประเภทและ คุณลักษณะของเครื่องมือวัด การวิเคราะห์การวัด การวัดกระแสและ แรงดันของทั้งไฟตรงและไฟสลับโดยใช้มาตรวัดแบบแอนะลอกและ แบบดิจทิ ลั การวัดกำ�ลัง ตัวประกอบกำ�ลัง และพลังงาน การวัดความ ต้านทาน ความเหนีย่ วนำ� และความเก็บประจุ การวัดความถีแ่ ละช่วง เวลา สัญญาณรบกวน ทรานส์ดิวเซอร์ อล. 433 การประมวลผลสัญญาณแบบดิจิตอล (3 หน่วยกิต) EL 433 Digital Signal Processing วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 323 หลักการสื่อสาร ความรู้ พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ สั ญ ญาณและระบบการแปลง สัญญาณ แซดทรานสฟอร์มและอินเวอร์สแซดทรานสฟอร์ม การ

ออกแบบวงจรกรองสัญญาณแบบดิจติ อล วงจรกรองสัญญาณดิจติ อล ในทางปฏิบัติ ฟูริเยร์ทรานสฟอร์มแบบไม่ต่อเนื่อง อล. 435 การ​ออกแบบ​วงจร VLSI เบื้อง​ต้น (3 หน่วยกิต) EL 435 Basic VLSI Design วิชา​บังคับ​ก่อน: อล. 225 อุปกรณ์ส​ าร​กึ่ง​ตัวนำ� แนะนำ�ว​ ิธี​การ​และ​ขบวนการ​ออกแบบ VLSI ทั่ว ๆ ไป สวิตช์​ชิ่ง​และ​อิน​เวิร์ท​เตอร์ การ​ออก​แบบลอ​จิก เทคโนโลยี​ของ​สาร​กึ่ง​ ตัวนำ� การ​เชื่อม​ต่อ​ระหว่าง​การ​ออกแบบ​และ​การ​เจือ​สาร การ​หน่วง​ เวลา​และกำ�ลัง​งาน การ​ออกแบบ​ระบบ​ต่าง ๆ ระบบ​หน่วย​ความ​จำ�​ ต่าง ๆ อุปกรณ์​ต่าง ๆ ที่​ใช้​สำ�หรับ​ช่วย​ออกแบบ VLSI อล. 439 ออปโตอิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) EL 439 Opto-Electronics วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หน่วยที่ใช้ในการวัดแสง ท่อนำ�คลืน่ เส้นใยนำ�แสง แหล่ง กำ�เนิดแสงและอุปกรณ์รบั แสงแบบสารกึง่ ตัวนำ� วงจรต่างๆ ของระบบ รับ-ส่งแสง ระบบสื่อสารด้วยแสง วงจรรวมออปติกส์ อล. 440 อิเล็กทรอนิกส์ชีวการแพทย์ (3 หน่วยกิต) EL 440 Biomedical Electronics วิชาบังคับก่อน: อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า แหล่งกำ�เนิดศักย์ชวี ไฟฟ้า ระบบการนำ�สัญญาณชีวไฟฟ้า และระบบประสาท หลั ก การของอิ เ ล็ ก โตรด วงจรสั ญ ญาณ อิเล็กทรอนิกส์แบบต่างๆ ทีน่ �ำ มาใช้ทางชีวการแพทย์ แหล่งจ่ายไฟฟ้า ของอุปกรณ์ชีวการแพทย์ วงจรปรับสภาวะของสัญญาณ วงจรแยก ส่วนทางไฟฟ้า

หลักสูตรปริญญาตรี 279


อล. 453 การประมวลผลภาพและจดจำ�รูปแบบ (3 หน่วยกิต) EL 453 Image Processing and Pattern Recognition วิชาบังคับก่อน: คณ. 107 แคลคูลัส 3 และ คพ. 122 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ศึกษาระบบการประมวลผลภาพการเห็นและแบบจำ�ลอง คณิตศาสตร์ของภาพทฤษฎีการสุ่มตัวอย่างและการให้ค่าเชิงตัวเลข ฟูเรียทรานฟอร์มและคุณสมบัติภาพ การทำ�ให้ภาพดีขึ้น การทำ�ให้ ภาพเรียบขึน้ การทำ�ให้ภาพคมชัดขึน้ การรูจ้ ดจำ�รูปแบบจากภาพถ่าย การประยุกต์การประมวลผลภาพในงานด้านอื่น อล. 454 ระบบสมองกลฝังตัว (3 หน่วยกิต) EL 454 Embedded System วิชาบังคับก่อน: ไม่มี การออกแบบระบบสมองกลฝังตัวโดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อที่จำ�เป็น การประเมินและเลือกอุปกรณ์ที่ เหมาะสมต่อการนำ�ไปใช้งานและคุ้มค่าต่อการลงทุน ศึกษาถึงระบบ ปฏิบัติการแบบเรียลไทม์ และการปรับระบบปฏิบัติการแบบเรียลไทม์ เพื่อให้ทำ�งานได้บนระบบสมองกลฝังตัวที่ออกแบบขึ้น ศึกษาถึงหลัก การและวิธีการในการออกแบบซอฟต์แวร์บนระบบสมองกลฝังตัวบน หลักการของการออกแบบระบบแบบเรียลไทม์ และตัวอย่างการใช้งาน ต่างๆ อล. 461 ชีวสารสนเทศเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) EL 461 Introduction to Bioinformatic วิชาบังคับก่อน: ไม่มี แนะนำ � ชี ววิ ท ยาระดั บ โมเลกุ ล พั น ธุ ศ าสตร์ ทฤษฎี วิวฒ ั นาการ เทคนิคและซอฟแวร์ส�ำ หรับการสืบค้นฐานข้อมูล การจัด เรียงลำ�ดับดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ และโปรตีน การหายีน จีโนมและโปรตี โอมิกส์ การสร้างและตีความหมายของภาพถ่ายทางการแพทย์ 280 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อล. 462 ไบโอเซนเซอร์ (3 หน่วยกิต) EL 462 Biosensors วิชาบังคับก่อน: อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า หลั ก การวั ด ปรากฏการณ์ ต่ า งๆ ทางเคมี แ ละชี ว วิทยา ความหมายของไบโอเซนเซอร์ องค์ประกอบและชนิดของไบ โอเซนเซอร์ หลักการออกแบบและการสร้างไบโอเซนเซอร์การ ประยุกต์ใช้งานไบโอเซนเซอร์ อล. 464 วิศวกรรมชีวเวชเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) EL 464 Introduction to Biomedical Engineering วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ความหมายและความสำ�คัญของวิศวกรรมชีวเวช ความ รูพ้ นื้ ฐานเกีย่ วกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์และเทคนิคการประมวลสัญญาณ ที่ใช้สำ�หรับวิศวกรรมชีวเวชการวัดและเครื่องมือวัดทางชีวเวช การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศในทางวิศวกรรมชีวเวช อล. 465 เทคโนโลยีเซนเซอร์ (3 หน่วยกิต) EL 465 Sensor Technology วิชาบังคับก่อน: อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า หลักการและทฤษฎีของเซนเซอร์ เทคโนโลยีการประดิษฐ์ เซนเซอร์ การออกแบบระบบวัดสำ�หรับเซนเซอร์การประยุกต์ใช้งาน เซนเซอร์ เซนเซอร์ฟิวชัน เซนเซอร์อัจฉริยะการใช้เซนเซอร์ในการ วัดระยะไกล อล. 471 วิศวกรรมระบบเสียง (3 หน่วยกิต) EL 471 Sound System Engineering วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ระบบเกี่ยวกับเสียง คณิตศาสตร์สำ�หรับระบบเกี่ยวกับ เสียง การเชื่อมต่อระหว่างระบบไฟฟ้ากับระบบอะคูสติก ทิศทางและ การครอบคลุมของลำ�โพง อะคูสติกแวดล้อม อะคูสติกสำ�หรับห้อง


ใหญ่ อะคูสติกสำ�หรับห้องเล็ก ไมโครโฟน ลำ�โพง การใช้อุปกรณ์ หน่วงสัญญาณ เครือ่ งมือเกีย่ วกับเสียงและอะคูสติก การออกแบบและ ติดตั้งระบบเสียง อล. 481 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 1 (2 หน่วยกิต) EL 481 Electronic Engineering Project I วิชาบังคับก่อน: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 และได้รับอนุมัติจากผู้สอน วางแผนและออกแบบโครงงานและสร้างอุปกรณ์ หรือ ระบบทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ในปีสดุ ท้าย) มีการเสนอโครงการ และรายงาน ตลอดจนเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องการเพื่อดำ�เนินการ โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 2 อล. 482 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 2 (2 หน่วยกิต) EL 482 Electronic Engineering Project II วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 481 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 1 เป็นโครงงานที่ต่อเนื่องจากโครงงานวิศวกรรมอิเล็ก- ทรอนิกส์ 1 ต้องดำ�เนินการสร้างอุปกรณ์ต้นแบบจนเสร็จบริบูรณ์ พร้อมทั้งทำ�รายงานและทดสอบอุปกรณ์ต้นแบบต่ออาจารย์ที่ปรึกษา โครงการ อล. 483 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (2 หน่วยกิต) สำ�หรับสหกิจศึกษา EL 483 Electronic Engineering Project for Cooperative Education (สำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: อล. 498 วิชาสหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นโครงงานที่ต่อเนื่องจากการดำ�เนินงานในวิชาสหกิจ ศึกษาทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ นักศึกษาต้องนำ�ผลงานที่ได้จาก การทำ�สหกิจศึกษามาสร้างหรือปรับปรุงให้เสร็จบริบูรณ์ พร้อมทั้งทำ� รายงานและทดสอบผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน

อล. 493 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 1 (3 หน่วยกิต) EL 493 Selected Topics in Electronics Engineering I วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่กำ�หนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา หัวข้อทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับพัฒนาการใหม่ๆ ทางวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์ อล. 494 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 2 (3 หน่วยกิต) EL 494 Selected Topics in Electronics Engineering II วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่กำ�หนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา หัวข้อทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับพัฒนาการใหม่ๆ ทางวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์ อล. 495 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 1 (3 หน่วยกิต) EL 495 Special Problems in Electronics Engineering I วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่กำ�หนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา ปัญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์ อล. 496 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 2 (3 หน่วยกิต) EL 496 Special Problems in Electronics Engineering II วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่กำ�หนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา ปัญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์

หลักสูตรปริญญาตรี 281


อล. 497 การฝึกงานทางวิศวกรรม (1 หน่วยกิต) EL 497 Engineering Practices (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: ไม่มี การฝึกงานวิศวกรรมในสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง ภายใต้การดูแล ของวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณ์ประจำ�บริษทั เอกชนหรือหน่วยงานราชการ เป็นเวลาอย่างน้อย 6 สัปดาห์ หรือ 180 ชั่วโมง ทั้งนี้โดยนักศึกษา ต้องได้เกรดเป็น S

หมวดวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

อล. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (6 หน่วยกิต) EL 498 Cooperative Education in Electronic Engineering วิชาบังคับก่อน: สศ. 301 วิชาเตรียมสหกิจศึกษา (สำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ท�ำ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

ฟฟ. 212 ปฏิบัติการวงจรไฟฟ้า (1 หน่วยกิต) EE 212 Electric Circuit Laboratory วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคล้องกับทฤษฎีวงจรไฟฟ้า

282 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า (3 หน่วยกิต) EE 211 Electric Circuit Theory วิชาบังคับก่อน: ฟส. 103 ฟิสิกส์ทั่วไป 2 องค์ประกอบวงจร การวิเคราะห์โนดและเมซ ทฤษฎีวงจร ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวน�ำ และตัวเก็บประจุ วงจรอันดับที่หนึ่งและ อันดับที่สอง แผนภาพเฟสเซอร์ วงจรกระแสสลับ ระบบสามเฟส

ฟฟ. 213 ปฏิบัติ​การ​วงจร​ไฟฟ้า (1 หน่วยกิต) EE 213 Electric Circuit Laboratory วิชา​บังคับ​ก่อน: ฟฟ. 211 ทฤษฎี​วงจร​ไฟฟ้า หรือ​เรียน​ควบคูก่​ ัน ปฏิบัตกิ​ าร​การ​ทดลอง​ใน​เรื่อง กฎ​ของ​โอห์ม วงจร​แบบ​ อนุกรม ขนาน และ​ผสม วงจร​แบ่ง​แรง​ดัน​ไฟฟ้า​และ​วงจร​แบ่ง​กระแส​ ไฟฟ้า กฎ​ของ​เคอร์​ซอฟฟ์ การ​ทดลอง​และ​วิเคราะห์​ด้วย​วิธเี​มช วิธี​ โนด ทฤษฎี​เธ​วิ​นิน​และ​นอร์​ตัน ทฤษฎี​การ​ส่ง​ผ่าน​กำ�ลัง​ไฟฟ้า​สูงสุด ตัว​เก็บ​ประจุ​และ​ผล​ตอบ​สน​อง​ท​ราน​เชี​ยนต์ ฟฟ. 221 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า (3 หน่วยกิต) EE 221 Electric Circuit Analysis วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า วงจรเชิงเส้นที่ไม่เปลีย่ นแปลงตามเวลา ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า แบบกราฟ การวิเคราะห์โดยใช้โนดและเมช การวิเคราะห์โดยอาศัยลูป และคัตเซต สมการของสถานะ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ฟังก์ชนั ของ วงจรไฟฟ้า ทฤษฎีวงจรไฟฟ้าที่มีทางเข้าออก 2 ทาง การวิเคราะห์ วงจรไฟฟ้าโดยวิธีอิมเมจ


ฟฟ. 312 การแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า (3 หน่วยกิต) EE 312 Electromechanical Energy Conversion วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า ว ง จ ร แ ม่ เ ห ล็ ก ห ลั ก กา ร แปรผันพลังงานกลไฟฟ้า พลังงานและการแปลงพลังงานแม่เหล็ก หม้อแปลงไฟฟ้าแบบเฟส เดียวและสามเฟส หลักการท�ำงานของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง วงจรสมมูลของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง การเริ่มเดินเครื่องจักร ไฟฟ้ากระแสตรง การควบคุมความเร็วของมอเตอร์กระแสตรง ฟฟ. 313 ปฏิบัติการการแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า (1 หน่วยกิต) EE 313 Electromechanical Energy Conversion Laboratory วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 312 การแปรรูปพลังงานไฟฟ้า หรือเรียนควบคูก่ นั ปฏิ บั ติ ก ารทดลองในเรื่ อ งที่สอดคล้องกับการแปรรูป พลังงานกลไฟฟ้า ฟฟ. 321 เครื่องจักรกลไฟฟ้า (3 หน่วยกิต) EE 321 Electric Machines วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 312 การแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า โครงสร้ า งของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสสลับ ซิงโครนัส มอเตอร์ อินดัคชันมอเตอร์แบบเฟสเดียวและสามเฟส เครือ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้ า กระแสสลั บ แบบซิงโครนัส วงจรสมมูลของเครื่องจักรไฟฟ้า กระแสสลับ การเริ่มเดินเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ การควบคุม ความเร็ ว ของมอเตอร์กระแสสลับแบบซิงโครนัสและแบบอินดักชั่น การควบคุมการจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแส สลับแบบซิงโครนัส การซิงโครไนซ์เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเข้า สู่ระบบไฟฟ้า ระบบป้องกันของเครื่องจักร

ฟฟ. 322 ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า (1 หน่วยกิต) EE 322 Electrical Machines Laboratory วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 321 เครื่องจักรกลไฟฟ้า หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคล้องกับวิชา เครือ่ งจักร กลไฟฟ้า ฟฟ. 323 หลักการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) EE 323 Communication Principles วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประวัตริ ะบบการสือ่ สาร หลักการของการสือ่ สารแบบต่างๆ โทรเลข โทรศัพท์ วิทยุ การวิเคราะห์สญั ญาณทางไฟฟ้าสือ่ สาร แอมป ลิจูดมอดดูเลชัน ฟรีเควนซีและเฟสมอดดูเลชัน เครื่องส่งและเครื่อง รับวิทยุ หลักการส่งโทรทัศน์ การกระจายของคลืน่ วิทยุและสายอากาศ การสื่อสารโดยใช้แสงไมโครเวฟ โทรสาร การสื่อสารระบบอนาลอก และการสื่อสารระบบดิจิทัล การสื่อสารดาวเทียม ฟฟ. 324 ระบบควบคุม (3 หน่วยกิต) EE 324 Control System วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า แบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบ ระบบควบคุมแบบ ป้อนกลับและแบบวงรอบเปิด ฟังก์ชนั ถ่ายโอน กราฟการไหลสัญญาณ การ วิ เ ค ร าะห์โดเมนเวลาและโดเมนความถี่และการออกแบบระบบ ควบคุม โลกัสของราก การพล็อตไนควิสต์ การพล็อตโบเด เสถียรภาพ ของระบบ ฟฟ. 325 ปฏิบัติการระบบควบคุม (1 หน่วยกิต) EE 325 Control System Laboratory วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 324 ระบบควบคุม หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบตั กิ ารทดลองในเรือ่ งทีส่ อดคล้องกับวิชาระบบควบคุม หลักสูตรปริญญาตรี 283


ฟฟ. 326 ระบบไฟฟ้าก�ำลัง (3 หน่วยกิต) EE 326 Electrical Power Systems วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 312 การแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า แนะน�ำระบบไฟฟ้าก�ำลัง การส่งผ่านพลังงานไฟฟ้า อิม พีแดนซ์ของสายส่ง ความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดัน แนวคิดต่อ หน่ ว ย การจ�ำลองระบบไฟฟ้าก�ำลัง ชนิดและการเขียนไดอะแกรม ส�ำหรั บ ระบบไฟฟ้าก�ำลัง สมการและการวิเคราะห์สมการในระบบ ไฟฟ้าก�ำลัง การค�ำนวณระบบสายส่งและสายจ�ำหน่าย การวิเคราะห์ ความผิดพร่องแบบสมมาตร

ฟฟ. 413 โรงต้นก�ำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย (3 หน่วยกิต) EE 413 Electric Power Plant and Substations วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 321 เครื่องจักรกลไฟฟ้า กราฟของโหลดตามช่วงเวลา โรงไฟฟ้าแบบเครื่องยนต์ ดีเซล แบบพลังงานไอน�้ำ แบบพลังงานก๊าซ แบบพลังงานความร้อน ร่วม แบบพลั ง งานงานน�้ำ แบบพลังงานนิวเคลียร์ แหล่งที่มาของ พลังงานทดแทน ชนิ ดของสถานีไฟฟ้าย่อย อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ใน สถานีไฟฟ้าย่อย การออกแบบระบบสถานีไฟฟ้าย่อย การป้องกันฟ้าผ่า และระบบการต่อลงดินส�ำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย

ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (3 หน่วยกิต) EE 351 Electromagnetic Fields and Waves วิชาบังคับก่อน: ฟส. 103 ฟิสิกส์ทั่วไป และ คณ. 107 แคลคูลัส 3 สนามไฟฟ้ า สถิต แรงของคูลอมป์ ความเข้มของสนาม ไฟฟ้า เส้นแรงของสนามไฟฟ้าและกฎของเกาส์ การวิเคราะห์เวกเตอร์ และทฤษฎี ไ ดเวอร์เจนซ์ ตัวน�ำและไดอิเล็กตริก ค่าความจุไฟฟ้า พลัง งานและศั ก ย์ไฟฟ้า กระแสการพาและกระแสการน�ำ สนามแม่ เหล็กสถิต สมการลาปลาซ กฎของแอมแปร์ แรงและแรงบิดในสนาม แม่เ หล็ ก การเหนี่ยวน�ำและวงจรแม่เหล็ก กระแสกระจัด สนามแม่ เหล็กไฟฟ้าที่แปรเปลี่ยนตามเวลา สมการแมกซ์เวล ทฤษฎีพอยน์ติง ทฤษฎีสายส่ง ทฤษฎีทอ่ น�ำคลืน่ การแผ่คลืน่ ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แปรเปลี่ยนตามเวลา

ฟฟ. 431 การออกแบบระบบไฟฟ้า (3 หน่วยกิต) EE 431 Electrical System Design วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 211 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า และ ฟฟ. 321 เครื่องจักรกลไฟฟ้า หรือเรียนควบคู่ หลักการพืน้ ฐานในการออกแบบ สัญลักษณ์และมาตรฐาน แผนภาพของระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้า ประเภทของสายไฟฟ้า ชนิดและ การใช้งานทางเดินสาย อุปกรณ์และเครื่องมือทางไฟฟ้า การค�ำนวณ โหลด การปรั บ ปรุ ง ตัวประกอบก�ำลังและการออกแบบตัวเก็บประจุ การออกแบบระบบแสงสว่างและอุปกรณ์ ไฟฟ้าต่างๆ การออกแบบ ระบบทีป่ ระกอบด้วยมอเตอร์ การจัดท�ำตารางโหลด สายป้อนและสาย ป้อนหลัก ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน การค�ำนวณการลัดวงจร ระบบการต่อ ลงดินส�ำหรับการติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้า

ฟฟ. 412 การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้าก�ำลัง (3 หน่วยกิต) EE 412 Electrical Power Systems Analysis วิชาบังกับก่อน: ฟฟ. 326 ระบบไฟฟ้าก�ำลัง การศึ ก ษาเกี่ยวกับการไหลของก�ำลังไฟฟ้า การควบคุม การไหลของก�ำลั งไฟฟ้า ส่วนประกอบสมมาตร การวิเคราะห์ความ ผิดพร่องแบบไม่สมมาตร เสถียรภาพของระบบไฟฟ้าก�ำลัง การจ่าย โหลดอย่ า งประหยัด แรงดันเกินขนาดในระบบไฟฟ้าก�ำลังและข้อ ก�ำหนดของฉนวนไฟฟ้า อุปกรณ์ป้องกันระบบไฟฟ้าก�ำลังเบื้องต้น

ฟฟ. 433 วิศวกรรมส่องสว่าง (3 หน่วยกิต) EE 433 Illumination Engineering วิชาบังคับก่อน: อล. 353 การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ปริ ม าณของการแผ่ รังสีทางแม่เหล็กไฟฟ้าและของแสง สว่าง ก า ร วั ด แ ส ง ส ว่ าง การแผ่รังสีจากวัตถุร้อนจากการถ่าย ประจุไฟฟ้าในก๊าซและจากฟอสเฟอร์ หลอดไฟฟ้าและดวงโคมไฟฟ้า สมบัติทางแสงของวัสดุก่อสร้าง การค�ำนวณแสงสว่างภายในอาคาร และนอกอาคาร

284 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ฟฟ. 435 วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง (3 หน่วยกิต) EE 435 High Voltage Engineering วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 351 สนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และ ฟฟ. 221 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า การใช้งานไฟฟ้าแรงดันไฟฟ้าสูงและแรงดันไฟฟ้าเกินใน ระบบไฟฟ้าก�ำลัง การสร้างแรงดันไฟฟ้าสูงส�ำหรับการทดสอบ เทคนิค การวั ด แรงดั น ไฟฟ้าสูง ความเข้มสนามไฟฟ้าและเทคนิคการฉนวน การศึกษาการเบรกดาวน์ในก๊าซ ของเหลวและในไดอิลก็ ตริกของแข็ง เทคนิคการทดสอบแรงดันไฟฟ้าสูง การประสานสัมพันธ์ทางฉนวน ฟฟ. 438 การป้องกันระบบไฟฟ้าก�ำลัง (3 หน่วยกิต) EE 438 Power System Protection วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 326 ระบบไฟฟ้าก�ำลัง สาเหตุของการเกิดความผิดพร่อง หลักการพื้นฐานของ การป้องกันในระบบไฟฟ้าก�ำลัง หม้อแปลงเครือ่ งมือวัดและทรานสดิว เซอร์ หลั ก การเบื้องต้นของอุปกรณ์ป้องกันและระบบป้องกัน การ ป้องกันกระแสเกินและกระแสลงดิน การป้องกันโดยอาศัยผลต่างของ ปริมาณทางไฟฟ้า การป้องกันระบบส่งโดยใช้รเี ลย์แบบระยะทาง การ ป้องกั น ระบบส่งโดยใช้รีเลย์แบบไพลอต การป้องกันมอเตอร์ การ ป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า การป้องกันเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า การพิจารณา เขตการป้องกัน ฟฟ. 441 การบริหารการใช้พลังงานไฟฟ้า (3 หน่วยกิต) EE 441 Electrical Energy Management วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ค�ำจ�ำกั ด ความของการใช้โหลดในระบบไฟฟ้า อัตราค่า พลังงานไ ฟ ฟ้ า ที่การไฟฟ้าขายให้กับผู้ใช้ไฟประเภทต่างๆ วิธีการ บริหารการใช้พลังงานไฟฟ้าให้เกิดการประหยัดทีส่ ดุ ส�ำหรับผูพ้ กั อาศัย ธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ การควบคุมการจ่ายพลังงานไฟฟ้าเพื่อ ให้เกิดการประหยัดที่สุด การเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อการประหยัด พลังงานไฟฟ้า การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ควบคุมระบบไฟฟ้า

ฟฟ. 481 โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 1 (2 หน่วยกิต) EE 481 Electrical Engineering Project I วิชาบังคับก่อน: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 และได้รับอนุมัติจากผู้สอน วางแผนและออกแบบโครงงานและสร้างอุปกรณ์ หรือ ระบบทางวิ ศ ว กร ร มไฟฟ้า (ในปีสุดท้าย) มีการเสนอโครงการและ รายงาน ตลอดจนเตรียมอุปกรณ์ตา่ งๆ ทีต่ อ้ งการเพือ่ ด�ำเนินการโครง งานวิศวกรรมไฟฟ้า 2 ฟฟ. 482 โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 2 (2 หน่วยกิต) EE 482 Electrical Engineering Project II วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 481 โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 1 เป็นโครงงานที่ต่อเนื่องจากโครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า 1 ต้องด�ำเนิ น กา ร ส ร้างอุปกรณ์ต้นแบบจนเสร็จบริบูรณ์ พร้อมทั้งท�ำ รายงานและทดสอบอุปกรณ์ต้นแบบต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ฟฟ. 483 โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้าส�ำหรับสหกิจศึกษา (2 หน่วยกิต) EE 483 Electrical Engineering Project for Cooperative Education (ส�ำหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: ฟฟ. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมไฟฟ้า เป็นโครง ง า นที่ต่อเนื่องจากการด�ำเนินงานในวิชาสหกิจ ศึกษาทางวิศวกรรมไฟฟ้า ซึง่ นักศึกษาต้องน�ำผลงานที่ได้จากการท�ำ สหกิจศึกษามาสร้างหรือปรับปรุงให้เสร็จบริบรู ณ์ พร้อมทัง้ ท�ำรายงาน และทดสอบผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน

หลักสูตรปริญญาตรี 285


ฟฟ. 493 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมไฟฟ้า 1 (3 หน่วยกิต) EE 493 Selected Topics in Electrical Engineering I วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่ก�ำหนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา หัวข้อทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับพัฒนาการใหม่ๆ ทางวิศวกรรม ไฟฟ้า ฟฟ. 494 เรื่อง​เฉพาะ​ทาง​วิศวกรรม​ไฟฟ้า 2 (3 หน่วยกิต) EE 494 Selected Topics in Electrical Engineering II วิชา​บังคับ​ก่อน: ผ่าน​รายวิชา​ที่​กำ�หนด และ​ได้​รับ​อนุมัตจิ​ าก​หัวหน้า​ภาค​วิชา หัวข้อท​ น​ี่ า​ ่ สนใจ​เกีย่ ว​กบั พ​ ฒ ั นาการ​ใหม่ ๆ ทาง​วศิ วกรรม​ ไฟฟ้า ฟฟ. 495 ปัญหา​พิเศษ​ทาง​วิศวกรรม​ไฟฟ้า 1 (3 หน่วยกิต) EE 495 Special Problems in Electrical Engineering I วิชา​บังคับ​ก่อน: ผ่าน​รายวิชา​ที่​กำ�หนด และ​ได้​รับ​อนุมัตจิ​ าก​หัวหน้า​ภาค​วิชา ปัญหา​พิเศษ​กรณี​ศึกษา​ที่​น่า​สนใจ​ทาง​ด้าน​วิศวกรรม​ ไฟฟ้า

286 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ฟฟ. 497 การฝึกงานทางวิศวกรรม (1 หน่วยกิต) EE 497 Engineering Practices (ยกเว้นส�ำหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: ไม่มี การฝึกงานวิศวกรรมในสาขาที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การดูแล ของวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณ์ประจ�ำบริษทั เอกชนหรือหน่วยงานราชการ เป็นเวลาอย่างน้อย 6 สัปดาห์ หรือ 180 ชั่วโมง ทั้งนี้โดยนักศึกษา ต้องได้เกรดเป็น S ฟฟ. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมไฟฟ้า (6 หน่วยกิต) EE 498 Cooperative Education in Electrical Engineering (ส�ำหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการท�ำงานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ท�ำงาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการท�ำงานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดท�ำรายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน


หมวดวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คต. 111 ปฏิบัติการเบื้องต้นส�ำหรับวิศวกรรม (1 หน่วยกิต) คอมพิวเตอร์ CE 111 Fundamental Laboratory for Computer Engineering วิชาบังคับก่อน: ไม่มี หลักการเชิงปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้องกับระบบคอมพิวเตอร์และ ส่วนประกอบส่วนประกอบและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การประกอบ คอมพิวเตอร์ การติดตัง้ /ยกเลิกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การติดตัง้ และ การใช้ ร ะบบปฏิ บั ติ การต่ า งๆ การสร้ า งสรรค์ ผ ลงานพื้ น ฐานใน คอมพิวเตอร์ เช่น พัฒนาเว็บไซต์ ตกแต่งภาพ การสร้างไฟล์น�ำเสนอ ผลงาน เป็นต้น การใช้งานคอมพิวเตอร์ส�ำหรับงานวิศวกรรม เช่น โปรแกรมส�ำหรับช่วยค�ำนวณทางคณิตศาสตร์ โปรแกรมช่วยในการ สร้างแบบจ�ำลองและวิเคราะห์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น

ของระบบคอมพิวเตอร์สมรรถภาพสูง เช่น คอมพิวเตอร์แบบขนาน คอมพิวเตอร์แบบซิสตอริค (Systolic) คต. 223 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 (3 หน่วยกิต) CE 223 Computer Programming II วิชาบังคับก่อน: คพ. 122 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ศึกษาหลักการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมอย่าง น้อย 1 ภาษา การเขียนโปรแกรมโครงสร้างข้อมูลแบบแถวล�ำดับ ตัวชี้และตัวอ้างอิง การเรียกซ�้ำ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น การประยุกต์การเขียนโปรแกรมส�ำหรับงานด้านต่างๆ อาทิเช่น โปรแกรมค�ำนวณภาษีกา้ วหน้า โปรแกรมค�ำนวณค่าทางสถิติ เป็นต้น

คต. 221 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย (3 หน่วยกิต) CE 221 Discrete Mathematics วิชาบังคับก่อน: อส. 211 คณิตศาสตร์ส�ำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เซต คู่ล�ำดับ และฟังก์ชัน การพิสูจน์ทางตรรกศาสตร์ ความสัมพันธ์ ทฤษฎีการแจกแจง การนับ การเรียง การสับหมู่ การ เรียกซ�้ำ การเวียนบังเกิด ทฤษฎีต้นไม้ ทฤษฎีกราฟ

คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม (3 หน่วยกิต) CE 311 Data Structure and Algorithms วิชาบังคับก่อน: คพ. 122 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ เช่น แถว ล�ำดับ เรียงทับซ้อน การเชื่อมโยง กราฟ ต้นไม้ ตาราง ฯลฯ อัลกอริทึมส�ำหรับการเรียง ข้อมูล การค้นหาข้อมูล การเวียนบังเกิด การค�ำนวณแบบไปข้างหน้า และแบบย้อนหลัง การค�ำนวณหาประสิทธิภาพของอัลกอริทึม การ ประยุกต์โครงสร้างข้อมูลให้อยู่ในรูปคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างอัลกอริทมึ ส�ำหรับปัญหาต่างๆ

คต. 222 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CE 222 Computer Organization and Architecture วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ระบบคอมพิวเตอร์จากอดีตถึงปัจจุบนั คอมพิวเตอร์แบบ ต่าง ๆ อนาล็อกคอมพิวเตอร์ ดิจทิ ลั คอมพิวเตอร์ แนวคิดคอมพิวเตอร์ แบบ Von Neuman การจัดระบบคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมของระบบ คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบภายในคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยค�ำนวณ หน่วยความจ�ำ หน่วยอินพุต-เอาต์พุต การท�ำงานของคอมพิวเตอร์ รูปแบบชุดค�ำสั่ง คอมพิวเตอร์แบบ CISC และ RISC สถาปัตยกรรม

คต. 312 ปฏิบัติการโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม (1 หน่วยกิต) CE 312 Data Structure and Algorithm Laboratory วิชาบังคับก่อน: คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบัติการทดลองเขียนโปรแกรมในเรื่อง การเขียน โปรแกรมแบบโครงสร้าง การเขียนโปรแกรมจัดการหน่วยความจ�ำ ชนิด แถว ล�ำดับ เรียงทับซ้อน เชื่อมโยง การเขียนโปรแกรมเรียง ข้อมูล การเขียนโปรแกรมแบบเวียนบังเกิด การเขียนโปรแกรมค้นหา ข้อมูล แบบต้นไม้ แบบกราฟ การเขียนโปรแกรมแบบย้อนหลัง หลักสูตรปริญญาตรี 287


คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CE 313 Operating System วิชาบังคับก่อน: คต. 222 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นของระบบปฏิบัติการ ทรัพยากรของ คอมพิวเตอร์ วิธีการและแนวทางของระบบหลายโปรแกรม-หลายผู้ ใช้ พืน้ ฐานของการท�ำงานแบบหลายโปรแกรม-หลายผูใ้ ช้ การจัดสรร ทรัพยากรของระบบปฏิบัติการ การติดต่อและประสานงานภายใน ระบบปฏิบัติการ การศึกษาถึงโครงสร้างของระบบปฏิบัติการที่แพร่ หลาย คต. 314 หลักการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) CE 314 Communication Principles วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ประวัติระบบการสื่อสาร หลักการของการสื่อสารแบบ ต่าง ๆ โทรเลข โทรศัพท์ วิทยุ การวิเคราะห์สญั ญาณทางไฟฟ้าสือ่ สาร แอมพลิจูดมอดูเลชั่น ฟรีเควนซีและเฟสมอดูเลชั่น ดิจิทัลมอดูเลชั่น เครือ่ งส่งและเครือ่ งรับวิทยุ หลักการส่งโทรทัศน์ การกระจายคลืน่ วิทยุ และสายอากาศ การสือ่ สารโดยใช้คลืน่ ไมโครเวฟ โทรสาร การสือ่ สาร แบบอนาล็อกและการสื่อสารแบบดิจิทัล การสื่อสารดาวเทียม คต. 315 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (3 หน่วยกิต) คอมพิวเตอร์ 1 CE 315 Data Communication and Computer Network I วิชาบังคับก่อน: อล. 211 อิเล็กทรอนิกส์ 1 และ อล. 253 ระบบดิจิทัล 1 องค์ประกอบของระบบเครือข่าย มาตรฐานเครือข่ายชนิด ต่าง ๆ คุณสมบัติของเครือข่ายสือ่ สารคอมพิวเตอร์ รูปแบบของเครือ ข่าย เทคนิคการส่ง-รับข้อมูลในเครือข่าย รูปแบบการสื่อสารภายใน เครือข่ายสถาปัตยกรรมของโครงสร้างเครือข่ายตามมาตรฐาน OSI กติกาของการสือ่ สารทีน่ ยิ มใช้งาน วิธกี ารเชือ่ มต่อเครือข่าย เครือข่าย 288 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สื่อสารแบบไร้สาย เครือข่ายสื่อสารแบบไร้สายส�ำหรับอุปกรณ์พกพา การใช้ประโยชน์จากเครือข่าย เช่น อินทราเน็ต อินเทอร์เน็ต คต. 316 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (3 หน่วยกิต) คอมพิวเตอร์ 2 CE 316 Data Communication and Computer Network II วิชาบังคับก่อน: คต. 315 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ 1 หรือเรียนควบคู่ การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพิม่ เติม ราย ละเอียดของกติกาสื่อสารในระบบเปิด เช่น TCP/IP การวิเคราะห์ คุณภาพของระบบเครือข่าย การโปรแกรมอุปกรณ์สวิตช์ชิ่งในเครือ ข่าย การตรวจสอบและจัดการเครือข่ายด้วยซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน่ เฉพาะส�ำหรับระบบเครือข่าย คต. 317 เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต (3 หน่วยกิต) CE 317 Internet Technology วิชาบังคับก่อน: คต. 315 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แนะน�ำเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พัฒนาการของอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต II แอปพลิเคชั่นที่ปรากฏบนอินเตอร์เน็ต ข้อตกลงทาง เทคนิคการสื่อสาร (Protocol) ที่ปรากฏบนอินเตอร์เน็ตเช่น TCP/IP HTTP FTP การจัดสร้างโฮมเพจ ภาษามาตรฐานที่ใช้สร้างโฮมเพจ HTML และ JAVA ระบบสนับสนุนการจัดการข้อมูลภายในอินเตอร์เน็ต เช่น Cookies เอเจนต์ในอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีแบบพุช ระบบรักษา ความปลอดภัยส�ำหรับอินเตอร์เน็ต เช่น Firewall การจัดสร้าง อินทราเน็ตส�ำหรับองค์กร การประยุกต์ใช้งานอินเตอร์เน็ตกับระบบ พาณิชยกรรมอิเล็กทรอนิกส์


คต. 318 ปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1 หน่วยกิต) CE 318 Computer Network Laboratory วิชาบังคับก่อน: คต. 315 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ 1 หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิ บั ติ ก ารศึ ก ษาองค์ ป ระกอบของระบบเครื อ ข่ า ย มาตรฐานเครือข่ายชนิดต่าง ๆ การส่ง-รับข้อมูลในเครือข่าย รูปแบบ การสือ่ สารภายในเครือข่าย กติกาของการสือ่ สารทีน่ ยิ มใช้งาน วิธกี าร เชื่อมต่อเครือข่าย เครือข่ายสื่อสารแบบไร้สาย เครือข่ายสื่อสารแบบ ไร้สายส�ำหรับอุปกรณ์พกพา การใช้ประโยชน์จากเครือข่าย เช่น อินทราเน็ต อินเทอร์เน็ต คต. 321 การออกแบบและโปรแกรมเชิงวัตถุ (3 หน่วยกิต) CE 321 Object Oriented Design and Programming วิชาบังคับก่อน: คต. 223 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 แนวคิดการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุส�ำหรับ ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ใช้แนวคิดเชิงวัตถุ คุณสมบัติ ของภาษาเชิงวัตถุ ได้แก่ วัตถุ ชั้น การซ่อนข้อมูล การสืบทอดข้อมูล และพหุลกั ษณ์ เทคนิคของการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาเชิงวัตถุ การ สร้างและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใช้งานด้วยภาษาเชิงวัตถุ การน�ำ แนวคิดเชิงวัตถุไปใช้ในงานฐานข้อมูล คต. 322 ปฏิบัติการออกแบบและโปรแกรมเชิงวัตถุ (1 หน่วยกิต) CE 322 Object Oriented Design and Programming Laboratory วิชาบังคับก่อน: คต. 321 การออกแบบและโปรแกรมเชิงวัตถุ หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบตั กิ ารทดลองเขียนโปรแกรมในเรือ่ ง ไวยากรณ์ภาษา การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุโดยอาศัย ชั้น ฟังก์ชันเมมเบอร์ คอน- สตรักเตอร์และดีสตรักเตอร์ การปกป้องข้อมูลของโปรแกรมแบบพับ พลิก ไพรเวท และโพรเทค การเขียนโปรแกรมเพือ่ สืบทอดข้อมูล การ เขียนโปรแกรมแบบพหุลกั ษณ์ การเขียนโปรแกรมฟังก์ชนั เสมือน การ

เขียนโปรแกรมบนสภาพแวดล้อม Windows การพัฒนาโปรแกรมเชิง วัตถุบนสภาพแวดล้อม Windows คต. 323 ระบบฐานข้อมูล (3 หน่วยกิต) CE 323 Database System วิชาบังคับก่อน: คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม แนวคิดของระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ แบบจ�ำลองระบบฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล การลดความ ซ�้ำซ้อนของฐานข้อมูล ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของระบบ ฐานข้อมูล ภาษาส�ำหรับจัดการฐานข้อมูล ภาษาสืบค้นข้อมูล ระบบ ฐานข้อมูลแบบอื่นๆ เช่น ระบบฐานข้อมูลแบบแม่ข่าย-ลูกข่าย ระบบ ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ คต. 324 คอมพิวเตอร์กราฟิกและแบบจ�ำลอง (3 หน่วยกิต) เรขาคณิต CE 324 Computer Graphics and Geometric Modeling วิชาบังคับก่อน: อส. 211 คณิตศาสตร์ส�ำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และ คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม ศึกษาส่วนประกอบของงานด้านกราฟฟิก การติดต่อผูใ้ ช้ ด้วยกราฟฟิก อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส�ำหรับงานกราฟฟิก คณิตศาสตร์ ของคอมพิวเตอร์กราฟฟิก เช่น เส้น พื้นผิว วัตถุ การแปลง โคออร์ดิเนตใน 2 มิติ การตัดขอบและการแสดงหน้าต่าง มโนภาพ ของ 3 มิติ การแปลงโคออร์ดิเนตใน 3 มิติ การตัดเส้นที่มองไม่เห็น มาตรฐานการใช้ไลบรารีคอมพิวเตอร์กราฟฟิก การประยุกต์ ใช้งาน คอมพิวเตอร์กราฟฟิกกับอุตสาหกรรมสมัยใหม่ เช่น สร้างแบบจ�ำลอง การท�ำภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ

หลักสูตรปริญญาตรี 289


คต. 411 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) CE 411 Software Engineering วิชาบังคับก่อน: คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม ปัญหาของการออกแบบและผลิตซอฟต์แวร์ ขัน้ ตอนการ ด�ำเนินการส�ำหรับผลิตซอฟต์แวร์ เทคนิคและเครื่องมือของการ ออกแบบซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์หน่วยความจ�ำ การวิเคราะห์เวลา การประมวลผล การทดสอบโปรแกรม การจัดท�ำคู่มือรายละเอียด ซอฟต์แวร์ การจัดการและบริหารโครงการซอฟต์แวร์ การออกแบบ ซอฟต์แวร์การบริหารเพื่อตัดสินใจอย่างชาญฉลาด คต. 431 ตัวแปลภาษา (3 หน่วยกิต) CE 431 Compiler วิชาบังคับก่อน: คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม และ คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ระบบตัวแปลภาษา โปรแกรมภาษาไฟไนท์ออร์โตมาต้า และการวิเคราะห์พจนานุกรม รายละเอียดซินแทคติคของโปรแกรม ภาษา เทคนิควจีภาคเบื้องต้น การสร้างโดยอัตโนมัติของวจีภาคที่มี ประสิทธิภาพ การแปลซินแทคโดยตรง ตารางสัญลักษณ์ การสร้าง โค้ดที่ดีเลิศ การสร้างวัฏจักรที่ดีเลิศ การวิเคราะห์การไหลของข้อมูล ตัวอย่างการสร้างคอมไพเลอร์ด้วยโปรแกรม lex และ yacc คต. 432 การออกแบบคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (3 หน่วยกิต) CE 432 Computer Hardware Design วิชาบังคับก่อน: คต. 222 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และ อล. 322 ระบบดิจิตอล 2 ศึกษาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลและอุปกรณ์ เชื่อมต่อภายใน/รอบข้าง สถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มาตรฐานการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายในและรอบข้าง เช่น หน่วยความ จ�ำ ระบบแคช ระบบบัส พอร์ตอนุกรม พอร์ตขนาน พอร์ต USB การ ออกแบบอุปกรณ์เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ส่วนต่างๆ อาทิเช่น การ เชื่อมต่อระบบบัส การเชื่อมต่อระบบหน่วยความจ�ำ การเชื่อมต่อ 290 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

จอภาพแสดงผล การเชื่อมต่อกับพอร์ตชนิดต่าง ๆ คต. 433 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (3 หน่วยกิต) สารสนเทศ CE 433 Information System Analysis and Design วิชาบังคับก่อน: คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม แนวคิดและความหมายของระบบ วงจรชีวิตของระบบ สารสนเทศ การเสนอ พิจารณาและคัดเลือกโครงการสารสนเทศ แนวคิดและการวิเคราะห์และรวบรวมระบบข้อมูล แผนภูมิของการ ไหลของข้อมูล พจนานุกรม ข้อมูลและตารางการตัดสินใจและพัฒนา ข้อเสนอของระบบสารสนเทศ การออกแบบระบบชนิดโครงสร้าง การ ออกแบบซอฟต์แวร์และการจัดท�ำเอกสารส�ำหรับซอฟต์แวร์ การ พัฒนาระบบสารสนเทศ การบริหารระบบสารสนเทศ คต. 434 เครือข่ายนิวรอนและปัญญาประดิษฐ์ (3 หน่วยกิต) CE 434 Neural Network and Artificial Intelligent วิชาบังคับก่อน: อส. 211 คณิตศาสตร์ส�ำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ แนะน�ำระบบการเรียนรูข้ องสมองมนุษย์ แบบจ�ำลองการ เรียนรู้ของสมองในรูปคณิตศาสตร์ แบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ของ เครือข่ายนิวรอนชนิดต่างๆ เช่น Supervised Hebb Widrow-Hoff Backpropagation ฯลฯ แนะน�ำระบบปัญญาประดิษฐ์ การแทนปัญหา และแก้ปัญหาโดยใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ คต. 435 การประมวลผลภาพและจดจ�ำรูปแบบ (3 หน่วยกิต) CE 435 Image Processing and Pattern Recognition วิชาบังคับก่อน: อส. 211 คณิตศาสตร์ส�ำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และ คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม ศึกษาระบบการประมวลผลภาพ การเห็นและแบบจ�ำลอง คณิตศาสตร์ของภาพ ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่างและการให้ค่าเชิงตัวเลข ฟูเรียทรานฟอร์มและคุณสมบัติภาพ การท�ำให้ภาพดีขึ้น การท�ำให้ ภาพเรียบขึน้ การท�ำให้ภาพคมชัดขึน้ การรูจ้ ดจ�ำรูปแบบจากภาพถ่าย


คต. 436 อาชญากรรมและการป้องกันทาง (3 หน่วยกิต) คอมพิวเตอร์ CE 436 Computer Crime and Security วิชาบังคับก่อน: คต. 222 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และ คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ศึกษาถึงจุดอ่อนของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งระบบส่วน บุคคลและระบบเครือข่าย อาชญากรรมที่เกิดขึ้นบนคอมพิวเตอร์ กฎหมายที่ เกี่ ย วข้ อ งกับระบบคอมพิวเตอร์ เทคนิคการป้ อ งกั น คอมพิวเตอร์จากผู้บุกรุก การเข้ารหัส-ถอดรหัสข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรการรักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ทงั้ ส่วนบุคคลและศูนย์ คอมพิวเตอร์ คต. 437 หุ่นยนต์เบื้องต้น (3 หน่วยกิต) CE 437 Principle of Robotic Systems วิชาบังคับก่อน: คก. 222 หลักการกลศาสตร์วิศวกรรม และ อส. 211 คณิตศาสตร์ส�ำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ แนะน�ำความรู้พื้นฐานที่จะน�ำหุ่นยนต์ไปใช้งาน หุ่นยนต์ ทัว่ ไปและหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรม กลศาสตร์เบือ้ งต้นที่ใช้ส�ำหรับหุน่ ยนต์ แขนกลหุ่นยนต์ การควบคุมชิ้นส่วนของหุ่นยนต์ เทคโนโลยีหุ่นยนต์ แบบต่างๆ ตัวตรวจจับและตัวกระท�ำการที่ใช้ส�ำหรับหุ่นยนต์ คต. 438 การติดต่อระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CE 438 Computer-Human Interfaces วิชาบังคับก่อน: คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบของมนุษย์ กรรมวิธีในส่วนของการรับรู้ การตัดสินใจ ความจ�ำ และการเรียนรู้ แนวคิดและตัวอย่างระบบการติดต่อระหว่างมนุษย์กบั คอมพิวเตอร์ใน รูปแบบต่างๆ เช่น นิวรอนเน็ตเวอร์ก ระบบผู้เชี่ยวชาญ

คต. 439 การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) CE 439 Multimedia Communication วิชาบังคับก่อน: คต. 324 คอมพิวเตอร์กราฟิกและ แบบจ�ำลองเรขาคณิต สื่อชนิดต่างๆ อาทิ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อภาพเคลื่อนไหว สื่อ เสียงและสือ่ ข้อมูลชนิดอืน่ ๆ อุปกรณ์และเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย แนวคิด และการประยุกต์กับงานมัลติมีเดีย การจัดการข้อมูลมัลติมีเดีย การ บีบอัดข้อมูลมัลติมเี ดีย การส่งข้อมูลไปในโครงข่ายโทรคมนาคม โครง ข่ายสื่อสารแถบความถี่กว้างส�ำหรับมัลติมีเดีย ระบบสื่อสารและ อุปกรณ์พกพาแบบไร้สายส�ำหรับมัลติมีเดีย คต. 440 การวิเคราะห์อัลกอริทึมขั้นสูง (3 หน่วยกิต) CE 440 Algorithm Analysis วิชาบังคับก่อน: คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม แนะน�ำการวิเคราะห์อลั กอริทมึ การหาประสิทธิภาพของ อั ล กอริ ทึ ม ประเภทต่ า งๆ อั ล กอริ ทึ ม ส�ำหรั บ การแก้ ป ั ญ หาชนิ ด ต่างๆ แนะน�ำตัวอย่างอัลกอริทมึ และการวิเคราะห์เบือ้ งต้น อัลกอริทมึ ที่มีความซับซ้อน เช่น จีเนติคอัลกอริทึม การวิเคราะห์อัลกอริทึมขึ้น สูง คต. 441 คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบและผลิต (3 หน่วยกิต) CE 441 Computer Aided Design and Manufacturing วิชาบังคับก่อน: คก. 151 การเขียนแบบวิศวกรรม และ คณ. 106 แคลคูลัส 2 ศึกษาความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขาวิศวกรรมการ ออกแบบ ทฤษฎีในการออกแบบ เช่น คณิตศาสตร์ทางด้านกราฟฟิก การจ�ำลองการออกแบบ การน�ำคอมพิวเตอร์ชว่ ยส�ำหรับงานผลิต เช่น เครือ่ งจักรช่วยผลิตอัตโนมัติ (CNC Machine) การโปรแกรม G-Code บนเครื่องจักรชนิด 3 แกน หลักสูตรปริญญาตรี 291


คต. 442 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นสูง (3 หน่วยกิต) CE 442 Advanced Computer Organization and Architecture วิชาบังคับก่อน: คต. 222 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ศึกษารายละเอียดสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ชนั้ สูงแบบ ต่ า งๆ สถาปั ต ยกรรมคอมพิ ว เตอร์ แ บบขนาน สถาปั ต ยกรรม คอมพิวเตอร์แบบคลัสเตอร์ สถาปัตยกรรมซูเปอร์คอมพิวเตอร์ อาร์เรย์โปรเซสเซอร์ ระบบปฏิบตั กิ ารทีส่ นับสนุนการท�ำงานแบบขนาน ขบวนการแก้ปัญหาส�ำหรับการท�ำงานแบบขนาน แนวทางการ ออกแบบซอฟต์แวร์ส�ำหรับใช้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์แบบ ขนาน คต. 443 การออกแบบฐานข้อมูลขั้นสูง (3 หน่วยกิต) CE 443 Advanced Database Design วิชาบังคับก่อน: คต. 323 ระบบฐานข้อมูล การวิเคราะห์งานส�ำหรับการออกแบบฐานข้อมูลในระบบ จริง การออกแบบฐานข้อมูลบนซอฟต์แวร์ที่นิยม กลไกตรวจสอบ ความถูกต้องและน่าเชื่อถือของฐานข้อมูล แนะน�ำเครื่องมือส�ำหรับ ช่วยออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบโปรแกรมส่วนติดต่อผูใ้ ช้ ระบบ ฐานข้อมูลแบบกระจาย คต. 444 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ขั้นสูง (3 หน่วยกิต) CE 444 Advanced Operating System วิชาบังคับก่อน: คต. 313 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ศึกษาระบบปฏิบัติการแบบต่างๆ เช่น ระบบปฏิบัติการ ส่วนบุคคล ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการแบบ กระจาย ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่นิยม เพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น เทคนิคการโปรแกรมส�ำหรับระบบปฏิบัติการแต่ละส่วน การแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นส�ำหรับความต้องการ การจัดสรรทรัพยากรในระบบ ปฏิบัติการ 292 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คต. 445 การออกแบบใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ (3 หน่วยกิต) CE 445 Embedded Microcontroller Design วิชาบังคับก่อน: อล. 311 ไมโครโปรเซสเซอร์ และ อล. 322 ดิจิตอล 2 ศึ ก ษารายละเอี ย ดของไมโครคอนโทรลเลอร์ ต ระกู ล ต่ า งๆ การพั ฒ นาไมโครคอนโทรลเลอร์ การประยุ ก ต์ ไ มโคร คอนโทรลเลอร์กับเครื่องใช้ไฟฟ้าประจ�ำวัน การออกแบบและพัฒนา ไมโครคอนโทรลเลอร์เฉพาะงาน คต. 446 ซอฟต์แวร์ระบบ (3 หน่วยกิต) CE 446 System Software วิชาบังคับก่อน: คต. 313 ระบบปฏิบัติการ และ คต. 321 การออกแบบและโปรแกรมเชิงวัตถุ การท�ำงานและการจัดการของซอฟต์แวร์ระบบ หลักการ ออกแบบซอฟต์แวร์ระบบ แอสเซมเบลอร์ ตัวบรรจุโปรแกรม ตัวเชือ่ ม โยง ตัวประมวลผลมาโคร การเรียกเข้าสู่ซอฟต์แวร์ระบบ ไดร์เวอร์ สนับสนุนอุปกรณ์ส�ำหรับซอฟต์แวร์ระบบ คต. 447 ทฤษฏีการค�ำนวณ (3 หน่วยกิต) CE 447 Theory of Computation วิชาบังคับก่อน: คต. 221 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย และ คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม ออโตมาตาจ�ำกัดเชิงก�ำหนดและเชิงไม่ก�ำหนด ภาษาและ ไวยากรณ์แบบปรกติ ออโตมาตาแบบกดลงและไวยากรณ์บริบท เครื่องจักรแบบ Counter แบบ Stack และแบบ Turing การค�ำนวณ ได้ ล�ำดับชั้นของวอมสกี การค�ำนวณไม่ได้และปัญหาที่ตัดสินไม่ได้ การค�ำนวณแบบวนซ�้ำและแบบเวียนบังเกิด การค�ำนวณแบบหาทาง เลือกดีที่สุด


คต. 448 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (3 หน่วยกิต) CE 448 Natural Language Processing วิชาบังคับก่อน: คต. 221 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย รูปแบบและพัฒนาการทางภาษาของมนุษย์ การวิเคราะห์ ไวยากรณ์และข้อก�ำหนดส�ำหรับภาษา ตัวกลางถ่ายทอดภาษาระหว่าง คอมพิวเตอร์กับมนุษย์ การสังเคราะห์ภาษา ระบบการแปลภาษา คต. 449 ทัศนศาสตร์คอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CE 449 Computer Vision วิชาบังคับก่อน: คต. 221 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย และ คต. 311 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม แนวคิดการพัฒนาคอมพิวเตอร์ส�ำหรับการรับรู้ประสาท สัมผัสเช่นเดียวกับมนุษย์ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุปกรณ์ ส�ำหรับการรับรู้ชนิดต่างๆ คณิตศาสตร์และเทคนิคส�ำหรับการรับรู้ คต. 450 วงจรอินทิเกรต (3 หน่วยกิต) CE 450 Integrated Circuits วิชาบังคับก่อน: อล. 322 ระบบดิจิตอล 2 การออกแบบวงจรอินทิเกรต ชิน้ ส่วนและอุปกรณ์ส�ำหรับ วงจรอินทิเกรต กระบวนการผลิตแว่นซิลิคอน กระบวนการแพร่สาร ด้วยความร้อน กระบวนการออกซิเดชัน กระบวนการถ่ายภาพละเอียด กระบวนการกัดสารกึง่ ตัวน�ำและการกัดออกไซด์ กระบวนการเกีย่ วกับ แผ่นฟิล์มบาง การบรรจุวงจรอินทิเกรต การผลิตทรานซิสเตอร์แบบ เจ-เฟต และแบบไบโพลาร์การผลิตอุปกรณ์ชนิดอื่นๆ ในวงจรอินทิ เกรต

คต. 481 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 (2 หน่วยกิต) CE 481 Computer Engineering Project I (ยกเว้นส�ำหรับแผนการเรียนแบบสหกิจ) วิชาบังคับก่อน: เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และได้รับอนุมัติจากผู้สอน วางแผนและออกแบบโครงงานและสร้างอุปกรณ์ หรือ ระบบทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ในปีสุดท้าย) มีการเสนอโครงงาน และรายงานตลอดจนเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องการเพื่อด�ำเนินการ โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 คต. 482 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 (2 หน่วยกิต) CE 482 Computer Engineering Project II (ยกเว้นส�ำหรับแผนการเรียนแบบสหกิจ) วิชาบังคับก่อน: คต. 481 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 เป็ น โครงงานที่ ต ่ อ เนื่ อ งจากโครงงานวิ ศ วกรรม คอมพิวเตอร์ 1 ต้องด�ำเนินการสร้างอุปกรณ์ต้นแบบจนเสร็จบริบูรณ์ พร้อมทั้งท�ำรายงานและทดสอบอุปกรณ์ต้นแบบต่ออาจารย์ที่ปรึกษา โครงงาน คต. 483 โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (1 หน่วยกิต) ส�ำหรับสหกิจศึกษา CE 483 Computer Engineering Project for Cooperative Education (ส�ำหรับแผนการเรียนแบบสหกิจ) วิชาบังคับก่อน: คต. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นโครงงานที่ต่อเนื่องจากการด�ำเนินงานในวิชาสหกิจ ศึกษาทางวิศวกรรมมัลติมเี ดียและระบบอินเทอร์เน็ต ซึง่ นักศึกษาต้อง น�ำผลงานที่ได้จากการท�ำสหกิจศึกษามาสร้างหรือปรับปรุงให้เสร็จ บริบูรณ์ พร้อมทั้งท�ำรายงานและทดสอบผลงานน�ำแสดงต่อคณะ กรรมการ หลักสูตรปริญญาตรี 293


คต. 493 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 (3 หน่วยกิต) CE 493 Selected Topics in Computer Engineering I วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่ก�ำหนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา หัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการใหม่ๆ ทางวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ คต. 494 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 (3 หน่วยกิต) CE 494 Selected Topics in Computer Engineering II วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่ก�ำหนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา หัวข้อทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับพัฒนาการใหม่ ๆ ทางวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ คต. 495 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 (3 หน่วยกิต) CE 495 Special Problems in Computer Engineering I วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่ก�ำหนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา ปัญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ คต. 496 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 (3 หน่วยกิต) CE 496 Special Problems in Computer Engineering II วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่ก�ำหนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา ปัญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรม คอมพิวเตอร์

294 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คต. 497 การฝึกงานทางวิศวกรรม (0 หน่วยกิต) CE 497 Engineering Practices วิชาบังคับก่อน: ไม่มี การฝึกงานวิศวกรรมในสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง ภายใต้การดูแล ของวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณ์ประจ�ำบริษทั เอกชนหรือหน่วยงานราชการ เป็นเวลาอย่างน้อย 6 สัปดาห์ หรือ 180 ชั่วโมง ทั้งนี้โดยนักศึกษา ต้องได้เกรดเป็น S คต. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (6 หน่วยกิต) CE 498 Cooperative Education in Computer Engineering (ส�ำหรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการท�ำงานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ท�ำงาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการท�ำงานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดท�ำรายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน


หมวดวิชาวิศวกรรมมัลติมเี ดียและระบบอินเทอร์เน็ต มอ. 121 ทักษะการสร้างสรรค์สื่อมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) MI 121 Creative Multimedia Skill วิชาบังคับก่อน: ไม่มี กระบวนการสร้างสือ่ มัลติมเี ดียพืน้ ฐานด้วยคอมพิวเตอร์ ทักษะการออกแบบสือ่ โดยใช้หลักทัศนศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ การ ใช้สี การออกแบบลายเส้น ตัวอักษร ภาพกราฟิกส์ ภาพเคลื่อนไหว โดยสื่อที่ได้จะประกอบด้วยศิลปะและข้อมูลที่ครบถ้วน การส่งเสริม และแรงจูงใจ มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) MI 211 Foundations of Computer System วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ทฤษฎีโครงสร้างของคอมพิวเตอร์พนื้ ฐาน สถาปัตยกรรม วอนนิวแมน พื้นฐานระบบดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเก็บรหัสคำ�สัง่ ในคอมพิวเตอร์ ชนิดของหน่วยความจำ�และการจัด เก็บข้อมูล ชนิดของอุปกรณ์อนิ พุต-เอาต์พตุ และการติดต่อผูใ้ ช้ หน่วย ประมวลผลกลางและการประมวลผลข้อมูล ภาษาโปรแกรมและการ สั่งงานคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ มอ. 212 ทฤษฎีสัญญาณและเสียง (3 หน่วยกิต) MI 212 Sound and Signal Theory วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสัญญาณ ทฤษฎีสัญญาณเสียง การกำ�เนิดของสัญญาณเสียง ขนาดและกำ�ลังงานของสัญญาณเสียง ฮาร์โมนิกของสัญญาณเสียง เสียงดนตรี สัญญาณเสียงชนิดแอนะล็อก และดิจิทัล การรับรู้เสียงของมนุษย์ การวิเคราะห์สัญญาณเสียงเบื้อง ต้น

มอ. 213 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) MI 213 Computer Programming วิชาบังคับก่อน: ไม่มี โครงสร้างพืน้ ฐานของคอมพิวเตอร์ ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ ว กับการประมวลผลข้อมูลภาษาต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ หลักการเขียน โปรแกรม โครงสร้างและแผนภูมิผังงานของโปรแกรม การเขียน โปรแกรมอย่างน้อย 1 ภาษา มอ. 221 เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต (3 หน่วยกิต) MI 221 Internet Technology วิชาบังคับก่อน: ไม่มี แนะนำ�เครือข่ายอินเทอร์เน็ต พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต II แอปพลิเคชันที่ปรากฏบนอินเทอร์เน็ต เกณฑ์วิธีการ สื่อสาร (Protocol) ที่ปรากฏบนอินเทอร์เน็ตเช่น TCP/IP HTTP FTP การจัดสร้างโฮมเพจ ภาษามาตรฐานที่ใช้สร้างโฮมเพจ เช่น HTML และ JAVA ระบบสนับสนุนการจัดการข้อมูลภายในอินเทอร์เน็ต เช่น Cookies เอเจนต์ในอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีแบบพุช ระบบรักษาความ ปลอดภัยสำ�หรับอินเทอร์เน็ต เช่น Firewall การจัดสร้างอินทราเน็ต สำ�หรับองค์กร การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ตกับระบบพาณิชยกรรม อิเล็กทรอนิกส์ มอ. 222 การผลิตสื่อมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) MI 222 Multimedia Production วิชาบังคับก่อน: มอ. 121 ทักษะการสร้างสรรค์สื่อมัลติมีเดีย กระบวนการผลิตสื่อมัลติมีเดีย การออกแบบและพัฒนา สือ่ มัลติมเี ดีย การวิเคราะห์งาน การวางผังงาน การวางโครงเรือ่ ง การ สร้างสรรค์ผลงาน เครื่องมือในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย การประยุกต์ แนวคิดเกี่ยวกับมัลติมีเดียไปใช้ในงานต่างๆ เช่น การฝึกอบรมผ่าน คอมพิวเตอร์ ระบบการจำ�ลองทางคอมพิวเตอร์ และการจัดแสงเพื่อ การถ่ายภาพ เป็นต้น หลักสูตรปริญญาตรี 295


มอ. 223 ปฏิบัติการผลิตสื่อมัลติมีเดีย (1 หน่วยกิต) MI 223 Multimedia Production Laboratory วิชาบังคับก่อน: มอ. 222 การผลิตสื่อมัลติมีเดีย หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบัติการใช้เครื่องมือในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย การใช้ คอมพิวเตอร์ในการผลิตสือ่ มัลติมเี ดียวิธกี ารใช้กล้องบันทึกภาพนิง่ วิธี การใช้กล้องบันทึกภาพเคลื่อนไหว การบันทึกเสียง การจัดเตรียม ข้อมูลเบื้องต้น การนำ�เสนอข้อมูลมัลติมีเดียผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มอ. 224 ระบบสื่อสารด้วยมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) MI 224 Multimedia Communication วิชาบังคับก่อน: มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์ ศึกษาสือ่ ชนิดต่างๆ อาทิ สือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ ภาพเคลือ่ นไหว สื่อเสียงและสื่อข้อมูลชนิดอื่นๆ อุปกรณ์และเทคโนโลยีมัลติมีเดีย แนวคิดและการประยุกต์กบั งานมัลติมเี ดีย การจัดการข้อมูลมัลติมเี ดีย การแปลงและบีบอัดข้อมูลมัลติมีเดีย การจัดส่งข้อมูลไปในเครือข่าย โทรคมนาคม เครือข่ายสื่อสารแถบความถี่กว้างสำ�หรับมัลติมีเดีย ระบบสื่อสารและอุปกรณ์พกพาแบบไร้สายสำ�หรับมัลติมีเดีย มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) MI 225 Multimedia Programming วิชาบังคับก่อน: มอ. 213 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ เช่น แถว ลำ�ดับ เรียงทับซ้อน การเชื่อมโยง กราฟ ต้นไม้ ตาราง ฯลฯ อัลกอริทึมสำ�หรับการเรียง ข้อมูล การค้นหาข้อมูล การเวียนบังเกิด เพื่อรองรับการประยุกต์ใช้ กับระบบมัลติมีเดีย เช่น การเขียนโปรแกรมแบบกราฟิกส์เชิงโต้ตอบ เป็นต้น

296 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มอ. 226 ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย (1 หน่วยกิต) MI 226 Multimedia Programming Laboratory วิชาบังคับก่อน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบัติการทดลองเขียนโปรแกรมในเรื่อง การเขียน โปรแกรมแบบโครงสร้าง การเขียนโปรแกรมจัดการหน่วยความจำ� ชนิด แถวลำ�ดับ เรียงทับซ้อน เชือ่ มโยง การเขียนโปรแกรมเรียงข้อมูล การเขียนโปรแกรมแบบเวียนบังเกิด การเขียนโปรแกรมใช้งานระบบ มัลติมีเดีย มอ. 311 เทคโนโลยีเครื่องบริการเว็บ (3 หน่วยกิต) MI 311 Web Server Technology วิชาบังคับก่อน: มอ. 221 เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเครื่องบริการเว็บ คำ�จำ�กัดความ และองค์ประกอบของเครื่องบริการและรับบริการ แฟ้มลงบันทึกเข้า ออก (Log File) โปรแกรมค้นหาและเครื่องมืออัตโนมัติ การเขียน โปรแกรมบนเว็บ แนวคิดเกีย่ วกับความปลอดภัยบนเครือ่ งบริการเว็บ ระบบความปลอดภัยบนเครือ่ งบริการและรับบริการแบบออนไลน์ การ ตรวจจับการบุกรุก การกู้ข้อมูลคืนจากความบกพร่อง การวัดและ ทดสอบสมรรถนะเครื่องบริการ มอ. 312 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และอนิเมชัน (3 หน่วยกิต) MI 312 Computer Graphics and Animation วิชาบังคับก่อน: อส. 212 คณิตศาสตร์สำ�หรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต ศึกษาส่วนประกอบของงานด้านกราฟิกส์และอนิเมชัน การติดต่อผูใ้ ช้ดว้ ยกราฟิกส์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำ�หรับงานกราฟิกส์ และอนิเมชัน คณิตศาสตร์ของคอมพิวเตอร์กราฟิกส์และอนิเมชัน เช่น เส้น พื้นผิว วัตถุ การแปลงโคออร์ดิเนตใน 2 มิติ การตัดขอบและการ แสดงหน้าต่าง มโนภาพของ 3 มิติ การแปลงโคออร์ดิเนตใน 3 มิติ การตัดเส้นทีม่ องไม่เห็น มาตรฐานการใช้ไลบรารีคอมพิวเตอร์กราฟิกส์


มอ. 313 เทคนิคพิเศษสำ�หรับมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) MI 313 Multimedia Special Effect วิชาบังคับก่อน: มอ. 222 การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ความเข้ า ใจเบื้ อ งต้ น ของเทคนิ ค พิ เ ศษสำ � หรั บ งาน มัลติมเี ดีย การนำ�เทคนิคพิเศษมาใช้ในงานมัลติมเี ดีย ตัวอย่างเทคนิค พิเศษในงานมัลติมีเดีย เช่น เทคนิคพิเศษด้านภาพ เทคนิคพิเศษ ด้านเสียง เทคนิคพิเศษด้านการเคลื่อนไหว มอ. 314 ปฏิบัติการเทคนิคพิเศษสำ�หรับมัลติมีเดีย (1 หน่วยกิต) MI 314 Multimedia Special Effect Laboratory วิชาบังคับก่อน: มอ. 313 เทคนิคพิเศษสำ�หรับมัลติมีเดีย หรือเรียนควบคู่กัน ปฏิบัติการสร้างเทคนิคพิเศษในเรื่องเฉพาะของงาน มัลติมีเดีย การประยุกต์อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ เพื่อใช้สร้าง เทคนิคพิเศษเพิ่มเติม ปฏิบัติการเทคนิคพิเศษด้านภาพ เช่น การตัด ต่อภาพ การทำ�ภาพซ้อน การทำ�ภาพแบบ Mosaic การตบแต่งภาพ ปฏิบัติการเทคนิคพิเศษด้านเสียง การใส่เสียง การทำ� Sound Effect การบั น ทึ ก เสี ย งหลายช่ อ งสั ญ ญาณ ปฏิ บั ติ การเทคนิ ค ด้ า นการ เคลื่อนไหว การสร้างหุ่นจำ�ลอง การพัฒนากลไกอย่างง่ายสำ�หรับ เคลื่อนไหว มอ. 315 ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (1 หน่วยกิต) และอนิเมชัน MI 315 Computer Graphics and Animation Laboratory วิชาบังคับก่อน: มอ. 312 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และอนิเมชัน หรือเรียนควบคู่กัน ฝึกทักษะปฏิบตั ิในการสร้างส่วนประกอบต่างๆ ของงาน ด้านกราฟิกส์ เช่น การสร้างโมเดล การสร้างฉาก การใส่วัสดุพื้นผิว ให้กับวัตถุ การจัดองค์ประกอบของฉาก และการจัดแสง เป็นต้น การ ใช้เครือ่ งมือสำ�หรับผลิตงานอนิเมชัน และการสร้างไลบรารีส�ำ หรับงาน คอมพิวเตอร์กราฟิกส์

มอ. 321 ระบบสื่อสารแบบดิจิทัล (3 หน่วยกิต) MI 321 Digital Communication Systems วิชาบังคับก่อน: มอ. 221 เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ทฤษฎีการสุม่ สัญญาณ สัญญาณเชิงสุม่ และไม่เชิงสุม่ การ แปลงสัญญาณระบบแอนะล็อกสู่ระบบดิจิทัล การควอนไทซ์ การมอ ดูเลตแบบพีซีเอ็ม เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารแบบดิจิทัล ประเภท ต่างๆ เช่น เทคโนโลยีสอื่ สารระบบลำ�ดับชัน้ การส่งสัญญาณดิจทิ ลั แบบ ประสานเวลา (SDH) ระบบภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา (ATM) โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิทัล (ISDN) มาตรฐานการรับส่ง สัญญาณดิจทิ ลั ของ ITU เทคโนโลยี DSL และระบบอืน่ ๆ การประยุกต์ ระบบสื่อสารแบบดิจิทัล เช่น ระบบกำ�หนดตำ�แหน่งบนโลก (GPS) การแพร่สัญญาณวีดิทัศน์แบบดิจิทัล (DVB) การร่วมใช้ช่องสัญญาณ แบบเข้ารหัส (CDMA) มอ. 322 การออกแบบและพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) MI 322 Computer Game Design and Development วิชาบังคับก่อน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย ทฤษฎีและประเภทของเกมคอมพิวเตอร์ การออกแบบ เกมประเภทต่างๆ เทคโนโลยีที่ใช้ผลิตเกมคอมพิวเตอร์ ขบวนการ พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเชื่อมต่อกับ Game Engine การสร้างตัวละครในเกม การสร้างฉากในเกม การสร้างเนือ้ เรือ่ ง เกม ตัวอย่างการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ต้นแบบ มอ. 323 เทคโนโลยีการบันทึกสื่อมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) MI 323 Multimedia Recording Technology วิชาบังคับก่อน: มอ. 222 การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ทฤษฎี แ ม่ เ หล็ ก และทฤษฎี แ สงที่ ใ ช้ ใ นการบั น ทึ ก สื่ อ คุณสมบัติและคุณลักษณะของสื่อประเภทต่างๆ หลักการแปลงข้อมูล ที่ได้รับและจัดเก็บลงสื่อ การจัดเก็บและการค้นหาข้อมูลในสื่อชนิด ต่างๆ สื่อบันทึกที่ใช้ในงานมัลติมีเดีย เช่น เทป ดิสก์ ซีดีรอม เมโมรี การ์ ด และอื่ น ๆ เทคโนโลยี ที่ ใ ช้ ใ นงานบั น ทึ ก ข้ อ มู ล มั ล ติ มี เ ดี ย มาตรฐานการบันทึกข้อมูลลงบนสื่อประเภทต่างๆ หลักสูตรปริญญาตรี 297


มอ. 325 สื่อสมัยใหม่กับแนวคิดและการประยุกต์ (3 หน่วยกิต) MI 325 New Media: Ideas and Applications วิชาบังคับก่อน: มอ. 121 ทักษะการสร้างสรรค์สื่อมัลติมีเดีย แนวคิดเกี่ยวกับการสำ�รวจและการผลิตเนื้อหาเพื่อการ ประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ด้ า นดิ จิ ต อลและสื่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย ต่ า งๆอย่ า ง สร้างสรรค์ รวมถึงการพัฒนาและการสร้างความเข้าใจในการประยุกต์ การเขียนโปรแกรมด้านมัลติมีเดียชั้นสูง เพื่อการผลิตนวัตกรรมและ สื่อการนำ�เสนอแบบปฏิสัมพันธ์ ในรูปแบบใหม่ที่มีความหลากหลาย และแตกต่างจากสื่อนำ�เสนอในอดีต มอ. 411 วิศวกรรมระบบเสียงและภาพ (3 หน่วยกิต) MI 411 Acoustic and Visual Engineering วิชาบังคับก่อน: อส. 212 คณิตศาสตร์สำ�หรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต โสตศาสตร์และวิทยาการได้ยิน คลื่นเสียงและการสั่น สะเทือน คลื่นเสียงและชุดของคลื่นเสียง โสตศาสตร์ต่อจิตใจ การ ได้ยนิ ของมนุษย์ โครงสร้างของหู อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์กบั ระบบเสียง การจำ�แนกความดังและระดับเสียง (Pitch) ระบบเสียงสเตอริโอ ระบบ เสียงรอบทิศทาง การจำ�แนกของคลื่นเสียง การสังเคราะห์เสียง ทัศนศาสตร์และวิทยาการมองเห็น แถบความถี่ของแสง ต่อการมองเห็น การสะท้อนและหักเหของแสง กระจกและเลนส์ ดวงตาและอวัยวะรับภาพของมนุษย์ การเห็นสี-แสง แผนผังของสี อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กับระบบภาพ การวัดรายละเอียดของภาพ

298 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มอ. 421 การป้องกันและรักษาความปลอดภัย (3 หน่วยกิต) ข้อมูล MI 421 Data Security and Protection วิชาบังคับก่อน: อส. 212 คณิตศาสตร์สำ�หรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต แนวคิดเกีย่ วกับความปลอดภัยของข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย ขัน้ ตอนการติดต่อสือ่ สาร วิทยาการเข้ารหัสลับ (Cryptography) เทคโนโลยีการเข้ารหัส-ถอดรหัสข้อมูล การส่งข้อมูลผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล การ ลักลอบแก้ไขและการดักฟังข้อมูล การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ การ จู่โจมคอมพิวเตอร์แบบอื่นๆ การประเมินและจัดการความเสี่ยงของ ข้อมูล มาตรการในการรักษาความปลอดภัยข้อมูล มอ. 431 คอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงสำ�หรับ (3 หน่วยกิต) งานมัลติมีเดีย MI 431 High Performance Computer for Multimedia วิชาบังคับก่อน: มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงที่รองรับระบบงาน มั ลติ มี เ ดี ย คอมพิ ว เตอร์ ป ระสิ ท ธิ ภาพสู งแบบต่ า งๆ เช่ น มัล ติ โพรเซสเซอร์ เวคเตอร์โพรเซสเซอร์ และคลัสเตอร์คอมพิวเตอร์ เครือ ข่ายความเร็วสูงสำ�หรับคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง เทคนิคการเพิม่ ประสิทธิภาพคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเพือ่ ใช้งานคอมพิวเตอร์ ประสิทธิภาพสูง มอ. 432 เทคโนโลยีสื่อสารแบบไร้สาย (3 หน่วยกิต) MI 432 Wireless Communication Technology วิชาบังคับก่อน: มอ. 321 ระบบสื่อสารแบบดิจิทัล แนะนำ�เทคโนโลยีสื่อสารแบบไร้สาย คุณสมบัติของคลื่น ที่ใช้งานในระบบสื่อสารแบบไร้สาย มาตรฐานของการสื่อสารแบบไร้ สาย ทฤษฎีการวางเครือข่ายระบบสื่อสารแบบไร้สาย ข้อตกลงทาง เทคนิคสำ�หรับการตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลในระบบสื่อสารแบบ ไร้สาย


มอ. 433 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และอนิเมชันขั้นสูง (3 หน่วยกิต) MI 433 Advanced Computer Graphics and Animation วิชาบังคับก่อน: มอ. 312 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และอนิเมชัน ศึกษาการประยุกต์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และอนิเมชันกับ อุตสาหกรรมสมัยใหม่ เช่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวในภาพยนตร์ การสร้างภาพเคลื่อนไหวในเกมคอมพิวเตอร์ การเขียนภาษาสคริปต์ ในโปรแกรมสร้างภาพสามมิติ มอ. 434 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) และเครือข่ายขั้นสูง MI 434 Advanced Multimedia and Network Programming วิชาบังคับก่อน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย ศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาสมัยใหม่เพื่อรองรับ ระบบสือ่ สารประเภทต่างๆ การโปรแกรมระบบมัลติมเี ดียผ่านอุปกรณ์ สื่อสารไร้สาย การโปรแกรมระบบสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย มอ. 435 การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา (3 หน่วยกิต) MI 435 Java Programming วิชาบังคับก่อน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย พัฒนาการของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แนวคิดของ ภาษาเชิงวัตถุ (Object-Oriented Language) คุณลักษณะที่ดีของ ภาษา Java ไวยากรณ์ของภาษา Java ตัวดำ�เนินการของภาษา Java การนำ�ภาษา Java ไปใช้งานด้านมัลติมีเดีย การนำ�ภาษา Java ไปใช้ งานด้านการโปรแกรมสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

มอ. 436 มัลติมีเดียสำ�หรับเทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) อิเล็กทรอนิกส์ MI 436 Multimedia for E-Technology วิชาบังคับก่อน: มอ. 224 ระบบสื่อสารด้วยมัลติมีเดีย การนำ�มัลติมีเดียไปประยุกต์ ใช้ในงานที่ ใช้เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์งาน การเลือกใช้ มัลติมีเดียที่เหมาะสม ขบวนการจัดสร้างมัลติมีเดียสำ�หรับงาน ประเภทต่างๆ กรณีศึกษาการจัดสร้างอี-เลิร์นนิ่ง (E-Learning) เพื่อ การเรียนรู้ กรณีศึกษาของการจัดการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ECommerce) สำ�หรับการประกอบพาณิชยกรรม มอ. 438 การต่อประสานระหว่างมนุษย์กับ (3 หน่วยกิต) คอมพิวเตอร์ MI 438 Computer-Human Interfaces วิชาบังคับก่อน: มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบของมนุษย์ กรรมวิธีในส่วนของการรับรู้ การตัดสินใจ ความจำ� และการเรียนรู้ แนวคิ ด และตั ว อย่ า งระบบการต่ อ ประสานระหว่ า งมนุ ษ ย์ กั บ คอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่างๆ เช่น นิวรอนเน็ตเวอร์ก ระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ มอ. 439 เทคโนโลยีเครื่องบริการ-รับบริการ (3 หน่วยกิต) MI 439 Client/Server Technology วิชาบังคับก่อน: คต. 323 ระบบฐานข้อมูล ทฤษฎีของเครือข่ายเบื้องต้น สถาปัตยกรรมและการ ออกแบบระบบเครือ่ งบริการ-รับบริการ ประโยชน์ของการใช้งานเครือ ข่ายรูปแบบเครือ่ งบริการ-รับบริการ การใช้งานระบบเครือ่ งบริการและ รับบริการในงานต่างๆ เช่น งานสื่อสาร งานฐานข้อมูล เป็นต้น การ พัฒนาระบบข้อมูลแบบกระจายโดยอาศัยหลักการเครื่องบริการ- รับบริการ หลักสูตรปริญญาตรี 299


มอ. 440 เทคโนโลยีเสมือนจริง (3 หน่วยกิต) MI 440 Virtual Reality Technology วิชาบังคับก่อน: มอ. 211 พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์ ทฤษฎีการมองเห็นของมนุษย์ อุปกรณ์ส�ำ หรับเทคโนโลยี เสมือนจริง การสร้างภาพเสมือนจริง ภาษาวีอาร์เอ็มแอล (VRML) การนำ�เทคโนโลยีเสมือนจริงไปใช้งานด้านต่างๆ เช่น การจำ�ลอง สถานการณ์ (Simulation) การควบคุมระยะไกล (Remote Control) ผ่านระบบเสมือนจริง มอ. 441 การออกแบบวิศวกรรมระบบเสียง (3 หน่วยกิต) และภาพขั้นสูง MI 441 Advanced Acoustic and Visual Engineering Design วิชาบังคับก่อน: มอ. 411 วิศวกรรมระบบเสียงและภาพ ศึกษาทฤษฎีการออกแบบจัดสร้างระบบภาพและเสียงขัน้ สูง เช่น ระบบภาพและเสียงภายในสตูดิโอ ระบบภาพและเสียงในโรง ละคร โรงภาพยนตร์ ระบบภาพและเสียงแบบสาธารณะ ระบบภาพ และเสียงภายในบ้าน (Home Theater) มอ. 442 การเข้ารหัสและบีบอัดข้อมูลขั้นสูง (3 หน่วยกิต) MI 442 Advanced Coding and Compression วิชาบังคับก่อน: มอ. 224 ระบบสื่อสารด้วยมัลติมีเดีย ศึกษาทฤษฎีและเทคนิคขัน้ สูงสำ�หรับการเข้ารหัสและบีบ อัดข้อมูล การวิเคราะห์รปู แบบของการเข้ารหัสข้อมูล การบีบอัดข้อมูล แบบไม่มีการสูญเสียรายละเอียดและแบบมีการสูญเสียรายละเอียด มอ. 443 การจำ�ลองทางคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) MI 443 Computer Simulation วิชาบังคับก่อน: อส. 212 คณิตศาสตร์สำ�หรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต หลักคณิตศาสตร์ส�ำ หรับการจำ�ลองเหตุการณ์ การจัดเก็บ ข้ อ มู ล และตั ว แปรสำ � หรั บ การจำ � ลองสถานการณ์ การจำ � ลอง 300 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สถานการณ์โดยใช้คอมพิวเตอร์ เทคนิคการจำ�ลองสถานการณ์แบบ ต่างๆ การประเมินความถูกต้องจากการจำ�ลองสถานการณ์ โดยใช้ คอมพิวเตอร์ มอ. 445 เทคโนโลยีแสดงผลและการออกแบบ (3 หน่วยกิต) MI 445 Display Technology and Design วิชาบังคับก่อน: มอ. 312 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และอนิเมชัน การรับภาพของมนุษย์ การแสดงผลในรูปแบบข้อความ การแสดงผลในรูปแบบกราฟิกส์ ชนิดและอุปกรณ์ส�ำ หรับการแสดงผล ระบบการแสดงผลในปัจจุบัน มาตรฐานความละเอียดของการแสดง ผลข้อมูล การออกแบบระบบแสดงผลที่เหมาะสมกับงาน มอ. 446 เทคโนโลยีสื่อบันทึกข้อมูล (3 หน่วยกิต) และการออกแบบ MI 446 Storage Media Technology and Design วิชาบังคับก่อน: มอ. 323 เทคโนโลยีการบันทึกสื่อมัลติมีเดีย ทฤษฎีการจัดเก็บข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ วัสดุส�ำ หรับจัด เก็บข้อมูล การวิเคราะห์สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน สื่อบันทึก ข้อมูลที่ ใช้การจัดเก็บข้อมูลแบบถาวรและการจัดเก็บข้อมูลแบบ เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ มาตรฐานความจุข้อมูลของสื่อบันทึกประเภท ต่างๆ สือ่ บันทึกทีส่ ามารถแก้ไขกูค้ นื ข้อมูลได้ การออกแบบสือ่ ทีเ่ หมาะ สมกับงานสำ�หรับจัดเก็บข้อมูล มอ. 448 เครือข่ายแบบแสง (3 หน่วยกิต) MI 448 Optical Network วิชาบังคับก่อน: มอ. 321 ระบบสื่อสารแบบดิจิทัล การพัฒนาของแสงเลเซอร์ คุณสมบัติและคุณลักษณะ ของแสงเลเซอร์ย่านความถี่ต่างๆ สื่อเส้นใยนำ�แสง การสื่อสารด้วย แสงโดยตรง การสื่อสารผ่านเส้นใยนำ�แสงในเครือข่ายแบบแสง การ ใช้ช่องสัญญาณแสงสำ�หรับการสื่อสาร (WDM) การตรวจสอบเครือ ข่ายแบบแสง ระบบเครือข่ายแบบแสงของประเทศไทย


มอ. 450 การประมวลผลภาพและรู้จำ�แบบ (3 หน่วยกิต) MI 450 Image Processing and Pattern Recognition วิชาบังคับก่อน: อส. 212 คณิตศาสตร์สำ�หรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต ศึกษาระบบการประมวลผลภาพ การเห็นและแบบจำ�ลอง คณิตศาสตร์ของภาพ ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่างและการให้ค่าเชิงตัวเลข ฟูเรียร์ทรานฟอร์มและคุณสมบัติภาพ การทำ�ให้ภาพดีขึ้น การทำ�ให้ ภาพเรียบขึ้น การทำ�ให้ภาพคมชัดขึ้น การรู้จำ�แบบจากภาพถ่าย

มอ. 453 เทคนิคพิเศษขั้นสูงสำ�หรับมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) MI 453 Advanced Multimedia Special Effect วิชาบังคับก่อน: มอ. 313 เทคนิคพิเศษสำ�หรับมัลติมีเดีย ศึกษาการสร้างเทคนิคพิเศษขั้นสูงที่ใช้ในงานมัลติมีเดีย อาทิ การนำ�แบบจำ�ลองสามมิติมาประยุกต์ ใช้ในภาพจริง การเพิ่ม เทคนิคพิเศษด้านภาพให้กบั ตัวละครสามมิตทิ นี่ �ำ มาใช้รว่ มกับภาพจริง ศึกษาการสร้างเทคนิคพิเศษใหม่ๆ จากตัวอย่างภาพยนตร์ การพัฒนา ปลั๊กอินที่ใช้ในโปรแกรมสำ�หรับสร้างเทคนิคพิเศษ เป็นต้น

มอ. 451 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (3 หน่วยกิต) MI 451 Natural Language Processing วิชาบังคับก่อน: อส. 212 คณิตศาสตร์สำ�หรับวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต รูปแบบและพัฒนาการทางภาษาของมนุษย์ การวิเคราะห์ ไวยากรณ์และข้อกำ�หนดสำ�หรับภาษา ตัวกลางถ่ายทอดภาษาระหว่าง คอมพิวเตอร์กับมนุษย์ การสังเคราะห์ภาษา ระบบการแปลภาษา

มอ. 481 โครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดียและ (2 หน่วยกิต) ระบบอินเทอร์เน็ต 1 MI 481 Multimedia and Internet System Engineering Project I (ยกเว้น สำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และได้รับอนุมัติจากผู้สอน วางแผนและออกแบบโครงงานและสร้างอุปกรณ์ หรือ ระบบทางวิศวกรรมมัลติมเี ดียและระบบอินเทอร์เน็ต (ในปีสดุ ท้าย) มี การเสนอโครงงานและรายงานตลอดจนเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ ต้ อ งการเพื่ อ ดำ � เนิ น การโครงงานวิ ศ วกรรมมั ล ติ มี เ ดี ย และระบบ อินเทอร์เน็ต 2

มอ. 452 การวิเคราะห์และออกแบบ (3 หน่วยกิต) ระบบสารสนเทศ MI 452 Information System Analysis and Design วิชาบังคับก่อน: มอ. 225 การเขียนโปรแกรมระบบมัลติมีเดีย แนวคิดและความหมายของระบบ วงจรชีวิตของระบบ สารสนเทศ การเสนอ พิจารณาและคัดเลือกโครงการสารสนเทศ แนวคิดและการวิเคราะห์และรวบรวมระบบข้อมูล แผนภูมิของการ ไหลของข้อมูล พจนานุกรมข้อมูลและตารางการตัดสินใจและพัฒนา ข้อเสนอของระบบสารสนเทศ การออกแบบระบบชนิดโครงสร้าง การ ออกแบบซอฟต์แวร์และการจัดทำ�เอกสารสำ�หรับซอฟต์แวร์ การ พัฒนาระบบสารสนเทศ การบริหารระบบสารสนเทศ

มอ. 482 โครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดียและ (2 หน่วยกิต) ระบบอินเทอร์เน็ต 2 MI 482 Multimedia and Internet System Engineering Project II (ยกเว้น สำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: มอ. 481 โครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต 1 เป็นโครงงานทีต่ อ่ เนือ่ งจากโครงงานวิศวกรรมมัลติมเี ดีย และระบบอินเทอร์เน็ต 1 ต้องดำ�เนินการสร้างอุปกรณ์ตน้ แบบจนเสร็จ บริบูรณ์ พร้อมทั้งทำ�รายงานและทดสอบอุปกรณ์ต้นแบบต่ออาจารย์ ที่ปรึกษาโครงงาน หลักสูตรปริญญาตรี 301


มอ. 483 โครงงานวิศวกรรมมัลติมีเดีย (1 หน่วยกิต) และระบบอินเทอร์เน็ตสำ�หรับสหกิจศึกษา MI 483 Multimedia and Internet System Engineering Project for Cooperative Education (สำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: มอ. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย และระบบอินเทอร์เน็ต เป็นโครงงานที่ต่อเนื่องจากการดำ�เนินงานในวิชาสหกิจ ศึกษาทางวิศวกรรมมัลติมเี ดียและระบบอินเทอร์เน็ต ซึง่ นักศึกษาต้อง นำ�ผลงานที่ได้จากการทำ�สหกิจศึกษามาสร้างหรือปรับปรุงให้เสร็จ บริบูรณ์ พร้อมทั้งทำ�รายงานและนำ�แสดงผลงานต่อคณะกรรมการ มอ. 493 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) และระบบอินเทอร์เน็ต 1 MI 493 Selected Topics in Multimedia and Internet System I วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่กำ�หนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา หัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการใหม่ๆ ทางวิศวกรรม มัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต มอ. 494 เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) และระบบอินเทอร์เน็ต 2 MI 494 Selected Topics in Multimedia and Internet System II วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่กำ�หนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา หัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการใหม่ๆ ทางวิศวกรรม มัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต

302 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มอ. 495 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) และระบบอินเทอร์เน็ต 1 MI 495 Special Problems in Multimedia and Internet System I วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่กำ�หนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา ปัญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรม มัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต มอ. 496 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) และระบบอินเทอร์เน็ต 2 MI 496 Special Problems in Multimedia and Internet System II วิชาบังคับก่อน: ผ่านรายวิชาที่กำ�หนด และได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าภาควิชา ปัญหาพิเศษ กรณีศึกษาที่น่าสนใจทางด้านวิศวกรรม มัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต มอ. 497 การฝึกงานทางวิศวกรรม (0 หน่วยกิต) MI 497 Engineering Practices (ยกเว้น สำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: ไม่มี การฝึกงานวิศวกรรมในสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง ภายใต้การดูแล ของวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณ์ประจำ�บริษทั เอกชนหรือหน่วยงานราชการ เป็นเวลาอย่างน้อย 6 สัปดาห์ หรือ 180 ชั่วโมง ทั้งนี้โดยนักศึกษา ต้องได้เกรดเป็น S


มอ. 498 สหกิจศึกษาทางวิศวกรรมมัลติมีเดีย (6 หน่วยกิต) และระบบอินเทอร์เน็ต MI 498 Cooperative Education in Multimedia and Internet System Engineering (สำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) วิชาบังคับก่อน: สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ท�ำ งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

หมวดวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ อส. 112 นวัตกรรมและธุรกิจทางวิศวกรรม (3 หน่วยกิต) IE 112 Innovation and Engineering Enterprise วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ขบวนการส�ำคัญที่ใช้ในการออกแบบวิธีการรวบรวมและ เสนอแนวคิดในการสร้างผลงานที่ ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง วิศวกรรมเพือ่ สร้างให้เกิดผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ การน�ำความรูจ้ ากหลาก หลายศาสตร์ ท างเทคโนโลยี แ ละวิ ศ วกรรมเพื่ อ หลอมรวมเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ้ น แบบที่ ส ามารถน�ำไปสู ่ การใช้ ง านจริ ง วางแผนใน กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การทดสอบผลิตภัณฑ์และบริการ การจัดการและบริหารทรัพย์สนิ ทางปัญญาจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร อส. 211 คณิตศาสตร์ส�ำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) IE 211 Mathematics for Computer Engineering วิชาบังคับก่อน: คณ. 106 แคลคูลัส 2 อนุกรมฟูเรียร์ การแปลงฟูเรียร์ การแปลงลาปลาซและ การประยุกต์ สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สมการอนุพันธ์ย่อย การอิน เทอร์โพเลชัน การก�ำจัดแบบเกาส์ การประยุกต์คณิตศาสตร์กบั ปัญหา วิศวกรรม อส. 221 คณิตศาสตร์วิศวกรรม (3 หน่วยกิต) IE 221 Engineering Mathematics วิชาบังคับก่อน: คณ. 107 แคลคูลัส 3 อนุกรมฟูเรียร์และออยเลอร์ อินทิกรัลของฟูเรียร์และการ ทรานฟอร์มของฟูเรียร์ ลาปลาชทรานฟอร์ม ผลการแปลง Z เทคนิค การทรานฟอร์มฟังก์ชั่นต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง ทรานฟอร์มฟังก์ชั่น และการประยุกต์ในการแก้สมการอนุพนั ธ์ สมการอนุพนั ธ์ยอ่ ยอันดับ หนึ่งและอันดับสองและการแก้สมการวิธีการเชิงตัวเลข ฟังก์ชันเบส เสล ฟังก์ชันเลอจอง และฟังก์ชันอื่นๆ ที่ใช้ในงานวิศวกรรม การอิน หลักสูตรปริญญาตรี 303


เทอร์ โพเลชั่น การก�ำจัดแบบเกาส์ การแก้สมการอนุพันธ์ โดยวิธ ี รุงเงง - กุตตา การแก้สมการไม่เชิงเส้นโดยวิธีนิวตัน -ราฟสันและวิธี ของฮอเนอร์ การประยุกต์คณิตศาสตร์กับปัญหาวิศวกรรม อส. 311 ความน่าจะเป็นและสถิติวิศวกรรม (3 หน่วยกิต) IE 311 Probability and Engineering Statistics วิชาบังคับก่อน: คณ. 106 แคลคูสัส 2 ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็น แบบไม่ต่อเนื่องและแบบต่อเนื่อง ค่าคาดหมายและโมเมนต์ฟังก์ชั่น การสุม่ ตัวอย่าง การประมาณค่าพารามิเตอร์ การทดสอบสมมุตฐิ าน การถดถอยและสหสัมพันธ์เชิงเส้น การวิเคราะห์ความแปรปรวน การ ประยุกต์สถิติกับระบบควบคุมอุตสาหกรรมและงานวิศวกรรม อส. 314 เทคโนโลยีอุบัติใหม่ (3 หน่วยกิต) IE 314 Emerging Technology in Engineering วิชาบังคับก่อน: ไม่มี เทคโนโลยีทกี่ �ำลังอุบตั ขิ นึ้ งานวิจยั และระดับการพัฒนา ในปัจจุบนั พร้อมทัง้ ให้ตระหนักต่อความส�ำคัญของเทคโนโลยีใหม่ตอ่ การด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ ในอนาคต โดยมุ่งเน้นเนื้อหาในประเด็น ต่างๆ เช่น ระบบการสื่อสาร พลังงาน การประยุกต์ความรู้ทาง วิศวกรรมศาสตร์กับเทคโนโลยีทางการแพทย์ ความท้าทายของงาน ทางวิศวกรรมต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ความเชื่อมโยง เทคโนโลยีมัลติมีเดียกับงานทางวิศวกรรม

304 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อส. 412 การจัดการสารสนเทศและบริการ (3 หน่วยกิต) IE 412 Information and Service Management วิชาบังคับก่อน: ไม่มี หลักการจัดองค์กรและการด�ำเนินงานในงานสารสนเทศ ทฤษฎีของการจัดการระบบสารสนเทศ ระบบข้อมูลข่าวสารด้านการ บริหารและจัดการ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การวางแผนการปฏิบตั ิ งานเพื่อบริการสารสนเทศ การจัดหาบุคลากร และการจูงใจในการ ท�ำงาน การควบคุมการปฏิบตั งิ านและการประเมินผลงาน กรณีศกึ ษา ในการบริ ห ารงานด้ ว ยระบบสารสนเทศขององค์ กรต่ า งๆ ที่ มี ประสิทธิภาพ อส. 413 วิศวกรรมการบริหารจัดการนวัตกรรม (3 หน่วยกิต) IE 413 Engineering Innovation Management วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ความเชือ่ มโยงระหว่างการสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทางวิศวกรรมกับการท�ำธุรกิจ โดยให้นกั ศึกษามีความเข้าใช้ถงึ ขัน้ ตอน การพัฒนาผลิตภัณฑ์/การบริการที่เกี่ยวข้องกับความรู้ ความคิด สร้างสรรค์และงานทางวิศวกรรม รวมถึงขั้นตอนการน�ำผลิตภัณฑ์/ การบริการเข้าสูก่ ารต่อยอดเชิงพานิชย์ การบริหารจัดการต้นทุน โดย ศึกษาถึงวิธีการวิเคราะห์ความต้องการของตลาดและผู้ใช้งาน การ วางแผนทางธุรกิจ ความสามารถในการท�ำการตลาด การด�ำเนินธุรกิจ จริยธรรมการด�ำเนินธุรกิจ และการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา อส. 421 เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม (3 หน่วยกิต) IE 421 Engineering Economics วิชาบังคับก่อน: คณ. 105 แคลคูลัส 1 หรือ คณ. 108 แคลคูลัส 1 หลักเศรษฐศาสตร์ขนั้ พืน้ ฐาน การวิเคราะห์การลงทุน ค่า ของเงินตามกาลเวลา การเปรียบเทียบทางเลือกต่างๆ การเสือ่ มราคา การทดแทน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง และความไม่แน่นอน


หมวด​วิชา​วิศวกรรม​เครื่องกล คก. 112 การ​ฝึก​ฝีมือ​ช่าง (1 หน่วยกิต) ME 112 Workshop Practices วิชา​บังคับ​ก่อน: ไม่มี ปฏิบัติ​การ​เกี่ยว​กับ​งาน​เครื่อง​มือ​กล ได้แก่ งาน​กลึง งาน​ ไส งาน​ตกแต่งผ​ วิ กัดเ​ฟือง การ​ปรับแ​ ต่งงาน​เชือ่ ม​กา๊ ซ​และ​ไฟฟ้า งาน​ เชื่อม​เกี่ยว​กับ​การ​ประกอบ​อุปกรณ์​ความ​ดัน​สูง งาน​โลหะ​แผ่น คก. 121 วัสดุ​วิศวกรรม (3 หน่วยกิต) ME 121 Engineering Materials วิชา​บังคับ​ก่อน: ไม่มี การศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งโครงสร้ า งคุ ณ สมบั ติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ ใช้วัสดุหลักทางวิศวกรรม เช่น โลหะ พอลิเมอร์ เซรามิกส์และวัสดุประกอบ แผนภูมิความสมดุล ของเฟสและการแปลความหมาย คุณสมบัติเชิงกลและการกัดกร่อน ของวัสดุ คก. 151 การ​เขียน​แบบ​วิศวกรรม (3 หน่วยกิต) ME 151 Engineering Drawing วิชา​บังคับ​ก่อน: ไม่มี หลักการออกแบบและการเขียนแบบวิศวกรรมมาตรฐาน แบบของไทยและสากล หลักการเขียนตัวอักษร การเขียนภาพฉาย และภาพสามมิติในรูปแบบต่างๆ รวมไปถึงมาตรฐานสากลที่ใช้ในการ บอกขนาดและความเที่ยงตรงของชิ้นงาน การเขียนภาพตัดและภาพ ช่วยเพื่อแสดงรายละเอียดในแต่ละส่วน การเขียนแบบด้วยมือเปล่า การวาดภาพประกอบ และการเขียนแบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ขั้นพื้นฐาน

คก. 152 การเขียนแบบวิศวกรรมและทฤษฎีสี (3 หน่วยกิต) ME 152 Engineering Drawing and Color Theory วิชาบังคับก่อน: ไม่มี หลักการออกแบบและการเขียนแบบวิศวกรรม มาตรฐาน การเขียนแบบของไทยและสากล การเขียนแบบร่าง การเขียนภาพ ฉาย การให้ขนาด ภาพตัดขวาง ทักษะการวาดภาพด้วยมือ และทฤษฎี สี รวมถึงความหมายและสุนทรียภาพในการใช้สี การใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ประยุกต์งานเขียนแบบร่วมกับการสร้างสื่อประสมในรูป แบบต่างๆ คก. 222 หลัก​การ​กลศาสตร์ว​ ิศวกรรม (3 หน่วยกิต) ME 222 Engineering Mechanics Principles วิชา​บังคับ​ก่อน: ฟส. 101 ฟิสิกส์ท​ ั่วไป 1 และ คณ. 106 แคลคูลัส 2 ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ ของแรง ระบบแรง และผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียน แผนภาพวัตถุอสิ ระ การวิเคราะห์แรงในชิน้ ส่วนของโครงสร้าง ชิน้ ส่วน ของเครือ่ งจักรกล แรงภายใต้ของไหลทีอ่ ยูน่ งิ่ จลศาสตร์และพลศาสตร์ ของอนุภาคและวัตถุ กฎข้อสองของนิวตัน งานและพลังงาน การดล และโมเมนตัม

หลักสูตรปริญญาตรี 305


หมวด​วิชา​วิทยาการ​คอมพิวเตอร์ คพ. 250 โครงสร้าง​ไม่​ต่อ​เนือ่ ง (3 หน่วยกิต) CS 250 Discrete Structures ตรรกศาสตร์ ทฤษฎี​เซต ความ​สัมพันธ์ ฟังก์ชัน ทฤษฎี​ และ​การ​พิสูจน์ ระบบ​พีชคณิต พีช​คณิ​ตบู​ลีน เซ​มิ​กรุ๊ป กรุ๊ป ทฤษฎี​ กราฟ กราฟ​แบบ​ระบุ​ทิศทาง กราฟ​แบบ​ไม่​ระบุท​ ิศทาง ต้นไม้ ปัญหา​ ทาง​เดิน​ของ​กราฟ​แบบ​ระบุ​ทิศทาง เครื่อง​ทัว​ริง เครื่อง​สถานะ​จ�ำกัด​ วงจร​เชิง​วิธี​ผสม คพ. 300 วิทยาการคอมพิวเตอร์พื้นฐาน (3 หน่วยกิต) CS 300 Fundamentals of Computer Science ศึกษาพืน้ ฐานของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ด้านแนวความ คิดทฤษฎีของคอมพิวเตอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์โดยใช้ภาษาชั้นสูง ขัน้ ตอนวิธกี ารคิดแก้ปญั หาด้วยคอมพิวเตอร์ การเขียนแผนภาพแสดง ระบบงาน การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการจัดทำ�เอกสารระบบ งาน รวมทั้งคำ�ศัพท์ในแวดวงวิทยาการคอมพิวเตอร์ แนวความคิด อื่น เช่น ด้านฮาร์ดแวร์ และด้านซอฟต์แวร์ประยุกต์อื่น ๆ คพ. 310 หลัก​การ​เขียน​โปรแกรม​คอมพิวเตอร์ 1 (3 หน่วยกิต) CS 310 Computer Programming I ระบบ​คอมพิวเตอร์เ​บือ้ ง​ตน้ การ​พฒ ั ​นา​อลั ​กอริท​ มึ เทคนิค​ ใน​การ​แก้​ปัญหา การ​เขียน​ผัง​งาน การ​เขียน​โปรแกรม​โดย​ใช้​ภาษา​ ระดั บ ​สู ง ชนิ ด ​ข้ อ มูล ค่า​ค งที่ ตั วแปร นิ พจน์ ค�ำ​สั่ง ​รับ ​ข้อ มูล​และ​ แสดง​ผลลัพธ์ ค�ำ​สงั่ ​ก�ำหนด​คา ่ ค�ำ​สงั่ ​ควบคุม การ​ประมวล​ผล​ขอ้ ความ อาร์เรย์โ​ปรแกรม​ย่อย การ​เรียง​ล�ำดับข​ ้อมูล​และ​การ​ค้นหา​ข้อมูล

306 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คพ. 311 หลัก​การ​เขียน​โปรแกรม​คอมพิวเตอร์ 2 (3 หน่วยกิต) CS 311 Computer Programming II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 310 ลักษณะของการเขียนโปรแกรมทีด่ ี การทดสอบและแก้ไข ข้อผิดพลาดในโปรแกรม หลักการพืน้ ฐานของ Data Abstraction และ encapsulation เช่น แสตก คิว ลิงก์ลิสต์ ไบนารีทรี เป็นต้น เทคนิค ในการเขียนโปรแกรมขั้นสูง เช่น ฟังก์ชันและชนิดข้อมูลที่สามารถ ก�ำหนดได้เอง การเปรียบเทียบ Recursion และ Iteration กลไกการ ผ่านค่าตัวแปร เป็นต้น คพ. 317 การ​เขียน​โปรแกรม​เชิงเหตุการณ์ (3 หน่วยกิต) CS 317 Event-Driven Programming หลัก​พื้น​ฐาน​ของ​การ​เขียน​โปรแกรม​แบบ​เชิงเหตุการณ์ ส่วน​ป ระกอบ​และ​คุ ณ ลั กษณะ การ​ออกแบบ​ส ร้าง​ฟอร์ม​และ​เมนู การ​ประมวล​ผล​ฐาน​ข้อมูล การ​เขียน​โปรแกรม​โดย​ใช้​ภาษา​แบบเชิง เหตุการณ์ส�ำหรับ​การ​พัฒนา​โครง​งาน คพ. 318 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (3 หน่วยกิต) CS 318 Object-Oriented Programming พื้นความรู้: สอบได้ คพ. 310 หลักการและแนวคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุ เช่น เอน แคปซูเลชัน อินเฮอร์รแิ ทนซ์ โพลิมอร์ฟซิ มึ โอเวอร์โหลดดิง การสร้าง โปรแกรมโดยใช้คลาส ฟังก์ชนั เมมเบอร์ คอนสตรักเตอร์ และเดสตรัก เตอร์ การเข้าถึงแบบพับลิก ไพรเวท และโพรเทค เมมเบอร์แบบสแตติก และนอนสแตติก ฟังก์ชนั เสมือนจริง อินพุทและเอาท์พทุ มาตรฐาน


คพ. 319 การเขียนโปรแกรมบนอินเทอร์เน็ต (3 หน่วยกิต) CS 319 Internet Programming พื้นความรู้: สอบได้ คพ. 310 หลักพืน้ ฐานของการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร์เน็ต การ เขียนเว็บเพจพื้นฐาน และการเขียนเว็บเพจแบบพลวัต พัฒนาระบบ งานโดยใช้สคริปท์ของฝั่งผู้ขอใช้บริการ ฝั่งผู้ให้บริการผ่านการเชื่อม ต่อฐานข้อมูล

ที่ใช้ในการพัฒนาแอพพลิเคชันสำ�หรับอุปกรณ์สื่อสารไร้สายแต่ละ แพลตฟอร์ม แนวทางการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน พื้นฐานภาษา ที่ ใ ช้ ใ นการสร้ า งและพั ฒ นาแอพพลิ เ คชั น แนวคิ ด ในการพัฒนา แอพพลิเคชันสำ�หรับนำ�ไปใช้งาน การสร้างและพัฒนาแอพพลิเคชัน เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ภายในเครื่อง การจัดการหน่วยความจำ� การ ติดต่อฐานข้อมูล การทำ�งานกับสื่อมัลติมีเดีย และการเชื่อมต่อ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

คพ. 320 โครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CS 320 Computer Organization and Architecture องค์ประกอบโครงสร้างของระบบคอมพิวเตอร์ ภาษา แอสเซมบลี การออกแบบชุดคำ�สัง่ วิธกี ารอ้างถึงข้อมูลในหน่วยความ จำ� การขัดจังหวะของ I/O ระบบบัส โครงสร้างหน่วยความจำ� การจัด ลำ�ดับชั้นของหน่วยความจำ� การทำ�งานของหน่วยควบคุม คำ�สั่งการ ทำ�งานแบบสายท่อ คำ�สั่งการทำ�งานแบบขนาน สถาปัตยกรรมแบบ ซิสก์และริสก์ ตัวประมวลผลแบบขนาน การเชือ่ มต่อมัลติโปรเซสเซอร์

คพ. 357 การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน 2 (3 หน่วยกิต) CS 357 Mobile Application Development II พื้นความรู้: คพ. 356 การสร้างและพัฒนาแอพพลิเคชันเชือ่ มต่อฐานข้อมูลขัน้ สูง การทำ�งานเกี่ยวกับแผนที่ การสร้างโมบายเว็บแอพพลิเคชัน การ สร้างงานกราฟิก การเชือ่ มต่อและรับส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแบบ ต่างๆ การจัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูลในการสือ่ สาร และการ จับการเคลื่อนไหวของอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย

คพ. 350 โครงสร้างข้อมูล (3 หน่วยกิต) CS 350 Data Structures พื้นความรู้: สอบได้ คพ. 311 ทบทวนโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ ทั้งแบบเชิงเส้นและ แบบไม่เชิงเส้น เช่น อาร์เรย์ ลิงค์ลิสต์ แสตก คิว ต้นไม้และกราฟ เป็นต้น การพัฒนา Abstract data type ชนิดต่างๆ เช่น ลิสต์แบบ เรียงและไม่เรียงลำ�ดับ แสตกและคิว โครงสร้างลิสต์แบบต่างๆ ลิสต์ แบบ circular ลิสต์แบบ doubly-linked การใช้รเี คอร์ชนั กับโครงสร้าง ข้อมูล ไบนารีเสิร์ซทรี โครงสร้างต้นไม้ขั้นสูง เทคนิคการเรียงข้อมูล และการค้นหาข้อมูลชั้นสูง

คพ. 390 สหกิจศึกษา (3 หน่วยกิต) CS 390 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 และ คพ. 436 ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ท�ำ งาน ที่ตรงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือโครงงาน ที่เป็นงานที่เป็น ประโยชน์ตอ่ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์ ร่วมกับสถานประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผล การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

คพ. 356 การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน 1 (3 หน่วยกิต) CS 356 Mobile Application Development I ภาพรวมของระบบปฏิบัติการ และสถาปัตยกรรมของ อุปกรณ์สอื่ สารไร้สาย กระบวนการการพัฒนาแอพพลิเคชันและภาษา

หลักสูตรปริญญาตรี 307


คพ. 402 การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านธุรกิจ (3 หน่วยกิต) CS 402 Computer Applications in Business พื้นความรู้: สอบได้ คพ. 403 ธุ ร กิ จ การค้ าในรู ป แบบต่า งๆ การเตรียมข้อมูล การ ประยุกต์โปรแกรมส�ำเร็จรูปกับระบบงาน โปรแกรมส�ำเร็จรูปเงินเดือน โปรแกรมส�ำเร็จรูปสินค้าคงคลัง โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางการวิเคราะห์ การเงิ น รวมถึ ง ระบบสารสนเทศที่ ใช้ในองค์กร เช่น ระบบอีอาร์พี ระบบบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า และธุรกิจเชี่ยวชาญ เป็นต้น คพ. 403 การ​วิเคราะห์แ​ ละ​การ​ออกแบบ​ระบบ (3 หน่วยกิต) CS 403 Systems Analysis and Design พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 310 การ​วิเคราะห์​ขั้น​พื้น​ฐาน​ของ​ระบบ​งาน ศึกษา​ระบบ​งาน​ ต่างๆ ที่​อาจ​น�ำ​มา​ใช้ ​ปฏิ บั ติ​ได้ การ​หา​จุด​ประหยัด ​ของ​ระบบ การ​ ก�ำหนด​ราย​ละเอียด​ของ​ระบบ วิธี​การ​ต่างๆ และ​การ​ออกแบบ​ขั้น​พื้น​ ฐาน วัตถุประสงค์​ใน​การ​ออกแบบ​ระบบ การ​เลือก​และ​การ​ประเมิน​ ผล​ของ​ฮาร์ดแวร์​และ​ซอฟต์แวร์ การ​ออกแบบ และ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ การน�ำ​ระบบ​ไป​ใช้​งาน​และ​การ​ประเมินผ​ ล​หลัง​จาก​ใช้​งาน คพ. 410 โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CS 410 Organization of Programming Languages พื้นความรู้: สอบได้ คพ. 311 หลักของภาษาคอมพิวเตอร์ ไวยากรณ์ภาษา ความหมาย ของค�ำสั่ ง หรื อ โครงสร้ า ง แนะน�ำการออกแบบหรือการสร้างภาษา คอมพิวเตอร์ต้นแบบ เช่น ภาษาเชิงโครงสร้าง ภาษาเชิงวัตถุ ภาษา เชิงหน้าที่ และภาษาทางตรรกะหรือภาษาทีม่ กี ฎพืน้ ฐาน มีการเปรียบ เทียบต้นแบบและสาระส�ำคัญของแต่ละภาษาคอมพิวเตอร์

308 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คพ. 411 การวิเคราะห์และออกแบบ (3 หน่วยกิต) โปรแกรมเชิงว​ ัตถุ CS 411 Object-Oriented Analysis and Design พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 311 นิยาม​และ​คณ ุ สมบัต​ิของ​ภาษา​เชิง​วตั ถุ ออบ​เจ็กต์​ คลาส เอ็น​แคบ​ซูเล​ชัน อิน​เฮอ​รแิ​ ทน​ซ์ และ​โพ​ลี​มอร์ฟซิ​ ึม การ​ออกแบบ​เชิง​ วัตถุ​แนว​ความ​คิด เทคนิค​ของ​การ​เขียน​โปรแกรม​เชิง​วัตถุ การ​สร้าง​ และ​การ​พัฒนา​ฐาน​ข้อมูล​เชิง​วัตถุ​และ​โปรแกรม​ประยุกต์ หลัก​การ​ ที่​ใช้​ใน​เทคโนโลยี​เชิง​วัตถุ รูป​แบบ​จ�ำลอง​ความ​สัมพันธ์​ของ​วัตถุ รูป​ แบบ​จ�ำลอง​พฤติกรรม​ของ​วัตถุ วิธี​การ​และ​เทคนิค​ของ​การ​พัฒนา​ ซอฟต์แวร์เชิง​วัตถุ คพ. 413 ออ​โต​มาตา การ​ค�ำนวณ​ได้ (3 หน่วยกิต) และ​ภาษา​ฟอร์ม​ อล CS 413 Automata, Computability, and Formal Languages พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 311 แนวคิ ด ​แ ละ​ท ฤษฎี ​พื้น​ฐาน​ของ​วิทยาการ​คอมพิวเตอร์ ภาษา​ฟอร์​มอล​และ​ทฤษฎี​ออ​โต​มาตา การ​ตรวจ​สอบ​หลัก​ไวยากรณ์​ ของ​ภาษา​ฟอร์​มอล เครื่อง​สถานะ​จ�ำกัด​และ​เครื่อง​ทัว​ริง ทฤษฎีและ ตัวอย่างของภาษาไม่พึ่งบริบท และพุชดาวน์ออโตมาตา คพ. 414 การ​สร้าง​ตัวแ​ ปล​ภาษา (3 หน่วยกิต) CS 414 Compiler Construction พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 413 ทบทวน​ไวยากรณ์ ภาษา รูป​แบบ​และ​ความ​หมาย แนวคิด​ ของ​การ​แจง​สว่ น​และ​ความ​หมาย​ทคี่ ลุมเครือ รูป​แบบ​แบคคัสน​ อ​เอ​อร์​ ไวยากรณ์ป​ กติ​และ​การ​รู้​จ�ำ ตัว​กราด​ตรวจ​ศัพท์ ตาราง​สัญลักษณ์ ตัว​ แจง​ส่วน ทฤษฎี​และ​ตัวอย่าง​ของ​ภาษา​ไม่พ​ ึ่ง​บริบท และ​พุท​ ดาวน์​ ออ​โต​มาตา เทคนิค​แจง​ส่วน​แบบ​ไม่​พึ่ง​บริบท การ​แปล​ภาษา เทคนิค​ การ​สร้าง​และ​การ​ปรับปรุง​รหัส​ที่​อิสระ​จาก​เครื่อง


คพ. 415 การ​เขียน​โปรแกรม​อิน​เทอร์​เน็ต​ขั้น​สูง (3 หน่วยกิต) CS 415 Advanced Internet Programming พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 319 การ​เขียน​โปรแกรม​อิน​เทอร์​เน็ต​ขั้น​สูง เช่น การ​เขียน​ โปรแกรม​ที่​ท�ำงาน​แบบ​พร้อม​กัน การ​เขียนโปรแกรม​เชิง​วัตถุ การ​ เขียน​โปรแกรม​ส�ำหรับ​ฐาน​ข้อมูล​ส�ำหรับ​อิน​เทอร์​เน็ต ระบบ​ความ​ ปลอดภัย​และ​การน�ำ​ข้อมูล​แสดง​ใน​เครือ​ข่าย การ​เขียน​โปรแกรม​ฝั่ง​ เครือ่ ง​ให้บ​ ริการ เอก​ซ​เอม​แอล เอก​ซ​เอ็ซแ​ อล​ที ซี​เอ็ซเ​อ็ซ​ Framework ทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มในการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร์เน็ต คพ. 416 การพัฒนาโปรแกรมส�ำหรับองค์กร (3 หน่วยกิต) CS 416 Enterprise Applications Development พื้นความรู้: สอบได้ คพ. 403 การออกแบบและสร้างโปรแกรมขนาดใหญ่ส�ำหรับใช้งาน ในองค์กร และการพัฒนาโปรแกรมเว็บส�ำหรับองค์กร รวมทัง้ สร้างเป็น ชุดโปรแกรมพร้อมใช้ สถาปัตยกรรมโปรแกรมที่ใช้ในองค์กรยุคใหม่ เช่น สถาปัตยกรรมเชิงบริการ และสถาปัตยกรรมเว็บเซอร์วสิ เป็นต้น คพ. 422 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CS 422 Operating Systems นิ ย ามและความหมายของค�ำว่าระบบปฏิบัติการ วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการในยุคต่างๆ โครงสร้างพื้นฐานของ ระบบคอมพิวเตอร์ โครงสร้างพื้นฐานโดยรวมของระบบปฏิบัติการ การจัดการกระบวนการ การจัดตารางการประมวลผลของซีพียู การ ท�ำงานร่วมกันของกระบวนการ ระบบติดตาย การจัดการหน่วยความ จ�ำ หน่วยความจ�ำเสมือน โครงสร้างระบบไฟล์แบบต่างๆ และการ สร้างระบบไฟล์ ระบบ I/O โครงสร้างของหน่วยความจ�ำส�ำรอง การ จัดตารางการใช้งานของดิสก์ การจัดการพืน้ ที่ในหน่วยความจ�ำส�ำรอง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีต่างๆ ของระบบปฏิบัติการที่ทันสมัย

คพ. 430 ระบบ​ฐาน​ข้อมูล (3 หน่วยกิต) CS 430 Database Systems พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 310 แนว​ค วาม​คิ ด ​พื้ น ​ฐ าน​เกี่ยว​กับ​ระบบ​บริหาร​ฐาน​ข้อมูล​ สถาปัตยกรรม​ของ​ฐาน​ข้อมูล รูป​แบบ​ของ​ฐาน​ข้อมูล แบบ​เชิง​ชั้น แบบ​เครือ​ข่าย และ​แบบ​เชิง​สัมพันธ์ ความ​ขึ้น​แก่​กัน​ของ​ข้อมูล เค้า​ ร่าง การ​ท�ำให้อยู่​ใน​รูป​แบบ​บรรทัดฐาน รูป​แบบ​บรรทัดฐาน ฐาน​ ข้อมูล เชิง​สัมพันธ์ การ​สร้าง​โมเดล​จ�ำลอง​ความ​สัมพันธ์​ของ​ข้อมูล แบบ​อี อาร์ แบบ​อี​อี​อาร์ พีชคณิต​เชิง​สัมพันธ์ ภาษา​สอบถาม​เชิง​ โครงสร้าง แคลคูลัสเ​ชิง​สัมพันธ์ การ​ออกแบบ​ฐาน​ข้อมูล ระบบ​รักษา​ ความ​ปลอดภัย​ของ​ข้อมูล การ​เกิด​ภาวะ​พร้อม​กัน การ​ปิด​กั้น การ​ร​ู้ ข้อมูล ความ​บูรณภาพ​ของ​ข้อมูล พจนานุกรม​ข้อมูล คพ. 431 ระบบ​ฐาน​ข้อมูลข​ ั้น​สูง (3 หน่วยกิต) CS 431 Advanced Database Systems พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 430 ครอบคลุม​เนื้อหา​ระบบ​ฐาน​ข้อมูล​ที่​อยู่​ใน​งาน​วิจัย​สมัย​ ใหม่​และ​อยู่​ใน​อุตสาหกรรม​ซอฟต์แวร์ เช่น ระบบ​ฐาน​ข้อมูล​แบบ​ กระจาย​เบื้อง​ต้น ระบบ​ฐาน​ข้อ​มูล​มัล​ติ​มีเดีย​เบื้อง​ต้น ระบบ​วิธี​การ​ ค้นหา​ขอ้ มูล ระบบ​ฐาน​ขอ้ มูล​จ�ำนวน​มาก ระบบ​ฐาน​ขอ้ มูล​แบบ​กระจาย ระบบ​ฐาน​ข้อ​มูล​ส�ำหรับ​เว็บ และ​ห้อง​สมุดดิจิตอล ใน​วิชา​นี้​นัก​ศึกษา​ ต้อง​พัฒนา​โครงการ​ที่​ใช้​ระบบ​ฐาน​ข้อมูลด​ ้วย คพ. 432 ระบบ​ฐาน​ข้อมูลแ​ บบ​กระจาย (3 หน่วยกิต) CS 432 Distributed Database Systems พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 430 ศึ ก ษา​ท ฤษฎี ​แ ละ​การ​อ อกแบบ​ร ะบบ​ฐาน​ข้อมูล​แบบ​ กระจาย การ​ควบคุมก​ าร​ท�ำงาน​แบบ​รว่ ม​กนั การ​แก้ป​ ญั หา​ของ​การ​รอ​ ตลอด​กาล​ของ​โปรแกรม การ​จดั การ​ขอ้ มูลซ​ ำ​ �้ ซอ้ น วิธก​ี าร​ดงึ ข​ อ้ มูลจ​ าก​ ระบบฐาน​ข้อมูลแ​ บบ​กระจาย เครื่องจักร​ฐาน​ข้อมูล​แบบ​ขนาน ระบบ​ ฐาน​ข้อมูล​แบบ​กระจาย​กับ​เครื่อง​ให้​บริการ​มัล​ติ​มีเดีย และ​ระบบ​ฐาน​ ข้อมูล​จ�ำนวน​มาก หลักสูตรปริญญาตรี 309


คพ. 433 การท�ำคลังข้อมูล (3 หน่วยกิต) CS 433 Data Warehousing พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 430 แนวคิดเ​กีย่ ว​กบั ​ดาต้า​แวร์เ​ฮ้าส์ซ​ งิ่ ลักษณะ​ขอ​งดาต้าแวร์​ เฮ้าส์​ซิ่ง อุปสรรค​และ​ข้อ​เสีย​ขอ​งดาต้าแวร์​เฮ้าส์​ซงิ่ สถาปัตยกรรม​ขอ​ง ดาต้าแวร์​เฮ้าส์​ซิ่ง การ​ออกแบบ​ข้อมูล​ภายใน​ขอ​งดาต้าแวร์​เฮ้าส์​ซิ่ง โครงสร้าง​การ​จัด​เก็บ​ข้อมูล​ภาย​ใน​ดาต้า​แวร์​เฮ้าส์​ซิ่ง การ​รวม​ข้อมูล​ เพื่อ​จัด​เก็บ​ดาต้า​แวร์​เฮ้าส์​ซิ่ง ความ​ซับ​ซ้อน​และ​เทคนิค การ​สร้าง​ ข้อมูล​ที่​มี​คุณภาพ ดาต้า​มาร์ท ดาต้า​มาย​นิ่ง ดาต้า​เว็บ​เฮ้าส์​ซิ่ง เว็บ มาย​นิ่ง คพ. 434 การท�ำเหมืองข้อมูล (3 หน่วยกิต) CS 434 Data Mining พื้นความรู้: สอบได้ คพ. 430 การท�ำเหมืองข้อมูลและแมชชีนเลิรน์ นิงเบือ้ งต้น แนวคิด ข้อมูลเชิงรายการ ตัวแปรข้อมูล วิธกี ารจ�ำแนกข้อมูล ต้นไม้ชว่ ยตัดสิน ใจ การประเมินประสิทธิภาพ และความน่าเชื่อถือของโมเดล การ ประเมินประสิทธิภาพด้วยลิฟท์และต้นทุน การเตรียมข้อมูลเพื่อการ ค้นหาความรู้ การจัดกลุ่มข้อมูล การหากฎความสัมพันธ์ การแสดง ข้อมูลภาพ การสรุปข้อมูล การหาแนวโน้มทีผ่ ดิ ปกติ การประยุกต์กับ การตลาดแบบเจาะจงและโมเดลลูกค้า การประยุกต์กับการวิเคราะห์ ข้อมูลไมโครอาร์เรย์ การประยุกต์กบั เรือ่ งอืน่ ๆ ผลกระทบต่อสังคมของ การท�ำเหมืองข้อมูลกับแนวโน้มในอนาคต และหัวข้อเหมืองข้อมูลขัน้ สูง คพ. 436 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) CS 436 Software Engineering พื้นความรู้: สอบได้ คพ. 311 วิศวกรรมซอฟต์แวร์เบือ้ งต้น กระบวนการของซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์ความต้องการของซอฟต์แวร์ วิธีโมเดลระบบ การ ออกแบบส่วนต่อประสานกราฟิกส์กบั ผูใ้ ช้ การออกแบบสถาปัตยกรรม 310 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ซอฟต์แวร์ การทดสอบซอฟต์แวร์ การบริหารโครงงานซอฟต์แวร์ วิวัฒนาการซอฟต์แวร์ การทวนสอบและการตรวจสอบความสมเหตุ สมผล การประมาณต้นทุนซอฟต์แวร์ การประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ โมเดลการปรับปรุงกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์แบบบูรณาการ และ เครื่องมือสนับสนุนวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คพ. 441 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี (3 หน่วยกิต) CS 441 Analysis and Design of Algorithms พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 311 การ​วิ ​เคราะห์​อั ล​กอ​ริ​ทึม​และ​ปัญหา การ​วิเคราะห์​กรณี​ เฉลี่ย การ​เรียง​ล�ำดับ การ​เลือก ขอบเขต​ทาง​ด้าน​สูง​และ​ต�่ำ​ของ​ความ​ ซับ​ซ้อน​ของ​โปรแกรม การ​โปรแกรม​แบบ​พลวัต โพ​ลิ​โน​เมีย​ล การ​ ประเมินฟังก์ชนั โ​พ​ล​โิ น​เมียล​ เวก​เตอร์ และ​การ​คณ ู ​เม​ตริ​กซ์ การ​แปลง​ รูป​แบบฟาสต์​ฟู​เรียร์ ปัญหา​แบบ​เอ็น​พีอัลก​ อ​ริ​ทึม​แบบ​ขนาน คพ. 454 เครือข่ายสื่อสารคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CS 454 Computer Communication Networks ทฤษฎี พื้ น ฐานของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ โทโปโล จี (Topology) ของเครือข่าย วิธีการและหลักปฏิบัติในการใช้เครือ ข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร องค์ประกอบของเครือข่ายสื่อสาร ทางกายภาพ และสถาปั ต ยกรรม ระดั บ ชั้ นของข้อมูลในเครือข่าย สื่อสาร การน�ำเครื่องมือในการวินิจฉัย ออกแบบ ด�ำเนินการ และ วัดผลมาใช้และปรับแต่งเครือข่ายนั้น ๆ เปรียบเทียบข้อแตกต่างของ สถาปัตยกรรมเครือข่ายแบบต่าง ๆ และเปรียบเทียบเครื่องเมนเฟรม กับคอมพิวเตอร์ในแบบไทม์แชร์


คพ. 457 ความ​มั่นคง​ใน​ระบบ​คอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) CS 457 Computer Security พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 454 วิธส​ี ร้าง​ความ​ปลอดภัยใ​น​ระบบ​คอมพิวเตอร์ ระบบ​เครือ​ ข่าย และ​ข้อมูล​จาก​ผู้​แอบ​เข้า​ถึง​ข้อมูล โดย​ไม่​ได้​รับ​อนุญาต หรือ​ไม่​ ได้​ตั้งใจ การ​ลักลอบ​เปลี่ยนแปลง​แก้ไข​ข้อมูล การ​ป้องกัน​เมื่อ​ระบบ​ ปฏิเสธ การ​ให้​บริการ การ​ประเมิน​และ​การ​จัดการ​ความ​เสี่ยง ทฤษฎี​ สาร​สนเทศ การ​ลง​รหัส ค​ริป​โต​กราฟ​ีกรรมวิธี​รับรอง​ความ​ปลอดภัย​ ขอบเขต​การ​ป้องกัน​จาก​ซอฟต์แวร์​ที่​ประสงค์​ร้าย​ต่อ​ระบบ ไวรัส ลอ​ จิก​บอมบ์ วิธกี​ าร​ตรวจ​สอบ แก่น​ของ​ความ​ปลอดภัย คพ. 458 เครือ​ข่าย​ระบบ​การ​สื่อสาร​ไร้​สาย (3 หน่วยกิต) และ​อุปกรณ์​สื่อสาร​เคลื่อนที่ CS 458 Wireless and Mobile Networks พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 454 ศึกษา​ระบบ​เครือ​ข่าย​ไร้​สาย อุปกรณ์​เคลื่อนที่​ใน​เครือ​ ข่าย​ไ ร้ ​ส าย ข้ อ ​ก�ำหนด​ต่า งๆ ใน​เครือ​ข่ าย​ระบบ​การ​สื่อสาร​ไร้​สาย​ และ​อุ ป กรณ์ ​สื่ อ สาร​เคลื่ อนที่ การ​จัดการ​เครือ​ข่าย ระบบ​ประกัน​ ประสิทธิภาพ​ในการ​รบั ส​ ง่ ข​ อ้ มูลใ​น​เครือ​ขา่ ย​ไร้ส​ าย โปรแกรม​ประยุกต์​ เครือ​ข่าย​ระบบ การ​สื่อสาร​ไร้​สาย​และ​อุปกรณ์สื่อสาร​เคลื่อนที่ เช่น โปรแกรม​ประยุกต์ช​ นิดก​ ระจาย โปรแกรม​ตวั กลาง​เชือ่ ม​ตอ่ การ​จดั การ​ ข้อมูลใ​นอุปกรณ์เ​คลือ่ นที่ ระบบ​มลั ​ต​มิ เี ดียใ​น​อปุ กรณ์เ​คลือ่ นที่ และ​การ​ สั่ง​งาน​ทาง​ไกล​ผ่าน​อุปกรณ์​ไร้ส​ าย คพ. 459 การ​ออกแบบ​และ​การ​จัดการ (3 หน่วยกิต) ระบบ​เครือ​ข่าย CS 459 Network Design and Management พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 454 ศึกษา​ระบบ​เครือ​ขา่ ย​พนื้ ​ฐาน เช่น การ​จ�ำลอง​ระบบ​เครือ​ ข่าย การ​ป ระเมิ น ​ประสิทธิภาพ​ระบบเครือ​ข่า ย การ​วิเคราะห์​ระบบ เครื อ ​ข่ า ย​ใ น​เรื่อ ง​ความเร็ว ​และ​ความ​ล่า ช้ า​ใน​การ​รับ​ส่ง​ข้อมูล การ​

ออกแบบเครือ​ข่าย​แบบ​รวม​ศูนย์​และ​แบบ​กระจาย โปรแกรม​ประยุกต์​ ใน​ระบบ​ไร้​สาย การ​บริหาร​และ​จัดการ​ระบบเครือ​ข่าย โปรโท​คอล SMNP และ​สถาปัตยกรรม​และ​การ​จดั การ​ระบบ​เครือข​ า่ ย​แบบ​กระจาย คพ. 460 ปัญญา​ประดิษฐ์ (3 หน่วยกิต) CS 460 Artificial Intelligence พื้น​ความ​รู้ : สอบ​ได้ คพ. 311 พฤติกรรม​ฉลาด​ซึ่ง​เกิด​ขึ้น​โดย​อัตโนมัติ​ส�ำหรับ​การ​รับ​ รู้​การ​มี​เหตุผล และ​การ​แสดงออก​มา​เป็นการ​กระท�ำ การ​แก้​ปัญหา การ​แทน​ความ​รู้​ใน​คอมพิวเตอร์ การ​ตัดสิน​ใจ การ​เรียน​รู้ การ​ค้นหา การ​เล่น​เกม การ​พิสูจน์​ทฤษฎี การ​ประมวล​ผล​ภาษา​ธรรมชาติ การ​ ควบคุม​หุ่น​ยนต์ ระบบ​ผู้​เชี่ยวชาญ คพ. 469 คอมพิวเตอร์ซ​ ิมูเล​ชัน (3 หน่วยกิต) CS 469 Computer Simulation พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 310 การ​จ�ำลอง​สถานการณ์​โดย​ใช้​คอมพิวเตอร์ เทคนิค​การ​ สร้าง​สถานการณ์​จ�ำลอง ความ​ถกู ​ตอ้ ง​ของสถานการณ์​จ�ำลอง ข้อ​จ�ำกัด​ ของ​เทคนิค​การ​จ�ำลอง​สถานการณ์​แบบ​ตา่ งๆ การ​เขียน​โปรแกรม​ดว้ ย​ ภาษาซิ​มูเล​ชัน คพ. 470 กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) สารสนเทศ CS 470 Legal and Ethical Aspects of Information Technology ศึ ก ษ า ห ลั ก ก ฎหมายควบคู่กับจริยธรรมของผู้ใช้ คอม พิ ว เ ต อ ร์ แ ละนักเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเน้นแนวคิดเบื้อง ต้น ที่ เ กี่ ย วกับกฎหมายและลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับ ก า ร ก ร ะ ท�ำ ผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ สื่ อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิกส์และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ กฎหมาย คุ้ ม ครองข้ อ มู ลส่วนบุคคล กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและการท�ำ อนุญาโตตุลาการผ่านอินเตอร์เน็ท หลักสูตรปริญญาตรี 311


คพ. 480 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (3 หน่วยกิต) CS 480 Computer Graphics การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และเทคนิคต่างๆ เพื่อใช้ใน การออกแบบและตกแต่งภาพ 2 มิติทั้งแบบรัสเตอร์เบสและเว็กเตอร์ เบส การแปลงใน 2 มิติและ 3 มิติ ขอบเขตและทางเลือกเฉพาะส่วน ของภาพทีอ่ ยู่ในขอบเขตทีก่ �ำหนด หลักการของภาพใน 3 มิตแิ ละภาพ ในมุมมองต่างๆ การลบเส้นและพืน้ ผิวทีถ่ กู บัง การแรเงา แบบจ�ำลอง ของสี การสร้างแบบจ�ำลอง การออกแบบซอฟต์แวร์กราฟิกส์ มาตร ฐานกราฟิกส์ทั่วไป โปรแกรมประยุกต์ คพ. 481 การ​ประมวล​ผล​สัญญาณ (3 หน่วยกิต) และ​ภาพ​ดิจิตอล CS 481 Digital Signal and Image Processing เทคนิค​การ​ประมวล​ผล​สญั ญาณ​และ​ภาพ​ดจิ ติ อล รูป​แบบ​ แฟ้มข​ ้อมูล​ภาพ​ดิจิตอล การ​ปรับแ​ ต่ง​ภาพ การ​แก้ไข​ข้อ​บกพร่อง​ของ​ ภาพ การ​บีบ​อัด​ภาพ การ​รู้​จ�ำ​แบบ​รูป การ​แบ่ง​ภาพ ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​ เกี่ยว​กับ​คอมพิวเตอร์ว​ ิ​ชัน คพ. 485 เทคโนโลยี​มัลต​ ิ​มีเดีย (3 หน่วยกิต) CS 485 Multimedia Technology ความ​ร​เู้ บือ้ ง​ตน้ ​เกีย่ ว​กบั ​การ​ใช้ค​ อมพิวเตอร์ส​ �ำห​รบั ​มลั ​ตมิ เี ดีย การ​จัด​เอกสาร​สื่อ​สิ่ง​พิมพ์ ไฮเปอร์​เท็กซ์ ไฮเปอร์​มีเดีย สื่อ​ใน​การน�ำ​ เสนอ กราฟิก ภาพ​เคลื่อนไหว เสียง วิดี​ทัศน์ เทคนิค​การน�ำ​เสนอ​ โดย​ใช้​มัล​ติ​มีเดีย คพ. 490 สัมมนา (3 หน่วยกิต) CS 490 Seminar พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เอก-​บังคับ ​อย่าง​น้อย 3 วิชา ให้น​ กั ศ​ กึ ษา​เสนอ​ผล​งาน​ท​ไี่ ด้จ​ าก​การ​ศกึ ษา​วจิ ยั หรือจ​ าก​ การ​ฝึก​ปฏิบัติ​งาน​จริง​ใน​หน่วย​งาน​ด้านคอมพิวเตอร์ ใน​วง​ราชการ​ รัฐวิสาหกิจ และ​เอกชน​ตาม​ที่​ได้​ก�ำหนด​ไว้ 312 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คพ. 491 หัวข้อ​พิเศษ 1 (3 หน่วยกิต) CS 491 Special Topics I พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เอก-​บังคับ อย่าง​น้อย 3 วิชา ศึกษา​หัวข้อ​ที่​น่า​สนใจ และ​เป็น​ประโยชน์​เกี่ยว​กับ​สาขา​ ต่างๆ ใน​วิชา​คอมพิวเตอร์ คพ. 492 หัวข้อ​พิเศษ 2 (3 หน่วยกิต) CS 492 Special Topics II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เอก​-บังคับ ​อย่าง​น้อย 3 วิชา ศึกษา​หัวข้อ​ที่​น่า​สนใจ และ​เป็น​ประโยชน์​เกี่ยว​กับ​สาขา​ ต่างๆ ใน​วิชา​คอมพิวเตอร์ ซึ่ง​แตก​ต่าง​จาก คพ. 491 หั​ัวข้อพิเศษ 1 คพ. 497 โครง​งาน​วิทยาการ​คอมพิวเตอร์ 1 (1 หน่วยกิต) CS 497 Computer Science Project I พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 403 นัก​ศกึ ษา​ตอ้ ง​ด�ำเนิน​การ วางแผน และ​ออกแบบ​โครง​งาน​ เกี่ยว​กับ​วิทยาการ​คอมพิวเตอร์ มี​การ​เสนอ​โครง​งาน​และ​รายงาน​เพื่อ​ ด�ำเนิน​การ​ใน คพ. 498 โครง​งาน​วิทยาการ​คอมพิวเตอร์ 2 คพ. 498 โครง​งาน​วิทยาการ​คอมพิวเตอร์ 2 (3 หน่วยกิต) CS 498 Computer Science Project II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คพ. 497 นัก​ศกึ ษา​ตอ้ ง​ด�ำเนิน​การ​พฒ ั นา​ระบบ​คอมพิวเตอร์​ใน​โครง​ งาน​ให้เ​สร็จส​ มบูรณ์ใ​ช้ง​ าน​ได้จ​ ริง จัด​ท�ำ​เอกสาร​ประกอบ​โครง​งาน​และ​ สอบ​ปาก​เปล่า​เกี่ยว​กับ​โครง​งาน​ที่​ท�ำ


หมวด​วิชา​เทคโนโลยีส​ าร​สนเทศ ทส. 200 หลักสำ�คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หน่วยกิต) IT 200 Fundamental of Information Technology ศึ ก ษาความรู้ ใ นภาพรวมของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ประกอบไปด้วย ภาพจำ�ลองของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ความ สำ�คัญของข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารความซับซ้อน กระบวนการ การเปลีย่ นแปลงและประยุกต์ระบบเข้าสูอ่ งค์การ การบริหารโครงการ การบริ ห ารสารสนเทศ การประกั น และรั ก ษาความมั่ น คงของ สารสนเทศ เทคโนโลยีระบบสารสนเทศและการสื่อสาร การเป็นนัก เทคโนโลยีสารสนเทศ และแขนงวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้อง พัฒนาการ ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การปฏิสมั พันธ์กบั ผูใ้ ช้อนิ เทอร์เน็ต เวิลด์ ไวด์ เ ว็ บ ผลกระทบที่ เ กิ ด ต่ อ สั ง คม การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศในด้านต่างๆ ทส. 201 คอมพิวเตอร์แ​ ละ​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ (3 หน่วยกิต) IT 201 Computer and Intormation Technology ศึกษา​พนื้ ​ฐาน​เบือ้ ง​ตน้ ​ของ​เครือ่ ง​คอมพิวเตอร์ท​ งั้ ​ใน​ดา้ น​ ฮาร์ดแวร์​และ​ซอฟต์แวร์ ศึกษา​โปรแกรม​ประยุกต์ การน�ำ​เสนอ​สาร-​ สนเทศ ระบบ​เครือ​ข่าย​คอมพิวเตอร์ จดหมาย​อิเล็กทรอนิกส์ ความ​ ปลอดภัย​ใน​ระบบ​คอมพิวเตอร์ บทบาท​ของ​คอมพิวเตอร์​ใน​สังคม​ ปัจจุบนั ​และ​เทคโนโลยีข​ องคอมพิวเตอร์ใ​น​อนาคต รวม​ถงึ ​การ​ประยุกต์​ ใช้​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​ใน​องค์กร​ต่างๆ ฝึก​ปฏิบัติ​การ​ใช้​โปรแกรม​ ส�ำเร็จรูปท​ ี่​สอดคล้อง​กับ​เทคโนโลยีท​ ี่​เกิด​ขึ้น​ใหม่อ​ ย่าง​ต่อ​เนื่อง

ทส. 274 การ​ประยุกต์ใ​ช้​คอมพิวเตอร์​เพื่อ​การ​วิจัย (3 หน่วยกิต) IT 274 Computer Applications for Research พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 207 หลัก​การ​ของ​การ​วิจัย​เบื้อง​ต้น เทคนิค​การ​สุ่ม​ตัวอย่าง การ​เปรียบ​เทียบ​ขอ้ มูล หลักก​ าร​สร้าง​แบบสอบถาม การ​ลง​รหัสข​ อ้ มูล​ และ​สถิติ​พื้น​ฐาน ประยุกต์​การ​ใช้​โปรแกรม​ส�ำเร็จรูป​ทาง​สถิติ​ใน​การ​ วิเคราะห์​ข้อมูล ทส. 310 หลัก​การ​เขียน​โปรแกรม​คอมพิวเตอร์ 1 (3 หน่วยกิต) IT 310 Computer Programming I ระบบ​คอมพิวเตอร์เ​บือ้ ง​ตน้ การ​พฒ ั ​นา​อลั ​กอริท​ มึ เทคนิค​ ใน​การ​แก้ไข​ปัญหา การ​เขียน​ผัง​งาน การ​เขียน​โปรแกรม​โดย​ใช้​ภาษา​ ระดับ​สูง โดย​ศึกษา​ถึง​ชนิด​ของ​ข้อมูล ค่า​คงที่ ตัวแปร นิพจน์ ค�ำ​สั่ง รับ​ขอ้ มูล​และ​แสดง​ผลลัพธ์ การ​ประมวล​ผล​ขอ้ ความ อาร์เรย์โ​ปรแกรม​ ย่อย การ​เรียง​ล�ำดับ​ข้อมูลแ​ ละ​การ​ค้นหา​ข้อมูล ทส. 316 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (3 หน่วยกิต) IT 316 Object-Oriented Programming หลั ก การและแนวคิ ด ของการโปรแกรมเชิ ง วั ตถุ เช่น เอนแคปซูเลชัน อินเฮอร์ริแทนซ์ โพลิมอร์ฟิซึม โอเวอร์โหลดดิง การ สร้างโปรแกรมโดยใช้คลาส ฟังก์ชันเมมเบอร์ คอนสตรักเตอร์ และ เดสตรักเตอร์ การเข้าถึงแบบพับลิก ไพรเวท และโพรเทค เมมเบอร์ แบบสแตติก และนอนสแตติก ฟังก์ชันเสมือนจริง อินพุทและเอาท์ พุทมาตรฐาน ทส. 317 การ​เขียน​โปรแกรม​เชิงเหตุการณ์ (3 หน่วยกิต) IT 317 Event-Driven Programming หลัก​พื้น​ฐาน​ของ​การ​เขียน​โปรแกรม​แบบ​เชิงเหตุการณ์ ส่ว น​ป ระกอบ​และ​คุ ณลักษณะ การ​ออกแบบสร้าง​ฟอร์ม​และ​เมนู การ​ประมวล​ผล​ฐาน​ข้อมูล การ​เขียน​โปรแกรม​โดย​ใช้​ภาษา​แบบ​เชิง เหตุการณ์ส�ำหรับ​การ​พัฒนา​โครง​งาน หลักสูตรปริญญาตรี 313


ทส. 321 หลัก​การ​สืบค้น​สาร​สนเทศ (3 หน่วยกิต) IT 321 Principles of Information Retrieval ทฤษฎี​และ​วธิ ​กี าร​สบื ค้น​ขอ้ มูล รูปภาพ กราฟิก และ​เสียง​ ใน​รปู แ​ บบ​บรรณานุกรม​และ​ฉบับ​สมบูรณ์ เนือ้ หา​ครอบคลุมเ​รือ่ ​งบูล​ นี ​ และ​ความ​นา​ ่ จะ​เป็น​ใน​การ​เข้า​ถงึ ​ขอ้ มูล​เพือ่ ​การ​ท�ำ​ดชั นี รูป​แบบ​การ​ควิ ​รี การ​จัด​อันดับ​ข้อมูล กลวิธี​กลั่น​กรอง​ข้อมูล หลัก​เกณฑ์​และ​กลยุทธ์​ ใน​การ​สืบค้น รวม​ทั้ง​การ​ใช้​เครื่อง​มือ​ช่วย​ค้น​ประเภท​ตา่ งๆ จาก​ฐาน​ ข้อมูล​และ​ระบบ​เครือข​ ่าย​ใย​แมงมุม ทส. 331 เทคโนโลยีแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) IT 331 Computing Platform Technology พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 310 ศึ ก ษานำ � เบื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ สถาปั ต ยกรรมของระบบ คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ ประกอบด้วย ส่วนประกอบทาง ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ หน่วยประมวลผล ระบบบัสและระบบเชือ่ มต่ออุปกรณ์ ภายนอก หน่วยความจำ� หน่วยเก็บบันทึกข้อมูล ระบบปฏิบัติการ ได้แก่ ส่วนประกอบและหน้าที่ภายในระบบปฏิบัติการ โดยใช้กรณี ศึกษาระบบปฏิบตั กิ ารที่ใช้ในปัจจุบนั การฝึกปฏิบตั ิ หลักการและการ ฝึกหัดด้านการบริหารระบบ เช่น การจัดการบัญชีผใู้ ช้ บริการการพิมพ์ การจัดสรรพื้นที่เก็บบันทึกข้อมูล การเฝ้าสังเกตุและการแก้ไขปัญหา ทส. 350 โครงสร้าง​ข้อมูล​และ​หลัก​พื้น​ฐาน (3 หน่วยกิต) ขอ​งอัล​กอ​ริ​ทึม IT 350 Data Structures and Fundamental Algorithms พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 310 ทบทวนโครงสร้า ง​ข้ อมูล​แบบ​ต่าง ๆ ทั้ง​แบบ​เชิง​เส้น อาร์เรย์ ลิงค์​ลสิ ต์ แส​ตก คิว และ​ศกึ ษาแบบ​ไม่ใช่​เชิง​เส้น ต้นไม้ กราฟ เครือ​ข่าย การน�ำ​โครงสร้าง​ข้อมูล​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​งาน​ต่างๆ เทคนิค​ การ​เรียง​ล�ำดับ​และค้นหา​ข้อมูล หลักการ​ออกแบบ​และ​การ​วิ​เคราะห์​ อัล​กอ​ริ​ทึมเบื้องต้น เช่น การหาโอตัวใหญ่ (Big-O) 314 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทส. 356 การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน 1 (3 หน่วยกิต) IT 356 Mobile Application Development I ภาพรวมของระบบปฏิบัติการ และสถาปัตยกรรมของ อุปกรณ์สอื่ สารไร้สาย กระบวนการการพัฒนาแอพพลิเคชันและภาษา ที่ใช้ในการพัฒนาแอพพลิเคชันสำ�หรับอุปกรณ์สื่อสารไร้สายแต่ละ แพลตฟอร์ม แนวทางการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน พื้นฐานภาษา ที่ ใ ช้ ใ นการสร้ า งและพั ฒ นาแอพพลิ เ คชั น แนวคิ ด ในการพัฒนา แอพพลิเคชันสำ�หรับนำ�ไปใช้งาน การสร้างและพัฒนาแอพพลิเคชัน เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ภายในเครื่อง การจัดการหน่วยความจำ� การ ติดต่อฐานข้อมูล การทำ�งานกับสื่อมัลติมีเดีย และการเชื่อมต่อ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทส. 357 การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน 2 (3 หน่วยกิต) IT 357 Mobile Application Development II พื้นความรู้: ทส. 356 การสร้างและพัฒนาแอพพลิเคชันเชื่อมต่อฐานข้อมูลขั้นสูง การทำ�งานเกีย่ วกับแผนที่ การสร้างโมบายเว็บแอพพลิเคชัน การสร้าง งานกราฟิก การเชือ่ มต่อและรับส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแบบต่างๆ การจัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูลในการสื่อสาร และการจับ การเคลื่อนไหวของอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย ทส. 364 ศิลปะสำ�หรับคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (3 หน่วยกิต) IT 364 Art for Computer Graphics เรียนรูพ้ นื้ ฐานเบือ้ งต้นเกีย่ วกับการวาดเส้น การออกแบบ ภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ และทฤษฎีสีรวมทั้งแสงเงา ฝึกการวาดภาพ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรียนรู้การออกแบบและการจัดองค์ ประกอบภาพเบื้องต้นเพื่อใช้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อ มัลติมีเดีย


ทส. 365 คอมพิวเตอร์ก​ ราฟิกส์ (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับ​งาน​สาร​สนเทศ IT 365 Computer Graphics Applications for Information การ​ประยุกต์​ใช้​คอมพิวเตอร์​และ​เทคนิค​ต่างๆ เพื่อ​ใช้​ใน​ การ​ออกแบบ​และ​ตกแต่ง​​ภาพ​และตัว​อกั ษร ฝึก​การ​สร้าง​งาน​ใน​ลกั ษณะ​ ที​เ่ ป็นการ​ออกแบบ 2 มิต​ ิ ทงั้ ​ท​เี่ ป็น​รสั ​เตอร์​เบส และ​เว็ก​เตอร์​เบส เพือ่ ​ ประยุกต์​ใช้​ใน​งาน​สาร​สนเทศ ทส. 366 ภาพ​สาม​มิติ​และ​ภาพ​เคลื่อนไหว (3 หน่วยกิต) IT 366 Three-Dimensional Images and Animations พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 365 ศึกษา​ถึง​วิธี​การ​สร้าง​ภาพ​สาม​มิติ​และ​ภาพ​เคลื่อนไหว กรรมวิธ​กี าร​สร้าง​ขนั้ ​ตอน​ตงั้ ​แต่​เริม่ ต​ น้ ​จน​จบ​ขบวนการ ซึง่ ​รวม​ถงึ ​การ​ ท�ำส​ตอ​รี่​บอร์ด การ​ท�ำ​โมเดล​ลิ่ง และ​การ​สร้าง​เท็กซ์​เจ​อร์​ให้​กับ​วัตถุ​ ต่างๆ และ​ฝึกฝน​การ​ใช้​โปรแกรม​ประยุกต์ท​ ี่​สอดคล้อง​กับเ​นื้อหา ทส. 367 ภาพสามมิติและภาพเคลื่อนไหวขั้นสูง (3 หน่วยกิต) IT 367 Advanced Three-Dimensional Images and Animations พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 366 ฝึกฝนการสร้างภาพสามมิติและภาพเคลื่อนไหวโดยใช้ เทคนิคขั้นสูง โดยใช้โปรแกรมประยุกต์ที่ทันสมัยเพื่อให้ได้ภาพสาม มิติและภาพเคลื่อนไหวที่มีคุณภาพ เหมาะสมและสอดคล้องกับงาน สื่อประสมประเภทต่างๆ ทส. 368 วิดโี อและเสียงสำ�หรับเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย (3 หน่วยกิต) IT 368 Video and Sound for Multimedia Technology พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 367 เรียนรู้เรื่องเสียงที่มีผลกระทบต่ออารมณ์และความรู้สึก ของผู้ฟัง เทคนิคการเลือกเพลงและการใช้เสียงในสถานที่ต่างๆ

เทคนิคการสร้างเสียงสำ�หรับงานด้านเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย การบันทึก เสียง การแก้ไข และการสร้างเสียงพิเศษ เป็นต้น ทส. 390 สหกิจศึกษา (3 หน่วยกิต) IT 390 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 และ ทส. 420 ศึกษาระบบการท�ำงานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้ า นงานอาชี พ จากการปฏิ บั ติ งานพื้นฐาน อย่างมีหลักการ และเป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ท�ำงาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการท�ำงานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดท�ำรายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ทส. 401 ระบบ​สาร​สนเทศ​เพื่อก​ าร​จัดการ (3 หน่วยกิต) IT 401 Management Information Systems หลัก​การ​และ​หลัก​ปฏิบัติ​ใน​การ​บริหาร​ระบบ​สาร​สนเทศ​ ใน​แวดวง​ธุรกิจ การ​ฝึก​ปฏิบัติ​เพื่อ​การ​จัดการ วิธี​วิเคราะห์​ระบบ การ​ จัดการ​แบบ​เปลีย่ นแปลง ปัจจัย​ทาง​ดา้ น​บคุ ลากร การ​วางแผน​กลยุทธ์​ สาร​สนเทศ ผล​กระทบ​ต่อ​องค์กร​ใน​ระบบ​สาร​สนเทศ จริยธรรม​ด้าน​ คอมพิวเตอร์ และ​เทคโนโลยี​การ​สื่อสาร บทบาท​การ​จัดการ​ใน​การ​ บริหาร​ระบบ​สาร​สนเทศ​ใน​องค์กร การ​เพิ่ม​ศักยภาพ​การ​จัดการ​ด้วย​ คอมพิวเตอร์ ระบบ​ของ​กระบวนการ​ดา้ น​การ​ด�ำเนิน​งาน ระบบ​รายงาน​ ด้าน​การ​จดั การ ระบบ​สนับสนุนก​ าร​ตดั สินใ​จ ระบบ​ขอ้ มูล​ขา่ ว​สาร​ดา้ น​ การ​บริหาร ระบบ​ข้อมูล​ข่าว​สาร​ของ​ส�ำนักงาน ระบบ​ผู้​เชี่ยวชาญ หลักสูตรปริญญาตรี 315


ทส. 402 การพัฒนาโปรแกรมส�ำหรับองค์กร (3 หน่วยกิต) IT 402 Enterprise Applications Development พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 310 การออกแบบและสร้างโปรแกรมขนาดใหญ่ส�ำหรับใช้งาน ในองค์กร และการพัฒนาโปรแกรมเว็บส�ำหรับองค์กร รวมทัง้ สร้างเป็น ชุดโปรแกรมพร้อมใช้ สถาปัตยกรรมโปรแกรมที่ใช้ในองค์กรยุคใหม่ เช่น สถาปัตยกรรมเชิงบริการ และสถาปัตยกรรมเว็บเซอร์วสิ เป็นต้น ทส. 403 ระบบ​สาร​สนเทศ​ทางการ​เงิน (3 หน่วยกิต) IT 403 Financial Information Systems หลัก​การ​และ​โครงสร้าง​ระบบ​สาร​สนเทศ​ทางการ​เงิน​เบือ้ ง​ ต้น การ​ออกแบบ การน�ำ​มา​ใช้​ของ​ระบบ​สาร​สนเทศ​ทางการ​เงิน การ​ วิเคราะห์​และ​ควบคุม​ประมวล​ผล​ข้อมูล​ใน​ระบบ​การ​เงิน การ​แจก​จ่าย ข้อมูล​ด้าน​การ​เงิน การ​รายงาน​และ​การ​วัดผล และ​แนว​โน้ม​ใน​การ​ พัฒนา​ระบบ​สาร​สนเทศ​ทางการ​เงิน ทส. 410 การเขียนโปรแกรมบนอินเทอร์เน็ต (3 หน่วยกิต) IT 410 Internet Programming พืน้ ความรู:้ สอบได้ ทส. 310 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับอินเทอร์เน็ต จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การส่ ง ผ่ า นข้ อ มู ล เครื อ ข่ า ยใยแมงมุม การสร้างเว็บเพจ การเขียน โปรแกรมบนอินเทอร์เน็ต เพื่อประยุกต์ใช้ทางธุรกิจโดยผ่านทางระบบ อินเทอร์เน็ต เพือ่ ใช้เป็นพืน้ ฐานในพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์

316 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทส. 411 เทคโนโลยีของอุปกรณ์การ​ประมวล​ผล (3 หน่วยกิต) ​แบบ​โม​บาย IT 411 Mobile Devices Technology โปร​โต​คอล​ที่​ใช้​กับ​การ​ประมวล​ผล​แบบ​โม​บาย แวป​ไอโหมด โครงสร้าง​การ​รบั ส​ ง่ ข​ อ้ มูลอ​ นิ เ​ทอร์เ​น็ต จะ​ชว่ ย​เพิม่ ป​ ระสิทธิภาพ​ ใน​การ​ท�ำงาน​ให้​กับ​อุปกรณ์​สื่อสาร​ไร้​สาย​ที่​มี​ความ​จ�ำกัด​ใน​ขนาด​และ​ แบน​ด์​วิด​ท์ ท�ำให้​สามารถ​ประยุกต์​ใช้​กับ​งาน​ นัด​หมาย การ​ดู​ข้อมูล​ ข่าว​สาร​ได้​ทุก​เวลา​และ​ทุก​สถาน​ที่ ทส. 412 การเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ตขั้นสูง (3 หน่วยกิต) IT 412 Advanced Internet Programming พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 410 การเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ตขั้นสูง เช่น การเขียน โปรแกรมที่ทำ�งานแบบพร้อมกัน การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การ เขียนโปรแกรมสำ�หรับฐานข้อมูลสำ�หรับอินเทอร์เน็ต ระบบความ ปลอดภัยและการนำ�ข้อมูลเสดงในเครือข่าย การเขียนโปรแกรมฝั่ง เครื่องให้บริการ เอ็กซเอมแอล เอ็กซเอ็ซแอลที ซีเอ็ซเอ็ซ จาวา สคริปท์ และการให้บริการของเว็บ ทส. 420 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (3 หน่วยกิต) IT 420 Systems Analysis and Design พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 310 วงจรชีวิตเกี่ยวกับพัฒนาการของระบบซอฟต์แวร์ การ วิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์ขั้นพื้นฐานของ ระบบงาน ศึกษาระบบงานต่าง ๆ ที่อาจนำ�มาใช้ปฏิบัติได้ การหาจุด ประหยัดของระบบ การกำ�หนดรายละเอียดของระบบ วิธีการต่างๆ และการออกแบบขั้นพื้นฐาน วัตถุประสงค์ในการออกแบบระบบ การ เลือกและการประเมินผลของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การออกแบบ และพัฒนาซอฟต์แวร์ การนำ�ระบบไปใช้งานและการประเมินผลหลัง จากใช้งาน


ทส. 423 กลยุทธ์ก​ าร​จัดการเทคโนโลยีส​ าร​สนเทศ (3 หน่วยกิต) IT 423 Strategic Management of Information Technology พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 200 ศึกษา​บทบาท​ของ​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​ใน​เชิงกล​ยุทธ์​ และ​การ​จดั การ​ใน​อง​กร การ​ใช้​เทคโนโลยีส​ าร​สนเทศ​ให้​ม​ปี ระสิทธิภาพ​ ใน​อ งค์ กร น�ำ​กรณี ​ศึ ก ษา​ม า​ใช้ ​ร่วม​กั บ​การ​ส อน​เพื่ อ ​สาธิต ​การ​ใช้ เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​ให้​เกิด​การ​ได้​เปรียบ​ทางการ​แข่ง​ขัน กลยุทธ์​ใน​ การ​จดั การ​หน้าที​ข่ อง​เทคโนโลยีสาร​สนเทศ​ใน​องค์กร การ​ใช้​เทคโนโลยี​ สาร​สนเทศ​ให้​เหมาะ​สม​กบั ​โครงสร้าง​พนื้ ​ฐาน​และ​ศกั ยภาพ​ของ​องค์กร

ทส. 426 การ​จัดการ​ศูนย์ส​ าร​สนเทศ (3 หน่วยกิต) IT 426 Information Center Management พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 401 หลัก​การ​จัดการ​ศูนย์​สาร​สนเทศ วัตถุประสงค์​และ​องค์​ ประกอบ​ของ​ศูนย์​สาร​สนเทศ เรียน​รวู้​ ิธี​การ​จัดการ​องค์กร การ​ด�ำเนิน​ การ​การ​จัดการ และ​การ​ประเมิน​ผล​ศูนย์​สาร​สนเทศ การ​จัดการ​ด้าน​ บุคลากร การน�ำ​เสนอ การเต​ร​ยี ม​งาน และ​การ​ปฏิบตั ง​ิ าน​ใน​ศนู ย์ สร้าง​ ความ​เข้าใจ​และ​สามารถ​เลือก​ใช้​เทคโนโลยีท​เี่ หมาะ​สม​เพือ่ ​การ​ด�ำเนิน​ งาน​และ​การ​พัฒนา​ศูนย์​ให้​ดี​ยิ่ง​ขึ้น

ทส. 424 ระบบ​สนับสนุน​การ​ตัดสินใ​จ (3 หน่วยกิต) IT 424 Decision Support Systems พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 401 และ ทส. 420 ศึกษา​แนวคิด​ที่​ช่วย​ใน​การ​ตัดสิน​ใจ​ทาง​ธุรกิจ ขั้น​ตอน​ ใน​การ​ตัดสิน​ใจ การ​ตัดสิน​ใจ​เชิง​สัมพันธ์ คุณลักษณะ​และ​พัฒนาการ​ ของ​ร ะบบ​ส นั บ สนุ น ​การ​ตั ด สิ น ​ใ จ กรอบ​ใ น​การ​พัฒนา​ระบบ องค์​ ประกอบ​ของ​ไดอะ​ลอ็ ก ข้อมูล และ​แบบ​จ�ำลอง ระบบ​สาร​สนเทศ​เพือ่ ผ​ ​ู้ บริหาร​ระดับ​สูง (EIS) ระบบ​สนับสนุนการ​ตัดสิน​ใจ​แบบ​กลุ่ม (GDSS) เทคโนโลยี​ที่​เกี่ยว​กับ​ระบบ​สนับสนุน​การ​ตัดสิน​ใจ

ทส. 427 ระบบการจัดเก็บข้อมูลและการจัดการ (3 หน่วยกิต) IT 427 Information Storage and Management ศึกษาสถาปัตยกรรมและเทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลและ สารสนเทศ สถาปัตยกรรมระบบการจัดเก็บข้อมูลและศูนย์กลางข้อมูล ระบบเครื อ ข่ ายการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล อุ ป กรณ์ จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล โดยตรง (Direct-Attached Storage) ระบบเครือข่ายของหน่วยเก็บข้อมูล (Storage Area Network) รูปแบบการระบุต�ำ แหน่งในการค้นหาข้อมูล (Content-Addressed Storage) การจัดเก็บข้อมูลแบบเสมือนจริง ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลในระบบธุรกิจ การสำ�รองและกู้คืน ข้อมูล ความมัน่ คงปลอดภัยของการจัดเก็บข้อมูล ปัจจัยสำ�คัญในการ บริหารจัดการสารสนเทศ การจัดการวงจรการใช้งานของข้อมูล องค์ ประกอบของระบบการจัดเก็บข้อมูล การปกป้องข้อมูล Storage Area การบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานการจัดเก็บข้อมูล

ทส. 425 การ​จัดการ​ทรัพยากร​สาร​สนเทศ (3 หน่วยกิต) IT 425 Information Resource Management พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 401 ปัญหา​และ​เทคนิค​เกี่ยว​กับ​สาร​สนเทศ​เพื่อ​การ​จัดการ ค�ำ​นิยาม​ของ​ระบบ​การ​ประมวลผล​ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การ​ประเมิน​ ผล​ก าร​ติ ด ​ตั้ ง ​ร ะบบ และ​ก าร​จั ด การ​ระบบ​การ​ประมวล​ผล​ข้ อมูล​ อิเล็กทรอนิกส์​อย่าง​ต่อ​เนื่อง วิธี​การ​ได้​มา การ​จัด​ระบบ ดูแล​และ​ ควบคุม ทรัพยากร​ใน​ระบบ​สาร​สนเทศ รวม​ทั้ง​การ​วางแผน​โครง​งาน การ​ดูแล​เรื่อง​บุคลากร​และ​การ​จัดการ​ใน​เรื่อง​ทาง​เลือก​ของ​ค่า​ใช้​จ่าย​ ต่างๆ ทีเ่​กิด​ขึ้น

หลักสูตรปริญญาตรี 317


ทส. 435 เครือ​ข่าย​คอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) และ​โทรคมนาคม IT 435 Computer Networks and Telecommunications พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 310 ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​แนวคิดและ​หลัก​การ​ของ​เทคโนโลยี ​การ​สื่ อ สาร​ข้อ มูล รูป ​แบบ​เครือ​ข่า ยระบบ​เครือ​ข่าย​ท้อง​ถิ่น (LANs) โปร​โต​คอล และ​มาตรฐาน​ต่าง ๆ เทคโนโลยีส​ ​วิทช์ โทรศัพท์ เทคนิคการ​สลับและ​เลือก​เส้น​ทาง การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ใน​ระบบ​ เครือ​ข่าย​และ​การ​จัดการ​ทรัพยากร​ของ​โทรคมนาคม ระบบ​ผู้​ให้​และ​ ผูร้ บั บ​ ริการ​เครือข​ า่ ย​อนิ ​เทอร์เ​น็ตแบบ​ท​ซี ​พี /ี ไอ​พี สถาปัตยกรรม ​เครือ​ ข่าย และ​ระบบ​โทรคมนาคม​ต่างๆ ทส. 436 การออกแบบและการจัดการระบบ (3 หน่วยกิต) เครือข่าย IT 436 Network Design and Management พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 435 ศึกษาระบบเครือข่ายพืน้ ฐาน เช่น การจ�ำลองระบบเครือ ข่าย การประเมินประสิทธิภาพระบบเครือข่าย การวิเคราะห์ระบบเครือ ข่ายในเรื่องความเร็วและความล่าช้าในการรับส่งข้อมูล การออกแบบ เครือข่ายแบบรวมศูนย์และแบบกระจาย โปรแกรมประยุกต์ในระบบไร้ สาย การบริหารและจัดการระบบเครือข่าย โพรโทคอล SMNP และ สถาปัตยกรรมและการจัดการระบบเครือข่ายแบบกระจาย ทส. 437 เครือข่ายระบบการสื่อสารไร้สาย (3 หน่วยกิต) และอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ IT 437 Wireless and Mobile Networks พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 435 ศึ ก ษาระบบเครือข่ายไร้สาย อุปกรณ์เคลื่อนที่ในเครือ ข่า ย ไ ร้ ส า ย ข้อก�ำหนดต่างๆ ในเครือข่ายระบบการสื่อสารไร้สาย และ อุ ป ก ร ณ์ สื่อสารเคลื่อนที่ การจัดการเครือข่าย ระบบประกัน 318 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายไร้สาย โปรแกรมประยุกต์ เครื อ ข่ า ยระบบการสื่อสารไร้สายและอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ เช่น โปรแกรมประยุกต์ชนิดกระจาย โปรแกรมตัวกลางเชือ่ มต่อ การจัดการ ข้อ มู ล ในอุ ป กรณ์เคลื่อนที่ ระบบมัลติมีเดียในอุปกรณ์เคลื่อนที่ และ การสั่งงานทางไกลผ่านอุปกรณ์ ไร้สาย ทส. 440 ระบบ​การ​จัดการ​ฐาน​ข้อมูล (3 หน่วยกิต) IT 440 Database Management Systems พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 310 ระบบ​ฐาน​ข้อมูล การ​ออกแบบ​ข้อมูล​ทาง​กายภาพ ทาง​ ตรรกะ​และ​สถาปัตยกรรม แบบ​จ�ำลอง​ความ​สมั พันธ์ เอ็น​ต​ติ ี้ และ​กา​ร น​อร์​มอลไลซ์ ครอบคลุม​ถึง​ฐาน​ข้อมูล​ทั้งหมด และ​การ​ผสาน​ข้อมูล​ กับ​โปรแกรม ความ​ปลอดภัย และ​ความ​สมบูรณ์​ของ​ข้อมูล การ​ใช้​ ฐาน​ข้อมูล​ใน​การ​แก้​ปัญหา​ทาง​ธุรกิจ และ​การ​บริหาร​ฐาน​ข้อมูล มุ่ง​ เน้น​การ​จัดการ​องค์​รวม​ของ​ข้อมูล​ที่​ต้องการ​ใน​องค์กร ทส. 441 การ​จัดการ​ความ​ปลอดภัย (3 หน่วยกิต) ใน​ระบบ​คอมพิวเตอร์ IT 441 Computer Security Management พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 435 วิธี​สร้าง​ความ​ปลอดภัย​ใน​ระบบ​คอมพิวเตอร์​ระบบ​เครือ​ ข่าย​และ​ข้อมูล จาก​ผู้​แอบ​เข้า​ถึง​ข้อมูล​โดย​ไม่​ได้​รับ​อนุญาต หรือ​ไม่​ ได้​ตั้งใจ ​การ​ลักลอบ​เปลี่ยนแปลง​แก้ไข​ข้อมูล การ​ป้องกัน​เมื่อ​ระบบ​ ปฏิเสธการ​ให้​บริการ การ​ประเมิน​และ​การ​จัดการ​ความ​เสี่ยง การ​ลง​ รหัส ค​รปิ ​โตกราฟี ่ กรรมวิธ​รี บั รอง​ความ​ปลอดภัย ขอบเขต​การ​ปอ้ งกัน​ จาก​ซอฟต์แวร์​ท​ปี่ ระสงค์​รา้ ย​ตอ่ ​ระบบ ไวรัส ลอ​จกิ ​บอมบ์ วิธ​กี าร​ตรวจ​ สอบ​แก่น​ของ​ความ​ปลอดภัย


ทส. 442 การ​บริหาร​​ระบบ (3 หน่วยกิต) IT 442 System Administration พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 331 เครือ่ ง​มอื แ​ ละ​เทคนิคท​ ​ใี่ ช้​ใน​การ​บริหาร​ระบบ​คอมพิวเตอร์ การ​วางแผน ออกแบบ​ผงั ​ระบบ การ​จดั การ​กบั ​ระบบ​โดย​ทวั่ ไป การ​ตดิ ​ ตั้ง​ระบบ กา​รบูท​เครื่อง​และ​ปิด​ระบบ ระบบ​แฟ้ม​ข้อมูล​และ​โครงสร้าง สิทธิ​ใน​การ​ครอบ​ครอง​ไดเรก​ท​อรี่ การ​จัดสรร​เนื้อที่​ใน​หน่วย​ความ​จ�ำ​ ส�ำรอง การ​จัด​ล�ำดับ​ใน​การ​พิมพ์ การ​จัดการ​และ​วางโครง​ร่าง​อุปกรณ์ การ​บริหาร​บัญชี​ผู้​ใช้​บริการ ความ​ปลอดภัย การ​ใช้ค​ริปท์​ขั้น​สูง​เพื่อ​ ช่วย​ใน​งานการ​บริหาร​ระบบ​ต่างๆ

ทส. 447 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) IT 447 Software Engineering พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 420 เทคนิ ค ​การ​อ อกแบบ​ซ อฟต์ แ วร์ การ​บริหาร​โครงการ​ พัฒนา​ซอฟต์แวร์ การ​วางแผน​โครง​งาน คุณสมบัติ​ของ​ซอฟต์แวร์ การ​ออกแบบ​สถาปัตยกรรม การ​วัด​คุณภาพ​ของ​ซอฟต์แวร์ เทคนิค​ การ​ประมาณ​ราคา​ซอฟต์แวร์ โครงสร้าง​ของ​การ​จัด​ท�ำ​เอกสาร การ​ ออกแบบ​ซอฟต์แวร์ การ​ทดสอบ การ​ท�ำงาน​เป็นก​ลุ่ม ระเบียบ​วิธี​ใน​ การ​พัฒนา​ระบบ การ​ประเมิน​ผล​และ​คัด​เลือก​เครื่อง​มือ CASE การ​ ใช้​เครื่อง​มือ CASE ใน​โครง​งาน​พัฒนา​ซอฟต์แวร์

ทส. 443 ดาต้า​แวร์​เฮ้าส์ซ​ ิ่ง (3 หน่วยกิต) IT 443 Data Warehousing พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 440 แนวคิดเ​กีย่ ว​กบั ​ดาต้า​แวร์เ​ฮ้าส์ซ​ งิ่ ลักษณะ​ขอ​งดาต้าแวร์​ เฮ้าส์​ซงิ่ อุปสรรค​และ​ขอ้ ​เสีย​ขอ​งดาต้าแวร์​เฮ้าส์​ซงิ่ สถาปัตยกรรม​ขอ​ง ดาต้าแวร์เ​ฮ้าส์ซ​ งิ่ การ​ออกแบบ​ขอ้ มูลภ​ าย​ใน​ดาต้า​แวร์เ​ฮ้าส์ซ​ งิ่ โครงสร้างการ​จดั ​เก็บ​ขอ้ มูล​ภาย​ใน​ดาต้า​แวร์​เฮ้าส์​ซงิ่ การ​รวม​ขอ้ มูล​เพือ่ ​จดั ​ เก็บ​ใน​ดาต้า​แวร์เ​ฮ้าส์​ซิ่ง ความ​ซับซ​ ้อน​และ​เทคนิค การ​สร้าง​ข้อมูลท​ ี่​ มี​คุณภาพ ดาต้า​มาร์ท ดาต้า​มาย​นิ่ง ดาต้า​เว็บ​เฮ้าส์​ซิ่ง เว็บม​ าย​นิ่ง

ทส. 448 การ​ออกแบบ​เอกสาร (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับ​โปรแกรม​และ​ระบบ IT 448 Software and System Documentation Design พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 420 ระบบ​เอกสาร​ที่ ​ใ ช้ ​ป ระกอบ​โปรแกรม​และ​ระบบ​คอมพิวเตอร์ ​แ บบ​ต่ า งๆ คู่ มื อ เอกสาร​อ้างอิง เอกสาร​การ​ช่วย​เหลือ​ อิเล็กทรอนิกส์​การ​สร้าง การ​ใช้​และ​ตัวอย่าง​การ​ท�ำ​เอกสาร​ที่​เหมาะ​ สม​กับ​ระบบ​คอมพิวเตอร์

ทส. 446 ปฏิ​สัมพันธ์​ระหว่าง​มนุษย์​กับ​คอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) IT 446 Human-Computer Interaction แนว​ความ​คดิ เ​กีย่ ว​กบั ป​ จั จัยข​ อง​มนุษย์แ​ ละ​การ​ออกแบบ​ อิน​เทอร์​เฟส​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ศักยภาพ​ของ​ทั้ง​มนุษย์​และ​คอมพิวเตอร์​ ระบบ​การ​ให้​ความ​ชว่ ย​เหลือ​เมือ่ ​ม​ปี ญั หา รูป​แบบ​การ​ปฏิ​สมั พันธ์ และ​ หลักการ​ออกแบบ​ที่​มอง​เห็น​ได้ แบบ​จ�ำลอง​การ​อิน​เทอร์​เฟส​ของ​ผู้​ใช้ และ​เครื่อง​มือ​ที่​น�ำ​มา​พัฒนา ผล​กระทบของ​เทคโนโลยี​ที่​มี​ต่อ​มนุษย์ การวางแผน​ใน​การ​เลือก​ใช้​เทคโนโลยี การน�ำ​มา​ปฏิบัติ​และ​การ​ใช้​ เทคโนโลยีเพื่อ​ให้ผ​ ล​กระทบ​ปรากฏ​ออก​มา​ใน​เชิง​บวก

ทส. 450 การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม (3 หน่วยกิต) เชิงวัตถุ IT 450 Object-Oriented Analysis and Design พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 316 นิยาม​และ​คณ ุ สมบัตข​ิ อง​ภาษา​เชิง​วตั ถุ ออบ​เจ็คต์ คลาส เอน​แคป​ซูเล​ชัน อิน​เฮ​อร์​ริ​แทน​ซ์ และ​โพ​ลี​มอร์ฟิ​ซึม การ​ออกแบบ​ เชิง​วัตถุ แนว​ความ​คิด และ​เทคนิค​ของ​การ​เขียน​โปรแกรม​เชิง​วัตถุ การ​สร้าง​และการ​พัฒนาฐานข้อมูลเชิงวัตถุ​โปรแกรม​ประยุกต์​ หลัก​ การ​ที่​ใช้​ใน​เทค​โน​ยี​เชิง​วัตถุ รูป​แบบจ�ำลอง​ความ​สัมพันธ์​ของ​วัตถุ รูป​แบบ​จ�ำลอง​พฤติกรรม​ของ​วัตถุ วิธ​ีการ​และ​เทคนิค​ของ​การ​พัฒนา​ ซอฟต์แวร์​เชิง​วัตถุ หลักสูตรปริญญาตรี 319


ทส. 451 การ​ถ่าย​โอน​เทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) IT 451 Technology Transfer พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​เอก-บังคับ​อย่าง​น้อย 3 วิชา กลยุทธ์ท​ ​เี่ ปลีย่ นแปลง​เพือ่ เ​อือ้ ต​ อ่ ก​ าร​ถา่ ย​โอน​เทคโนโลยี​ ความ​คิ ด ​ใ หม่ ๆ และ​เครื่อง​มือ​เพื่อ​ง านนวัต​กรรม​ด้าน​เทคโนโลยี​ที่​ สามารถ​ออกแบบ​ได้​และ​ผลิต​ได้ ประสบการณ์​โดยตรง​จาก​การ​จ�ำลอง​ และการ​ปฏิบัติ​ใน​เหตุการณ์​ที่​เอื้อ​ต่อ​การ​เปลี่ยนแปลง กรณี​ศึกษา​ถึง​ ผล​กระทบ​ของ​การ​เปลี่ยนแปลง​ทางเทคโนโลยีท​ ี่​มี​ต่อร​ ะบบ​และ​บุคคล​ เกี่ยวข้อง ทส. 452 การสือ่ สารทางวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หน่วยกิต) IT 452 Information Technology Professional Communication กระบวนการ​น�ำ​เสนอ​ข้อมูล​ตั้ง​แต่​เริ่ม​ต้น การ​วางแผน การ​ท�ำส​ตอ​รี​บอร์ด ปัจจัย​ต่างๆ ที่​มี​ผล​ต่อ​การน�ำ​เสนอ ลักษณะ​ของ​ กลุ่ม​ผู้​ฟัง สถาน​ที่ การ​เลือก​ประเภท​ของ​เทคโนโลยี การเต​รี​ยม​พร้อม​ ก่อน​การน�ำ​เสนอ การน�ำ​เสนอ การ​โต้ตอบ​กับ​ผู้​ฟัง การ​สรุป​การน�ำ​ เสนอ​และ​การ​ประเมิน​การน�ำ​เสนอ ทส. 460 การ​ประยุกต์ใ​ช้​ปัญญา​ประดิษฐ์ (3 หน่วยกิต) IT 460 Applications of Artificial Intelligence พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 310 ความ​รู้ ​เบื้ อ ง​ต้ น ​เกี่ ยว​กับ​ปัญญา​ประดิษฐ์ บทบาท​ของ​ ปัญญา​ประดิษฐ์​แบบ​ประยุกต์​ใน​แวดวง​ธุรกิจ ความ​รู้​พื้น​ฐาน​เกี่ยว​ กับ​ระบบ​ผู้​เชี่ยวชาญ ระบบ​ฐาน​ความ​รู้ การ​ตัดสิน​ใจ​เพื่อ​การ​บริหาร​ เทคโนโลยีเกี่ยว​กับ​การ​ประมวล​ผล​ด้วย​ภาษา​ธรรมชาติ คอมพิวเตอร์​ ทัศน์ และ​หัวข้อท​ ี่​เกี่ยวข้อง​อื่นๆ ทส. 464 กา​รบ​ริ​หาร​เว็บ (3 หน่วยกิต) IT 464 Web Administration ทฤษฎี​และ​เครื่อง​มือ​ที่​ใช้​ใน​การ​บริหาร​ระบบ​เว็บ​เซิร์ฟเวอร์ การ​วางแผน ออกแบบ​ผัง​ระบบ การ​จัดการ​ระบบ​โดย​ทั่วไป 320 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

การ​ติด​ตั้ง​ระบบ ระบบ​แฟ้ม​ข้อมูล​และ​โครงสร้าง​สิทธิ​ใน​การ​ครอบ​ ครองไดเรก​ท​อรี่ การ​บริหาร​บัญชี​ผู้​ใช้​บริการ ความ​ปลอดภัย การ​ใช้ สค​ริปท์​เพื่อ​ช่วย​ใน​งานการ​บริหารระบบ​ต่างๆ ทส. 465 การ​ออกแบบ​และ​พัฒนา​เว็บ (3 หน่วยกิต) IT 465 Web Design and Implementation วิชา​นี้​อยู่​บน​พื้น​ฐาน​ของ HTML ภาพ​รวม​การ​ออก​แบบ เว็​บ การ​ใช้​งาน ข้อมูลก​ าร​ออกแบบ และกราฟิก​ที่​ใช้​ใน​การ​เขียน​เนื้อ​ หา​บนเว็บ ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​บน​เทคโนโลยี​เว็บ​ไซต์ รวม​ทั้ง​การ​สร้าง CSS และ Dynamic HTML ทส. 466 เทคโนโลยี​มัลต​ ิ​มีเดีย (3 หน่วยกิต) IT 466 Multimedia Technology ความ​รู ้ ​เบื้ อ ง​ต ้ น ​เกี่ ย ว​กั บ ​การ​ใช้ ​ค อมพิ ว เตอร์​ส�ำห​รับ​ มั ล ​ติ มีเดีย การ​ผลิต​เอกสาร​สื่อ​สิ่ง​พิมพ์ ไฮเปอร์​เทกซ์ ไฮเปอร์​มีเดีย สื่อ​ใน​การน�ำ​เสนอ ตัว​อักษร กราฟิก ภาพ​นิ่ง ภาพ​การ​เคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ เทคนิค​การน�ำ​เสนอ​โดย​ใช้​มัลต​ ิ​มีเดีย ทส. 467 พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) IT 467 Electronic Commerce หลัก​การ​เบื้อง​ต้น​ของ​ระบบ​อิน​เทอร์​เน็ต โครงสร้าง​พื้น​ ฐาน​ของ​ระบบ​การ​คา​ ้ อเิ ล็กทรอนิกส์แ​ ละหลักก​ าร​เบือ้ ง​ตน้ ใ​น​การ​จดั การ​ ทาง​ธรุ กิจ​รปู ​แบบ​ใหม่ การ​คา​ ้ แบบ​ธรุ กิจ​กบั ​ธรุ กิจ การ​คา​ ้ แบบ​ธรุ กิจ​กบั ​ ลูกค้า การ​ค้า​แบบ​ธุรกิจ​กับ​องค์กร​ธุรกิจข​ นาด​ใหญ่ ระบบ​การ​รับ-จ่าย​ เงิน​บน​อิน​เทอร์​เน็ต เรียน​รู้​ระบบความ​ปลอดภัย ปัญหา​อุปสรรค​ของ​ ระบบ​การ​คา​ ้ อเิ ล็กทรอนิกส์ การ​จดั ต​ งั้ เ​ว็บไ​ซต์ การ​จดโด​เมน​เนม รวม​ ทั้ง​ศึกษา​เทคโนโลยี​การ​ค้า​อิเล็กทรอนิกส์​ที่​อาจ​จะ​เกิด​ขึ้น​ใน​อนาคต ประยุกต์​และ​แก้​ปญั หา​ทงั้ ​ใน​รปู ​แบบ​การ​ท�ำ​รายงาน​และ​การ​พฒ ั ​นาเว็บ​ไซต์


ทส. 468 กลยุทธ์การท�ำธุรกิจผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) IT 468 e-Business Strategy พื้นความรู้: สอบได้ ทส. 200 ศึกษาเกีย่ วกับวิธกี ารออกแบบกระบวนการและการน�ำวิธี แก้ปญั หาไปใช้ส�ำหรับการท�ำธุรกรรมผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ โดยอาศัย แนวคิดเชิงรูปแบบในทุกขั้นตอนของการพัฒนาระบบการท�ำธุรกรรม ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบทางธุรกิจประกอบด้วยการแลกเปลี่ยน ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ทส. 470 การ​วิจัย​ด�ำเนินง​ าน (3 หน่วยกิต) IT 470 Operations Research พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คณ. 114 ความ​หมาย​และ​บทบาท​ของ​การ​วจิ ยั ด​ �ำเนินง​าน การ​สร้าง​ ตัว​แบบ​การ​โปรแกรม​เชิง​เส้น การ​จัดสรร​ทรัพยากร รูป​แบบ​ปัญหา​ ทางการ​ขนส่ง รูป​แบบ​ปัญหา​การ​จัด​งาน ตัว​แบบ​การ​ประสาน​งาน การ​จัด​ล�ำดับ​งาน​และ​การ​ก�ำหนด​ขั้น​ตอน​ของ​งาน ทส. 471 การ​วิจัย​เชิงธ​ ุรกิจ (3 หน่วยกิต) IT 471 Business Research Methods พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ สถ. 207 ความ​รเ​ู้ บือ้ ง​ตน้ เ​กีย่ ว​กบั ว​ ธิ ก​ี าร​วจิ ยั ท​ าง​ธรุ กิจ การ​ก�ำหนด​ ปัญหา การ​ตั้ง ​สมมติฐาน การ​วางแผน​และ​การ​ออกแบบ​การ​วิจัย​ ทรัพยากร​และ​เครื่อง​มือ​ใน​การ​วิจัย การ​ออกแบบ​ทฤษฎี​สุ่ม​ตัวอย่าง การ​ทดสอบ​ค่า​พารา​มิเตอร์​และ​นอน​พารา​มิเตอร์​เพื่อ​การ​อ้างอิง​ทาง​ ด้าน​สถิติ การ​รวบรวม การ​วิเคราะห์​โดย​น�ำ​โปรแกรม​ประยุกต์​ด้าน​ สถิติ​มา​ใช้ การ​แปล​ความ​หมาย​ข้อมูล การ​สรุป การ​ท�ำ​รายงาน​การ​ วิจัย​และ​การ​เผย​แพร่

ทส. 480 การ​ออกแบบ (3 หน่วยกิต) และ​พัฒนา​เกมส์ค​ อมพิวเตอร์ IT 480 Computer Games Design and Development ความ​ร​เู้ บือ้ ง​ตน้ ​เกีย่ ว​กบั ​เกมส์​คอมพิวเตอร์ จิตวิทยา​ของ​ การ​ออกแบบ​เกมส์ ปรัชญา​ของ​ผ​ผู้ ลิต​และ​ผ​เู้ ล่น​เกมส์ กระบวนการ​ใน​ การ​พัฒนา​เกมส์​ประเภท​ต่าง ๆ ทั้ง​ที่​เล่น​คน​เดียว​และ​เล่น​ผ่าน​ระบบ อิน​เทอร์​เน็ต การ​ประเมิน​ผล​และ​การ​สร้าง​เอกสาร​ประกอบ​เกมส์ ทส. 481 การ​ออกแบบ​ปฏิ​สมั พันธ์​บน​อปุ กรณ์​ไร้​สาย (3 หน่วยกิต) IT 481 Interface Design for Wireless Devices ศึกษา​กลยุทธ์​และ​เทคนิค​การ​ออกแบบ​ส่วน​ต่อ​ประสาน​ กับ​ผู้​ใช้​ใน​อุปกรณ์​ไร้​สาย เรียน​รู้สถาปัตยกรรม​สาร​สนเทศ กรอบ​หน้า​ จอ การ​ทดสอบ​ความ​สามารถ​ใน​การ​ใช้​งาน​ได้​จริง​บน​อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เช่น อุปกรณ์​สื่อสาร​แบบ​ติดตาม​ตัว อุปกรณ์​สื่อสาร​แบบ​พก​พา และ​ โทรศัพท์​เคลื่อนที่ ทส. 490 สัมมนา (2 หน่วยกิต) IT 490 Seminar พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เอก-บังคับ​อย่าง​น้อย 3 วิชา นักศ​ กึ ษา​จะ​ได้ร​ บั ​มอบ​หมาย​ให้ศ​ กึ ษา​เกีย่ ว​กบั เ​ทคโนโลยี​ สาร​สนเทศ​ใน​แง่ม​ มุ แ​ ละ​สาขา​ตา่ งๆ โดย​ท�ำ​รายงาน​น�ำ​เสนอ​ผล​งาน​และ​ อภิปราย​เกี่ยว​กับ​เนื้อหา​ที่​นัก​ศึกษา​ได้​ค้นคว้า​มา ทส. 491 การ​ศึกษา​อิสระ (2 หน่วยกิต) IT 491 Independent Study พื้น​ความ​รู้: นัก​ศึกษา​ชั้น​ปี​ที่ 4 และ สอบ​ได้ว​ ิชา​เอก-บังคับ อย่าง​น้อย 2 วิชา ศึกษา​ใน​หวั ข้อ​อสิ ระ​พร้อม​กบั ท​ �ำ​รายงาน​สง่ ​ใน​เรือ่ ง​เกีย่ ว​ กับ​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ หัวข้อ​ที่​จะ​ศึกษา​จะ​ต้อง​ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​ อาจารย์​ใน​ภาค​วิชา​ก่อน หลักสูตรปริญญาตรี 321


ทส. 492 หัวข้อ​พิเศษ 1 (3 หน่วยกิต) IT 492 Special Topics I พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เอก-บังคับ​อย่าง​น้อย 3 วิชา ศึกษา​เทคโนโลยี​ท​ที่ นั ​สมัย และ/หรือ​หวั ข้อ​ท​นี่ า​ ่ สนใจ​เกีย่ ว​ กับ​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ ทส. 493 หัวข้อ​พิเศษ 2 (3 หน่วยกิต) IT 493 Special Topics II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เอก-บังคับ​อย่าง​น้อย 3 วิชา ศึกษา​เทคโนโลยี​ท​ที่ นั ​สมัย และ/หรือ​หวั ข้อ​ท​นี่ า​ ่ สนใจ​เกีย่ ว​ กับ​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ ซึ่งแ​ ตก​ต่าง​จาก ทส. 492 หัวข้อ​พิเศษ 1 ทส. 494 กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) สารสนเทศ IT 494 Legal and Ethical Aspects of Information Technology ศึ ก ษ า ห ลั กกฎหมายควบคู ่ กั บ จริ ย ธรรมของผู ้ ใ ช้ คอมพิวเตอร์และนักเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเน้นแนวคิดเบือ้ งต้นที่ เกีย่ วกับกฎหมายและลิขสิทธิซ์ อฟต์แวร์ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการก ระท�ำผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ำธุรกรรม บนอิเล็กทรอนิกส์ ทส. 497 โครง​งาน​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ 1 (1 หน่วยกิต) IT 497 Information Technology Project I พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 466 หรือ ทส. 440 นัก​ศึกษา​ต้อง​ด�ำเนิน​การ​วางแผน​และ​ออกแบบ​โครง​งาน​ ที​เ่ กีย่ ว​กบั ​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ มีก​ าร​เสนอ​โครง​งาน​และ​รายงาน​เพือ่ ​ ด�ำเนินก​ าร​ใน​วิชา ทส. 498 โครง​งาน​เทคโนโลยีส​ าร​สนเทศ 2

322 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทส. 498 โครง​งาน​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ 2 (3 หน่วยกิต) IT 498 Information Technoiogy Project II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ทส. 497 เป็น​โครง​งาน​ต่อ​เนื่องจาก​วิชา ทส. 497 โครง​งาน​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ 1 นัก​ศึกษา​ต้อง​ด�ำเนิน​การ​พัฒนา​ระบบ​เทคโนโลยี​ สาร​สนเทศ​ใน​โครง​งาน​ให้​เสร็จ​สมบูรณ์​ใช้​งาน​ได้​จริง จัด​ท�ำเอกสาร​ โครง​งาน​และ​สอบ​ปาก​เปล่า​เกี่ยว​กับ​โครง​งาน​ที่​ท�ำ

หมวด​วิชา​วิศวกรรม​ซอฟต์แวร์ วซ. 100 วิศวกรรม​ซอฟต์แวร์เบื้องต้น (3 หน่วยกิต) SE 100 Introduction to Software Engineering เนื้อหา​วิชา​ครอบคลุม​พื้น​ฐาน​ทาง​วิทยาศาสตร์​ส�ำหรับ​ วิศวกรรม​ซอฟต์แวร์ โดย​เรียน​รกู้​ ระบวนการ​พัฒนา​และ​วัฏจักร​ใน​การ​ พัฒนา​ซอฟต์แวร์ ซึ่ง​มุ่ง​เน้น​ไป​ที่​การน�ำ​หลัก​การ​เชิง​วัตถุ​มา​ใช้​กับ​รูป​ แบบ​การ​พั ฒ นา​ซ อฟต์ แ วร์ ​แบบ​ท�ำ​ซ�้ำ​แ ละ​แ บบ​เพิ่ ม ​เติ ม รวม​ทั้ง​ ครอบคลุ ม ​ถึ ง ​ก ลยุ ท ธ์ ​ต่ า งๆ ที่ ​ใ ช้ ​ใ น​การ​พัฒ นา​ซ อฟต์ แ วร์ ได้ แก่ กระบวนการ Personal Software การ​เขียน​โปรแกรม​แบบ Extreme และ​แบบ Agile ของ​การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์​ให้​มี​ความ​ก้าวหน้า​และ​เกิด​ ผล​งาน วซ. 110 ​คอมพิวเตอร์และการโปรแกรม (3 หน่วยกิต) SE 110 Computer and Programming ระบบ​คอมพิวเตอร์เ​บือ้ ง​ตน้ การ​พฒ ั น​ า​อลั ก​ อริท​ มึ เทคนิค​ ใน​การ​แก้​ปัญหา การ​เขียน​ผัง​งาน การ​เขียน​โปรแกรม​โดย​ใช้​ภาษา​ ระดับ​สงู ชนิด​ขอ้ มูล ค่า​คงที่ ตัวแปร นิพจน์ คำ�​สงั่ ร​ บั ​ขอ้ มูล​และ​แสดง​ ผลลัพธ์​คำ�​สั่ง​กำ�หนด​ค่า คำ�​สั่ง​ควบคุม การ​ประมวล​ผล​ข้อความ อาร์เรย์​โปรแกรม​ย่อย การ​เรียง​ลำ�ดับ​ข้อมูล​และ​การ​ค้นหา​ข้อมูล


วซ. 111 ชนิด​ข้อมูล​นาม​ธรรม​และ​การ​แก้​ปัญหา (3 หน่วยกิต) SE 111 Abstract Data Type and Problem Solving พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 100 ศึกษา​ถงึ ช​ นิดข​ อ้ มูลน​ าม​ธรรม การ​ก�ำ หนด​และ​การ​ปกปิด​ สาร​สนเทศ​โดย​อาศัยโ​ครงสร้าง​ขอ้ มูลท​ ห​ี่ ลาก​หลาย นอกจาก​นย​ี้ งั ร​ วม​ ถึง​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​เกี่ยว​กับ​กลยุทธ์​พื้น​ฐาน​การ​แก้​ปัญหา​และ​หัวข้อ​ที่​ เกี่ยว​กับ​กลยุทธ์​ใน​การ​พัฒนา​แบบ​สถิต​และ​พลวัต วซ. 200 ระบบ​ฐาน​ข้อมูลแ​ ละ​การ​ออกแบบ​ (3 หน่วยกิต) ระบบ​ฐาน​ข้อมูล SE 200 Database Systems and Database Systems Design พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 311 แนวคิดเ​กีย่ ว​กบั ร​ ะบบ​ฐาน​ขอ้ มูล การ​ออกแบบ​ระบบ​ฐาน​ ข้อมูล และ​การ​จดั การ​ฐาน​ขอ้ มูล ศึกษา​ฟงั ก์ชนั ท​ ข​่ี น้ึ ต​ รง​ตอ่ ก​ นั การ​ท�ำ ​ บรรทัดฐาน การ​เรียก​คน้ ​ขอ้ มูล​อย่าง​ม​ปี ระสิทธิภาพ การ​รกั ษา​ความ​ ปลอดภัย​ของ​ระบบ​ฐาน​ขอ้ มูล และ​การ​ควบคุม​การ​เข้า​ใช้ง​าน​พร้อม​กนั วซ. 201 โครงสร้าง​คอมพิวเตอร์​ (3 หน่วยกิต) SE 201 Computer Organization เรี ย น​รู้ ​วิ ธี ​การ​อ อกแบบ​ไ มโคร​โพร​เซส​เซอร์ ศึ ก ษา​ โครงสร้าง​ของ​ระบบ​โดย​ใช้ห​ น่วย​งาน​ประมวล​ผล หน่วย​ความ​จ�ำ หน่วย​ รับ​และ​แสดง​ผล​ข้อมูล ศึกษา​คำ�​สั่ง​และ​การ​ใช้​งาน​คำ�​สั่ง​ใน​ระบบ​ คอมพิวเตอร์ การ​ทำ�​ไปป์​ไลน์ ลำ�ดับช​ ั้น​ของ​หน่วย​ความ​จำ� และ​การ​ ออกแบบ​สถาปัตยกรรม​คอมพิวเตอร์​รวม​ถึง​คำ�ส​ ั่ง​ที่​ใช้ วซ. 202 ระบบ​ปฏิบัติ​การ (3 หน่วยกิต) SE 202 Operating Systems พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 201 ศึกษา​ววิ ฒ ั นาการ​ของ​การ​ออกแบบ และ​การ​ใช้ง​าน​ระบบ​ ปฏิบตั ก​ิ าร วัตถุประสงค์ข​ อง​ระบบ​ปฏิบตั ก​ิ าร​โดย​ทวั่ ไป โครงสร้าง​ของ​ ระบบ​ปฏิบตั ก​ิ าร​และ​สว่ น​ประกอบ​ตา่ งๆ ได้แก่ การ​ด�ำ เนินง​าน​และ​การ​

ประมวล​ผล การ​ซงิ โ​คร​ไนซ์ การ​จดั ต​ าราง​งาน การ​จดั การ​หน่วย​ความ​ จำ�​และหน่วย​ความ​จำ�​เสมือน การ​จัดการ​ทรัพยากร ระบบ​แฟ้ม​ข้อมูล การ​รักษา​ความ​ปลอดภัย และ​การ​ป้องกัน​ของ​ระบบ​ปฏิบัติ​การ วซ. 204 กระบวนการ​ซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) และ​การ​ประกันค​ ุณภาพ SE 204 Software Process and Quality Assurance พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 100 ​ส่วน​ประกอบ​ของ​กระบวนการ​ใน​การ​จัด​ทำ�​ซอฟต์แวร์ เช่น กิจกรรม​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​การ​จัด​ทำ�​ซอฟต์แวร์ วิธี​การ​และ​การ​ปฏิบัติ​ งาน ซึ่ง​นำ�​ไป​สู่​การ​พัฒนา​และ​ปรับปรุง​กระบวนการ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ โดย​ผล​ที่ ​ได้​จาก​กระบวนการ​ต่างๆ เหล่า​นี้​จะ​เน้น​ไป​ที่​การ​สร้าง​ ซอฟต์แวร์ การ​วัดผล การ​รับ​ประกัน​กระบวนการ​ใน​การ​จัด​ทำ�​ ซอฟต์แวร์ รวม​ทั้ง​คุณภาพ​ของ​ซอฟต์แวร์​ที่​ได้​กำ�หนด​ขอบเขต​การ​ สร้าง การ​วัดผล การ​รับรอง​กระบวนการ​ซอฟต์แวร์ และ​ผลิตภัณฑ์ วซ. 205 การปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) SE 205 Software Process Improvement พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 204 แนวคิดเบื้องต้นของกระบวนการซอฟต์แวร์ และการ ปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์โดยใช้แบบจำ�ลองความสามารถของ กระบวนการซอฟต์แวร์ เทคนิคการประเมินกระบวนการซอฟต์แวร์ เน้นการประยุกต์ใช้แนวคิดของกระบวนการในงานอุตสาหกรรม

วซ. 210 การ​โปรแกรม​​เชิงอ็อบเจกต์ (3 หน่วยกิต) SE 210 Object-Oriented Programming พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 110 เนื้อหา​วิชา​เน้น​เทคนิค​การ​เขียน​โปรแกรม​เชิง​วัตถุ เรียน​ รู้​ถึง​คุณสมบัติ​การ​ถ่ายทอด โพ​ลี​มอร์ฟซิ​ ึม และ​การ​ซ่อน​ราย​ละเอียด​ ของ​วัตถุ หลักสูตรปริญญาตรี 323


วซ. 211 สถาปัตยกรรมสำ�หรับองค์กร (3 หน่วยกิต) SE 211 Enterprise Architecture พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 100 ศึกษาแนวคิด หลักการ และวิธีในสถาปัตยกรรมสำ�หรับ องค์กรขนาดใหญ่ เนื้อหารวมถึงรูปแบบต่างๆ ของสถาปัตยกรรม ภาษาที่ ใ ช้ ใ นการอธิ บายสถาปัตยกรรม การเชื่อ มต่อ ซอฟต์ แ วร์ สถาปั ต ยกรรมแบบพลวั ต และการวิ เ คราะห์ แ ละออกแบบ สถาปัตยกรรม ซึ่งจะทำ�ให้ทราบถึงหน้าที่ของสถาปนิกผู้ออกแบบ ซอฟต์แวร์ ในขั้นตอนของการรวมรวบความต้องการ การออกแบบ ระบบ และการติดตั้งระบบ วซ. 212 การ​วิเคราะห์แ​ ละ​ออกแบบ​เชิงอ็อบเจกต์ (3 หน่วยกิต) SE 212 Object-Oriented Analysis and Design พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 210 เนือ้ หา​วชิ า​สอน​ให้​ผเ​ู้ รียน​มอง​ภาพ​รวม​ของ​การ​วเิ คราะห์​ และ​ออกแบบ​เชิง​วัตถุ เรียน​รู้​ที่​จะ​วิเคราะห์แ​ ละ​ออกแบบ​ต้นแบบ​ของ​ วัตถุ​ที่​ตรง​กับ​ความ​ต้องการ​ของ​ระบบ ฝึก​ทำ�​ต้นแบบ​โดย​ใช้ UML สามารถ​ระบุ​กรณี​ตัวอย่าง​และ​ขยาย​ผล ​เพื่อ​นำ�​ไป​สู่​การ​ออกแบบ​ที่​ สมบูรณ์​ สามารถ​ขยาย​แนวคิดจ​ าก​การ​วิเคราะห์​ไป​สู่​การ​ออกแบบ​ซึ่ง​ พร้อม​ที่​จะ​นำ�​ไป​ใช้​สร้าง​เป็นซ​ อฟต์แวร์ วซ. 213 โครงสร้าง​ไม่​ต่อ​เนื่อง (3 หน่วยกิต) SE 213 Discrete Structures ตรรกศาสตร์ ทฤษฎี​เซต ความ​สัมพันธ์ ฟังก์ชัน ทฤษฎี​ และ​การ​พิสูจน์ ระบบ​พีชคณิต พีช​คณิ​ตบูล​ ีน เซ​มิ​กรุ๊ป กรุ๊ป ทฤษฎี​ กราฟ กราฟ​แบบ​ระบุ​ทิศทาง กราฟ​แบบ​ไม่​ระบุท​ ิศทาง ต้นไม้ ปัญหา​ ทาง​เดิน​ของ​กราฟ​แบบ​ระบุท​ ิศทาง เครื่อง​ทัว​ริง เครื่อง​สถานะ​จำ�กัด วงจร​เชิง​วิธี​ผสม

324 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วซ. 220 การ​กำ�หนด​และ​การ​จัดการ​ความ​ต้องการ (3 หน่วยกิต) ทาง​ซอฟต์แวร์ SE 220 Software Requirements Specification and Management พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 100 ศึกษา​กระบวนการ​ตา่ งๆ ทีเ​่ กิดข​ น้ึ ใ​น​การ​พฒ ั นา​ซอฟต์แวร์​ ไม่​ว่า​จะ​เป็นการ​กำ�หนด​ความ​ต้องการ​ของ​ระบบ การ​วิเคราะห์​ระบบ​ การ​ต่อ​รอง การ​กำ�หนด​ขอบเขต​หรือ​สิ่ง​ที่​จำ�เป็น​สำ�หรับ​การ​พัฒนา​ ระบบ​ การ​ทดสอบ​ระบบ และ​การ​จัดการ​ทำ�ค​ ำ�ร้อง​ขอ ซึ่งก​ ระบวนการ​ ต่างๆ เหล่า​นี้​ได้​อาศัย​วิธี​การ เทคนิค และเครื่อง​มือห​ ลาย​ชนิด​ใน​การ​ กำ�หนด​ความ​ต้องการ การ​จัด​ทำ�​เอกสาร และ​การ​ประกัน​ความ​พึง​ พอใจ​ของ​ผู้​ใช้​งาน วซ. 300 การ​สอ่ื สาร​ขอ้ มูลแ​ ละ​เครือ​ขา่ ยคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) SE 300 Data Communication and Computer Networks ศึกษา​ความ​รเ​ู้ บือ้ ง​ตน้ เ​กีย่ ว​กบั เ​ครือข​ า่ ย​คอมพิวเตอร์ การ​ สื่อสาร​ข้อมูล สื่อ​ที่​ใช้​ใน​การ​ขนส่ง​ข้อมูล และ​อุปกรณ์​ที่​ใช้​ใน​การ​สื่อ​ สาร​ผ่านระ​บบ​เครือ​ข่าย ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​ใน​การ​ออกแบบ​ระบบ​เครือ​ ข่าย รูปแ​ บบ​การ​เชือ่ ม​ตอ่ เ​ครือข​ า่ ย โพร​โต​คอล​แบบ​ล�ำ ดับช​ นั้ อุปกรณ์​ ที่ใ​ช้ใ​น​การ​เลือก​เส้นท​ าง​ขนส่งข​ อ้ มูลผ​ า่ น​ระบบ​เครือข​ า่ ย การ​สลับว​ งจร​ ข้อมูล การ​สลับ​กลุ่ม​ข้อมูล และ​การ​สลับ​สัญญาณ​ข้อมูล วซ. 301 กฎหมาย​และ​จริยธรรม (3 หน่วยกิต) สำ�หรับ​วิศวกร​ซอฟต์แวร์ SE 301 Laws and Ethics for Software Engineers ศึกษา​เกี่ยว​กับ​องค์​ความ​รู้ ความ​เชี่ยว​ชาญ และ​ทัศนคติ​ เกี่ยว​กับ​วิศวกร​ซอฟต์แวร์​ เพื่อ​ให้​มี​ทั้ง​ความ​รู้​ความ​ชำ�นาญ ความ​รับ​ ผิด​ชอบ รวม​ถึง​จริยธรรม จรรยา​บรรณ​ใน​สาขา​วิชาชีพ


วซ. 310 สถาปัตยกรรม​ซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) SE 310 Software Architecture พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 100 ร​ปู แ​ บบ​ตา่ งๆ ของ​สถาปัตยกรรม​ซอฟต์แวร์ โดย​พจิ ารณา​ ทัง้ ด​ า้ น​โครงสร้าง​และ​ลกั ษณะ​การ​ท�ำ งาน​ของ​ซอฟต์แวร์ และ​ศกึ ษา​จดุ ​ แข็ ง ​แ ละ​จุ ด ​ด้ อ ย​ข อง​วิ ธี ​ก าร​ต่ า งๆ ที่ ​เกี่ ย วข้ อ ง​กั บ ​ก าร​พั ฒ นา​ สถาปัตยกรรม​ซอฟต์แวร์ และ​การนำ�ร​ปู แ​ บบ​สถาปัตยกรรม​และ​วธิ ก​ี าร​ ออกแบบ​ใน​ลกั ษณะ​ตา่ งๆ มา​ประยุกต์เ​ข้า​กบั ส​ ถาปัตยกรรม​ซอฟต์แวร์​ ที่​ต้องการ​พัฒนา​โดย​ใช้​การ​เรียน​จาก​กรณี​ศึกษา วซ. 311 โครงสร้างข้อมูลและขั้นต​ อน​วิธี (3 หน่วยกิต) SE 311 Data Structure and Algorithms พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 110 ศึกษา​วิธี​การ​ออก​แบ​บอัล​กอ​ริ​ทึม​ที่​สามารถ​ทำ�งาน​อย่าง​ มี​ประสิทธิภาพ การ​ประเมิน​ประสิทธิภาพ​การ​ทำ�งาน​ขอ​งอัล​กอ​ริ​ทึม แนวทาง​ที่​เป็น​ไป​ได้​สำ�หรับ​การ​กำ�หนด​วิธี​การ​วัด​ประสิทธิผล​ขอ​งอัล​ กอ​รท​ิ มึ ใ​น​แต่ละ​ประเภท รวม​ทงั้ ค​ วาม​รเ​ู้ กีย่ ว​กบั ก​ าร​ออกแบบ​และ​การ​ ใช้​งา​นอัล​กอ​ริ​ทึม​แบบ​เรียก​ตัว​เอง อัล​กอ​ริ​ทึม​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​ใช้​ โครงสร้าง​ข้อมูล​พื้น​ฐาน​ใน​การ​แก้​ปัญหา อัล​กอ​ริ​ทึม​สำ�หรับ​การ​จัด​ เรียง​ขอ้ มูล และ​การ​คน้ หา​ขอ้ มูลท​ ต​ี่ อ้ ง​ค�ำ นึงถ​ งึ ร​ ะยะ​เวลา​และ​เนือ้ ที่ใ​น​ หน่วย​ความ​จำ�​ที่​ใช้​ใน​ระหว่าง​การ​ประมวล​ผล วซ. 321 การ​พัฒนา​และ​ปรับปรุงซ​ อฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) SE 321 Software Construction and Evolution พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 212 ความ​รู้ ​ใ น​เรื่ อ ง​การ​แ ปลง​ผ ล​ที่ ​ไ ด้ ​จาก​การ​อ อกแบบ​ ซอฟต์แวร์ไ​ป​เป็นร​ ปู แ​ บบ​ของ​ชดุ ค​ �ำ ส​ งั่ ท​ ม​ี่ ว​ี ธิ ก​ี าร​เขียน​แสดงออก​ได้ใ​น​ หลาย​ลกั ษณะ การ​จดั ท​ �ำ เ​อกสาร​ตา่ งๆ ทีเ​่ กีย่ วข้อง​กบั ข​ นั้ ต​ อน​การ​เขียน​ โปรแกรม หรือ​ที่​เรียก​ว่า​เอกสาร​ของ​โปรแกรม แนวคิด วิธี​การ กระบวนการ และ​เทคนิค​ต่างๆ ที่​ทำ�ให้​ซอฟต์แวร์​ที่​พัฒนา​ขึ้น​มา​นั้น​ รองรับ​การ​เปลี่ยนแปลง​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​อนาคต เช่น ​วิศวกรรมด้าน

กระบวนการ การ​วิเคราะห์ผลกระทบ การ​โอนย้าย​ซอฟต์แวร์​และ​การ​ ทำ�​วิศวกรรม​ซอฟต์แวร์​แบบ​ย้อน​กลับ วซ. 322 การ​จัดการโครงแบบ​ซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) SE 322 Software Configuration Management พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 100 ศึกษา​ฟังก์ชัน​ทั้งหมด​ที่​จำ�เป็น​ต่อ​การ​สนับสนุน ขั้นต​ อน​ การ​ควบคุมแ​ ละ​การ​บ�ำ รุงร​กั ษา​ผลผลิตท​ เ​ี่ กิดจ​ าก​การ​พฒ ั นา​ซอฟต์แวร์​ ให้​มี​​บูรณภาพตลอด​วงจร​ชีวิต​ของ​โครง​งาน โดย​สอน​ให้​ทราบ​ถึง​วิธี​ การ​สร้าง​โปรแกรม​จดั การ​โครง​แบบ​ซอฟต์แวร์ การ​ตรวจ​สอบ​โครง​แบบ​ พืน้ ฐ​ าน และ​ความ​สามารถ​ใน​การ​ตรวจ​สอบ​แบบ​ยอ้ น​กลับโ​ดย​ใช้เ​ครือ่ ง​ มือ​ที่​เรียก​ว่า CASE Tool วซ. 323 การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์เ​ชิง​คอม​โพเนนต์ (3 หน่วยกิต) SE 323 Component-Based Software Development พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 100 ​หลัก​การ​และ​พื้น​ฐาน​ใน​การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์​เชิง​คอม​ โพเนนต์ (CBSD) และ​เทคโนโลยีท​ เ​ี่ กีย่ วข้อง​โดย​ใช้เ​ครือ่ ง​มอื แ​ ละ​ภาษา​ เชิงค​ อม​โพเนนท์ท​ เ​ี่ กีย่ วข้อง​กบั ก​ าร​พฒ ั นา​ซอฟต์แวร์เ​ชิงค​ อม​โพเนนท์ เช่น การ​จัด​ทำ�​แบบ​จำ�ลอง การ​ออกแบบ​การ​สร้าง การ​รวม​องค์​ ประกอบ การนำ�อ​ งค์ป​ ระกอบ​ทม​ี่ อ​ี ยูแ​่ ล้วใ​น​ซอฟต์แวร์ข​ อง​องค์กร​กลับ​ มา​ใช้​งาน​ใหม่ (COST) วซ. 324 การ​ตรวจสอบ​ความสมเหตุสมผล (3 หน่วยกิต) และทวนสอบซอฟต์แวร์​ SE 324 Software Validation and Verification พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 220 ศ​ กึ ษา​เกีย่ ว​กบั ค​ �ำ ศ​ พั ท์แ​ ละ​พนื้ ฐ​ าน​ส�ำ หรับก​ าร​ประกันก​ าร​ ทวน​สอบ​และ​การ​ทดสอบ​ซอฟต์แวร์​ที่​พัฒนา​ขึ้น โดย​ใช้​เทคนิค​แบบ​ สถิตแ​ ละ​แบบ​พลวัต และ​กล่าว​ถงึ ก​ าร​ทดสอบ​ซอฟต์แวร์แ​ บบ​หลาย​ขนั้ รวม​ทั้ง​การ​วิเคราะห์​ปัญหา​และ​การ​จัด​ทำ�​รายงาน​สรุป หลักสูตรปริญญาตรี 325


วซ. 325 การ​จัดการ​โครง​การ​ซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) SE 325 Software Project Management พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 100 ความ​รู้ และ​ความ​เชี่ยวชาญ​ใน​การ​วางแผน​โครง​การ​ ซอฟต์แวร์ โดย​สอน​ให้ว​ เิ คราะห์เ​ชิงป​ ระเมินง​ บ​ประมาณ​ใน​การ​พฒ ั นา​ ซอฟต์แวร์​และ​การ​จัด​ตาราง​การ​ทำ�งาน โดย​อาศัยเครื่อง​มือ​ประเมิน​ ค่า​ใช้​จ่าย​และ​หลัก​การ​ทาง​เศรษฐกิจ​จุลภาค​สามารถ​วางแผน​การ​ จัดการ​และ​วิธี​การ​ใน​เชิง​วิธีการ​ที่ ​ใช้​สำ�หรับ​การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ สามารถ​ประยุกต์​ใช้​ทฤษฎี​และ​วิธี​การ​อย่าง​เหมาะ​สม​กับ​สถานการณ์ นอกจาก​นี้​ยัง​ครอบคลุม​เนื้อหา​ใน​ส่วน​ของ​การ​จัดการ​ทอี่​ าจ​เกิด​ขึ้น​ใน​ ขัน้ ต​ อน​การ​พฒ ั นา​ซอฟต์แวร์ ได้แก่ การ​บง่ ช​ ค​ี้ วาม​เสีย่ ง การ​วเิ คราะห์​ ความ​เสีย่ ง การ​จดั ล​ �ำ ดับค​ วาม​เสีย่ ง การ​วางแผน​การ​จดั การ​ความ​เสีย่ ง การ​แก้ไข​ความ​เสี่ยง​ และ​การ​ควบคุมค​ วาม​เสี่ยง ซึ่งห​ ัวข้อ​เหล่า​นี้​เป็น​ สิ่ง​ที่​ต้อง​กระทำ�​ตลอด​ขั้น​ตอน​การ​ควบคุม​และ​การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ รวม​ถึง​ทฤษฎี​พื้น​ฐาน​และ​รูป​แบบ​การ​วัด​คุณภาพ​ของ​ซอฟต์แวร์ เกณฑ์ ​ใน​การ​วัด​คุณภาพ​ของ​ซอฟต์แวร์ เกณฑ์ ​ใน​การ​วัด​คุณภาพ​ กระบวนการ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ วิธี​การ​ใน​การ​รวบรวม​ข้อมูล​และ​การ​ ประเมินผ​ ล วซ. 327 วิธีรูปนัย (3 หน่วยกิต) SE 327 Formal Methods พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 100 ศึกษาเทคนิคต่างๆ ด้านคณิตศาสตร์เพือ่ ใช้ในการกำ�หนด ความต้องการ การพัฒนา และการตรวจสอบความถูกต้องของ ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์

326 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วซ. 328 สถาปัตยกรรมเชิงบริการ (3 หน่วยกิต) SE 328 Service Oriented Architecture พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 310 ศึกษาแนวคิด รูปแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยใช้ แนวคิดแบบสถาปัตยกรรมเชิงบริการ ทำ�ให้แอพพลิเคชันต่างๆ ซึ่ง อาจอยู่คนละแพลตฟอร์มสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ นอกจากนีแ้ อพพลิเคชันทีพ่ ฒ ั นาใหม่สามารถเรียกใช้บริการทีม่ อี ยูแ่ ล้ว วซ. 329 เทคโนโลยีการบริการเว็บ (3 หน่วยกิต) SE 329 Web Services Technology พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 210 ปัญหาในการวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมประยุกต์ เว็ บ ตั้ ง แต่ ข นาดเล็ ก จนถึ ง ขนาดใหญ่ งานประยุ ก ต์ ร ะดั บ องค์ กร โปรแกรมประยุ ก ต์ ที่ กระจายในอิ น ทราเน็ ต เอกซ์ ท ราเน็ ต และ อินเทอร์เน็ต มาตรฐานโพรโทคอลและมาตรฐานส่วนต่อประสาน สำ�หรับเว็บ ความมั่นคงของเว็บ ระเบียบวิธีเชิงวิศวกรรมของเว็บ สถาปัตยกรรมและส่วนประกอบของเว็บ โครงสร้างพืน้ ฐานของพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ การบูรณาการระหว่างเว็บและฐานข้อมูล มาตรฐานและ เทคโนโลยีการบริการเว็บ การพัฒนางานประยุกต์เชิงเว็บ วซ. 334 การทำ�เหมืองข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ (3 หน่วยกิต) ด้านธุรกิจ SE 334 Business Intelligence and Data Mining พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 432 ศึกษาแนวคิด เทคนิคต่างๆ การประยุกต์ใช้ และการฝึกฝน การทำ�เหมืองข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ดา้ นธุรกิจ เพือ่ ให้เข้าใจบริบท ของการทำ�ธุรกิจ ฟังก์ชนั ของการทำ�เหมืองข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ ด้านธุรกิจ เช่น การทำ�รายงาน OLAP การวิเคราะห์ การทำ�เหมือง ข้อมูล การจัดการประสิทธิภาพของธุรกิจ การวัดและประเมินผล รวม ถึงการวิเคราะห์เพือ่ คาดการณ์ในอนาคตและนำ�ไปสูก่ ารตัดสินใจ


วซ. 335 มาตรวัดผลซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) SE 335 Software Metrics พื้นความรู้: สอบได้ วซ.100 แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคนิคสำ�หรับการดำ�เนินการ และบริหารงานการวัดผลซอฟต์แวร์ บทบาทของผู้บริหาร และผู้ พัฒนา เทคนิคการวางแผนองค์กร การควบคุมงาน การคำ�นวณต้นทุน สำ�หรับการทดสอบ และบำ�รุงรักษาซอฟต์แวร์ วซ. 356 การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน 1 (3 หน่วยกิต) SE 356 Mobile Application Development I ภาพรวมของระบบปฏิบัติการ และสถาปัตยกรรมของ อุปกรณ์สอื่ สารไร้สาย กระบวนการการพัฒนาแอพพลิเคชันและภาษา ที่ใช้ในการพัฒนาแอพพลิเคชันสำ�หรับอุปกรณ์สื่อสารไร้สายแต่ละ แพลตฟอร์ม แนวทางการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน พื้นฐานภาษา ที่ ใ ช้ ใ นการสร้ า งและพัฒนาแอพพลิเคชัน แนวคิดในการพั ฒ นา แอพพลิเคชันสำ�หรับนำ�ไปใช้งาน การสร้างและพัฒนาแอพพลิเคชัน เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ภายในเครื่อง การจัดการหน่วยความจำ� การ ติดต่อฐานข้อมูล การทำ�งานกับสื่อมัลติมีเดีย และการเชื่อมต่อเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต วซ. 357 การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน 2 (3 หน่วยกิต) SE 357 Mobile Application Development II พื้นความรู้: วซ. 356 การสร้างและพัฒนาแอพพลิเคชันเชือ่ มต่อฐานข้อมูลขัน้ สูง การทำ�งานเกี่ยวกับแผนที่ การสร้างโมบายเว็บแอพพลิเคชัน การ สร้างงานกราฟิก การเชือ่ มต่อและรับส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแบบ ต่างๆ การจัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูลในการสือ่ สาร และการ จับการเคลื่อนไหวของอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย

วซ. 400 สัมมนา​วิศวกรรม​ซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) SE 400 Software Engineering Seminar พื้นความรู้: สอบได้วิชาเอก-บังคับอย่างน้อย 3 วิชา การ​สมั มนา​ใน​หวั ข้อท​ น​่ี า​ ่ สนใจ​เกีย่ ว​กบั ว​ ศิ วกรรม​ซอฟต์แวร์ วซ. 401 ความ​มั่นคงของระบบ​เครือ​ข่าย​ (3 หน่วยกิต) คอมพิวเตอร์ SE 401 Computer Network Security พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ วซ. 300 วิธีสร้างความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ระบบเครือ ข่ายและข้อมูลจากผู้แอบเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือไม่ได้ ตั้งใจ การลักลอบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูล การป้องกันเมื่อระบบ ปฏิเสธการให้บริการ การประเมินและการจัดการความเสี่ยง การลง รหัส คริปโตกราฟี กรรมวิธรี บั รองความปลอดภัย ขอบเขตการป้องกัน จากซอฟต์แวร์ทปี่ ระสงค์รา้ ยต่อระบบ ไวรัส ลอจิกบอมบ์ วิธกี ารตรวจ สอบ แก่นของความปลอดภัย วซ. 402 การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านธุรกิจ (3 หน่วยกิต) SE 402 Computer Applications in Business พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 100 ธุรกิจการค้าในรูปแบบต่างๆ การเตรียมข้อมูล การ ประยุกต์โปรแกรมสำ�เร็จรูปกับระบบงาน โปรแกรมสำ�เร็จรูปเงินเดือน โปรแกรมสำ�เร็จรูปสินค้าคงคลัง โปรแกรมสำ�เร็จรูปทางการวิเคราะห์ การเงิน รวมถึงระบบสารสนเทศที่ใช้ในองค์กร เช่น ระบบอีอาร์พี ระบบบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า และธุรกิจเชี่ยวชาญ เป็นต้น

หลักสูตรปริญญาตรี 327


วซ. 411 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (3 หน่วยกิต) SE 411 Multimedia Technology พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 100 ความรู้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ สำ � หรั บ มัลติมีเดีย การผลิตเอกสารสื่อสิ่งพิมพ์ ไฮเปอร์เทกซ์ ไฮเปอร์มีเดีย สื่อในการนำ�เสนอ ตัวอักษร กราฟิก ภาพนิ่ง ภาพการเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ เทคนิคการนำ�เสนอโดยใช้มัลติมีเดีย วซ. 412 การเขียนโปรแกรมบนอินเทอร์เน็ต (3 หน่วยกิต) SE 412 Internet Programming พื้นความรู้ : สอบได้ วซ. 210 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร์เน็ต เพื่อประยุกต์ใช้ทางธุรกิจโดยผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้ เป็นพื้นฐานในพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ วซ. 413 ระบบการสื่อสารไร้สาย (3 หน่วยกิต) และการพัฒนาแอพพลิเคชัน SE 413 Wireless Communication System and Application Development พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 300 ศึกษาระบบการสือ่ สารไร้สาย ทัง้ ระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์ ระบบสือ่ สารส่วนบุคคล และระบบเครือข่ายท้องถิน่ แบบไร้สาย เนือ้ หา ประกอบด้วยการศึกษาคุณลักษณะของช่องสัญญาณคลืน่ วิทยุ เทคนิค การเข้าถึงช่องสัญญาณในระบบไร้สาย และการเขียนโปรแกรมควบคุม ข้อผิดพลาด นักศึกษาจะได้เรียนรูใ้ นหัวข้อวิเคราะห์ปรากฏการณ์การ ส่งสัญญาณของคลืน่ วิทยุ การส่งผ่านค่าพารามิเตอร์และหลักการ และ ศึกษาแนวคิด หลักการ เครือ่ งมือและเทคนิคของการพัฒนาซอฟต์แวร์ ประยุกต์สำ�หรับระบบงานที่ใช้กับอุปกรณ์เคลื่อนที่และอุปกรณ์ไร้สาย เช่น อุปกรณ์พกพา (Personal Digital Assistant: PDA) และโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยอาศัยเทคนิคตามมาตรฐานเปิด J2ME และ MIDP 328 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วซ. 420 สห​กิจ​ศึกษา (3 หน่วยกิต) SE 420 Cooperative Education พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ สศ. 301 การ​ฝึกงาน​ทาง​ด้าน​วิศวกรรม​ซอฟต์แวร์ ​ใน​บริษัท​ที่​ เกี่ยวข้อง​กับ​การ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์​อย่าง​น้อย 600 ชั่วโมง เพื่อ​เตรียม​ ความ​พร้อม​ให้​นัก​ศึกษา​ปฏิบัติ​งาน​จริง วซ. 432 คลังข้อมูล (3 หน่วยกิต) SE 432 Data Warehouse พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 200 พืน้ ฐานของการสร้างคลังข้อมูล การวางแผนโครงการ การ นิยามข้อกำ�หนดของธุรกิจ การสร้างแบบจำ�ลองมีมิติ สถาปัตยกรรม เชิงเทคนิค ทางเลือกของโครงแบบเชิงกายภาพ การเลือกโครงการ การออกแบบฐานข้อมูลกายภาพ การประมวลการจัดขั้นตอนข้อมูล เทคนิคการจัดขั้นตอนข้อมูล งานประยุกต์สำ�หรับผู้ใช้เป้าหมาย การ ใช้คลังข้อมูล การจัดการการเติบโตของระบบ วซ. 440 วิศวกรรมความรู้และการจัดการความรู้ (3 หน่วยกิต) SE 440 Knowledge Engineering and Knowledge Management พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 100 ลักษณะเฉพาะของความรู้ แนวคิดและกระบวนการเก็บ เกี่ยวความรู้ แหล่งความรู้ สถาปัตยกรรมของระบบอิงความรู้ เครื่อง มือสำ�หรับวิศวกรรมความรู้ การเรียนรูแ้ ละสมรรถนะในเศรษฐกิจความ รู้ วัฏจักรของความรู้ ความหลากหลายของงานด้านความรู้ โอกาสใน การจัดการความรู้ในองค์กรขนาดใหญ่ กลศาสตร์การจัดการความรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์กรกับการจัดการความรู้


วซ. 441 วิศวกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) SE 441 Electronic Commerce Engineering พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 100 เทคโนโลยีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาและสร้าง ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีเครือข่ายและทิศทางใน อนาคต เทคโนโลยีฐานข้อมูล การเชือ่ มต่อระหว่างเว็บและฐานข้อมูล ประเด็นด้านความมั่นคง ระบบจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ ข่าวกรองทาง ธุรกิจ การจัดการความเชื่อถือ ตัวแทนการค้า ความเป็นส่วนตัว ผลิตภัณฑ์ทางสารสนเทศและการป้องกันการลอกเลียน ความไม่เท่า เทียมเชิงดิจิทัล วซ. 445 การทำ�เหมืองข้อมูล (3 หน่วยกิต) SE 445 Data Mining พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 432 แนวคิดพืน้ ฐานของการทำ�เหมืองข้อมูล การประยุกต์การ ทำ�เหมืองข้อมูล เทคนิคและแบบจำ�ลอง ประเด็นด้านจริยธรรมและ ความเป็นส่วนตัว ชุดซอฟต์แวร์เหมืองข้อมูล วิธีการทำ�เหมืองข้อมูล ตารางการตัดสินใจ ต้นไม้การตัดสินใจ กฎการจำ�แนก การเข้ากลุ่ม การสร้างแบบจำ�ลองเชิงสถิติและแบบจำ�ลองเชิงเส้น วซ. 446 ปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) ด้วยวิธีการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ SE 446 Software Engineering Approach to Human Computer Interaction พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 100 วิชาพืน้ ฐานวิศวกรรมซอฟต์แวร์ทอี่ ธิบายถึงพืน้ ฐานและ การออกแบบปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ หลักการทาง จิตวิทยาของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ การ ประเมินส่วนติดต่อกับผู้ใช้ วิศวกรรมด้านประโยชน์การใช้งาน การ วิเคราะห์งาน การออกแบบโดยคำ�นึงถึงผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง การทำ�

ต้นแบบ แบบจำ�ลองแนวความคิดและการใช้คำ�เปรียบเทียบ เหตุผล ในการออบแบบซอฟต์แวร์ การออกแบบหน้าต่าง เมนู และคำ�สั่ง การติดต่อโดยใช้เสียงพูดและภาษาธรรมชาติ การตอบกลับและการ ตอบสนอง การใช้สี รูปสัญลักษณ์ เสียง การทำ�ให้เป็นสากล การทำ�ให้ เข้ากับท้องถิ่น สถาปัตยกรรมและเอพีไอของส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ กรณีศึกษาและโครงงาน วซ. 447 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (3 หน่วยกิต) SE 447 Decision Support System พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 432 ระบบสนั บ สนุ น การจั ดการกระบวนการการตัดสินใจ คุณลักษณะและส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การสร้าง และการจัดการแบบจำ�ลอง แบบจำ�ลองระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุม่ วซ. 450 การศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต) SE 450 Independent Study พื้นความรู้: สอบได้วิชาเอก-บังคับ อย่างน้อย 3 วิชา ศึกษาหัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ซึ่ง อาจเป็นวิชาที่ ไม่มี ในหลักสูตรหรือศึกษาเนื้อหาให้ลึกซึ้งมากกว่า หลักสูตรปกติที่เปิดสอน วซ. 451 หัวข้อพิเศษ 1 (3 หน่วยกิต) SE 451 Special Topic I พื้นความรู้: สอบได้วิชาเอก-บังคับ อย่างน้อย 3 วิชา ศึกษาหัวข้อที่น่าสนใจ และเป็นประโยชน์เกี่ยวกับสาขา ต่างๆ ในวิชาการพัฒนาซอฟต์แวร์

หลักสูตรปริญญาตรี 329


วซ. 452 หัวข้อพิเศษ 2 (3 หน่วยกิต) SE 452 Special Topic II พื้นความรู้: สอบได้วิชาเอก-บังคับ อย่างน้อย 3 วิชา ศึกษาหัวข้อที่น่าสนใจ และเป็นประโยชน์เกี่ยวกับสาขา ต่างๆ ในวิชาการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งแตกต่างจาก วซ. 451 หัวข้อ พิเศษ 1 วซ. 470 ปัญญาประดิษฐ์ (3 หน่วยกิต) SE 470 Artificial Intelligence พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 100 พฤติกรรมฉลาดซึ่งเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติสำ�หรับการรับรู้ การมีเหตุผล และการแสดงออกมาเป็นการกระทำ� การแก้ปญั หา การ แทนความรู้ในคอมพิวเตอร์ การตัดสินใจ การเรียนรู้ การค้นหา การ เล่นเกม การพิสจู น์ทฤษฎี การประมวลผลภาษาธรรมชาติ การควบคุม หุ่นยนต์ ระบบผู้เชี่ยวชาญ วซ. 497 โครงงานวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 1 (1 หน่วยกิต) SE 497 Software Engineering Project I พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 204 ผูเ้ รียนมีโอกาสในการจัดตัง้ บริหารและจัดการทีมพัฒนา ซอฟต์แวร์เพื่อดำ�เนินการโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สนใจ โดยผู้ เรียนจะได้ศึกษาถึงผลกระทบทางด้านที่เทคนิคมีต่อสถาปัตยกรรม การวิเคราะห์และออกแบบในการพัฒนาซอฟต์แวร์ รวมถึงประเด็น ด้านการบริหารจัดการโครงการ การวางแผน การประกันคุณภาพ และ การบำ�รุงรักษาผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ตามหลักการวิศวกรรมซอฟต์แวร์

330 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วซ. 498 โครงงานวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 2 (3 หน่วยกิต) SE 498 Software Engineering Project II พื้นความรู้: สอบได้ วซ. 497 นักศึกษาต้องดำ�เนินการพัฒนาโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ทส่ี นใจให้เสร็จสมบูรณ์ใช้งานได้จริง จัดทำ�เอกสารประกอบโครงงาน และสอบปากเปล่าเกี่ยวกับโครงงานที่ทำ�

หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ วท. 201 มนุษย์​กับ​สภาพ​แวดล้อม (3 หน่วยกิต) SC 201 Man and Environment ศึ ก ษา​พืี้น​ฐ าน​เ รื่อง​สภาพ​แวดล้อม​มา​ประยุกต์​ให้​เกิด แนวคิดอ​ ย่าง​วทิ ยาศาสตร์ โดย​มงุ่ เ​น้นใ​ห้เ​กิดค​ วาม​เข้าใจ​ใน​เรือ่ งความ​ สัม พั น ธ์ ​ระหว่ า ง​สิ่ง​มี ​ชีวิ ต ​กับ ​สิ่ ง ​แ วดล้อม อั น​เกี่ยว​เนื่ อง​กับ​การ​จัด​ จ�ำแนกสิ่ ง ​มี​ชี วิ ต วิวัฒ นาการ พันธุ ​ศาสตร์ ความ​หลาก​ห ลาย​ท าง​ ชีวภาพ ประชากรศาสตร์ พิษ​วิทยา รวม​ถึง​ระบบ​ภูมิคุ้มกัน​เพื่อ​น�ำ​ไป​ ประยุกต์ใช้​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​พทิ กั ษ์​สงิ่ ​แวดล้อม การ​พฒ ั นา​จริยธรรม​ สิ่งแวดล้อม​ สามารถ​เข้าใจ​ถึง​แนวทาง​ของ​การ​เกิด​เทคโนโลยี​ยุค​ใหม่ และ​การ​ใช้​งาน​อย่าง​ถูก​ต้อง ตลอด​จน​การ​สร้าง​ทัศนคติ​อัน​เหมาะ​สม ต่อ​กฎหมาย​และ​อนุสัญญา​ว่า​ด้วย​สิ่งแ​ วดล้อม


หมวด​วิชา​คณิตศาสตร์ คณ. 101 คณิตศาสตร์​พื้น​ฐาน (3 หน่วยกิต) MA 101 Fundamental Mathematics เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​มี​ความ​รู้​เกี่ยว​กับ​คณิตศาสตร์​เบื้อง​ต้น ให้​รู้จัก​แนว​ความ​คิด​และ​วิธี​การ​แก้​ปัญหา​ทาง​คณิตศาสตร์ ให้​มี​ความ​ รู้​พื้น​ฐาน​ทาง​คณิตศาสตร์ เพื่อ​ใช้​ประโยชน์ใ​น​การ​ศึกษา​วิชา​อื่น​ต่อ​ไป ศึกษา​เกี่ยว​กับ​ระบบ​จ�ำนวน สมการ​และ​อสมการ เซต ฟังก์ชัน ​กราฟ​เส้น​ตรง​และ​พาราโบลา เมตริก​ซ์​และ​ดี​เทอร์​มิ​เนน​ท์ คณิตศาสตร์​การ​เงิน และ​การ​โปรแกรม​เชิง​เส้น​ตรง​เบื้อง​ต้น คณ. 102 คณิตศาสตร์​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MA 102 Business Mathematics เพื่ อ ​ให้ ​นั ก ​ศึ ก ษา​ได้ ​มี​ความ​รู้​ทาง​คณิตศาสตร์​อย่าง​พอ​ เพียง​ใน​การ​ศึกษา​ธุรกิจท​ ั้งใ​น​ทาง​ทฤษฎีแ​ ละ​การ​ประยุกต์โ​ดย​เน้นว​ ิชา​ แคล​คูลัส ศึกษา​ฟงั ก์ชนั ความ​ชนั ​ของ​สว่ น​โค้ง สูตร​การ​หา​อนุพนั ธ์​ ของ​ฟังก์ชัน การ​หา​ค่า​สูงสุด​และ​ต�่ำ​สุด​ของ​ฟังก์ชัน​ที่​สัมพันธ์​กับ​ทาง​ ธุรกิจ​อนุพนั ธ์​บาง​สว่ น อิน​ทเ​ิ กร​ชนั และ​การ​ประยุกต์​ใน​ทาง​ธรุ กิจ เน้น​ ในเรื่อง​ทาง​ธุรกิจ เช่น การ​หา​ค่า​ร้อย​ละ การ​อ่าน​ความ​หมาย​ของ​ร้อย​ ละ การ​คดิ ​ราคา​สนิ ค้า การ​คดิ ​สว่ นลด​ทางการ​คา ้ การ​คดิ ด​ อก​เบีย้ การ​ กู้​เงิน​และ​การ​คิด​เงิน​ราย​งวด คณ. 105 แคลคูลัส 1 (3 หน่วยกิต) MA 105 Calculus I ฟั ง ก์ ชั น ลิ ​มิ ต ความ​ต่อ​เนื่อง​และ​อนุพันธ์ กฎ​ลูกโซ่ อนุพันธ์อ​ ันดับ​สูง การ​ประยุกต์ข​ อง​อนุพันธ์ ฟังก์ชัน​ท​ราน​เซนเดลทัล การ​หา​อนุพันธ์​และ​อิน​ทิ​กรัล​ของ​ฟังก์​ชัน​ท​ราน​เซนเดลทัล กา​รอิ​นทิ-​ เกรท อิน​ทิ​กรัล​จ�ำกัด​เขต​และ​อิน​ทิ​กรัล​ไม่​จ�ำกัด​เขต เทคนิค​ของ​กา​ร อิ​นทิเ​กรท ​เรขาคณิตวิเคราะห์

คณ. 106 แคลคูลัส 2 (3 หน่วยกิต) MA 106 Calculus II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คณ. 105 อิน​ดี​เทอร์​มิเนท​ฟอร์ม การ​ประยุกต์​ขอ​งอิ​นทิ​กรัล​จ�ำกัด​ เขต การ​หา​พื้นที่​ใต้​เส้น​โค้ง พื้นที่​ระหว่าง​เส้น​โค้ง ปริมาตร​ของ​ทรง​ ตัน อิม​พร​อบ​เปอร์​อิน​ทิ​กร​ัล สมการ​อนุพันธ์​ย่อย ทฤษฎี​ของ​เท​เลอ​ร์​ และ​อนุกรม​อนันต์ เวคเตอร์​และ​การ​วิเคราะห์​เวคเตอร์ เกรเดี​ยนต์ ได​เวอร์​เจ​นท์ เคิร์ล เมตริก​ซ์​และ​ดี​เทอร์​มิเนนท์ คณ. 107 แคลคูลัส 3 (3 หน่วยกิต) MA 107 Calculus III พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คณ. 106 ตัวแปร​เชิงซ้อน ทฤษฎี​ของ​เด​อมัวร์ ฟังก์ชัน​วิเคราะห์​ ของ​ตัวแปร​เชิงซ้อน กา​รอิ​นทิ​เกรท​ของ​ฟังก์ชัน​เชิงซ้อน สมการ​เชิง​ อนุพันธ์​สามัญ​อันดับ​ที่​หนึ่ง​และ​ดีกรี​หนึ่ง สมการ​อนุพันธ์​แบบ​โฮโม​ จีเนียส และ​นอน​โฮโม​จีเนียส อิน​ทิ​เกรท​ติ้ง​แฟค​เตอร์ สมการ​เชิง​ อนุพันธ์​เชิง​เส้น​อันดับ​ที่​หนึ่ง สม​การ​เบอร์นู​ลี สมการ​เชิง​อนุพันธ์​เชิง​ เส้น​อันดับ​ที่​สอง สมการ​อนุพันธ์​อันดับ​สูง วิธี​การ​แก้​สมการ​อนุพันธ์ ทัง้ โ​ดย​วธิ วี เิ คราะห์แ​ ละ​เชิงต​ วั เลข กา​รอิน​ ทิเ​กรท​สอง​ชนั้ กา​รอิน​ ทิเ​กรท​ สาม​ชั้น การ​ประยุกต์​กา​รอิ​นทิ​เกรท​สอง​ชั้น​และ​สาม​ชั้น เวคเตอร์​ แคลคูลัส กา​รอิ​นทิ​เกรท​เชิง​เส้น เชิง​ผิว​และ​เชิง​ปริมาตร การ​ประยุกต์​ ใช้​เวคเตอร์ แคลคูลัส คณ. 108 แคลคูลัส 1 (3 หน่วยกิต) MA 108 Calculus I วิชา​บังคับ​ก่อน: ไม่มี ฟั ง ก์ ชั น ลิ ​มิ ต ความ​ต่อ​เนื่อง​และ​อนุพันธ์ กฎ​ลูกโซ่ อนุพันธ์​อันดับ​​สูง การ​ประยุกต์​ของ​อนุพันธ์ ฟังก์ชัน​ท​ราน​เซนเดลทัล การ​หา​อนุพันธ์​และ​อิน​ทิ​กรัล​ของ​ฟังก์​ชัน​ท​ราน​เซนเดลทัล กา​รอิ​นทิ​ เกรต อิน​ทิ​กรัล​จ�ำกัด​เขต​และ​อิน​ทิ​กรัล​ไม่​จ�ำกัด​เขต เทคนิค​ของ​กา​ร อิ​นทิ​เกรต ​เรขาคณิตวิเคราะห์ หลักสูตรปริญญาตรี 331


คณ. 109 แคลคูลัส 2 (3 หน่วยกิต) MA 109 Calculus II วิชา​บังคับ​ก่อน: คณ. 108 แคลคูลัส 1 อิน​ดี​เทอร์​มิเนท​ฟอร์ม การ​ประยุกต์​ขอ​งอิ​นทิ​กรัล​จ�ำกัด​ เขต การ​หา​พื้นที่​ใต้​เส้น​โค้ง พื้นที่​ระหว่าง​เส้น​โค้ง ปริมาตร​ของ​ทรง​ ตัน อิม​พร​อบ​เปอร์​อิน​ทิ​กร​ัล ทฤษฎี​ของ​เท​เลอ​ร์​และ​อนุกรม​อนันต์ เวคเตอร์และ​การ​วิเคราะห์​เวคเตอร์ เมตริกซ​ ์​และ​ดี​เทอร์ม​ ิเนนท์

หมวด​วิชา​เคมี

คณ. 111 แคลคูลัส 1 (3 หน่วยกิต) MA 111 Calculus I ฟั ง ก์ ชั น ​พี ช คณิ ต ลิ​มิต​และ​ความ​ต่อ​เนื่อง การ​หา​ค่า​ อนุพันธ์ อนุพันธ์​เชน​รูล อนุพันธ์​อันดับ​สูง เส้น​ตรง​และ​ภาคตัดกรวย อิน​ทิ​เกรชั่น การ​หา​พื้น​ที่​อิน​เดฟฟิ​นิ​ทอิ​นที​กรัล เดฟฟิ​นิ​ทอิ​นที​กรัล กา​รดิฟเฟอเรน​ซิ​เอท​และ​การ​อิน​ทิเกรทท​ราน​เซน​เดนตัล​ฟังก์ชัน

คม. 102 ปฏิบัติ​การ​เคมี​ทั่วไป (1 หน่วยกิต) CH 102 Laboratory in General Chemistry ทดลอง​ใน​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​สอดคล้อง​กับ​เนื้อหา​ใน​วิชา คม. 101 เคมี​ทั่วไป

คณ. 112 แคลคูลัส 2 (3 หน่วยกิต) MA 112 Calculus II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คณ. 111 ทฤษฎี​ค่า​กลาง​และ​การ​ประยุกต์​ใช้​เทคนิค​การ​อิน​ที​เกร​ท อน​ุ​พันธ์​บาง​ส่วน การ​จัด​ล�ำดับ​อิน​ดี​เท​อมิเนท​ฟอร์ม อิน​พรอปเปอร์​ อิน​ทกี​ รัล อนุกรม อนุกรม​ของ​เทย์​เลอ​ร์ คณ. 114 พีชคณิต​เชิงเ​ส้น (3 หน่วยกิต) MA 114 Linear Algebra เวค​เ ต​อ ร์ ส เปซ ลิ ​เ นียร์​ท​ราน​ฟอร์เม​ชัน เมตริก​ซ์ ดี​เทอร์มีแนนท์ และ​สมการ​เชิง​เส้น คณ. 200 คณิตศาสตร์เบื้องต้น (3 หน่วยกิต) MA 200 Basic Mathematics ทบทวนพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สมการ และอสมการ เซต เมตริกซ์ ฟังก์ชั่น ลิมิต และความต่อเนื่องของฟังก์ชั่น อนุพันธ์ และการอินทิเกรชัน 332 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คม. 101 เคมี​ทั่วไป (3 หน่วยกิต) CH 101 General Chemistry พื้ น ฐานของอะตอม คุ ณ สมบั ติ ข องแก๊ ส ของแข็ ง ของเหลว และสารละลาย การสมดุลทางเคมี การสมดุลของไอออน ในสารละลาย

คม. 103 ปฏิบัติ​การ​เคมี​ทั่วไป (1 หน่วยกิต) CH 103 Laboratory in General Chemistry ปฏิบัติ​การ​ทดลอง​ใน​เรื่อง​การ​สังเคราะห์​และ​หา​สูตร​ของ​ สารประกอบ การ​หา​ค่า​คงตัว​ของ​แก๊ส การ​หา​มวล​โมเลกุล​ของ​สาร​ โดย​อาศัยก​ าร​ลด​ลง​ของ​จดุ เยือกแข็งแ​ ละ​​การ​สงู ข​ นึ้ ข​ อง​จดุ เดือด ความ​ ร้อน​ การ​ละลาย ผล​ของ​ความ​เข้ม​ข้น​ของ​สาร​ตั้ง​ตน​ที่​มตี​ ่อ​อัตรา​การ​ เกิดป​ ฏิกริ ยิ า​เคมี อินด​ เิ ค​เตอร์ เกลือแ​ ละ​สาร​ละ​ลาย​บฟั เ​ฟอร์ การ​ไต​เต​รด​ กรด-เบส เซลล์​กัลวา​นิก​และ​เซล​อิ​เล็ก​โตรไลต์ การ​วิเคราะห์​คุณภาพ


หมวด​วิชา​ฟิสิกส์ ฟส. 101 ฟิสิกส์​ทั่วไป 1 (3 หน่วยกิต) PH 101 General Physics I หลัก​การ​ข​อง​แมค​คา​นคิ ส์ แมค​คา​นคิ ส์​ของ​ของไหล ความ​ ร้อน การ​สั่น​และ​คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า​เบื้อง​ต้น ฟส. 102 ปฏิบัติ​การ​ฟิสิกส์​ทั่วไป 1 (1 หน่วยกิต) PH 102 Laboratory in General Physics I ทดลอง​ใน​ห้อง​ปฏิบัตกิ​ าร สอดคล้อง​กับ​เนื้อหา​วิชา ฟส. 101 ฟิสิกส์​ทั่วไป 1 ฟส. 103 ฟิสิกส์​ทั่วไป 2 (3 หน่วยกิต) PH 103 General Physics II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ฟส. 101 วงจร​ก ระแส​ไ ฟฟ้ า​ส ลับ หลัก​การ​ของ​อิเล็กทรอนิกส์ ทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์​ยุค​ใหม่ ฟส. 104 ปฏิบัติ​การ​ฟิสิกส์​ทั่วไป 2 (1 หน่วยกิต) PH 104 Laboratory in General Physics II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ ฟส. 102 ทดลอง​ใน​ห้อง​ปฏิบัตกิ​ าร สอดคล้อง​กับ​เนื้อหา​วิชา ฟส. 103 ฟิสิกส์​ทั่วไป 2 ฟส. 105 ฟิสิกส์​สมัย​ใหม่ (3 หน่วยกิต) PH 105 Modern Physics กลศาสตร์ ​ข องแข็ ง ​แ ละ​ของไหล พลศาสตร์​ของ​การ​ เคลื่อนที่​ของ​งาน​และ​พลังงาน โมเมนตัม​และ​การ​ดล การ​ชน​ใน 2-3 มิติ พลศาสตร์ข​ อง​วตั ถุ​แข็งเกร็ง สมดุล​สถิตแ​ ละ​สมบัต​เิ ชิงกล​ของ​สาร​ กลศาสตร์​ของไหล สมการแบร์​นูล​ลี​และ​การน�ำ​ไป​ประยุกต์​ใช้ การ​

เคลือ่ นที​แ่ บบ​ฮาร์โม​น​กิ อ​ยา่ ง​งา่ ย คลืน่ ​กล การเคลือ่ นที​ข่ อง​คลืน่ คลืน่ ​ นิง่ สมบัติ​ความ​ร้อน​ของ​สาร การ​ส่ง​ความ​ร้อน แม่​เหล็ก​ไฟฟ้า แสง วงจร​ก ระแส​ไ ฟฟ้ า​ส ลั บ หลั ก ​ก าร​ของ​อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ​เบื้อง​ต้ น ทัศนศาสตร์ ทฤษฎี​เลเซอร์ มลภาวะ แผ่น​ดิน​ไหว ทฤษฎี​ดวง​จันทร์ ฟิสิกส์​ยุค​ใหม่ ฟส. 106 ปฏิบัติ​การ​ฟิสิกส์​ทั่วไป 1 (1 หน่วยกิต) PH 106 Laboratory in Modern Physics I ทดลอง​ใน​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​สอดคล้อง​กับ​เนื้อหา​วิชา ฟส. 105 ฟิสกิ ส์ส​ มัยใ​หม่ โดย​ประกอบ​ดว้ ย​การ​ทดลอง​เรือ่ ง​เครือ่ งกล แอต​ วูด ​สั ม ประสิ ท ธิ์ ​ความ​เสีย ด​ทาน สม​มู ล ​จู ล ความ​ห นา​แน่ น​และ​ ความถ่วงจ�ำเพาะ วงจร​อิเล็กทรอนิกส์​พื้น​ฐาน วงจร​ดิจิตอล​พื้น​ฐาน เก​รด​ดิ้งสเป็ค​โต​รมิ​เตอร์ ออย-ด​รอป​เอ็กซ์เป​อริ​เมน​ต์ ฟส. 107 ปฏิบัติ​การ​ฟิสิกส์​ทั่วไป 1 (1 หน่วยกิต) PH 107 Laboratory in General Physics I ปฏิบัติ​การ​ทดลอง​ใน​เรื่อง การ​วัด​ความ​ยาว เครื่อง​กล​ แอตวู ด ​ส มดุ ล ​ข อง​แ รง​และ​อนุ ภาค​บน​พื้ น​เอี ยง การ​เคลื่ อนที่​แบบ​ ซิมเปิล​ฮาร์โม​นคิ ​ สมั ประสิทธิ​ข์ อง​แรง​เสียด​ทาน ลูก​ตมุ้ ​นาฬิกา ความ​ หนา​แน่น​และ​ความถ่วงจ�ำเพาะ สมมูล​จาก​ความ​ร้อน​ของ​จูล หลอด ​ อภิ​นาท ความ​ร้อน​แฝง​ของ​การ​หลอมเหลว​ของ​น�้ำ​แข็ง ฟส. 108 ปฏิบัติ​การ​ฟิสิกส์​ทั่วไป 2 (1 หน่วยกิต) PH 108 Laboratory in General Physics II วิชา​บังคับ​ก่อน: ฟส. 107 ปฏิบัติ​การ​ฟิสิกส์ท​ ั่วไป 1 ปฏิบัติ​การ​ทดลอง​ใน​เรื่อง การ​วัด​ประจุไฟฟ้า มัล​ติมิ​ เต​อ ร์ การ​เคลื่ อ นที่ ​ข อง​อิ ​อ อน​ใ น​ส นาม​ไฟฟ้า ตัว​เก็บประจุไฟฟ้า ดิจติ อล​พนื้ ​ฐาน อิเล็กทรอนิกส์​พนื้ ​ฐาน กัมมันตภาพรังสี เกรต​ตงิ การ​ หาความ​ยาว​โฟกัส​และ​รัศมี​ความโค้ง​ของ​เลนส์ ฟิสิกส์​ยุค​ใหม่ หลักสูตรปริญญาตรี 333


หมวด​วิชา​สถิติ สถ. 201 สถิติ​เบื้อง​ต้น (3 หน่วยกิต) ST 201 Introduction to Statistics เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​ได้​รู้​หลัก​สถิติ​และ​แนว​ความ​คิด​พื้น​ฐาน​ ทาง​สถิติ เพื่อใ​ช้​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การวิเคราะห์​ข้อมูล ศึกษา​ระเบียบ​วธิ ท​ี าง​สถิติ การ​วดั แ​ นว​โน้มเ​ข้า​สส​ู่ ว่ น​กลาง การ​วัด​การ​กระจาย​ของ​ข้อมูล ความ​น่า​จะ​เป็น การ​แจกแจง​ความ​น่า​ จะ​เป็น​แบบ​ต่อ​เนื่อง​และ​ไม่​ต่อ​เนื่อง การ​สุ่ม​ตัวอย่าง การ​ประมาณ​ค่า​ พารา​มิเตอร์ และ​การ​ทดสอบ​สมมติฐาน​ทาง​สถิติ​เกี่ยว​กับ ค่า​มัชฌิม ค่า​แปร​ปร​วน​และ​สัดส่วน สถ. 202 สถิติ​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) ST 202 Business Statistics เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​ได้​เรียน​รู้​ถึง​การนำ�​ข้อมูล​มา​ใช้​ใน​การ​ วิเคราะห์ เพือ่ เ​ป็นเครือ่ งมือใ​น​การ​ท�ำ วิจยั ท​ าง​ธรุ กิจ และ​ศกึ ษา​ระเบียบ​ วิธี​ที่​จะ​นำ�​ข้อมูล​ใน​อดีตม​ า​ใช้ใ​น​การ​พยากรณ์ ศึกษา​ถึง​หลักการวิจัยทางธุรกิจ การ​ทดสอบ​สถิติ​ที่​ไม่​ ใช้​พารา​มิเตอร์ การ​วิเคราะห์​ความ​แปร​ปร​วน การ​ใช้​เลข​ดัชนี การ​ วิเคราะห์อ​ นุกรม​เวลา การ​วเิ คราะห์ก​ าร​ถดถอย​และ​สห​สมั พันธ์ ทฤษฎี​ การ​ตัดสิน​ใจ และเทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณ สถ. 203 สถิติ​เพื่อ​สังคมศาสตร์ (3 หน่วยกิต) ST 203 Statistics for Social Sciences เพื่อให้น​ ัก​ศึกษา​ได้​รู้​หลัก​สถิติ​และ​แนว​ความ​คิด พื้น​ฐาน​ ทาง​สถิติ​เพื่อเ​ป็นเครื่อง​มือ​ใน​การ​ทำ�​วิจัยท​ าง​สังคมศาสตร์ ศึกษา​ถงึ ความ​หมาย ขอบเขต และ​ความ​ส�ำ คัญข​ อง​สถิติ เพื่อ​การ​วิจัย​ทาง​สังคมศาสตร์ การ​รวบรวม​และ​การนำ�​เสนอ​ข้อมูล การ​แจกแจง​ความถี่​และ​การ​วิเคราะห์ การ​วัด​แนว​โน้มเ​ข้า​สู่​ส่วน​กลาง การ​วัด​การ​กระจาย การ​สุ่ม​ตัวอย่าง การ​ประมาณ​ค่า การ​ทดสอบ​ 334 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สมมติฐาน สถิติ​ที่​ไม่​ใช้​พารา​มิเตอร์ การ​วิเคราะห์​การ​ถดถอย ซึ่ง​จะ​ เป็น​แนว​พื้น​ฐาน​ใน​การ​เรียน​วิชา​ระเบียบ​วิธวี​ ิจัย​ต่อ​ไป สถ. 205 ความ​น่า​จะ​เป็น​และ​สถิติ (3 หน่วยกิต) ST 205 Probability and Statistics การ​แจกแจง​ของ​ตัวแปร​เชิง​สุ่ม​แบบ​ไม่​ต่อ​เนื่อง การ​ แจกแจง​แบบ​ทวิ​นาม​และ​แบบ​อื่น ๆ การแจกแจง​ของ​ตัวแปร​เชิง​สุ่ม​ แบบ​ต่อ​เนื่อง แบบ​ปกติ​และ​แบบ​อื่น ๆ การ​แจกแจง​ร่วม​ของ​ตัวแปร​ เชิง​สุ่ม ความ​เป็น​อิสระ​ของ​ตัวแปร​เชิง​สุ่ม การ​แจกแจง​แบบ​มี​เงื่อนไข ค่า​คาด​หวัง​และ​ความ​แปร​ปร​วน ฟังก์ชนั โมเมนต์เ​จน​เนอเร​ตงิ ฟังก์ชนั ​ ของ​ตัวแปร​เชิง​สุ่ม เทคนิค​ฟังก์ชัน​การ​แจก​แจง และ​เทคนิค​อื่นๆ การ​ คาด​คะเน​ทฤษฎีบท​เกีย่ ว​กบั ล​ ม​ิ ติ ก​ ลาง การ​ทดสอบ​สมมติฐาน​ทาง​สถิต​ิ เกี่ยว​กับ​ค่า​มัชฌิม สถ. 207 สถิติสำ�หรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) ST 207 Statistics for Science and Technology การประยุกต์ ใช้ความน่าจะเป็นเชิงวิยุต กับวิทยาการ คอมพิวเตอร์พื้นฐานของสถิติพรรณนา การแจกแจงแบบปกติ การ แจกแจงแบบทวินาม และการแจกแจงแบบปัวซอง วิธีกำ�ลังสองน้อย สุด สหสัมพันธ์ และการถดถอย การทดสอบทางสถิติสำ�หรับนัก วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ได้แก่ การทดสอบแบบทีเทสต์ แอนโนวา การ ทดสอบด้วยไคกำ�ลังสอง การออกแบบการทดลองและการทดสอบ สมมติฐาน การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงสถิต ิ การประยุกต์ใช้สถิตกิ บั ปัญหา ทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เช่น การวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ความเชือ่ ถือ ได้ ความสะดวกในการใช้งาน การประมาณต้นทุน และการประเมิน การควบคุมวิธี


หมวด​วิชา​บัญชี บช. 100 ความรู้เบื้องต้นทางการบัญชีกับ (3 หน่วยกิต) การประกอบธุรกิจขนาดย่อม AC 100 Introduction to Accounting and Managing for Small Business พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษาแนวทางการประกอบธุรกิจขนาดย่อม ความส�ำคัญ ของการบัญชีในการบริหารงานของธุรกิจ เริม่ ตัง้ แต่ขอ้ พิจารณาในการ เลือกประกอบธุรกิจ ความหมาย ประเภทและรูปแบบของธุรกิจ การเลือก รูปแบบของธุรกิจทีเ่ หมาะสมและการจัดตัง้ ธุรกิจ การจัดโครงสร้างของ องค์กร ลักษณะงานและความรับผิดชอบของหน่วยงานต่างๆ ในองค์กร หน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจขนาดย่อม บทบาทของการบัญชี ทีม่ ตี อ่ ธุรกิจ ความส�ำคัญ และประโยชน์ของข้อมูลทางการบัญชี ระบบ บัญชีและการควบคุมภายใน กระบวนการจัดท�ำบัญชี และเอกสารที่ใช้ ประกอบการบันทึกบัญชี งบการเงิน การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการบั ญ ชี ภาษีอากรและกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกอบ ธุรกิจขนาดย่อม ตลอดจนสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร กฎหมายประกัน สังคมและกฎหมายแรงงานของธุรกิจขนาดย่อม บช. 201 หลักการบัญชี 1 (3 หน่วยกิต) AC 201 Principles of Accounting I พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษาความหมาย วัตถุประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ ของข้อมูลทางการบัญชี แม่บทการบัญชี จริยธรรมของวิชาชีพบัญชี หลั ก การและวิ ธี การบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู่ การบันทึกบัญชี ตามวงจรบั ญ ชี การบันทึกรายการค้าลงในสมุดบันทึกรายการขัน้ ต้น การผ่ า นรายการไปยังบัญชีแยกประเภททัว่ ไปและบัญชีแยกประเภท ย่อย การจัดท�ำงบทดลอง กระดาษท�ำการ งบการเงินส�ำหรับกิจการให้ บริการ และกิจการซือ้ ขายสินค้า รวมถึงการบันทึกรายการปรับปรุงและ แก้ไขข้อผิดพลาดทางการบัญชีในสมุดรายวันทัว่ ไป หลักการบันทึกบัญชี เกีย่ วกับภาษีมลู ค่าเพิม่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจการแต่ละประเภท ตลอดจนการ ประยุกต์ใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางการบัญชีในการจัดท�ำบัญชี

บช. 202 หลักการบัญชี 2 (3 หน่วยกิต) AC 202 Principles of Accounting II พื้นความรู้: สอบได้ บช. 201 ศึ ก ษาถึ ง กระบวนการบัญชีส�ำหรับกิจการอุตสหกรรม การบัญชีเกีย่ วกับเงินสดและเงินฝากธนาคาร ระบบเงินสดย่อย ระบบ ใบส�ำคัญ การจัดท�ำงบกระแสเงินสด การบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้และตั๋ว เงินรับ การบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หมายเหตุประกอบ งบการเงินและนโยบายการบัญชี ตลอดจนการประยุกต์ใช้โปรแกรม ส�ำเร็จรูปทางการบัญชีในการจัดท�ำบัญชี บช. 311 การบัญชีสินทรัพย์ (3 หน่วยกิต) AC 311 Asset Accounting พื้นความรู้: สอบได้ บช. 202 ศึกษาหลั ก การและวิ ธีการบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ การ จ�ำแนกป ร ะ เ ภ ท สิ น ท รั พ ย์ การรับรู้ การวัดมูลค่าและการตีราคา สินทรัพ ย์ การจั ด แบ่ งส่วนสินทรัพย์เป็นต้นทุนและค่าใช้จ่ายตาม หลักการบั ญ ชี การด้ อ ยค่าของสินทรัพย์ การแสดงรายการและการ เปิดเผยข้อมูลสินทรัพย์ในงบการเงิน บช. 312 การบัญชีหนี้สินและส่วนของเจ้าของ (3 หน่วยกิต) AC 312 Liability and Owner’s Equity Accounting พื้นความรู้: สอบได้ บช. 202 ศึกษาหลักการและวิธีการบัญชีเกี่ยวกับหนี้สินและส่วน ของเจ้าของ ประกอบด้วย การจ�ำแนกประเภทหนี้สิน การรับรู้ การ วัดมูลค่าของหนี้สิน และการตีราคาหนี้สิน การบัญชีเกี่ยวกับการจัด ตั้งกิจการ การด�ำเนินงาน การแบ่งผลก�ำไรขาดทุน การเปลี่ยนแปลง ส่วนของเจ้ า ของ การเลิ กกิจการ และการช�ำระบัญชีของห้างหุ้น ส่วน บริษัทจ�ำกัดและบริษัทมหาชนจ�ำกัด การแสดงรายการและการ เปิดเผยข้อมูลหนี้สินและส่วนของเจ้าของในงบการเงินตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไป และงบกระแสเงินสด หลักสูตรปริญญาตรี 335


บช. 315 การบัญชีต้นทุน (3 หน่วยกิต) AC 315 Cost Accounting พื้นความรู้: สอบได้ บช. 202 ศึกษาความส�ำคัญและบทบาทของการบัญชีต้นทุนที่มี ต่อธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่างๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบั ญ ชี แ ละการควบคุ ม วัตถุดิบ แรงงาน ค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญ ชี ต้ น ทุ น งานสั่ ง ทํา ระบบต้นทุนช่วงการผลิต ระบบต้นทุน มาตรฐาน การบัญชีตน้ ทุนผลิตภัณฑ์รว่ มและผลิตภัณฑ์พลอยได้ ของ เสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก และต้นทุนฐานกิจกรรม การออกแบบและการเลือกใช้ระบบบัญชีต้นทุนที่เหมาะสมกับกิจการ ตลอดจนการประยุกต์ขอ้ มูลจากระบบบัญชีตน้ ทุน เพือ่ ใช้ในการตัดสิน ใจวางแผนและควบคุมของฝ่ายบริหาร บช. 321 การบัญชีชั้นสูง 1 (3 หน่วยกิต) AC 321 Advanced Accounting I พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาถึ ง นโยบายการบั ญ ชี การเปลี่ยนแปลงทางการ บัญชีและข้ อ ผิ ด พลาด งบการเงินระหว่างกาล การบัญชีส�ำหรับ รายการที่ เ ป็ น เงิ น ตราต่ า งประเทศและการแปลงค่างบการเงิน การ บัญชีส�ำนักงานใหญ่และสาขา ทั้งในและต่างประเทศ สัญญาก่อสร้าง การบัญชีธรุ กิจฝากขาย การบัญชีธรุ กิจขายผ่อนช�ำระ การบัญชีธรุ กิจ ให้เช่า การบัญชีธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และการบัญชีส�ำหรับการปรับ โครงสร้างหนี้ บช. 322 การสอบบัญชี (3 หน่วยกิต) AC 322 Auditing พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาแนวคิ ด ทั่วไป และแม่บทของมาตรฐานการสอบ บัญชี กฏหมายและพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการสอบบัญชี จรรยา บรรณและความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี การทุจริตและข้อผิดพลาด 336 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

การวางแผนงานสอบบัญชี ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและความมี สาระสําคั ญ การประเมินความเสี่ยง หลักฐานการสอบบัญชี วิธีการ รวบรวมหลักฐานและวิธีการตรวจสอบ การเลือกตัวอย่างในการสอบ บัญชี การทดสอบแบบแจ้งข้อความของกรรมการ หรือผู้เป็นหุ้นส่วน หรือผูจ้ ดั การ กระดาษทาํ การของผูส้ อบบัญชี การตรวจสอบสินทรัพย์ หนีส้ นิ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รายได้ และค่าใช้จา่ ย รายงานของผูส้ อบบัญชี รับอนุญาต รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร แนวทาง การตรวจสอบบัญชีดว้ ยคอมพิวเตอร์ และการควบคุมคุณภาพการสอบ บัญชี ตลอดจนทราบถึงการให้บริการด้านอื่นของผู้สอบบัญชี บช. 401 การบัญชีภาษีอากร (3 หน่วยกิต) AC 401 Tax Accounting พื้นความรู้: สอบได้ กม. 301 บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาแ นว คิ ด และความแตกตางระหวางเกณฑการรับ รูรายไดและคาใชจายตามหลักการบัญชีและการภาษีอากร การจัดทํา กระดาษทาํ การเพือ่ คาํ นวณภาษีเงินไดต ามประมวลรัษฎากร การปรับ ปรุงกําไ ร สุ ท ธิทางการบัญชีเปนกําไรสุทธิทางภาษีอากร และศึกษา หลักการบันทึกบัญชีของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง กับภาษีป ร ะ เ ภ ท ต่างๆ รวมทั้งการจัดทํารายงานและการยื่นแบบ แสดงรายการภาษีตามประมวลรัษฎากร บช. 402 การบัญชีชั้นสูง 2 (3 หน่วยกิต) AC 402 Advanced Accounting II พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาการบัญชีสำ� หรับการรวมธุรกิจ การลงทุนในบริษทั ย่อยและบ ริ ษั ท ร่วม การบัญชีส�ำหรับกิจการร่วมค้า การจัดท�ำงบ การเงินรวม งบกระแสเงินสดรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของ ผู้ถือหุ้ น งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การบัญชีส�ำหรับกิจการที่ด�ำเนิน ธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุน การจัดท�ำงบการเงินจากรายการทีบ่ นั ทึก ไว้ไม่สมบูรณ์ กองทุนและกิจการไม่หวังผลก�ำไร


บช. 403 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (3 หน่วยกิต) AC 403 Accounting Information Systems พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 บช. 312 และ ศท. 112 ศึกษาลั ก ษ ณ ะ ส่วนประกอบ และวิธีการของระบบ สารสนเทศทางการบัญชี หลักการจัดท�ำเอกสารของธุรกิจ หลักการ วิเคราะห์ แ ละการออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี วงจรทาง ธุร กิ จ ขั้ น พื้ น ฐาน ระบบย่ อ ยของระบบสารสนเทศทางการบั ญ ชี เกี่ยวกั บ วงจรรายได้ วงจรรายจ่าย วงจรการผลิต วงจรการบริหาร เงิน และรายงานทางการเงิน ประเภทของเอกสารและสารสนเทศ ที่เกี่ย ว ข้ อ ง ใ น แต่ละวงจร การควบคุมภายใน ทางเดินเอกสาร และสารสน เ ท ศ ท า ง การบัญชีที่เกี่ยวข้อง หลักเกณฑ์ในการจัดท�ำ รายงานทางการเงิ นโดยใช้ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยมือและ คอมพิวเต อ ร์ แ ล ะ แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของการประมวล ผลดังกล่ า ว เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล การ ประเมินความเสี่ยงของระบบสารสนเทศทางการบัญชี ตลอดจนการ วิเคราะห์และพัฒนาระบบข้อมูลตามกระบวนการทางการบัญชี รวม ถึงการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บช. 404 การตรวจสอบและการควบคุมภายใน (3 หน่วยกิต) AC 404 Internal Auditing and Control พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาถึ ง ก า ร กํ ากับดูแลกิจการ วัตถุประสงค และ องคประกอบของการควบคุมภายใน การควบคุมภายในตามแนวคิด ของ COSO การจัดการความเสี่ยงขององคกร (Enterprise Risk Manageme n t : E R M ) ตามแนวคิดของ COSO การประเมิน ประสิทธิภาพการควบคุมภายใน แนวคิดการตรวจสอบภายในและการ จัดตั้งหนวยงานตรวจสอบภายใน จริยธรรมและมาตรฐานการปฏิบัติ งานวิชาชี พ ตรวจสอบภายใน และขั้นตอนของงานตรวจสอบภายใน การตรวจสอบภายในกิจกรรมที่สําคัญขององคกรรวมทั้งหนาที่และ ความรับผิ ด ชอบของผูตรวจสอบภายในตอการทุจริตในองคกร เพื่อ ให้สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพได้

บช. 414 การบัญชีเฉพาะกิจการ (3 หน่วยกิต) AC 414 Specialized Accounting พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาถึงลักษณะและรูปแบบการด�ำเนินงาน การควบคุม ภายในเกีย่ วกับสินทรัพย์ หนีส้ นิ ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จา่ ย รายงานผลการด�ำ เนิ นงาน การแสดงฐานะทางการเงินของธุรกิจที่มี ลักษณะเฉพาะกิจการ โดยประเภทธุรกิจให้บริการ จะจัดให้มกี ารเรียน การสอนเกี่ยวกับ ธุรกิจประกันภัย การธนาคาร สถาบันการเงิน การ โรงแรม การบินพาณิชย์ การสื่อสารโทรคมนาคม เป็นต้น ประเภท ธุรกิจพาณิชยกรรม จะจัดให้มกี ารเรียนการสอนเกีย่ วกับธุรกิจพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ สหกรณ์เพื่อการเกษตร สหกรณ์ร้านค้าและธุรกิจ ประเภทอื่ น ๆ ที่ ท างคณะพิจารณาเห็นสมควรให้มีการเรียนการสอน ในภาคการศึกษานั้นๆ บช. 420 ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหาร (3 หน่วยกิต) AC 420 Accounting Information for Management พื้นความรู้: สอบได้ บช. 315 ศึกษาถึ ง การใช ข อมูลตนทุนในการตัดสินใจ วางแผน และควบคุ ม การดํ า เนินงานกิจการภายใตสภาวการณที่แนนอนและ ไมแนนอน ความสั ม พันธระหวางตนทุน ปริมาณและกําไร ระบบ ตนทุนรวม ระบบต น ทุนผันแปร งบประมาณ งบประมาณยืดหยุ่น การกําหนดราคาสิ น คา การก�ำหนดราคาโอน การประเมินผลการ ปฏิบัติง านของหน่ ว ยงานภายในองค์กร ตลอดจนแนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลโดยใช้ข้อมูลทางการบัญชี

หลักสูตรปริญญาตรี 337


บช. 422 การตรวจสอบระบบบัญชีทใี่ ช้คอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) AC 422 Auditing Electronic Data Processing Systems พื้นความรู้: สอบได้ บช. 322 และ ศท. 112 ศึกษาถึ ง แนวคิ ด และผลกระทบเนื่องจากการนําระบบ คอมพิวเตอรมาใชในการประมวลผลทางดานการบัญชี การควบคุม ภายในของระบบงานที่ใชคอมพิวเตอร การทุจริตทางคอมพิวเตอรแ ละ มาตรการปองกัน การประเมินความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การ วิเคราะหความนาเชื่อถือของการประมวลผลขอมูล เทคนิคและการ ตรวจสอบระบบบัญชีที่ใชคอมพิวเตอร และการใชโปรแกรมสําเร็จรูป ในการตรวจสอบระบบบัญชี บช. 423 การวางแผนภาษีอากร (3 หน่วยกิต) AC 423 Tax Planning พื้นความรู้: สอบได้ กม. 301 และ บช. 401 ศึกษาถึ ง การวางแผนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษี เงินไดนติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า ย ภาษีมลู คา เพิม่ และภาษีอนื่ ๆ เพื่อให ก ารเสี ย ภาษีเปนไปอยางประหยัดภายใตกรอบของกฎหมาย และความรับผิดชอบตอสังคม บช. 424 การฝึกงานด้านบัญชี (3 หน่วยกิต) AC 424 Accounting Internship พื้นความรู้: สอบได้ บช. 322 ศึกษาโดยเน้นการฝึกงานด้านการจัดท�ำบัญชี การตรวจ สอบภายใน และการตรวจสอบบัญชีขององค์กรธุรกิจต่างๆ ได้แก่ ฝึกปฏิบั ติ จ ากกรณี ศึกษาที่ทางคณะได้จัดท�ำขึ้น ฝึกปฏิบัติงานกับ หน่วยงานภายนอก โดยจะต้องฝึกปฏิบัติงานในโครงการใดโครงการ หนึ่งติดต่อกันจนครบตามจ�ำนวนชั่วโมงและระยะเวลาที่ก�ำหนด

338 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บช. 425 สัมมนาการบัญชีการเงิน (3 หน่วยกิต) AC 425 Seminar in Financial Accounting พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 บช. 312 และ บช. 428 อภิปรายและวิ เ คราะห์แนวทางการน�ำแม่บทการบัญชี มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินไปใช้ในการ ปฏิบัติงานด้านการบัญชีขององค์กรประเภทต่างๆ โดยใช้กรณีศึกษา บทความ เอกสารทางวิชาการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ในและต่างประเทศ ตลอดจนประเด็นปัญหาด้านการบัญชีการเงินและจรรยาบรรณวิชาชีพ บช. 426 สัมมนาการบัญชีบริหาร (3 หน่วยกิต) AC 426 Seminar in Managerial Accounting พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 บช. 312 และ บช. 420 อภิปรายและวิ เ คราะห์บทบาทของการบัญชีบริหารกับ สภาพแวดล อ มที่ เ ปลี่ยนแปลงไป การใชขอมูลทางการบัญชีในเชิง กลยุทธ การประยุกตก ารบัญชีตน ทุน และการวิเคราะหข อ มูลทางการ บัญชีเพือ่ การบริหาร ตลอดจนประเด็นทีน่ า สนใจ ปญ หาพิเศษทางการ บัญชีบริหารตามสภาพแวดล้อมปัจจุบันและจรรยาบรรณวิชาชีพ บช. 427 การบัญชีส�ำหรับธุรกิจส่งออกและน�ำเข้า (3 หน่วยกิต) AC 427 Accounting for Export and Import พื้นความรู้: สอบได้ กม. 301 บช. 311 และ บช. 312 ศึกษาถึงความรูท้ วั่ ไปของธุรกิจส่งออกและน�ำเข้าในเรือ่ ง ต่างๆ เช่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจส่งออกและน�ำเข้า การส่ง เสริมการลงทุ น (BOI) ระบบการค้าระหว่างประเทศ ระบบการให้ สินเชื่อ ที่ ไ ด้ รั บ ก ารสนับสนุนจากภาครัฐบาลและสถาบันการเงินใน ประเทศเกี่ยวกับ การเปิด Letter of Credit, Trust Receipt, Letter of Guarantee /Shipping Guarantee รวมถึงการขอสินเชื่อ Packing Credit กฎหมายภาษี อ ากรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น ภาษี เงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต สิทธิ ประโยชน์ ด้ า นภาษี ที่ผู้ประกอบการจะได้รับข้อยกเว้นภาษีของธุรกิจ


ข้อตกลงทางการค้าเสรีระหว่างประเทศ(FTA) รวมถึงศึกษาเกี่ยวกับ ระบบเอกสารต่ า งๆ ทั้งในส่วนของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพิธีการส่ง ออกและน�ำเข้า ความหมายของค�ำย่อ (INCO TERM), EXWORK, FOB, CIF, CIP, CFR, DDU เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกบัญชี การบันทึกบัญชีส�ำหรับธุรกิจส่งออกและน�ำเข้า การบันทึกบัญชีเกี่ยว กับอัตราแลกเปลีย่ น อัตราซือ้ อัตราขาย การรับรูร้ ายได้และค่าใช้จา่ ย ของผลต่างอัตราแลกเปลี่ยน ตลอดจนศึกษาการจัดท�ำรายงานและ งบการเงินของธุรกิจ บช. 428 รายงานการเงินและการวิเคราะห์ (3 หน่วยกิต) AC 428 Financial Reporting and Analysis พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 และ บช. 312 ศึกษารายงานการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลทางการ บัญชี วิธี ก า ร แ ล ะ เ ค รื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์รายงานการเงิน และข้อมูล ทางการบั ญ ชีอื่นที่ส�ำคัญต่อการตัดสินใจ การวิเคราะห์ อุตสาหกรรม ผลกระทบต่องบการเงินจากการเลือกใช้นโยบายการ บัญชีทแี่ ตกต่างกัน ตลอดจนการวิเคราะห์งบการเงินรวม โดยเน้นการ ใช้กรณีศึกษาและเหตุการณ์จริง บช. 431 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (3 หน่วยกิต) AC 431 Computer Programming พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 บช. 312 และ ศท. 112 ศึกษาแนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรมแบบมาตรฐาน โดยใช้ภาษาปาสคาล มุง่ เน้นทักษะการเขียนโปรแกรมทีด่ ี การพัฒนา อัลกอริทมึ ประเภทของข้อมูล ตัวแปร ค่าคงที่ นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ การแสดงผลข้อมูลและการรับข้อมูล การเขียนโปรแกรมแบบมีเงือ่ นไข โปรแกรมแบบท�ำ ซ�้ำ โปรแกรมย่อย (โมดูล) การก�ำหนดชนิดข้อมูล ไฟล์พอยเตอร์และลิงค์ลิสต์ ยูนิต การจัดเรียงข้อมูล โพรซีเยอร์และ ฟังก์ชนั มาตรฐาน กราฟิก การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เทคนิคการระบุ และการแก้ไขปัญหา การเขียนโครงสร้างและผังงานของโปรแกรมแบบ ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเขียนโปรแกรมกับงานบัญชีได้

บช. 432 การประยุกต์คอมพิวเตอร์ใน (3 หน่วยกิต) การรายงานทางธุรกิจ AC 432 Computer Applications in Business Reporting พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 บช. 312 และ ศท. 112 ศึกษาหลักการประยุกต์ใช้โปรแกรมประเภทสเปรดชีทใน การบริหารจัดการงานด้านบัญชีการเงินและบัญชีบริหาร โดยมุ่งเน้น การสร้างและใช้ฐานข้อมูล การสอบถามข้อมูลจากฐานข้อมูล การใช้ ฟังก์ชันฐานข้อมูล การท�ำงานกับฟังก์ชันระดับสูง การเขียน Macro และ VBA รวมถึงการเตรียมความพร้อมในการสอบ Microsoft Office Specialist Certification (Microsoft Office Excel Expert) บช. 434 โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางการบัญชี (3 หน่วยกิต) AC 434 Accounting Software พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 บช. 312 และ ศท. 112 ศึกษาวิ ธี ก า ร ใ ช้ โ ป ร แ กรมส�ำเร็จรูปทางการบัญชี (Accounting Software) ในการวิเคราะห์ ตีความ และตรวจสอบ สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการตัดสินใจ โดยมุ่งศึกษาวิธีการติดตั้ง ซอฟต์แวร์ ท างการบั ญ ชี การก�ำหนดบริษัทใหม่ การก�ำหนดข้อมูล พืน้ ฐานส�ำหรับระบบต่างๆ การบันทึกข้อมูลรายการทางธุรกิจในระบบ ต่าง ๆ การประมวลผลข้อมูล การปิดบัญชี การจัดพิมพ์รายงาน และ ส่งเสริมให้ ผู้ เ รี ย นได้ ทบทวนแนวคิดและหลักการบัญชีที่ได้ศึกษามา นอกจากนี้ ผู้ เ รี ย น จ ะ ไ ด้ศึกษาถึงการท�ำงานร่วมกันของโปรแกรม ส�ำเร็จรูปทางการบัญชี กับโปรแกรมประเภท Spreadsheet เพื่อการ จัดเตรียมรายงานส�ำหรับผูใ้ ช้ขอ้ มูล รวมถึงการจัดท�ำงบประมาณ และ การส�ำรองข้อมูลของโปรแกรม

หลักสูตรปริญญาตรี 339


บช. 435 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (3 หน่วยกิต) สารสนเทศทางการบัญชี AC 435 Accounting Information Systems Analysis and Design พื้นความรู้: สอบได้ บช. 403 ศึกษาแนวคิด หลักการวิเคราะห์และออกแบบสารสนเทศ ทางการบัญชี วัตถุประสงค์ในการออกแบบระบบ วงจรชีวิตเกี่ยวกับ พัฒนาการของร ะ บบซอฟต์แวร์ ศึกษาระบบงานต่างๆ ที่อาจน�ำมา ใช้ปฏิบัติได้ การหาจุดประหยัดของระบบ การเลือกและการประเมิน ผลของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ การศึกษาความ เ ป็นไปได้ของโครงการ การจัดท�ำแบบน�ำเสนอ โครงการ การบริหารโครงการ เครื่องมือและเทคนิคในการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี โดยค�ำนึงถึงกระบวนการ ทางบัญชีและระบบการควบคุมภายใน การน�ำระบบไปใช้งานและการ ประเมินผลหลังการใช้งาน บช. 436 ความมั่นคงในระบบสารสนเทศ (3 หน่วยกิต) และการควบคุม AC 436 Information Systems Security and Control พื้นความรู้: สอบได้ บช. 403 ศึกษาวิธีก ารรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย และข้อมูล การสร้างระบบ การ ควบคุมระบบ และการประกันคุณภาพระบบสารสนเทศ การประเมิน และการจัดการความเสีย่ ง ทฤษฎีสารสนเทศ การลงรหัสคริปโตกราฟี กรรมวิธีรับรองความปลอดภัย ขอบเขต การป้องกันจากซอฟต์แวร์ที่ ประสงค์ร้ายต่ อระบบ ไวรัส ลอจิกบอมบ์ และวิธีการตรวจสอบแก่น ของความปลอดภัย

340 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บช. 437 ระบบการจัดการฐานข้อมูล (3 หน่วยกิต) AC 437 Database Management Systems พื้นความรู้: สอบได้ บช. 311 บช. 312 และ ศท. 112 ศึกษาโครงสร้างหลัก องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล รวมถึงวิธีการจัดโครงสร้าง วิธีการออกแบบระบบฐานข้อมูลโดยใช้ แบบจ�ำลองข้อมู ลเชิงสัมพันธ์ (Relational Data Model) วิธีการใช้ เครื่องมือส�ำห รับการจัดการฐานข้อมูลในการออกแบบและพัฒนา ระบบบัญชี เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่าระบบดังกล่าวสามารถให้ขอ้ มูลที่ ถูกต้อง ครบถ้วน และทันต่อเวลา ท�ำให้ผู้ใช้สามารถน�ำไปใช้เพื่อการ ตัดสินใจได้ โดยมุง่ เน้นศึกษาแนวคิดพืน้ ฐานเกีย่ วกับระบบบริหารฐาน ข้อมูล สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล รูปแบบของฐานข้อมูล ความขึน้ แก่กันและกันของข้อมูล เค้าร่าง การท�ำให้อยู่ในรูปแบบบรรทัดฐาน รูปแบบบรรทัดฐานของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การสร้างโมเดลจ�ำลอง ความสัมพันธ์ การออกแบบฐานข้อมูลแบบอีอาร์ (Entity Relationship Diagram) แบบอีออี าร์ (Enhanced ER Diagram) พีชคณิตเชิงสัมพันธ์ ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง แคลคูลัสเชิงสัมพันธ์ ระบบรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล การเกิดภาวะพร้อมกัน การปิดกัน้ การกูค้ นื ข้อมูล ความบูรณภาพของข้อมูล และพจนานุกรมข้อมูล บช. 441 สัมมนาการสอบบัญชี (3 หน่วยกิต) AC 441 Seminar in Auditing พื้นความรู้: สอบได้ บช. 322 อภิปราย วิเค ร าะหและคนควาเพื่อใหเกิดความรูและ ความเขาใจอยา งลึกซึ้งในมาตรฐานการสอบบัญชี และปญหาในการ ปฏิบตั งิ านของผูส อบบัญชี ความแตกตา งระหวา งการตรวจสอบทุจริต กับการบัญชีเพื่อสืบหาหลักฐานข้อมูลทางการเงิน แนวทางการแกไข ตลอดจนการเขาไ ป มีสวนรวมในกระบวนการฟองรองเพื่อดําเนินคดี ในศาล โดยใชกรณีศึกษา บทความและเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของทั้ง ในประเทศและตางประเทศ ตลอดจนประเด็นที่นาสนใจ ปญหาพิเศษ ดานการสอบบัญชี ด้านบัญชีเพื่อสืบหาหลักฐานข้อมูลทางการเงิน และจรรยาบรรณวิชาชีพ


บช. 442 สัมมนาการภาษีอากร (3 หน่วยกิต) AC 442 Seminar in Taxation พื้นความรู้: สอบได้ กม. 301 และ บช. 401 อภิปรายและวิ เ คราะหประเด็นที่นาสนใจทางภาษีอากร โดยใช้กรณีศึกษ า บทความ และเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งใน ประเทศและตางป ร ะเทศ ตลอดจนคําวินิจฉัยดานภาษีอากร และ คําพิพากษาของศาลภาษีอากรกลาง บช. 443 สัมมนาเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ (3 หน่วยกิต) ทางการบัญชี AC 443 Seminar in Accounting Information Systems and Technology พื้นความรู้: สอบได้ บช. 403 อภิปราย วิเค ราะห์ปัญหาและประเด็นปัจจุบันเกี่ยวกับ การน�ำเทคโนโลยีมาใช้กับระบบสารสนเทศทางการบัญชี โดยใช้กรณี ศึกษา บทความ และเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ ปัญหาพิเ ศษด้านเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศทางการ บัญชีและจรรยาบรรณวิชาชีพ แนวทางในการแก้ไขปัญหา บช. 453 สหกิจศึกษาส�ำหรับนักบัญชี (3 หน่วยกิต) AC 453 Cooperative Education for Accountant พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 และนักศึกษาต้องลงทะเบียนและ สอบผ่านในกลุ่มวิชาเอก-บังคับแล้วไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ศึกษาระบบการท�ำงานจริงในสถานประกอบการในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการปฏิบตั งิ านเต็มเวลาในสถานประกอบ การ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณ ุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ทำ� งาน (Work Integrated Learning) ที่ตรงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือโครง

งาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กร รวมถึ ง มี การประเมิ น ผลการท� ำ งานจากคณาจารย์ ร ่ ว มกั บ สถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดท�ำรายงานสรุปผลการปฏิบัติ งานสหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

หมวด​วิชา​บริหารธุรกิจ บธ. 111 การ​คิด​แบบ​สร้างสรรค์เพื่อนวัตกรรม (3 หน่วยกิต) BA 111 Creative Thinking for Innovation ศึกษา​ความ​หมาย​ของ​ความ​คิด​สร้างสรรค์ ลักษณะ​พื้น​ ฐาน​ข อง​ผู้​มี​ค วาม​คิ ด​สร้ างสรรค์ ลักษณะ​ของ​ความ​คิด​สร้างสรรค์ กระบวนการ​และ​การ​พัฒนา​ความ​คิด​สร้างสรรค์ กลยุทธ์ และ​เทคนิค​ การ​พัฒนา​ความ​คิด​สร้างสรรค์ เพื่อ​เตรียม​พร้อม​ต่อ​การ​เป็น​เจ้าของ​ ธุรกิจ​ที่​ต้อง​เผชิญ​กับ​สถานการณ์​หรือ​ปัญหา​ความ​ซับ​ซ้อน​วุ่น​วาย​ใน​ ปัจจุบัน โดย​อาศัย​การ​พัฒนา​แนวทาง​แก้ไข​ปัญหา​อย่าง​สร้างสรรค์ เพื่อ​ตอบ​สนอง​ต่อ​ความ​ต้องการ​ของ​กลุ่ม​เป้า​หมาย​ใน​หลาก​หลาย​มิติ บธ. 113 ภาษา​ไทย​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ทาง​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 113 Thai for Business Communications ศึกษา​หลักแ​ ละ​ฝึกท​ ักษะ​การ​ใช้ภ​ าษา​เพื่อก​ าร​สื่อสาร​ทาง​ ธุรกิจ​ให้​มี​ประสิทธิภาพ เช่น ฝึก​การ​พูด​เพื่อ​ประชาสัมพันธ์​งาน​ด้าน​ ธุรกิจ​ฝึก​การ​เขียน​และ​ย่อ​สรุป​เอกสาร​ทาง​ธุรกิจ บทความ​ธุรกิจ รวม​ ทั้ง​ฝึก​เทคนิค​เป็น​ผู้น�ำ​การ​ประชุม ผู้​ร่วม​ประชุม และ​การ​จัด​ประชุม

หลักสูตรปริญญาตรี 341


บธ. 201 บัญชีท​ ั่วไป (3 หน่วยกิต) BA 201 General Accounting เพือ่ ​ให้​นกั ​ศกึ ษา​ทราบ​ถงึ ​ความ​สำ� คัญ​ของ​การ​บญั ชี​ใน​การ​ บริหาร​งาน​ของ​ธุรกิจ บทบาท​ของ​การ​บัญชี​ที่​มี​ต่อ​ธุรกิจ ความ​ส�ำคัญ​ และ​ประโยชน์​ของ​ข้อมูลท​ างการ​บัญชี ระบบ​บัญชี กระบวนการ​จัด​ท�ำ​ บัญชี เอกสาร​ที่​ใช้​ประกอบ​การ​บันทึก​บัญชี งบ​การ​เงิน และ​การ​ ประยุกต์​ใช้​เทคโนโลยี​กับ​งาน​บัญชี บธ. 202 เศรษฐศาสตร์เ​บื้อง​ต้น (3 หน่วยกิต) BA 202 Principles of Economics ครอบคลุ ม ​ห ลั ก ​เศรษฐศาสตร์ ​พื้น​ฐาน ​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​ วิเคราะห์​และ​เข้าใจ​การ​ตัดสิน​ใจ​ของ​บุคคล หน่วย​ธุรกิจ และ​รัฐบาล​ ใน​ระบบ​เศรษฐกิจ​การ​ศึกษา​ประกอบ​ด้วย​การ​วิเคราะห์​อุป​สงค์​และ​ อุปทาน​ ทฤษฎีผ​ ​บู้ ริโภค และ​ทฤษฎีผ​ ​ผู้ ลิต ตลอด​จน​ศกึ ษา​ลกั ษณะ​ของ​ โครงสร้าง​ตลาด​ชนิด​ต่างๆ เช่น ตลาด​แข่ง​ขัน​สมบูรณ์ ตลาด​ผูกขาด ตลาด​แข่ง​ขัน​กึ่ง​ผูกขาด ตลาด​ผู้​ขาย​น้อย​ราย รวม​ทั้ง​อิทธิพล​ของ​ โครงสร้าง​ตลาด​ตา่ งๆ เหล่า​น​ที้ ​มี่ ต​ี อ่ ​การ​กำ� หนด​ราคา​สนิ ค้า​ของ​หน่วย​ ธุรกิจ​นอกจาก​น​ยี้ งั ​ศกึ ษา​ดา้ น​เศรษฐศาสตร์มหภาค เช่น ความ​สมั พันธ์​ ระหว่าง​ระดับ​ผลผลิต การ​จ้าง​งาน อัตรา​ดอก​เบี้ย ราคา ตลอด​จน​ผล​ กระทบ​ของ​นโยบาย​การ​เงินแ​ ละ​การ​คลังท​ ​มี่ ต​ี อ่ ก​ าร​ตดั สินใ​จ​ของ​หน่วย​ธรุ กิจ บธ. 203 หลักก​ ฎหมาย​ส�ำหรับ​เจ้าของ​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 203 Legal Aspects in Entrepreneurship ศึกษา​ถงึ ​หลัก​กฎหมาย​สำ� คัญ​ท​เี่ จ้าของ​ธรุ กิจ​จะ​ตอ้ ง​ทราบ​ เพื่อ​ประโยชน์​ใน​การ​วางแผน​เลือก​ประเภท​องค์การ​ธุรกิจใ​ห้​เหมาะ​สม​ กับ​การ​ดำ� เนิน​งาน ทั้ง​รูป​แบบ​ของ​บุคคล​ธรรมดา​และ​นิติบุคคล รวม​ ถึง​การ​ด�ำเนิน​ธุรกิจ​โดย​อาศัย​นิติกรรม​สัญญา​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​ ประกอบ​กิจการ ซึ่ง​ต้อง​เข้าใจ​ถึง​หลัก​กฎหมาย​ท​ี่ส�ำคัญ​ตาม​ประมวล​ กฎหมาย​แพ่ง​และ​พาณิชย์ นอกจาก​นี้ ยัง​ศึกษา​ถึง​หลัก​กฎหมาย​ที่​ เกี่ยวข้อง​กับ​ตั๋ว​เงิน​ใน​รูป​แบบ​ที่​ใช้​กัน​อย่าง​แพร่​หลาย​ใน​ปัจจุบัน รวม​ ทั้ง​ศึกษา​กฎหมาย​เกี่ยว​กับ​ทรัพย์ส​ ิน​ทาง​ปัญญา และ​กฎ​หมา​ยอื่นๆ ที่​ เกี่ยวข้อง​กับ​การ​จัด​ตั้ง​ธุรกิจใ​น​รูปแ​ บบ​ต่างๆ 342 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บธ. 204 ภาษีธ​ ุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 204 Business Taxation ศึกษา​ถงึ ห​ ลักก​ าร​ของ​โครงสร้าง​ภาษีอ​ ากร วิธก​ี าร​ประเมิน​ และ​การ​จัด​เก็บ​ภาษี​อากร​ต่างๆ เช่น ภาษี​เงิน​ได้​บุคคล​ธรรมดา​และ​ นิตบิ คุ คล ภาษี​การ​คา้ และ​ภาษี​อนื่ ๆ ทีเ​่ กีย่ วข้อง​กบั ​กจิ การ​คา้ ​โดย​ทวั่ ไป รวม​ถงึ ​วธิ ก​ี าร​และ​หลักเ​กณฑ์​การ​คำ� นวณ​ภาษีอ​ ากร​ตาม​บทบัญญัต​แิ ห่ง​ ประ​มวล​รษั ฎา​กร เพือ่ ​นำ​ � มาตรการ​ทาง​ภาษี​อากร​มา​ใช้​ให้​เกิด​ประโยชน์​ ใน​การ​วางแผน​ทาง​ธรุ กิจ นอกจาก​นี้ ยังศ​ กึ ษา​ถงึ ​ปญั หา​ภาษี​อากร​ท​เี่ กิด​ ขึน้ ​ใน​ทาง​ปฏิบตั ิ ข้อแ​ นะน�ำ​จาก​หน่วย​จดั ​เก็บภ​ าษีข​ อง​รฐั แ​ ละ​แนวทาง​ การ​แก้ไข​ปัญหา​โดย​ใช้​กรณี​ศึกษา​จริง บธ. 205 การ​วิเคราะห์​เพื่อ​การ​ตัดสิน​ใจ​ทาง​ธุรกิจ 1 (3 หน่วยกิต) BA 205 Analysis for Business Decision Making I เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​ได้​มี​ความ​รู้​ทาง​คณิตศาสตร์​อย่าง​พอ​ เพียง​ใน​การ​ศึกษา​ธุรกิจ​ทั้ง​ใน​ทฤษฎี​และ​การน�ำ​ไป​ประยุกต์​ใช้ ให้​ นัก​ศึกษา​สามารถ​น�ำ​เทคนิค​ทาง​คณิตศาสตร์​มา​ประยุกต์​ เพื่อ​การ​ วิเคราะห์​บริหาร​งาน และ​ตัดสิน​ใจ​ทาง​ธุรกิจ และ​ศึกษา​เกี่ยว​กับ​ เปอร์เซ็นต์​และ​การ​ประยุกต์​ใช้​ทาง​ธุรกิจ การ​ตั้ง​ราคา​สินค้า ส่วนลด​ การ​ค้า ส่วนลด​ธนาคาร เงิน​ราย​งวด การ​ประยุกต์​ใช้​อนุพันธ์ และ​กา​ รอิ​นทิ​เกรต​ใน​ทาง​ธุรกิจ บธ. 206 การ​วิเคราะห์​เพื่อ​การ​ตัดสิน​ใจ​ทาง​ธุรกิจ 2 (3 หน่วยกิต) BA 206 Analysis for Business Decision Making II เพือ่ ใ​ห้​นกั ​ศกึ ษา​ได้​เรียน​ร​แู้ นวคิดพ​ นื้ ​ฐาน​ทาง​สถิต​ทิ ​เี่ กีย่ ว​ กับ​การน�ำ​ข้อมูล​มา​วิเคราะห์​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​พยากรณ์​และ​การ​ตัดสิน​ใจ​ ทาง​ธุรกิจ และ​ศึกษา​ระเบียบ​วิธี​ทาง​สถิติ การ​วัด​แนว​โน้ม​เข้า​สู่​ส่วน​ กลาง การ​วดั ​การ​กระจาย​ของ​ขอ้ มูล การ​ประมาณ​คา่ ​พารา​มเิ ตอร์ การ​ ทดสอบ​สมมติฐาน​ทาง​สถิต​เิ กีย่ ว​กบั ​คา่ ​เฉลีย่ ​เลขคณิต​และ​สดั ส่วน การ​ ทดสอบ​สมมติฐาน​ด้วย​สถิติ​ไคส​แคว​ร์ การ​วิเคราะห์​ความ​แปร​ปร​วน การ​วิเคราะห์​การ​ถดถอย​และ​สห​สัมพันธ์ เลข​ดัชนี​และ​การ​วิเคราะห์​ อนุกรม​เวลา


บธ. 207 การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อการตัดสินใจ (3 หน่วยกิต) ทางธุรกิจ BA 207 Statistical Analysis for Business Decisions ศึกษาแนวคิดพืน้ ฐานทางสถิตทิ เี่ กีย่ วกับการนำ�ข้อมูลมา วิเคราะห์ เพือ่ ใช้ในการพยากรณ์และการตัดสินใจทางธุรกิจ โดยศึกษา วิธีการจัดเก็บข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการ กระจายของข้อมูล ความน่าจะเป็น การประมาณค่า การทดสอบ สมมติฐานทางสถิติเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยและสัดส่วน การวิเคราะห์ความ แปรปรวน การทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติไคสแควร์ การวิเคราะห์ การถดถอยและสหสัมพันธ์ รวมถึงการวิเคราะห์อนุกรมเวลา บธ. 211 ความ​รู้​เบื้อง​ต้นทาง​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 211 Introduction to Business ศึกษา​ถึง​รูป​แบบ​การ​จัด​ตั้ง​ธุรกิจ ซึ่ง​ครอบคลุม​ตั้ง​แต่​ กิจการ​แบบ​เจ้าของ​คน​เดียว ห้าง​หุ้น​ส่วน และ​บริษัทจ​ �ำกัด ศึกษา​ถึง​ ลักษณะ​สภาพ​แวดล้อม​ของ​ธรุ กิจ กิจกรรม​ทาง​ธรุ กิจ​ดา้ น​การ​ผลิต การ​ ตลาด​การ​เงิน การ​บัญชี และ​การ​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์ กฎหมาย​ ต่างๆ ที​เ่ กีย่ วข้อง​กบั ​ธรุ กิจ สถาบัน​การ​เงิน เอกสาร​ทางการ​คา้ และ​การ​ บริหาร​จัดการ เพื่อส​ ร้าง​พื้น​ฐาน​แนวคิดข​ อง​การ​ด�ำเนิน​ธุรกิจแ​ ละ​เพื่อ​ ให้​เกิด​ความ​เข้าใจ​ใน​กจิ กรรม​แต่ละ​ดา้ น​ของ​ธรุ กิจ อัน​จะ​เป็น​ประโยชน์​ ต่อ​การ​ศึกษา​วิชา​การ​เป็นเ​จ้าของ​ธุรกิจ​ต่อ​ไป บธ. 212 การ​เงิน​ส�ำหรับ​เจ้าของ​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 212 Entrepreneurial Finance พื้น​ความ​รู้: บธ. 201 ศึกษา​ถึง​รูป​แบบ​ใน​การ​ด�ำเนิน​ธุรกิจ​และ​แนวคิด​ทางการ​ เงิน​ที่​ส�ำคัญ​ซึ่ง​เจ้าของ​ธุรกิจ​ควร​รู้ ได้แก่ การ​จัดหา​เงิน​ทุน​ใน​การ​ท�ำ​ ธุรกิจแ​ หล่งเ​งินท​ นุ งบ​การ​เงินข​ อง​วสิ าหกิจข​ นาด​ยอ่ ม การ​พยากรณ์​ ทางการ​เงิน การ​บริหาร​เงินสด แนวคิด​ใน​การ​ประเมิน​มลู ค่า​ของ​ธรุ กิจ การ​วัด​ความ​คุ้ม​ทุน และ​ผล​ตอบแทน​จาก​การ​ลงทุน การ​บริหาร​และ​ การ​ตัดสิน​ใจ​ทางการ​เงิน​ส�ำหรับ​ธุรกิจ​ใน​วงจร​ชีวิต​ที่​แตก​ต่าง​กัน และ​ การ​เงินท​ ี่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ท�ำ​แผน​ธุรกิจ

บธ. 213 การ​บัญชี​การ​เงิน​เพื่อ​การ​บริหาร (3 หน่วยกิต) BA 213 Financial Accounting for Management พื้น​ความ​รู้: บธ. 201 และ บธ. 212 เพื่ อ ​ใ ห้ ​นั ก ​ศึ ก ษา​มี ​ค วาม​รู้ ​ค วาม​เข้าใจ​เกี่ยว​กับ​ข้อมูล​ ทางการ​บัญชี ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย​งบ​การ​เงิน งบ​ประมาณ ต้นทุน และ​ ข้อมูล​ทางการ​เงิน​อื่น​ๆ รวม​ทั้ง​สามารถ​ประยุกต์​ใช้​ข้อมูล​เหล่า​นี้​ เพื่อ​ การ​บริหาร​งาน การ​วางแผน การ​ควบคุม และ​การ​ตัดสิน​ใจ​ทาง​ธุรกิจ บธ. 214 การ​ตลาด​ส�ำหรับ​เจ้าของ​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 214 Entrepreneurial Marketing ศึ ก ษา​ถึ ง ​แ นวคิ ด ​เ บื้ อ ง​ต้ น ​เ กี่ยว​กับ​การ​ตลาด ความ​ หมายความ​ส�ำคัญ​ของ​การ​ตลาด พฤติกรรม​ผู้​บริโภค การ​วิจัย​ตลาด และ​สิ่ง​แวดล้อม​ต่างๆ ที่​ส่ง​ผล​กระทบ​ต่อ​การ​วางแผน​การ​ตลาด​ของ​ผู้​ ประกอบ​การ นอกจาก​น ี้ ยัง​ศกึ ษา​ถงึ ​ลกั ษณะ​และ​รปู ​แบบ​ของ​การ​แบ่ง​ ส่วน​ตลาด การ​เลือก​ตลาด​เป้า​หมาย การ​ก�ำหนด​ต�ำแหน่ง​ผลิตภัณฑ์ และ​กลยุทธ์​สว่ น​ประสม​การ​ตลาด​อนั ​ประกอบ​ไป​ดว้ ย​ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่อง​ทางการ​จ�ำหน่าย และ​การ​ติดต่อส​ ื่อสาร​การ​ตลาด​แบบ​บู​รณา​การ รวม​ทั้ง​ศึกษา​ถึง​แนวคิด​และ​การ​ท�ำการ​ตลาด​เพื่อ​สังคม บธ. 215 การ​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์​ (3 หน่วยกิต) และพฤติกรรม​องค์การ BA 215 Human Resource Management and Organization Behavior ศึกษา​ถึง​บทบาท หน้าที่ และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​ฝ่าย​ บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์​ใน​องค์การ ทั้ง​ใน​เรื่อง​ของ​การ​ออกแบบ​และ​ วิเคราะห์​งาน การ​วางแผน​ก�ำลัง​คน การ​สรรหา​และ​คัด​เลือก​บุคลากร การ​พัฒนา​บุคลากร การ​ประเมิน​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน การ​บริหาร​ค่า​ ตอบแทน รวม​ถงึ ​ระบบ​สาร​สนเทศ​ท​สี่ ามารถ​ประยุกต์ใ​ช้​กบั ก​ าร​บริหาร​ ทรัพยากร​บคุ คล นอกจาก​น ี้ ยัง​ศกึ ษา​ถงึ ​พฤติกรรม​ของ​บคุ คล กลุม่ ​ และ​องค์การ รวม​ถงึ ​การ​ตดิ ต่อส​ อื่ สาร การ​จงู ใจ ภาวะ​ผนู้ ำ � การ​ตดั สิน​ ใจ การ​เปลีย่ นแปลง​และ​ความ​ขดั ​แย้ง​ใน​องค์การ ทัง้ นี​เ้ พือ่ ​ให้​เกิด​ความ​ เข้าใจ​พฤติกรรม​ของ​คน​ที่​ท�ำงาน​ใน​องค์การ​ร่วม​กัน หลักสูตรปริญญาตรี 343


บธ. 216 การ​บริหาร​การ​ผลิต (3 หน่วยกิต) BA 216 Production and Operations Management ศึกษา​ถงึ ​ความ​ร​เู้ บือ้ ง​ตน้ แ​ ละ​ขอบเขต​ของ​การ​บริหาร​การ​ ผลิต​การ​คาด​คะเน​หรือ​พยากรณ์​การ​ผลิต การ​ออกแบบ​และ​พัฒนา​ ผลิตภัณฑ์ การ​เลือก​ท�ำเล​ที่​ตั้ง การ​วาง​ผัง​โรงงาน การ​จัดซ​ ื้อ การ​ บริหาร​กำ� ลัง การ​ผลิต การ​บริหาร​สนิ ค้าค​ งคลัง การ​บริหาร​โครงการ การ​บริหาร​คุณภาพ และ​การ​บ�ำรุง​รักษา​เครื่องจักร บธ. 217 การ​บริหาร​ความ​สัมพันธ์​แบบ​บู​รณา​การ (3 หน่วยกิต) BA 217 Integrated Relationship Management ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ องค์​ประกอบ และ​ กลยุทธ์​ของ​การ​บริหาร​ความ​สัมพันธ์​แบบ​บู​รณา​การ​กับ​ผู้​มี​ส่วน เกี่ยวข้อง​กับ​การ​เป็น​เจ้าของ​ธุรกิจ อาทิ บุคคล องค์การ สถาบัน พนักง​าน ผูถ​้ อื ห​ นุ้ ลูกค้า ชุมชน สือ่ มวลชน และ​หน่วย​งาน​ทเ​ี่ กีย่ วข้อง ผ่าน​สอื่ บ​ คุ คล สือ่ ส​ งิ่ พ​ มิ พ์ สือ่ อ​ เิ ล็กทรอนิกส์ สือ่ เ​ทคโนโลยีใ​หม่ๆ เช่น สื่อสังคมออนไลน์ สื่อมวลชน และ​สื่อ​พื้น​บ้าน เพื่อ​ให้บ​ รรลุ​เป้าห​ มาย​ ด้าน​การ​สร้าง​ความ​สมั พันธ์ท​ ย​ี่ งั่ ย​ นื ร​ ะหว่าง​เจ้าของ​ธรุ กิจแ​ ละ​ผท​ู้ ม​ี่ ส​ี ว่ น​ เกี่ยวข้อง บธ. 218 การ​จัดการ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) BA 218 E-Business Management พื้น​ความ​รู้: บธ. 211 ศึกษา​ถงึ ​ระบบ​เครือ​ขา่ ย องค์​ประกอบ​พนื้ ​ฐาน โปรแกรม​ ประยุ ก ต์ ​ต่ า งๆ ที่ ​ใ ช้ ​ใน​ระบบ​ธุร กิจ​อิเ ล็กทรอนิกส์ และ​ประเด็น​ทาง​ กฎหมาย จริ ย ธรรม​ที่ ​เกี่ยวข้อง​กับ ​ความ​ป ลอดภั ย​ของ​ระบบ​ธุรกิจ​ อิเล็กทรอนิกส์ รวม​ทั้ง​วางแผน​กลยุทธ์​ทาง​ด้าน​การ​ตลาด​ของ​ระบบ​ เครือ​ข่าย ตลอด​จน​การ​บริหาร​งาน​ด้าน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ นับ​ตั้ง​ แต่​การ​วางแผน การ​จัด​องค์การ การ​สั่ง​การ และ​การ​ควบคุมง​ าน​ใน​ ระดับ​ปฏิบัติ​การ 344 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บธ. 301 ภาษา​อังกฤษ​ส�ำหรับเ​จ้าของธุรกิจ (3 หน่วยกิต) ระดับโลก 1 BA 301 English for Entrepreneurs I พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ บธ. 221 ศึกษา​ทักษะ​การ​ใช้​ภาษา​อังกฤษ​ที่​ใช้​ใน​แวดวง​ธุรกิจ​เพื่อ​ เตรียม​ตวั ​เป็น​เจ้าของธุรกิจในการแข่งขันธุรกิจระดับโลก การน�ำ​เสนอ​ แผน​ธุรกิจ การ​ฝึก​ฟัง​และ​พูด​ภาษา​อังกฤษ​กับ​บุคคล​ที่​อยู่​ใน​วงการ​ ธุรกิจ​ต่างๆ การ​ฝึกฝน​การ​เขียน​โต้ตอบ​ทาง​ธุรกิจ และ​การ​ฝึก​อ่าน​ บทความ​ต่างๆ จาก​สิ่ง​พิมพ์​ทาง​ธุรกิจ เป็นต้น บธ. 302 ภาษา​อังกฤษ​ส�ำหรับเ​จ้าของธุรกิจ (3 หน่วยกิต) ระดับโลก 2 BA 302 English for Entrepreneurs II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ บธ. 301 วิ ช า​ต่ อ ​เ นื่องจาก​วิชา บธ.301 ภาษา​อังกฤษ​ส�ำหรับ​ เจ้าของธุรกิจระดับโลก 1 ใน​รายวิชา​นี้​นัก​ศึกษา​จะ​ได้​ฝึก​การ​สื่อสาร​ เป็นภ​ าษา​องั กฤษ​ใน​สถานการณ์ท​ ​ใี่ กล้เ​คียง​กบั ​ความ​จริงม​ าก​ทสี่ ดุ อ​ ย่าง​ ต่อ​เนื่อง โดย​เฉพาะ​การน�ำ​เสนอ​รายงาน​ทาง​ธุรกิจ​ที่​จ�ำเป็น​ส�ำหรับ​ ประกอบ​การ​ธุรกิจ​ใน​ยุค​ปัจจุบัน บธ. 311 สังคม​ปฏิสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) BA 311 Social Interaction ศึกษา​ถึง​การ​เสริม​สร้าง​และ​พัฒนา​บุคลิกภาพ​ของ​การ​ เป็น​นกั ธ​ รุ กิจ​มอื ​อาชีพ เรียน​ร​กู้ าร​เข้า​สงั คม​อย่าง​มนั่ ใจ​แล​ะถูก​ตอ้ ง​ตาม​ กาล​เทศะ​ด้วย​กิจกรรม​ต่างๆ ที่​เหมาะ​สม อาทิ มารยาท​การ​เข้า​สังคม การ​แต่ง​กาย การ​เต้น​ลลี าศ​เพือ่ ​สงั คม การ​รว่ ม​งาน​สงั คม​ประเภท​ตา่ งๆ ตลอด​จน​การ​เล่น​กอล์ฟ​เพื่อ​สังคม​ธุรกิจ นอกจาก​นี้ ยัง​ศึกษา​ถึง​การ​ สร้าง​ทักษะ​ของ​การ​สื่อสาร การ​ใช้​เสียง การ​เจรจา​ต่อ​รอง และ​การ​ใช้​ ชีวิต​อยู่​ร่วม​กับ​บุคคล​อื่น


บธ. 312 การ​พัฒนา​บุคลิกภาพ (3 หน่วยกิต) BA 312 Personality Development ศึกษา​เกี่ยว​กับ​บุคลิกภาพ​ภายใน​และ​ภายนอก ศึกษา​ถึง​ วิธี​การ​ปรับปรุง​บุคลิกภาพ​ใน​ด้าน​การ​แต่ง​กาย​ให้​เหมาะ​สม การ​แต่ง​ กาย​ของ​สภุ าพ​บรุ ษุ และ​สภุ าพ​สตรี การ​บำ� รุงร​ กั ษา​สขุ ภาพ การ​วางตัว การ​ปรากฏ​ตวั ​ตอ่ ​ท​ชี่ มุ ชน การ​พฒ ั นา​ลกั ษณะ​นสิ ยั ​สว่ น​ตวั ศึกษา​เกีย่ ว​ กับ​มนุษยสัมพันธ์ มารยาท​ไทย​ และ​มารยาท​ใน​การ​สมาคม การ​ฝกึ ​พดู ​ ใน​รูป​แบบ​ต่างๆ บุคลิกภาพ​ของ​การ​เป็นผ​ ู้น�ำ บุคลิกภาพ​ใน​การ​สมัคร​ งาน มารยาท​ใน​การ​ประชุม ตลอด​จน​วัฒนธรรม​และ​ประเพณีไ​ทย บธ. 313 ทักษะ​ส�ำหรับน​ ัก​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 313 Business Professional Skills ศึกษา​และ​ฝึกฝน​ทักษะ​ด้าน​ต่างๆ ที่​จ�ำเป็น​ต่อ​การ​เสริม​ สร้าง​บุคลิกภาพ​ของ​ความ​เป็น​นัก​ธุรกิจ​มือ​อาชีพ ได้แก่ การ​พูด​ใน​ ที่​ชุมชน​การน�ำ​เสนอ​ผล​งาน การ​ติดต่อ​สื่อสาร​ทาง​ธุรกิจ​ใน​รูป​แบบ​ ของ​การ​พูด การ​ฟัง การ​อ่าน​และ​การ​เขียน เทคนิค​การ​ประชุม​อย่าง​ มี​ประสิทธิภาพ การ​พัฒนา​บุคลิกภาพ มารยาท​ทาง​สังคม ตลอด​จน​ คุณ​ธรรม​และ​จรรยา​บรรณ​ของ​นัก​ธุรกิจ บธ. 314 นร​ลักษณ์ศ​ าสตร์​และ​ฮ​วง​จุ้ย (3 หน่วยกิต) BA 314 Physiognomy and Fengshui ศึกษา​ถงึ ห​ ลักว​ ช​ิ าน​รล​ กั ษณ์ศ​ าสตร์ ได้แก่ การ​แปล​ความ​ หมายของ​ลักษณะ​ของ​รูป​ร่าง และ​หน้าตา​ทั้ง​ห้า​ประการ ได้แก่ คิ้ว หู ตา จมูก ปาก​และ​ส่วน​ประกอบ​จาก​ใบหน้า รูป​ร่าง อิริยาบถ​ต่างๆ เช่น การ​เดิน ยืน นั่ง ลุก นอน การ​พูด เพื่อ​ใช้​เป็น​ข้อมูล​ประกอบ​ การ​พจิ ารณา​ใน​การ​คดั ​เลือก​บคุ ลากร​เข้า​ทำ� งาน​ให้​ม​คี วาม​เหมาะ​สม​กบั ​ ต�ำแหน่งง​ าน รวม​ถงึ ​การ​ใช้ห​ ลักน​ ร​ลกั ษณ์ศ​ าสตร์ใ​น​การ​เจรจา​ตอ่ ร​ อง​ ทาง​ธุรกิจ นอกจาก​นี้​ยัง​ศึกษา​ถึงห​ ลัก​การ​ขั้น​พื้น​ฐาน​ของ​วิ​ชา​ฮว​ ง​จุ้ย​ ใน​เชิง​ความ​รู้​ทาง​ด้าน​วิทยาศาสตร์​ธรรมชาติ​สิ่ง​แวดล้อม และ​ความ​ สัมพันธ์​ระหว่าง​มนุษย์​กับ​ธรรมชาติ​และ​สิ่ง​แวดล้อม​เพือ่ ​ใช้​ประกอบ​ การ​จัด​องค์การ​ส�ำนักงาน

บธ. 315 ภาวะ​ผู้น�ำ​เชิงกล​ยุทธ์ (3 หน่วยกิต) BA 315 Strategic Leadership ศึกษา​ถึง​บทบาท​และ​หน้าที่​ของ​ผู้น�ำ​เชิงกล​ยุทธ์​ใน​มุม​ มอง​ข อง​การ​เป็น ​ผู้ ​ป ระกอบ​การ การ​บริหาร​การ​ส ร้าง​ทีม​ผู้​บริหาร การ​ตัดสิน​ใจ​เชิงกล​ยุทธ์​ของ​ผู้น�ำ​ที่​สอดคล้อง​กับ​กลยุทธ์​ธุรกิจ สภาพ​ แวดล้อม​ภายนอก และ​สภาพ​แวดล้อม​ภายใน​องค์การ การ​ติดต่อ​ สื่อสาร​กับ​การ​เป็น​ผู้น�ำ​เพื่อ​การ​สร้าง​ความ​ร่วม​มือ​ของ​บุคลากร​ทุก​ ระดับ​ชั้น​ใน​องค์การ การ​บริหาร​การ​เปลี่ยนแปลง การ​บริหาร​ความ​ ขัด​แย้ง​ใน​องค์กร​ การ​พฒ ั นา​ภาวะ​เป็น​ผนู้ ำ​ � เชิงกล​ยทุ ธ์​เพือ่ ค​ วาม​สำ� เร็จ​ ใน​อนาคต การ​พฒ ั นา​ภาวะ​ผ​ตู้ าม​เพือ่ ​สร้าง​ศกั ยภาพ​ใน​การ​เป็น​ผนู้ ำ​ � ใน​ อนาคต เป็นต้น บธ. 316 การ​บริหาร​สุขภาพ​ทาง​กาย​ (3 หน่วยกิต) และสุขภาพ​ทาง​จิต BA 316 Physical and Spiritual Health Management ศึกษา​ถึง​หลัก​การ และ​เทคนิค​การ​ดูแล​สุขภาพ การ​ทาน​ อาหาร​ให้​ถูก​หลัก​โภชนาการ การ​ผ่อน​คลาย​ร่างกาย และ​จิตใจ และ​ การ​ลด​ความ​ตึงเครียด เป็นการ​เตรียม​ความ​พร้อม​ทาง​กาย​และ​จิต​ให้​ สมดุล​กับ​พลัง​กาย​และ​พลัง​ความ​คิด​ที่​ใช้​ใน​การ​ด�ำเนิน​ธุรกิจ​ใน​แต่ละ​ วัน อีก​ทั้ง​ยัง​เป็นการ​กระตุ้น​และ​ส่ง​เสริม​พลัง​กาย​และ​พลังจิต​แห่ง​ การ​ด�ำเนิน​ชีวิต​ใน​โลก​ธุรกิจ​ให้​สอดคล้อง​กับ​สภาวะ​ร่างกาย​และ​จิตใจ นอกจาก​นี้ ผู​ศ้ กึ ษา​ยงั ​จะ​ได้ร​ บั ​การ​ฝกึ ฝน​การ​ปฏิบตั โ​ิ ยคะ การ​ทำ​ � สมาธิ การ​รำ​ � มวย​จนี และ​การ​นวด​กด​จดุ เ​พือ่ ค​ ลาย​เครียด ซึง่ ผ​ เ​ู้ รียน​สามารถ​ น�ำ​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน​ได้ บธ. 317 การ​บริหาร​เวลา​เพื่อ​ความ​ส�ำเร็จท​ าง​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 317 Time Management for Business Success ศึกษา​ถึง​หลัก​การ และ​ฝึกฝน​เทคนิค​ใน​การ​บริหาร​เวลา​ ให้​สอดคล้อง​กับ​รูป​แบบ​การ​ด�ำเนิน​ชีวิต และ​การ​ด�ำเนิน​ธุรกิจ เพื่อ​ให้​ บรรลุ​เป้า​หมาย​ที่​ตั้ง​ไว้​ของ​ธุรกิจ นอกจาก​นี้ ยัง​ศึกษา​เรียน​รู้​ถึง​การ​ บริหาร​จัดสรร​เวลา​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ให้​เหมาะ​กับ​ช่วง​ต่างๆ ของ​ หลักสูตรปริญญาตรี 345


การ​ด�ำเนิน​ธุรกิจ เช่น ช่วง​เริ่ม​เตรียม​การ​ก่อ​ตั้ง​บริษัท ช่วง​บริษัท​อยู่​ ใน​ระยะ​เริม่ ​เปิด​ดำ� เนิน​การ ช่วง​บริษทั ​กำ� ลัง​เติบโต​และ​ขยาย​ธรุ กิจ และ​ ช่วง​การเต​รี​ยม​ขยาย​ธุรกิจ​ใหม่ เป็นต้น บธ. 318 การ​วเิ คราะห์​อญั มณี​สำ� หรับช​ วี ติ ​และ​ธรุ กิจ (3 หน่วยกิต) BA 318 Gemology for Life and Business ศึกษา​ถงึ ​หลัก​การ​พนื้ ​ฐาน​ใน​การ​วเิ คราะห์​อญั มณี และ​หนิ ​ สี​ลำ�้ ค่าด​ ว้ ย​วธิ ​กี าร​และ​เครือ่ ง​มอื ​อย่าง​งา่ ย ทัง้ นี้ เพือ่ ใ​ห้ผ​ ​เู้ รียน​สามารถ​ มี​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​ใน​การ​เลือกสรร​อัญมณี​มา​ใช้​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน เพื่อ​ เสริม​บุคลิกภาพ​ของ​การ​เป็นผ​ ู้น�ำ​และ​นัก​ธุรกิจ นอกจาก​นี้ ผู้​เรียน​ยัง​ สามารถ​ประยุกต์​ความ​ร​ทู้ ​ไี่ ด้​รบั ​ไป​ใช้​กบั ​การ​ดำ� เนิน​ธรุ กิจ​หรือ​การ​สร้าง​ ธุรกิจ​ใหม่ บธ. 319 นพ​ลักษณ์ศ​ าสตร์​ส�ำหรับ​ผู้​ประกอบ​การ (3 หน่วยกิต) BA 319 Enneagram for Entrepreneurs ศึกษา​ถงึ ​ศาสตร์​แห่ง​การ​ทำ� ความ​เข้าใจ​ชวี ติ จิต​วญิ ญาณ​ ภายใน​ของ​ตนเอง บุคลิก ความ​นึกคิด​และ​การ​แสดงออก​ของ​ตนเอง ตลอด​จน​เชื่อม​โยง​ถึง​ความ​สัมพันธ์​กับ​ผู้​อื่น​ใน​ขั้น​เบื้อง​ต้น ทั้งนี้​เพื่อ​ ให้​งา่ ย​ตอ่ ​การ​รจู้ กั ​ตนเอง​และ​เข้าใจ​ผอ​ู้ นื่ และ​เพือ่ ​เป็นการ​เตรียม​ความ​ พร้อม​ให้​ผู้​ประกอบ​การ​สามารถ​เรียน​รู้​เกี่ยว​กับต​ นเอง​และ​ผู้​อื่น ท�ำให้​ เข้าใจ​ถึง​เหตุ​แห่ง​แรง​จูงใจ​ใน​ชีวิต​อัน​จะ​น�ำ​ไป​สู่​การ​กระท�ำ​ของ​บุคคล​ แต่ละ​คน​อีก​ทั้ง​ยัง​สามารถ​น�ำ​ศาสตร์​นี้​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​บริหาร​คน และ​การ​ให้​ค�ำ​ปรึกษา เพื่อ​ส่ง​เสริม​ศักยภาพ​ที่​จะ​ช่วย​ท�ำให้​ตนเอง​มี​ ความ​สุข​เมื่อ​อยู่​ใน​สังคม และ​ช่วย​เสริม​สร้าง​ความ​เข้าใจ​ที่​ดี​ระหว่าง​ ทีม​งาน เพื่อน​ร่วม​งาน และ​ครอบครัว บธ. 320 การจัดการภาวะวิกฤตสำ�หรับเจ้าของธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 320 Crisis Management for Entrepreneurs ศึกษาถึงความหมายภาวะวิกฤต ปัจจัยและสาเหตุของ การเกิดภาวะวิกฤตที่เกิดจากธรรมชาติหรือผลพวงของมนุษย์ และมี ผลกระทบต่อความเชื่อมั่นระยะยาวขององค์การต่อสินค้าและบริการ 346 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

รวมถึงความสามารถในการดำ�เนินการตามปกติของกิจการในภาวะ วิกฤต ศึกษาเรียนรู้จากกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริงในโลกธุรกิจทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ เพือ่ เข้าใจถึงกระบวนการจัดการ กระบวนการ ตัดสินใจในภาวะวิกฤต การเตรียมความพร้อมเพื่อแก้ไขวิกฤต การ วางแผนกลยุทธ์เพื่อการฟื้นฟูกิจการภายหลังวิกฤต บธ. 325 การฝึกงานด้านผู้ประกอบการ (3 หน่วยกิต) BA 325 Entrepreneurial Internship พื้นความรู้: วิชาเอก-บังคับอย่างน้อย 2 วิชา หรือได้รับการอนุมัติจากคณบดี ศึ ก ษาถึ ง จิ ต วิ ญ ญาณของผู้ ป ระกอบการ ความคิ ด สร้างสรรค์ การแสวงหาโอกาสในการลงทุนธุรกิจใหม่ๆ การจัดตั้ง องค์การ การวางแผน การปฏิบัติงานจริง การบริหารธุรกิจอย่างเป็น ระบบ และหาแนวทางในการแก้ปญั หา โดยนักศึกษาจะต้องฝึกงานใน โครงการฝึกงานของมหาวิทยาลัย ภายใต้การดูแลของคณาจารย์ที่ ปรึกษาโครงการ หรือฝึกงานในองค์การต่างๆ เป็นจำ�นวนไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง และนักศึกษาต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการฝึกงานเมื่อ สิ้นสุดการฝึกงาน บธ. 424 การ​จัดการ​เชิงกล​ยุทธ์แ​ ละ​นโยบาย​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BA 424 Strategic Management and Business Poicy พื้น​ความ​รู้: บธ. 211 บธ. 212 บธ. 214 บธ. 215 และ บธ. 216 ศึกษา​ถึง​ทฤษฎี หลัก​การ กระบวนการ​วางแผน​กลยุทธ์ ส�ำหรับเจ้าของกิจการและธุรกิจใหม่โดยการก�ำหนดเป้าหมายและ พันธกิจขององค์กร เพื่อ​สร้าง​ความ​ได้​เปรียบ​ทางการ​แข่ง​ขัน การ​ วิเคราะห์​สภาวะ​แวดล้อม​ทั้ง​ภายใน​และ​ภายนอก​องค์การ​ที่​ส่ง​ผล​ต่อ​ การ​ก�ำหนด​กลยุทธ์ ในองค์การรวมถึงส�ำหรับธุรกิจทั้งทางด้านการ ตลาด การเงิน การผลิต การจัดการ และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อน�ำกลยุทธ์สู่ขั้นตอนปฏิบัติ โดยเน้นการน�ำกรณีศึกษามาใช้เป็น แนวทางในการวางแผนนวัตกรรม รวมถึงการจัดท�ำแผนกลยุทธ์ธรุ กิจ และการติดตามประเมินผล


หมวด​วิชา​การ​ตลาด ตล. 212 การ​ตลาด (3 หน่วยกิต) MK 212 Marketing ศึกษา​ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​การ​ตลาด ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ หน้าที่​ทางการ​ตลาด และ​ศึกษา​ถึง​สิ่ง​แวดล้อม​ต่าง ๆ ที่​ส่ง​ผล​กระทบ​ต่อ​ระบบ​การ​ตลาด การ​บริหาร​การ​ตลาด​เบื้อง​ต้น​เพื่อ​ เพิม่ ข​ ดี ค​ วามสามารถ​ใน​การ​แข่งข​ นั การ​แบ่งส​ ว่ น​ตลาด และ​การ​เลือก​ ตลาด​เป้า​หมาย เพื่อ​ให้​เหมาะ​สม​กับ​ทรัพยากร​ของ​องค์การ รวม​ถึง​ การ​ศกึ ษา​พฤติกรรม​ผบ​ู้ ริโภค การ​วจิ ยั ต​ ลาด​เพือ่ น​ ำ�​ขอ้ มูลม​ า​ประยุกต์​ ใช้ท​ างการ​ตลาด ตลอด​จน​ศกึ ษา​ถงึ เ​ครือ่ ง​มอื ส​ ำ�คัญท​ จ​ี่ ะ​ทำ�ให้อ​ งค์การ​ ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​ใน​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ ตล. 311 การ​จัดการ​ผลิตภัณฑ์แ​ ละ​ราคา (3 หน่วยกิต) MK 311 Product and Price Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​แนวคิด​เกี่ยว​กับ​การ​บริหาร​และ​การ​วางแผน​ กลยุทธ์ผ​ ลิตภัณฑ์ การ​จัดป​ ระเภท​ผลิตภัณฑ์ ส่วน​ประสม​ผลิตภัณฑ์​ ตราสิน​ค้า บรรจุ​ภัณฑ์ ป้าย​ฉลาก วงจร​ชีวิต​ผลิตภัณฑ์ การ​พัฒนา​ ผลิตภัณฑ์ ​ใหม่ และ​นโยบาย​ใน​การ​ตั้ง​ราคา​ทั้ง​ใน​ระดับ​ผู้​ผลิต​และ​ผู้​ จัด​จำ�หน่าย ตลอด​จน​การ​วิเคราะห์​สภาพ​แวดล้อม​ทางการ​แข่ง​ขัน​ เพือ่ ส​ ร้าง​ความ​พงึ พ​ อใจ​สงู สุดใ​ห้ก​ บั ผ​ บ​ู้ ริโภค และ​สร้าง​ความ​ได้เ​ปรียบ​ ทางการ​แข่งข​ ัน ตล. 312 การ​จดั ​การ​กระจาย​สนิ ค้าแ​ ละ​โลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) MK 312 Distribution and Logistics Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย วัตถุประสงค์ ความ​สำ�คัญ สภาพ​ แวดล้อม​ที่​ส่ง​ผล​กระทบ​ต่อ​ช่อง​ทางการ​จัดจำ�หน่าย การ​วางแผน​ โครงสร้าง​ของ​ชอ่ ง​ทางการ​จดั จ​ ำ�หน่าย บทบาท​และ​ประเภท​ของ​พอ่ ค้า​

คนกลาง​รปู แ​ บบ​ใหม่ข​ อง​การ​คา้ ​สง่ แ​ ละ​การ​คา้ ​ปลีก รวม​ทงั้ ก​ าร​จดั การ​ ห่วง​โซ่​อุปทาน การ​พยากรณ์​และ​การ​บริหาร​คำ�​สั่งซ​ ื้อ การ​บริหาร​การ​ จัด​ส่ง การ​บริหาร​คลัง​สินค้า การ​จัด​เก็บ​และ​เคลื่อน​ย้าย​สินค้า ศูนย์​ กระจาย​สินค้า ตลอด​จน​ศึกษา​ถึง​ระบบ​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​ที่​ใช้​ใน​ ระบบ​การ​กระจาย​สินค้า ตล. 313 การ​จัดการ​การ​ส่งเ​สริม​การ​ตลาด (3 หน่วยกิต) MK 313 Promotion Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​การ​ส่ง​เสริม​การ​ตลาด ความ​สำ�คัญข​ อง​การ​สง่ เ​สริมก​ าร​ตลาด​กบั ส​ ว่ น​ประสม​การ​ตลาด ความ​ สัมพันธ์​ระหว่าง​การ​ส่ง​เสริม​การ​ตลาด​กับ​การ​บริหาร​กลยุทธ์​ทางการ​ ตลาด ส่วน​ประสม​การ​สง่ เ​สริมก​ าร​ตลาด ซึง่ ป​ ระกอบ​ดว้ ย การ​โฆษณา การ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย การประชาสัมพันธ์ การ​ขาย​โดย​พนัก​งาน​ขาย และ​การ​ตลาด​ทาง​ตรง นอกจาก​นี้​ยัง​ศึกษา​ถึง​การ​บริหาร​ส่วนประสม​ การ​ส่ง​เสริม​การ​ตลาด การ​วางแผน​การ​ส่ง​เสริม​การ​ตลาด ตลอด​จน​ การ​ตลาด​ด้าน​อื่นๆ ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​จัดการ​และ​ประเมิน​ผล​การ​ส่ง​ เสริม​การ​ตลาด ตล. 314 พฤติกรรม​ผู้​บริโภค (3 หน่วยกิต) MK 314 Consumer Behavior พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​หลัก​การ​และ​ทฤษฎี​พื้น​ฐาน​ด้าน​จิตวิทยา​และ​ พฤติกรรม​ผู้​บริโภค การ​วิเคราะห์​ปัจจัย​ภายใน​และ​ภายนอก​ที่​มี​ อิทธิพล​ต่อ​พฤติกรรม​ผู้​บริโภค การ​วิเคราะห์​กระบวนการ​ตัดสิน​ใจ​ซื้อ ซึ่ง​ประกอบ​ไป​ด้วย การ​ตระหนัก​ถึง​ปัญหา การ​รวบรวม​ข้อมูล การ​ ประเมิน​ทาง​เลือก การ​ตัดสิน​ใจ​ซื้อ และ​การ​ประเมิน​ผล​หลัง​การ​ซื้อ ตลอด​จน​การ​ศึกษา​ถึง​การ​วิจัยพ​ ฤติกรรม​ผู้​บริโภค​ขั้น​พื้น​ฐาน

หลักสูตรปริญญาตรี 347


ตล. 321 การ​วิจัยก​ าร​ตลาด (3 หน่วยกิต) MK 321 Marketing Research พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 และ บธ. 207 ศึกษา​ถึงก​ ระบวนการ​วิจัยก​ าร​ตลาด การ​ออกแบบ​วิธกี​ าร​ วิจัยใ​ห้​เหมาะ​สม​กับ​สถานการณ์แ​ ละ​ทรัพยากร​ทมี่​ ี​อยู่ การ​สุ่ม​ตัวอย่าง การ​วเิ คราะห์ข​ อ้ มูล การ​สร้าง​แบบ​เก็บข​ อ้ มูล วิธก​ี าร​เก็บข​ อ้ มูล การ​ใช้​ สถิตแ​ิ ละ​โปรแกรม​สำ�เร็จรูปใ​น​การ​ประมวล​ผล การนำ�​เสนอ​ผล​การ​วจิ ยั ​ และ​การ​ประยุกต์​ใช้​ผล​งาน​วิจัยกับก​ าร​วางแผน​การ​ตลาด ตล. 322 การ​บริหาร​ลูกค้า​สัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) MK 322 Customer Relationship Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​คำ�​นิยาม​และ​ขั้น​ตอน​ของ​การ​บริหาร​ลูกค้า​ สัมพันธ์ กลยุทธ์​ใน​การ​รักษา​ลูกค้า​เดิม​และ​สร้าง​ลูกค้า​ใหม่ บทบาท​ และ​หน้าทีข่​ อง​ผู้​บริหาร พนัก​งาน เทคโนโลยี และ​ข้อมูล​ข่าว​สาร​ที่​มี​ ต่อก​ าร​บริหาร​ลกู ค้า​สมั พันธ์ ตลอด​จน​การนำ�​เทคนิค​การ​บริหาร​ลกู ค้า​ สัมพันธ์ ​ไป​ใช้​ใน​การ​สร้าง​ความ​สามารถ​ใน​การ​แข่ง​ขัน​และ​ความ​พึง​ พอใจ​ให้ก​ บั ผ​ บ​ู้ ริโภค นอกจาก​นี้ ยังศ​ กึ ษา​ถงึ ป​ ระโยชน์แ​ ละ​ขอ้ ผ​ ดิ พ​ ลาด​ ที่​เกิด​ขึ้น​จาก​การ​บริหาร​ลูกค้า​สัมพันธ์​โดย​ใช้​กรณี​ศึกษา​ของ​องค์กร​ ธุรกิจ​ต่างๆ ตล. 323 การ​จัดการ​ตราสิน​ค้า (3 หน่วยกิต) MK 323 Brand Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถงึ อ​ งค์ป​ ระกอบ​และ​ปจั จัยท​ ม​่ี อ​ี ทิ ธิพล​ตอ่ ค​ วาม​สำ�เร็จ​ ของ​ตราสินค​ า้ ชือ่ ต​ ราสินค​ า้ เครือ่ งหมาย​ตราสินค​ า้ เครือ่ งหมายการค้า​ ลิขสิทธิ์ สัญลักษณ์ คำ�ขวัญ การ​ออกแบบ​บรรจุภ​ ัณฑ์​และพิจารณา​ถึง​ รูป​แบบ​ของ​เครื่อง​มือ​ที่​ใช้​ใน​การ​ติดต่อ​สื่อสาร เพื่อ​สร้าง​การ​รับ​รู้​ใน​ ตราสิน​ค้า​ให้​เกิด​ขึ้น​กับ​กลุ่ม​ลูกค้า​เป้า​หมาย ตลอด​จน​กลยุทธ์​และ​ กลวิธี​ใน​การ​สร้าง​ตราสินค​ ้า​ให้​มี​ความ​แข็งแกร่งแ​ ละ​ปรับ​ตราสินค​ ้า​ให้​ เป็น​ที่​ยอมรับ​ใน​ระดับ​สากล 348 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ตล. 324 การ​จัด​การ​ขาย (3 หน่วยกิต) MK 324 Sales Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถงึ ค​ วาม​รเ​ู้ บือ้ ง​ตน้ เ​กีย่ ว​กบั ก​ าร​บริหาร​การ​ขาย การ​ วางแผน​การ​ขาย การ​พยากรณ์ย​ อด​ขาย การ​จดั อ​ งค์การ​ฝา่ ย​ขาย รวม​ ทั้ง​การ​บริหาร​พนัก​งาน​ขาย อัน​ประกอบ​ไป​ด้วย การ​สรรหา การ​คัด​ เลือก การ​ฝึก​อบรม การ​ให้​ผล​ตอบแทน การ​จูงใจ การ​บริหาร​เวลา การ​จัด​อาณาเขต​การ​ขาย การ​ประเมิน​ผล และ​การ​ควบคุม​พนัก​งาน​ ขาย ตลอด​จน​การ​เสริม​สร้าง​จรรยา​บรรณ​เพื่อ​ให้​เป็น​นัก​ขาย​ที่​ดี ตล. 325 การ​ตลาด​สินค้าแ​ ฟชั่น (3 หน่วยกิต) MK 325 Fashion Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 หรือได้รับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา​ถึง​ประวัติท​ ี่​เกี่ยวข้อง​กับ​แฟชั่น​เครื่อง​แต่ง​กาย​และ​ เครือ่ ง​ประดับ สภาพ​แวดล้อม​ทางการ​ตลาด แนว​โน้มข​ อง​อตุ สาหกรรม​ และ​ศพั ท์เ​ทคนิคต​ า่ ง ๆ ตลอด​จน​ศกึ ษา​ถงึ ก​ ลยุทธ์ก​ าร​แข่งข​ นั ท​ างการ​ ตลาด ด้าน​ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่อง​ทางการ​จดั จ​ ำ�หน่าย และ​การ​สง่ เ​สริม การ​ตลาด​ของ​สินค้า​แฟชั่นเครื่อง​แต่ง​กาย​และ​เครื่อง​ประดับ ตล. 326 การ​จัดการ​โฆษณาและ​บริษัทต​ ัวแทน (3 หน่วยกิต) MK 326 Advertising and Agency Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​ประวัติ ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ และ​ประเภท​ ของ​การ​โฆษณา บทบาท​หน้าที่​ของ​ฝ่ายบริหาร​งาน​โฆษณา​ของ​ บริษัท​ผู้​โฆษณา และ​บริษัท​ตัวแทน​โฆษณา นอกจาก​นี้​ยัง​ศึกษา​ถึง​ การ​สร้างสรรค์ชิ้น​งาน​โฆษณา องค์​ประกอบ​ของ​ชิ้น​งาน​โฆษณา ประเภท​สิ่ง​พิมพ์ การ​กระจาย​เสียง​และ​การ​แพร่​ภาพ การ​จัดการ​เกี่ยว​ กับ​สื่อ​โฆษณา การ​วางแผน​และ​การ​รณรงค์​การ​โฆษณา การ​ประเมิน​ ประสิทธิภาพ​การโฆษณา ตลอด​จน​กฎหมาย​ข้อ​บังคับ​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ การ​โฆษณา​และ​หน่วย​งาน​ที่​สนับสนุน​การ​ผลิตช​ ิ้น​งาน​โฆษณา


ตล. 327 การ​จัด​ซื้อ​และ​การ​เจรจา​ต่อ​รอง (3 หน่วยกิต) MK 327 Purchasing and Negotiations พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ และ​หลัก​การ​ของ​การ​ จัดซ​ อื้ ขัน้ ต​ อน​และ​กระบวนการ​ทเ​ี่ กีย่ วข้อง​การ​จดั ซ​ อื้ การ​วางแผน​การ​ จัดหา และ​การ​เคลื่อน​ย้าย​วัตถุดิบท​ ี่​ส่ง​ผล​ต่อ​นโยบาย​การ​จัด​ซื้อ การ​ สำ�รวจ​ขอ้ มูลข​ อง​ผจ​ู้ ำ�หน่าย ข้อมูลผ​ ลิตภัณฑ์ และ​ขอ้ มูลต​ ลาด​อนื่ ๆ ที​่ จำ�เป็นต​ อ่ น​ โยบาย​การ​สงั่ ซ​ อื้ เครือ่ ง​มอื แ​ ละ​กลยุทธ์ข​ อง​การ​จดั ซ​ อื้ การ​ จัดการ​เอกสาร​สัญญา​การ​จัด​ซื้อ ตลอด​จน​ศึกษา​ถึง​เทคนิคก​ ารเจรจา​ ต่อ​รอง​ทาง​ธุรกิจ​เพื่อ​นำ�​ไป​ประยุกต์ ​ใช้​ใน​การ​จัด​ซื้อ​และ​การ​ดำ�เนิน​ กิจกรรม​ทาง​ธุรกิจอ​ ื่นๆ ตล. 328 การ​ตลาด​บริการ (3 หน่วยกิต) MK 328 Services Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​การ​ตลาด​ที่​เกี่ยว​กับ​ธุรกิจ​บริการ​ต่าง ๆ รวม​ ทั้ง​ทฤษฎี​และ​แนว​ความ​คิด​ของ​การ​ตลาด​บริการ​สมัย​ใหม่ ตลอด​ จน​ประเภท​ของ​ธุรกิจ​บริการ การ​กำ�หนด​ลูกค้า​เป้า​หมาย และ​ พฤติกรรม​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้า นอก​จา​กนี้​ยัง​ศึกษา​ถึง​การ​ วิเคราะห์​สถานการณ์ และ​กำ�หนด​กลยุทธ์​ของ​ตลาด​บริการ อาทิ การ​ วาง​ตำ�แหน่ง​บริการ การ​สร้าง​ความ​แตก​ต่าง​ของ​บริการ เป็นต้น รวม​ ตลอด​ถึง​การ​ศึกษา​เรื่อง​ของ​คุณภาพ​ใน​การ​ให้​บริการ และ​การ​สร้าง​ ความ​สัมพันธ์​ทดี่​ ี​กับลูกค้า เพื่อค​ วาม​สำ�เร็จ​ของ​ธุรกิจ​บริการ ตล. 329 การ​ฝึกงาน​ด้าน​การ​ตลาด (3 หน่วยกิต) MK 329 Marketing Internship พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เอก-บังคับ อย่าง​น้อย 2 วิชา หรือ ได้​รับอ​ นุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ถงึ ห​ ลักก​ าร​และ​แนวคิดท​ างการ​ตลาด​ใน​การ​ดำ�เนิน​ ธุรกิจ โดย​การ​ฝกึ ภ​ าค​ปฏิบตั จ​ิ ริงเ​พือ่ ป​ ระโยชน์ใ​น​การ​วางแผน​งาน การ​

ค้นหา​ปญั หา การ​วเิ คราะห์ และ​การ​หา​แนวทาง​การ​แก้ไข​ปญั หา​ทเ​ี่ กิด ขึน้ นักศ​ กึ ษา​จะ​ตอ้ ง​ฝกึ ป​ ฏิบตั ง​ิ าน​ดา้ น​การ​ตลาด​ใน​สถาน​ประกอบ​การ​ ธุรกิจ​หรือ​ใน​โครงการ​ฝึกงาน​ของ​มหาวิทยาลัย​ภาย​ใต้​การ​ดูแล​ของ​ คณาจารย์​ที่​ปรึกษา​โครงการ​เป็น​ระยะ​เวลา​ไม่​น้อย​กว่า 200 ชั่วโมง และนัก​ศึกษา​ต้อง​จัด​ทำ�​รายงาน​สรุป​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน​เมื่อ​สิ้น​สุด​การ​ ฝึกงาน ตล. 411 การ​ตลาด​ระหว่าง​ประเทศ​และ​ระดับโ​ลก (3 หน่วยกิต) MK 411 International and Global Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​ตลาด​ระหว่าง​ประเทศ​และ​ ระดับ​โลก สภาพ​รวม​การ​ค้า​โลก การ​รวม​กลุ่ม​ทาง​เศรษฐกิจ​ของ​ ประเทศ​ต่างๆ สภาวะ​แวดล้อม​ใน​ต่าง​ประเทศ โครงสร้าง​และ​การ​ ดำ�เนินงาน​ของ​องค์กร​ระหว่าง​ประเทศ การ​วจิ ยั ต​ ลาด​ระหว่าง​ประเทศ กลยุทธ์ก​ าร​ตลาด​ระหว่าง​ประเทศ อันป​ ระกอบ​ดว้ ย กลยุทธ์ผ​ ลิตภัณฑ์​ และ​ราคา​สำ�หรับ​ตลาด​ระหว่าง​ประเทศ การ​เข้า​สู่​ตลาด​ต่าง​ประเทศ การ​ส่ง​เสริม​การ​ตลาด​ระหว่าง​ประเทศ การ​วางแผน​และ​การ​ใช้​ส่วน​ ประสม​การ​ตลาด ตลอด​จน​ศึกษา​ถึงนโยบาย​การ​ส่ง​เสริม​การ​ค้า​ต่าง​ ประเทศ​ทั้ง​ของ​ภาค​รัฐบาล​และ​ภาค​เอกชน ตล. 412 การ​จัด​กิจกรรม​ทางการ​ตลาด (3 หน่วยกิต) และ​การ​ประชาสัมพันธ์ MK 412 Event Marketing and Public Relations พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​หลัก​การ​เกี่ยว​กับ​การ​จัด​กิจกรรม​ทางการ​ตลาด และ​การ​ประชาสัมพันธ์​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​สร้าง​ภาพ​ลักษณ์ ชื่อ​เสียง และ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​องค์กร​กับ​สาธารณะ ตลอด​จน​ศึกษา​ถึง​ กลยุทธ์ใน​การ​สง่ เ​สริมก​ าร​ตลาด​กบั ก​ าร​จดั ก​ จิ กรรม​ทางการ​ตลาด และ​ การ​ประชาสัมพันธ์เ​พือ่ ใ​ห้เ​กิดป​ ระสิทธิภาพ​ใน​การ​สอื่ สาร​ทางการ​ตลาด​ แบบ​ครบ​วงจร หลักสูตรปริญญาตรี 349


ตล. 413 การ​ตลาด​ทาง​ตรง (3 หน่วยกิต) MK 413 Direct Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​หลัก​การ​ของ​การ​ตลาด​ทาง​ตรง ความ​แตก​ต่าง​ ระหว่าง​การ​ทำ�​ตลาด​ทาง​ตรง​กับ​การ​ตลาดแบบ​ดั้งเดิม วิธี​การ​สร้าง​ ฐาน​ขอ้ มูลล​ กู ค้าจ​ าก​แหล่งภ​ ายใน​และ​ภายนอก การ​กำ�หนด​กลุม่ ล​ กู ค้า​ เปา้ ห​ มาย การ​เลือก​วธิ ก​ี าร​ตลาด​ทาง​ตรง​ทเ​ี่ หมาะ​สม​กบั ท​ รัพยากร​และ​ สถานการณ์ ตลอด​จน​ศกึ ษา​ถงึ ก​ าร​ออกแบบเครือ่ ง​มอื ท​ ี่ใ​ช้ใ​น​การ​ตลาด​ ทาง​ตรง​ต่าง ๆ กลยุทธ์แ​ ละ​การ​วางแผน​การ​ใช้ก​ าร​ตลาด​ทาง​ตรง ​เพื่อ​ เข้า​ถึง​กลุ่มลูกค้า รวม​ทั้ง​การ​ประเมินผ​ ล​กลยุทธ์​ที่​ใช้ ตล. 414 การ​พยากรณ์​​ความ​ต้องการและยอด​ขาย (3 หน่วยกิต) MK 414 Demand and Sales Forecasting พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถงึ ว​ ธิ ก​ี าร​พยากรณ์ค​ วาม​ตอ้ งการ​ทางการ​ตลาด วิธ​ี การ​พยากรณ์ค​ วาม​ตอ้ งการ​และ​ยอด​ขาย โดย​ใช้เ​ทคนิคร​ ปู แ​ บบ​ตา่ ง ๆ ตลอด​จน​ปจั จัยภ​ ายใน​และ​ภายนอก​องค์กร​ทม​ี่ อ​ี ทิ ธิพล​ตอ่ ก​ าร​พยากรณ์​ ยอด​ขาย นอกจาก​นี้​ ยัง​ศึกษา​ถึง​วิธี​การ​ควบคุม​และ​วิเคราะห์เ​ปรียบ​ เทียบ​ค่า​ของ​การ​พยากรณ์​กับ​ผล​ที่​เกิด​ขึ้น​จริง เพื่อ​ประโยชน์ ​ใน​การ​ วางแผน​การ​ขาย​และ​ปรับปรุง​แผนการ​ขาย​ใน​อนาคต ตล. 415 สถานการณ์​ปัจจุบัน​ทางการ​ตลาด (3 หน่วยกิต) MK 415 Current Issues in Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​หัวข้อ ข่าว​สาร​ทางการ​ตลาด​ที่​น่า​สนใจ​ใน​ ปัจจุบัน​รวม​ถึง​กลยุทธ์​ทางการ​ตลาด​สมัย​ใหม่​ใน​แวดวง​ธุรกิจ เพื่อ​ วิเคราะห์​อธิบาย ประเมินส​ ถานการณ์ และ​คาด​คะเน โดย​การ​ประยุกต์​ ใช้​ความ​รู้​ทางการ​ตลาด และ​การ​ศึกษา​ค้นคว้าเ​พิ่มเ​ติม

350 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ตล. 416 การ​ตลาด​กีฬา (3 หน่วยกิต) MK 416 Sports Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถงึ ห​ ลักก​ าร แนวคิด วิวฒ ั นาการ​ของ​การ​ตลาด​กฬี า ​ สภาว​ะแวดล้อม​ที่​มอี​ ิทธิพล​ต่อ​การ​ดำ�เนิน​งาน​ของ​ธุรกิจก​ ีฬา การ​เก็บ​ รวบรวม​ขอ้ มูลแ​ ละ​การ​วเิ คราะห์ พฤติกรรม​ผบ​ู้ ริโภค การ​กำ�หนด​ลกู ค้า กลุม่ เ​ปา้ ห​ มาย การ​พฒ ั นา​ผลิตภัณฑ์ การ​บริหาร​ราคา การ​จดั จ​ ำ�หน่าย การ​สง่ เ​สริมก​ าร​ตลาด ตลอด​จนการ​หา​ผส​ู้ นับสนุนใ​น​การ​จดั ก​ จิ กรรม​ท​ี่ เกี่ยวข้อง​กับ​ตลาด​กีฬา ตล. 417 การ​จัด​การ​ค้า​ปลีก (3 หน่วยกิต) MK 417 Retailing Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึ ก ษา​ถึ ง ​รู ป ​แ บบ​ข อง​ธุ ร กิ จ ​ค้ า ​ป ลี ก ​ป ระเภท​ต่ า ง ๆ พฤติกรรม​การ​ซอื้ ข​ อง​ลกู ค้า การ​ทำ�​ธรุ กิจค้าป​ ลีกแ​ บบ​หลาก​หลาย​ชอ่ ง​ ทาง การ​สร้าง​กลยุทธ์​ทางการ​ตลาด​ของ​ธุรกิจ​ค้า​ปลีก อาทิ การ​เลือก​ แหล่ง​และ​ทำ�เล​ที่​ตั้ง การ​บริหาร​ระบบ​ห่วง​โซ่​อุปทาน​และ​เทคโนโลยี​ สาร​สนเทศ การ​บริหาร​ลูกค้า​สัมพันธ์ เป็นต้น นอกจาก​นี้ ยัง​ศึกษา​ ถึง​การ​วางแผน​และ​การ​จัด​ซื้อ​สินค้า การ​คัด​เลือก​ผลิตภัณฑ์​เข้า​ร้าน ส่วน​ประสม​การสื่อสาร​ทางการ​ตลาด​ค้า​ปลีก การ​บริหาร​กิจการ​ร้าน การ​ออกแบบ​และ​การ​ตกแต่งร​า้ น​คา้ ตลอด​จน​การ​ให้บ​ ริการ​และ​อำ�นวย​ ความ​สะดวก​แก่​ลูกค้า​ใน​ธุรกิจ​ค้า​ปลีก ตล. 418 การ​ตลาด​สำ�หรับก​ าร​เป็นผ​ ู้​ประกอบ​การ (3 หน่วยกิต) MK 418 Entrepreneurial Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​บทบาท​และ​การ​บริหาร​ทางการ​ตลาด​สำ�หรับ​ การ​เป็นผ​ ป​ู้ ระกอบ​การ สิง่ แ​ วดล้อม​ภายใน​และ​ภายนอก​องค์กร​ทส​ี่ ง่ ผ​ ล​ กระทบ​ตอ่ ก​ าร​ดำ�เนิน​ธรุ กิจ การ​วางแผน​กลยุทธ์​ทางการ​ตลาด​สำ�หรับ​ ผู้​ประกอบ​การ อาทิ การ​แบ่ง​ส่วน​ตลาด การ​กำ�หนด​ตลาด​เป้า​หมาย การ​วาง​ตำ�แหน่ง​ทางการ​ตลาด นโยบาย​ด้าน​ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่อง​ ทางการ​จัด​จำ�หน่าย และ​การ​ส่ง​เสริม​การ​ตลาด


ตล. 419 การ​วิเคราะห์เ​ชิง​ปริมาณ​ทางการ​ตลาด (3 หน่วยกิต) MK 419 Quantitative Analysis in Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​เกี่ยว​กับ​การ​วิเคราะห์เ​ชิง​ปริมาณ​ใน​รูปแ​ บบ​ต่าง ๆ ทีเ​่ หมาะ​สม​กบั ง​ าน​ดา้ น​การ​ตลาด โดย​เน้น​การนำ�​แนวคิดท​ าง​ทฤษฎี​ท​ี่ เกีย่ วข้อง​กบั ก​ าร​วเิ คราะห์เ​ชิงป​ ริมาณ​ไป​ใช้ใ​น​การ​ตดั สินใ​จ​และ​วางแผน ด้าน​การ​ตลาด เช่น การ​ใช้ส​ มการ​ถดถอย​เชิง​เส้น การ​วิเคราะห์​การ​ แบ่ง​แยก การ​วิเคราะห์อ​ นุกรม​ของ​เวลา ทฤษฎี​แถว​คอย ตัวแ​ บบ​การ​ จำ�ลอง​สถานการณ์ การ​วิเคราะห์ก​ าร​ตัดสิน​ใจ การ​หา​จุด​คุ้ม​ทุน และ​ การวิเคราะห์ค​ วาม​เป็นไ​ป​ได้​ของ​โครงการ ตล. 421 สัมมนา​ทางการ​ตลาด (3 หน่วยกิต) MK 421 Seminar in Marketing พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับ อย่าง​น้อย 2 วิชา ศึกษา​ถึง​การ​ดำ�เนิน​งาน​ทาง​ด้าน​การ​ตลาด​ของ​องค์กร​ ธุรกิจจ​ ริง ทัง้ ท​ เ​ี่ ป็นอ​ งค์กร​ใน​ประเทศ​และ​ตา่ ง​ประเทศ เพือ่ ใ​ห้ท​ ราบ​ถงึ ​ ความ​สำ�เร็จ​และ​ความ​ล้ม​เหลว ตลอด​จน​ปัญหา​ต่าง ๆ และ​แนวทาง​ แก้ไข​ขององค์กร นอกจาก​นี้​ยัง​เรียน​รู้​และ​ฝึกฝน​การนำ�​ความ​รู้​ที่​เรียน​ มา​ประยุกต์ ​ใช้​เพื่อ​ปรับปรุง​แก้ไข โดย​ใช้​วิธี​การ​ระดม​สมอง​และ​การ​ อภิปราย​กลุ่ม เพื่อ​เตรียม​ความ​พร้อม​ก่อน​การ​ปฏิบัติ​งาน​กับ​องค์กร​ ภายนอก​ใน​อนาคต ตล. 422 กลยุทธ์ก​ าร​ส่ง​เสริม​การ​ขาย (3 หน่วยกิต) MK 422 Sales Promotion Strategies พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึ ก ษา​ถึ ง ​ค วาม​ห มาย ความ​สำ�คั ญ หน้ า ที่ และ​ วัตถุประสงค์​ของ​การ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย ทั้ง​การ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย​ที่​มุ่ง​สู่​ผู้​ บริโภค การ​ส่ง​เสริมก​ าร​ขาย​ที่​มุ่ง​สู่​คนกลาง การ​ส่งเ​สริม​การ​ขาย​ที่​มุ่ง​ สู่​พนัก​งาน​ขาย​และ​การ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย​โดย​ร้าน​ค้าป​ ลีก ขั้น​ตอน​ของ​ การ​วางแผน​จะ​ครอบคลุม​ถึง​การ​วิเคราะห์สถานการณ์ การ​วางแผน​ การ​สง่ เ​สริมก​ าร​ขาย การ​ทดสอบ​แผนการ​สง่ เ​สริมก​ าร​ขาย การ​ปฏิบตั ​ิ

การ​ตามแผน และ​การ​ประเมิน​ผล​กลยุทธ์​การ​ส่ง​เสริม​การ​ขาย ตล. 423 การ​ตลาด​ระหว่าง​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MK 423 Business-to-Business Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถงึ ห​ ลักก​ าร ความ​สำ�คัญ ประเภท​ของ​ตลาด​ระหว่าง​ ธุรกิจ พฤติกรรม​และ​กระบวนการ​ตัดสิน​ใจ​ซื้อ การ​บริหาร​ความ​ สัมพันธ์​ระหว่าง​ธุรกิจ เทคนิค​การ​เจรจา​ต่อ​รอง การ​วิเคราะห์ การ​ วางแผน การ​กำ�หนด​ส่วน​ประสม​ทางการ​ตลาด และ​การ​ประยุกต์​ใช้​ ระบบ​พาณิชย์อ​ เิ ล็กทรอนิกส์ ตลอด​จน​การประเมินผ​ ล​และ​การ​ควบคุม​ ตลาด​ระหว่าง​ธุรกิจ ตล. 424 นโยบาย​การ​ตลาด​เชิงกล​ยุทธ์ (3 หน่วยกิต) MK 424 Strategic Marketing Policy พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับอ​ ย่าง​น้อย 2 วิชา ศึกษา​เกี่ยว​กับ​การ​กำ�หนด​นโยบาย​ทางการ​ตลาด โดย​ เน้น​การ​ใช้​กรณี​ศึกษา และ​การนำ�​ไป​ประยุกต์​ใช้​จริง​ใน​เชิง​ธุรกิจ เพื่อ​ ให้​นัก​ศึกษา​สามารถ​แก้ไข​ปัญหา​และ​วางแผน​ได้​อย่าง​มี​หลักก​ าร รวม​ ทัง้ ศ​ กึ ษา​ถงึ ค​ วาม​สำ�เร็จแ​ ละ​ลม้ เ​หลว​ของ​การ​ใช้น​ โยบาย​ทางการ​ตลาด​ ใน​หลาก​หลาย​รูป​แบบ อาทิ นโยบาย​ด้าน​การ​แบ่ง​ส่วน​ตลาด การ​ กำ�หนด​กลุ่ม​เป้า​หมาย​ทางการ​ตลาด การ​กำ�หนด​ตำ�แหน่งผลิตภัณฑ์ และ​นโยบาย​ด้าน​ส่วน​ประสม​การ​ตลาด เป็นต้น ตล. 425 การ​ศึกษา​เฉพาะ​บุคคล (3 หน่วยกิต) MK 425 Independent Study พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถงึ ห​ วั ข้อห​ รือป​ ญั หา​ทน​ี่ กั ศ​ กึ ษา​สนใจ และ​เกีย่ วข้อง​ กับ​วิชา​เอก​ทาง​ด้าน​การ​ตลาด โดย​หัวข้อ​หรือ​ปัญหา​ที่​นัก​ศึกษา​สนใจ​ นัน้ ต​ อ้ ง​ได้ร​ บั ก​ าร​อนุมตั จ​ิ าก​อาจารย์ท​ ป​ี่ รึกษา ซึง่ น​ กั ศ​ กึ ษา​ตอ้ ง​คน้ คว้า รวบรวม​ขอ้ มูล จัดท​ ำ�​โครงการ​และ​นำ�​เสนอ​ผล​งาน​ใน​หวั ข้อห​ รือป​ ญั หา​ นั้น ๆ หลักสูตรปริญญาตรี 351


ตล. 426 การ​ตลาด​ธุรกิจ​บันเทิง (3 หน่วยกิต) MK 426 Entertainment Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 หรือได้รับอนุมัติจากคณบดี ศึกษา​ถึง​หลัก​การ บทบาท หน้าที่ และ​การ​กำ�หนด​เป้า​ หมาย​ทางการ​ตลาด ส่วน​ประสม​ทางการ​ตลาด และ​การ​วิจัย​ตลาด​ที่​ เกี่ยว​กับ​ธุรกิจ​บันเทิง อาทิ ภาพยนตร์ ดนตรี กีฬา สวน​สนุก ท่อง​ เทีย่ วและ​สถาน​บนั เทิง เป็นต้น ตลอด​จน​กลยุทธ์ท​ างการ​ตลาด​ทเ​ี่ กีย่ ว​ กับ​การ​ขาย การ​ส่ง​เสริม​การ​ขายการ​โฆษณา การ​ประชาสัมพันธ์ และ​ การ​ตลาด​ทาง​ตรง​ที่​มผี​ ล​ต่อ​ความ​สำ�เร็จ​ของ​ธุรกิจบ​ ันเทิง ตล. 427 การ​ตลาด​เทคโนโลยี​ชั้นส​ ูง (3 หน่วยกิต) MK 427 Hi-Tech Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​แนวคิด หลัก​การ ความ​สำ�คัญ และ​วิธี​การนำ�​ เทคโนโลยี​ชั้น​สูง​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​วางแผน​การ​ตลาด การ​พัฒนา​ ผลิตภัณฑ์ใ​หม่ เพือ่ ใ​ห้ส​ อดคล้อง​กบั ค​ วาม​ตอ้ งการ​ของ​ตลาด​ใน​ปจั จุบนั และ​เพื่อเ​ป็น​แนวทาง​ใน​การ​ตัดสิน​ใจ​ทางการ​ตลาด​ของ​ผู้​บริหาร รวม​ ทั้ง​ยัง​ศึกษา​ถึง​การ​เปลี่ยนแปลง​ทางเทคโนโลยี​ที่​ส่ง​ผล​กระทบ​ต่อ​การ​ กำ�หนด​กลยุทธ์ท​ างการ​ตลาด​ของ​องค์กร ตล. 428 การ​ตลาด​อิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) MK 428 E-Marketing พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถงึ ห​ ลักก​ าร​ทเ​่ี กีย่ ว​กบั ก​ าร​ตลาด​ผา่ น​สอ่ื อ​ เิ ล็กทรอนิกส์​ และ​ผ่ า น​เครื อ ​ข่ า ย​อิ น ​เทอร์ ​เน็ ต วิ เ คราะห์ ​รู ป ​แ บบ​การ​พ าณิ ช ย์ ​ อิเล็กทรอนิกส์ และ​วิเคราะห์ค​ วาม​สัมพันธ์​ระหว่าง​สมาชิก​ต่าง ๆ ใน​ โครงสร้าง​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ตลอด​จน​ศึกษา​ถึง​ทฤษฎี​เกี่ยว​กับ​ส่วน​ ประสม​ทางการ​ตลาด​อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ​นำ�​มา​ประยุกต์​ใช้​ใน​องค์กร​ ธุรกิจ​หรือ​อำ�นวย​ความ​สะดวก​ใน​การ​ประกอบ​ธุรกิจ พร้อม​ทั้ง​ศึกษา​ 352 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หลัก​การ​วิเคราะห์​พฤติกรรม​ของ​ผู้​บริโภค อัน​จะ​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​การ​ สร้าง​ความ​สัมพันธ์ทางการ​ตลาด ตล. 429 การจัดการธุรกิจบริการ (3 หน่วยกิต) MK 429 Hospitality Business Management พื้นความรู้: ตล. 212 ศึกษาภาพรวมของธุรกิจต้อนรับและบริการ อันประกอบ ด้วยธุรกิจโรงแรม ท่องเที่ยว สายการบิน ร้านอาหาร สปา เป็นต้น ศึกษาระบบการบริหารจัดการ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอก องค์กรที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการและการด�ำเนินธุรกิจต้อนรับและ บริการ ตลอดจนศึกษาการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์กร การสั่ง การ การประสานงาน การควบคุม ภาวะความเป็นผู้น�ำและการสร้าง แรงจูงใจ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การตลาด และการให้บริการ นักเดินทาง นักท่องเที่ยว และแขกผู้มาเยือน ตลอดจนการศึกษาถึง การเขียนแผนการตลาดของธุรกิจต้อนรับและบริการ ตล. 430 การ​จัดการ​ส่ง​ออก​และ​นำ�​เข้า (3 หน่วยกิต) MK 430 Export-Import Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึกษา​ถึง​หลัก​การ ความ​สำ�คัญ ขั้น​ตอน​เพื่อ​การ​ส่ง​ออก​ และ​นำ�​เข้า กระบวนการ​ตดั สินใ​จ​เลือก​ตลาด​และ​สนิ ค้า กฎ​ระเบียบ ข้อ​ บังคับ ข้อ​กำ�หนด​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ส่ง​ออก​และ​นำ�​เข้า การ​ทำ�​สัญญา​ ซือ้ ข​ าย​เงือ่ นไข​การ​สง่ ม​ อบ​สนิ ค้า การ​ชำ�ระ​เงิน สินเ​ชือ่ เ​พือ่ ก​ าร​สง่ อ​ อก​ และ​นำ�​เข้า พิธกี าร​ศลุ กากร และ​การ​จดั การ​เอกสาร​การ​สง่ อ​ อก​และ​นำ�​ เข้า​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ


ตล. 431 การพัฒนาและวางแผนผลิตภัณฑ์ใหม่ (3 หน่วยกิต) MK 431 New Product Planning and Development พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 ศึ ก ษาถึ ง กระบวนการพั ฒ นาและวางแผน การนำ� ผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าสู่ตลาด ทั้งในรูปแบบผลิตภัณฑ์นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงใหม่ หรือผลิตภัณฑ์เลียนแบบ ด้วยขั้นตอนการ สร้างแนวความคิด การกลั่นกรองแนวความคิด การประเมินผลแนว ความคิด การวิเคราะห์โอกาสทางธุรกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ การทดสอบตลาด ตลอดจนการดำ�เนินธุรกิจจริงให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ทางการตลาดในปัจจุบัน

หมวด​วิชา​การ​เงิน กง. 212 การ​เงิน​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) FI 212 Business Finance พื้น​ความ​รู้: บช. 201 ศึกษา​ถงึ ​การ​บริหาร​การ​เงิน​ใน​องค์กร​ธรุ กิจ เพือ่ ​ให้​บรรลุ​ เป้า​หมาย​ใน​การ​เพิ่ม​มูลค่า​แก่​องค์กร โดย​พิจารณา​ถึง​บทบาท​ของ​ผู้​ บริหาร​ใน​การ​จดั หา​เงินท​ นุ ​จาก​แหล่งเ​งินท​ นุ ​ตา่ ง ๆ การ​คำ�นวณ​ตน้ ทุน​ ของเงินล​ งทุน การ​บริหาร​สนิ ทรัพย์แ​ ละ​หนีส​้ นิ และ​การนำ�​เงินม​ า​ลงทุน​ อย่าง​ม​ปี ระสิทธิภาพ ภาย​ใต้​การวิเคราะห์​โครงการ​ลงทุน รวม​ถงึ ​การ​ ศึกษา​แนวคิดเ​กีย่ ว​กบั โ​ครงสร้าง​เงินท​ นุ ผล​กระทบ​ของ​การ​เปลีย่ นแปลง​ โครงสร้าง​เงิน​ทนุ ต​ อ่ ​ความ​เสีย่ ง​และ​ผล​ตอบแทน​ของ​ผ​ถู้ อื ห​ นุ้

กง. 222 การบัญชีบริหาร (3 หน่วยกิต) FI 222 Managerial Accounting พื้นความรู้: บช. 202 และ กง. 212 หรือได้รับอนุมัติจากคณบดี เพือ่ ให้นกั ศึกษามีความรูค้ วามเข้าใจในงบการเงิน ตลอด จนการใช้งบการเงินให้เป็นประโยชน์ต่อการบริหาร ศึกษาถึงแนวคิด เกี่ยวกับต้นทุนเพื่อใช้ในการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจของ ฝ่ายบริหาร กง. 311 การ​จัดการ​ทางการ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 311 Financial Management พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถงึ ก​ ลยุทธ์ เทคนิค และ​วธิ ก​ี าร​ใน​การ​จดั การ​ทางการ​ เงิน โครงสร้าง​ของ​เงินท​ นุ การ​วเิ คราะห์ก​ าร​จดั หา​และ​การ​จดั สรร​เงินท​ นุ การ​วางแผน​และ​การ​พยากรณ์ท​ างการ​เงิน ตลอด​จน​นโยบาย ทาง​ธรุ กิจ​ ที​่ม​ีอทิ ธิพล​ตอ่ ​การ​ตดั สิน​ใจ​ใน​การ​บริหาร​การ​เงิน​ภาย​ใต้​สถานการณ์​ท่​ี แตก​ตา่ ง​กนั การ​ประยุกต์ใช้​แนวคิด ทฤษฎี​ทางการ​เงิน​ใน​การ​วเิ คราะห์​ ถึง​การ​ตดั สิน​ใจ​ตา่ งๆ ของ​ผ​บู้ ริหาร โดย​การ​ใช้​กรณี​ศกึ ษา กง. 312 ตลาด​การ​เงิน​และ​สถาบัน​การ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 312 Financial Market and Institutions ศึกษา​ระบบ​การ​เงิน สินทรัพย์​ทางการ​เงิน โครงสร้าง และ​การ​ดำ�เนิน​งาน​ของ​ตลาด​การ​เงิน ธนาคาร​พาณิชย์ ธนาคาร​ แห่ง​ประเทศ​ไทย ตลาดหลักทรัพย์​แห่ง​ประเทศ​ไทย สถาบัน​การ​ เงิน​ประเภทอื่น​ใน​ประเทศ​ไทย และ​สถาบัน​การ​เงิน​ระหว่าง​ประเทศ นอกจาก​นี้​ยังศ​ ึกษา​ถึง​นโยบาย​การ​บริหาร การ​ดำ�เนิน​งาน กฎหมาย​ ทีเ​่ กีย่ วข้อง​เครือ่ ง​มอื ท​ างการ​เงิน รวม​ตลอด​ถงึ ป​ จั จัยท​ ม​ี่ ผ​ี ล​กระทบ​ตอ่ ​ ตลาด​การเงิน​และ​สถาบัน​การ​เงิน

หลักสูตรปริญญาตรี 353


กง. 313 การ​จัดการ​สิน​เชื่อ​และ​หนี้​สิน (3 หน่วยกิต) FI 313 Credit and Debt Management พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถึง​ลักษณะ​และ​ขอบเขต​ของ​การ​บริหาร​สิน​เชื่อ​ และ​หนี้​สิน ประเภท​ของ​สิน​เชื่อ​และ​หนี้​สิน ความ​เสี่ยง​ใน​การ​ให้​สิน​ เชือ่ ​นโยบาย​การ​พจิ ารณา​การ​ให้ส​ นิ เ​ชือ่ การ​จดั การ​สนิ เ​ชือ่ ทัง้ ใ​น​สว่ น​ ของ​องค์กร ธุรกิจ​ทั่วไป​และ​สถาบัน​การ​เงิน การ​รวบรวม​ข้อมูล​เพื่อ​ ใช้​ใน​การ​จัดการ​หนี้​สิน วิธี​การ​เรียก​เก็บ​หนี้ การ​จัด​ชั้น​หนี้ การ​ปรับ​ โครงสร้าง​หนี้ การ​บริหาร​หนี้​ที่​มี​ปัญหา​และ​หนี้​ที่​ไม่​ก่อ​ให้​เกิด​ราย​ได้ รวม​ทั้ง​กฎหมาย และ​พระ​ราช​บัญญัติ​ต่าง ๆ ที่​เกี่ยวข้อง กง. 314 การ​วางแผน​และ​ควบคุม​ทางการ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 314 Financial Planning and Control พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถงึ ก​ ระบวนการ​วางแผน​ทางการ​เงิน การ​จดั เ​ตรียม​ ข้อมูล​สำ�หรับ​การ​วางแผน​และ​ควบคุม​ทางการ​เงิน การ​ปฏิบัติ​และ​ ติดตาม​ผล​การ​ปฏิบตั ง​ิ าน​ให้เ​ป็นไ​ป​ตาม​แผนการ วิธก​ี าร​แก้ป​ ญั หา​และ​ การ​ปรับ​แผน​โดย​ใช้​ความ​รู้​ด้าน​การ​จัดการ เครื่อง​มือ​ใน​การ​วางแผน​ ทางการ​เงิน และ​เทคนิค​การ​พยากรณ์​ทางการ​เงิน กง. 315 นโยบาย​การ​เงิน​และ​การ​คลัง (3 หน่วยกิต) FI 315 Monetary and Fiscal Policy พื้น​ความ​รู้: ศศ. 202 ศึกษา​ถงึ ​ทฤษฎี​การ​กำ�หนด​นโยบาย​เศรษฐกิจ เป้า​หมาย​ และ​เครื่อง​มือ​ใน​การ​ดำ�เนิน​นโยบายเศรษฐกิจ​มหภาค การ​รักษา​ เสถียรภาพ​ทาง​เศรษฐกิจ นโยบาย​การ​เงิน​และ​การ​คลัง​ของ​รัฐบาล วิวัฒนาการ ปัจจัย​ต่าง ๆ ที่​เป็นต​ ัว​กำ�หนด​นโยบาย แนวคิด​และ​เป้า​ หมาย​ใน​การ​ใช้​นโยบาย ตลอด​จน​ผล​กระทบ​ทางเศรษฐกิจ​ต่อ​การ​ ดำ�เนินง​ าน​ของ​ภาค​ธุรกิจ 354 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กง. 316 การ​วางแผน​ทางการ​เงิน​ส่วน​บุคคล (3 หน่วยกิต) FI 316 Personal Financial Planning ศึกษา​ถึง​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​วางแผน​การ​เงิน การ​ กำ�หนด​เป้า​หมาย​ทางการ​เงิน​ที่​ดี กระบวนการใน​การ​วางแผน​การ​เงิน​ ส่วน​บุคคล การ​จัด​ทำ�​งบดุล งบ​ราย​ได้ ค่า​ใช้​จ่าย และ​งบ​ประมาณ​ เงินสด​ส่วน​บุคคล การ​จัดการ​สินทรัพย์​และ​หนี้​สิน การ​วางแผน​การ​ ลงทุน การ​ออม การ​ประกัน​ภัย และ​การ​วางแผนทาง​ภาษี​ส่วน​บุคคล การ​สร้าง​วนิ ยั ​ทางการ​เงิน​ให้ต​ นเอง รวม​ตลอด​ถงึ ก​ าร​วางแผน​การ​เงิน​ หลัง​เกษียณ กง. 321 หลักก​ าร​ลงทุน (3 หน่วยกิต) FI 321 Principles of Investment พื้น​ความ​รู้: กง. 212 และ​ กง. 312 ศึกษา​ถึง​หลัก​การ​เบื้อง​ต้น​ใน​การ​ตัดสิน​ใจ​ลงทุน การ​ ประเมิน​มูลค่า​การ​ลงทุน ความ​เสี่ยง​ภัย​และผล​ตอบแทน​ที่​ได้​รับ​จาก​ การ​ลงทุน ลักษณะ​และ​แหล่ง​ข้อมูล​ที่​ใช้​ใน​การ​วิเคราะห์​การ​ลงทุน การ​วิเคราะห์ ปัจจัย​พื้น​ฐาน​และ​การ​วิเคราะห์​ทาง​เทคนิค การ​ลงทุน​ ใน​ตราสาร​ทางการ​เงินแ​ ละ​หลักท​ รัพย์ รวม​ทง้ั ​การลงทุนใ​น​รปู ​แบบ​อน่ื ๆ กง. 322 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) FI 322 International Financial Management พื้นความรู้: กง. 212 และ ศศ. 202 ศึกษาความรู้พื้นฐานในการบริหารการเงินและดำ�เนิน ธุรกิจระหว่างประเทศ ซึ่งประกอบไปด้วย ทฤษฎีและระบบการเงิน ระหว่างประเทศ ดุลการชำ�ระเงิน ตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ และกลไกและระบบอัตราแลกเปลีย่ น ตลอดจนการศึกษาประเภทของ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ กลยุทธ์และเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บทบาทของสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ตลาดเงินและตลาดทุน ระหว่างประเทศ และการระดมทุนจากตลาดเงินและตลาดทุนระหว่าง ประเทศ


กง. 323 การ​วิเคราะห์​​รายงาน​ทางการ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 323 Financial Statement and Reporting Analysis พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถึง​แนวคิด​และ​หลัก​การ​ใน​การ​ใช้​ข้อมูล​ทางการ​ เงิน รายงาน​ทางการ​เงิน วัตถุประสงค์ข​ องการ​วิเคราะห์ท​ างการ​เงิน​ สำ�หรับ​ธุรกิจป​ ระเภท​ต่าง ๆ เช่น ธุรกิจอ​ ุตสาหกรรม พาณิช​ย​กรรม และ​ธุรกิจบริการ รวม​ถึงศ​ ึกษา​ถึง​เทคนิคใ​น​การ​วิเคราะห์ท​ างการ​เงิน และ​ข้อจ​ ำ�กัด​ใน​การ​วิเคราะห์​โดย​ใช้​ข้อมูล​จากงบ​การ​เงิน เป็นต้น กง. 324 การ​จัดการ​ระบบ​สาร​สนเทศ​ทางการ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 324 Financial Information Systems Management พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถงึ ​หลัก​การ และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​ระบบ​สาร​สนเทศ​ ของ​ธรุ กิจ โครงสร้าง​ของ​ระบบ​สาร​สนเทศ​ทางการ​เงิน การ​พฒ ั นา และ​ การ​ประยุกต์ ​ใช้​สาร​สนเทศ​ทางการ​เงิน​สำ�หรับ​งาน​ด้าน​การ​วางแผน การ​พยากรณ์​ทางการ​เงิน การ​บริหาร​เงิน​ทุน การ​ควบคุมท​ างการ​เงิน​ เพื่อก​ าร​วางแผน การควบคุม การ​ประเมินผ​ ล​การ​ปฏิบัตงิ​ าน และ​การ​ ตัดสิน​ใจ​ทาง​ธุรกิจ กง. 325 การ​เงิน​เพื่อ​การนำ�​เข้าแ​ ละ​ส่งอ​ อก (3 หน่วยกิต) FI 325 Import-Export Financing ศึกษา​ถงึ ห​ ลักก​ าร​คา้ ร​ะหว่าง​ประเทศ วิวฒ ั นาการ​ทางการ​ ค้า​ระหว่าง​ประเทศ​ของ​ไทย มาตรการ​การ​กีดกัน​ทางการ​ค้า สิทธิ​ ประโยชน์​และ​เงื่อนไข​ทางการ​ค้า และ​การ​ชำ�ระ​เงิน​ระหว่าง​ประเทศ มาตรการ​ส่ง​เสริม​การ​ส่ง​ออก การ​บริการ​ทางการ​เงิน วิธี​การ​ดำ�เนิน​ การ​ทางการ​เงิน​เพื่อก​ ารนำ�​เข้า​และ​ส่ง​ออก สิน​เชื่อ​เพื่อ​การนำ�​เข้า​และ​ ส่ง​ออก ตลอด​จน​ศึกษา​ถึง​บทบาท​ของ​สถาบัน​การ​เงิน​ใน​กระบวนการ​ นำ�​เข้า​และ​ส่ง​ออก นโยบาย​และ​กฎหมาย​ที่​เกี่ยวข้อง​ต่าง ๆ

กง. 326 ตราสาร​หนี้​และ​ตลาด​ตราสาร​หนี้ (3 หน่วยกิต) FI 326 Fixed-Income Securities and Market พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถงึ ต​ ลาด​ตราสาร​หนี้ วิวฒ ั นาการ​ของ​ตลาด​ตราสาร​ หนี้ใ​น​ประเทศ​ไทย ประเภท​ตราสาร​หนี้ การ​กำ�หนด​ราคา ผล​ตอบแทน​ และ​โครงสร้าง​อัตรา​ผล​ตอบแทน รวม​ถึง​ความ​เสี่ยง และ​ปัจจัย​ที่​มี​ผล​ กระทบ​ต่อ​อัตรา​ผล​ตอบแทน​ของ​ตราสาร​หนี้ การ​วัด​ความ​แปร​ปร​วน​ ของ​ราคา การ​จดั อ​ นั ดับเ​ครดิตข​ อง​ตราสาร​หนี้ และ​การ​แปลง​สนิ ทรัพย์​ ให้​เป็น​หลัก​ทรัพย์ กง. 327 ธุรกิจหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (3 หน่วยกิต) แห่งประเทศไทย FI 327 Securities Business and the Stock Exchange of Thailand พื้นความรู้: กง. 212 ศึกษาถึงโครงสร้างและบทบาทของตลาดหลักทรัพย์ วิวฒ ั นาการของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การดำ�เนินงานและ การกำ�กับดูแลธุรกิจหลักทรัพย์ ลักษณะและประเภทของหลักทรัพย์ วิ ธี การปฏิ บั ติ ใ นการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ใ นตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ตลอดจนระเบียบและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง กง. 328 การ​เงิน​และ​การ​ธนาคาร (3 หน่วยกิต) FI 328 Money and Banking ศึกษา​ถึง​วิวัฒนาการ​ของ​เงิน​ตรา ความ​สำ�คัญ​ของ​เงิน​ที่​ มี​ต่อ​ระบบ​เศรษฐกิจ วิธี​การ​จัด​ระบบ​เงิน​ตรา​ของ​ประเทศ​ไทย ปัจจัย​ ที่​มี​ผล​กระทบ​ต่อ​ปริมาณ​เงิน สภาวะ​เงินเฟ้อ​และ​เงินฝืด กลไก​ใน​การ​ ควบคุมป​ ริมาณ​เงิน ระบบ​การ​ธนาคาร​ใน​ประเทศ​ไทย​และ​ธนาคาร​ตา่ ง​ ชาติ รวม​ถงึ ห​ น้าที่ใ​น​การ​กำ�กับดูแล​ธนาคาร​พาณิชย์ข​ อง​ธนาคาร​แห่ง​ ประเทศ​ไทย หลักสูตรปริญญาตรี 355


กง. 329 การ​ประเมิน​ราคา​อสังหาริมทรัพย์ (3 หน่วยกิต) FI 329 Real Estate Appraisal พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ประเภท​อสังหาริมทรัพย์ แนวคิด​ใน​การ​ประเมิน​ ราคา​อสังหาริมทรัพย์ และ​ปัจจัย​ที่​มี​ผล​ต่อ​การ​ประเมิน​ราคา เช่น ประเภท​และ​ลักษณะ​ของ​อสังหาริมทรัพย์ สภาพ​แวดล้อม สภาวะ​ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ตลอด​จน​กฎหมาย​ทเ​ี่ กีย่ วข้อง​กบั ก​ าร​ตดั สิน​ ใจ​ประเมินร​ าคา​อสังหาริมทรัพย์ เพื่อ​ใช้​เป็น​หลัก​ประกันห​ รือ​เพื่อ​การ​ ลงทุน เป็นต้น

กง. 414 การ​ประกัน​ภัย (3 หน่วยกิต) FI 414 Insurance พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถึง​การ​ประกอบ​ธุรกิจ​การ​ประกัน​ภัย ประเภท​ของ​ ภัย​ตาม​ทฤษฎี​ของ​การ​ประกัน​ภัย หน้าที่ และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​ บริษัท​ประกัน ความ​หมาย​และ​หลัก​เกณฑ์ เงื่อนไข​ของ​การ​ประกัน การ​คำ�นวณ​เบี้ย​ประกัน สิทธิ​ที่​จะ​ได้​รับ​ความ​คุ้มครอง มูลค่า​เวนคืน​ กรมธรรม์ หน้าที่​และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​บริษัทประกัน รวม​ถึง​สิทธิ​ ประโยชน์​ที่​ได้​รับ​จาก​การ​ประกัน

กง. 411 การจัดการความ​เสี่ยง (3 หน่วยกิต) FI 411 Risk Management พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถึง​ความ​เสี่ยง​ใน​การ​ดำ�เนิน​งาน​และ​ความ​เสี่ยง​ ทางการ​เงิน ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​บริหาร​ความ​เสี่ยง​ที่​มี​ต่อ​บริษัท และ​ สถาบัน​การ​เงิน ผล​กระทบ​ของ​ความ​เสี่ยง​ต่อ​มูลค่าข​ อง​บริษัท วิธกี​ าร วัด​ความ​เสี่ยง​ใน​รูป​แบบ​ต่าง ๆ แนวคิด​เกี่ยว​กับ​การ​กระจาย​ความ​ เสี่ยง​รวม​ถึง​กลยุทธ์​และ​เครื่อง​มือ​ในการ​บริหาร​ความ​เสี่ยง เช่น การ​ ใช้​อนุพันธ์ท​ างการ​เงิน เป็นต้น

กง. 415 สถานการณ์ป​ ัจจุบันท​ างการ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 415 Current Issues in Finance พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถงึ ห​ วั ข้อข​ า่ ว​สาร กรณีศ​ กึ ษา และ​นวัตก​ รรม​ทางการ​ เงินท​ น​ี่ า่ ส​ นใจ​ใน​ปจั จุบนั พัฒนาการ​ของ​ตลาด​เงิน ตลาด​ทนุ และ​เครือ่ ง​ มือ​ทางการ​เงิน​ใหม่ ๆ ที่​สำ�คัญ เพื่อ​วิเคราะห์ วิจารณ์ และ​ประเมิน​ สถานการณ์ โดย​นำ�​ความ​รู้​และ​ทฤษฎี​ทางการ​เงิน​มา​ประยุกต์​ใช้​และ​ ศึกษา​ค้นคว้า​เพิ่ม​เติม

กง. 412 การ​ศึกษา​ความ​เป็น​ไป​ได้ (3 หน่วยกิต) และ​การ​ประเมิน​โครงการ FI 412 Feasibility Study and Project Evaluation พื้น​ความ​รู้: กง. 311 ศึกษา​ถึง​หลัก​การ ขั้น​ตอน และ​เครื่อง​มือ​ต่าง ๆ เพื่อ​ ประเมิน​ความ​เป็น​ไป​ได้​ของ​โครงการ​ลงทุน ทั้ง​ด้าน​การ​ตลาด การ​ จัดการ​การ​ผลิต การ​เงิน รวม​ถึง​การ​ติดตาม​และ​ประเมินผ​ ล​โครงการ​ ลงทุน โดย​ศกึ ษา​ทงั้ ภ​ าค​ทฤษฎีแ​ ละ​ภาค​ปฏิบตั พ​ิ ร้อม​ทงั้ จ​ ดั ท​ ำ�​โครงการ​ และ​นำ�​เสนอ​ผล​งาน​หน้า​ชั้น​เรียน เพื่อ​เป็นประโยชน์​ต่อ​การ​ตัดสิน​ใจ​ ลงทุน 356 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กง. 416 การ​เงิน​และ​การ​ลงทุนอ​ สังหาริมทรัพย์ (3 หน่วยกิต) FI 416 Real Estate Finance and Investment พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถึง​การ​ประยุกต์​แนวคิด​ทางการ​เงิน​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​ ประเมิน​มูลค่า​อสังหาริมทรัพย์ และ​สินเ​ชื่อ​อสังหาริมทรัพย์ วิเคราะห์​ ความ​เสี่ยง​ของ​อสังหาริมทรัพย์ และ​สิน​เชื่อ​ประเภท​ต่าง ๆ รวม​ทั้ง​ ศึกษาถึง​ภาวะ​ตลาด​อสังหาริมทรัพย์ และ​วงจร​ของ​ตลาด ตลอด​จน​ การ​จัดหา​เงิน​ทุน​จาก​อสังหาริมทรัพย์​ใน​ตลาด​ทุน และ​หลัก​ทรัพย์​ใน​ ตลาด เช่น กองทุน​รวม​อสังหาริมทรัพย์ และ​การ​แปลง​สินทรัพย์​ให้​ เป็น​หลัก​ทรัพย์ เป็นต้น


กง. 421 สัมมนา​ทางการ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 421 Seminar in Finance พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับ​อย่าง​น้อย 2 วิชา ศึ ก ษา​แ ละ​ป ระยุ ก ต์ ​ใช้ ​ท ฤษฎี ​ท าง​ด้ า น​การ​เงิ น เพื่ อ​ วิเคราะห์ป​ ระเมินผ​ ล และ​หา​แนวทาง​แก้ไข​โดย​ใช้ก​ รณีศ​ กึ ษา นอกจาก​ นี้ ผูเ้​รียน​ยัง​ต้อง​ศึกษา​ค้นคว้าเ​พิ่ม​เติมเ​พื่อ​นำ�​เสนอ​ผล​การ​ค้นคว้า​ต่อ​ หน้า​ชั้น​เรียน พร้อม​ทั้ง​มี​การ​อภิปราย และ​แสดง​ความ​คิด​เห็น​ร่วม​กัน ภาย​ใต้ก​ าร​ดแู ล​และ​การ​ให้ค​ ำ�​แนะนำ�​ของ​อาจารย์ผ​สู้ อน และ​ผทู้ รง​คณ ุ ​ วุฒิ​จาก​หน่วย​งาน​ภายนอก กง. 422 การ​เงิน​สำ�หรับ​ผู้​ประกอบ​การ (3 หน่วยกิต) และ​ธุรกิจ​ขนาด​ย่อม FI 422 Entrepreneurial and Small Business Finance พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถึง​ลักษณะ​ต่าง ๆ ของ​ธุรกิจ​ขนาด​ย่อม ทฤษฎี​ ทางการ​เงิน​ที่​เกี่ยวข้อง การ​วางแผน​ทางการ​เงิน​ตั้ง​แต่​เริ่ม​ดำ�เนิน​ กิจการ การ​จดั เ​ตรียม​และ​วเิ คราะห์ร​ ายงาน​ทางการ​เงินเ​พือ่ ก​ าร​บริหาร​ จัดการ​ทางการ​เงิน การ​ศึกษา​และ​ประเมิน​โครงการ​ขนาด​ย่อม การ​ วางแผน​เพื่อเ​ตรียม​ขยาย​ขนาด​ของ​ธุรกิจ และ​การเตรียม​การ​ทางการ​ เงิน​เพื่อจ​ ัดหา​เงิน​ทุน​จาก​แหล่ง​เงิน​ทุนภ​ ายนอก กง. 423 ตราสาร​อนุพันธ์​และ​ตลาด​อนุพันธ์ (3 หน่วยกิต) FI 423 Derivative Securities and Market พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ศึกษา​ถึง​ตราสาร​อนุพันธ์​ประเภท​ต่าง ๆ เช่น สัญญา​ ซื้อ​ขาย​ล่วง​หน้า และ​สิทธิ์​ใน​การ​ซื้อ​ขายสินทรัพย์​อ้างอิง รวม​ถึง​ วิวัฒนาการ​และ​กลไก​ของ​ตลาด​อนุพันธ์ องค์กร​ที่​เกี่ยวข้อง​ใน​การ​ กำ�กับ​ดูแล​ตลาด​อนุพันธ์ การ​กำ�หนด​ราคา​ตราสาร​อนุพันธ์ ปัจจัย​ที่​มี​ ผล​กระทบ​ต่อ​ราคา​ของ​ตราสาร และ​เทคนิคการ​ใช้​ตราสาร​อนุพันธ์​ใน​ การ​ป้องกัน​ความ​เสี่ยง เป็นต้น

กง. 424 การ​วิเคราะห์​หลัก​ทรัพย์ (3 หน่วยกิต) และ​การ​จัดการ​กลุ่ม​หลัก​ทรัพย์ FI 424 Securities Analysis and Portfolio Management พื้น​ความ​รู้: กง. 212 และ กง. 312 ศึกษา​หลัก​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ลงทุน หลัก​การ​ลงทุน การ​ วิเคราะห์​การ​ลงทุน​ใน​หลัก​ทรัพย์ ประเภท​ของ​หลัก​ทรัพย์ ความ​ มี​ประสิทธิภาพ​ของ​ตลาดหลักทรัพย์ วิธี​การ​ที่ ​ใช้​ใน​การ​วิเคราะห์​ และ​ประเมิน​ราคาหลัก​ทรัพย์ การ​วัด​ความ​เสี่ยง​และ​การ​คำ�นวณ​ผล​ ตอบแทน​ปัจจัย​ที่​มี​ผล​กระทบ​ต่อ​การ​ตัดสิน​ใจ​ลงทุน ปัจจัย​ที่​มี​ผล​ กระทบ​ต่อ​มูลค่า​หลัก​ทรัพย์ การ​กระจาย​การ​ลงทุน​เพื่อ​ลด​ความ​เสี่ยง และ​การ​ลงทุน​ใน​กลุ่มหลัก​ทรัพย์​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ กง. 425 การ​ศึกษา​เฉพาะ​บุคคล (3 หน่วยกิต) FI 425 Independent Study พื้น​ความ​รู้: กง. 212 เป็นการ​ศึกษา​เฉพาะ​ราย​บุคคล​เกี่ยว​กับ​หัวข้อ​ทางการ​ เงิน​ที่​นัก​ศึกษา​สนใจ โดย​อาจารย์​ผู้​สอน​และ​ผู้​ศึกษา​จะ​ร่วม​กัน​กำ�หนด​ หัวข้อร​ ายงาน​หรือง​าน​วจิ ยั เพือ่ ใ​ห้ผ​ ศ​ู้ กึ ษา​คน้ คว้าว​ จิ ยั ด​ ว้ ย​ตนเอง ภาย​ ใต้การ​ดูแล​และ​การ​ให้​คำ�​แนะนำ�​จาก​อาจารย์ผ​ ู้​สอน กง. 426 การ​วิจัยท​ างการ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 426 Research in Finance พื้น​ความ​รู้: กง. 212 และ บธ. 207 ศึกษา​ถึง​ระเบียบ​วิธวี​ ิจัย ขอบเขต และ​ความ​สำ�คัญข​ อง​ การ​วิจัย​ทั้ง​เชิง​ปริมาณ​และ​เชิง​คุณภาพ แล้ว​ให้​นัก​ศึกษา​นำ�​ปัญหา​ ทางการ​เงิน​ที่​น่า​สนใจ​ใน​ขณะ​นั้น​มา​ทำ�การ​วิจัย จัด​ทำ�​รายงาน​และ​นำ�​ เสนอ​ผลสรุป​การ​วิจัย รวม​ถึง​การนำ�​ผล​การ​วิจัยท​ ี่​ได้​มา​ประยุกต์​ใช้ใ​น​ เชิงธ​ รุ กิจ หรือก​ ำ�หนด​เป็นข​ อ้ เ​สนอ​แนะ​สำ�หรับก​ าร​ศกึ ษา​คน้ คว้าต​ อ่ ไ​ป​ ใน​อนาคต หลักสูตรปริญญาตรี 357


กง. 428 การ​ฝึกงาน​ทางการ​เงิน (3 หน่วยกิต) FI 428 Financial Internship พื้น​ความ​รู้: กง. 212 ฝึก​ปฏิบัติ​งาน​ทาง​ด้าน​การ​เงิน​ใน​องค์กร​ธุรกิจ​หรือ​ฝึก​ การ​วางแผน และ​วาง​ระบบ​ทางการ​เงิน​ใน​ธุรกิจ ที่​ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​ ภาค​วิชา​การ​เงิน โดย​ผ่าน​เกณฑ์ก​ าร​ฝึกงาน​ตาม​ที่​หน่วย​งาน​และ​ภาค​ วิชา​การ​เงิน​กำ�หนด เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​ได้​ฝึกฝน และ​ประยุกต์​ใช้​ความ​รู้​ ทางการ​เงินใ​น​การ​ปฏิบตั ง​ิ าน​จริงภาย​ใต้ก​ าร​ควบคุมด​ แู ล และ​ประเมิน​ ผล​การ​ทำ�งาน​จาก​หวั หน้าห​ น่วย​งาน นอกจาก​นน​ี้ กั ศ​ กึ ษา​จะ​ตอ้ ง​จดั ท​ ำ�​ รายงาน​สรุป​ผล​การ​ฝึกงาน​เมื่อส​ ิ้น​สุดก​ าร​ทำ�งาน

หมวด​วิชา​การ​จัดการ​ธุรกิจส​ มัย​ใหม่ จก. 101 ความ​รเู้​บื้อง​ต้นทาง​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 101 Introduction to Business ศึกษา​ถึง​รูป​แบบ​การ​จัด​ตั้งธ​ ุรกิจ ซึ่ง​ครอบคลุมถ​ ึง​กิจการ​ ตั้ง​แต่​เจ้าของ​คน​เดียว ห้าง​หุ้น​ส่วน และ​บริษัทจ​ ำ�กัด ลักษณะ​สภาพ​ แวดล้อม​ของ​ธุรกิจ กิจกรรม​ทาง​ธุรกิจ​ด้าน​การ​ผลิต การ​ตลาด การ​ เงิน การ​บัญชี และ​การ​บริหาร​งาน​บุคคล กฎหมาย​ต่างๆ ที่​เกี่ยวข้อง​ กับ​ธุรกิจ สถาบัน​การ​เงิน เอกสาร​เครดิตต่างๆ และ​การ​บริหาร​จัดการ เพื่อ​ปู​พื้น​ฐาน​แนวคิด​ของ​การ​บริหารธุรกิจ​และ​เพื่อ​ให้​เกิด​ความ​เข้าใจ​ ในกิจกรรม​แต่ละ​ด้าน​ของ​ธุรกิจ อัน​จะ​เป็นป​ ระโยชน์​ต่อ​การ​ศึกษา​วิชา​ เฉพาะ​ด้าน​ต่อ​ไป

358 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

จก. 112 การ​จัดการ (3 หน่วยกิต) MG 112 Management ศึกษา​ถงึ ว​ วิ ฒ ั นาการ​ของ​แนว​ความ​คดิ แ​ ละ​ทฤษฎีท​ างการ​ จัดการ หลัก​และ​แนวคิด​เกี่ยว​กับ​หน้าที่ทาง​ด้าน​การ​จัดการ อัน​ได้แก่ การ​วางแผน การ​จัด​องค์การ การ​จัด​คน​เข้า​ทำ�งาน การ​สั่งก​ าร การ​ จูงใจ และ​การ​ควบคุม รวม​ถงึ ศ​ กึ ษา​ทฤษฎีก​ าร​จดั การ​สมัยใ​หม่ สภาพ​ แวดล้อม​ทม​ี่ อ​ี ทิ ธิพล​ตอ่ ก​ าร​จดั การ ตลอด​จน​ความ​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ​ตอ่ ส​ งั คม​ และ​จริยธรรม​ทาง​ธุรกิจ จก. 212 การจัดการงาน​ผลิตและการดำ�เนินงาน (3 หน่วยกิต) MG 212 Production and Operations Management ศึกษา​ถงึ ​ความ​ร​เู้ บือ้ ง​ตน้ ​และ​ขอบเขต​ของ​การ​บริหาร​การ​ ผลิต การ​คาด​คะเน​หรือ​พยากรณ์​การ​ผลิต การ​ออกแบบ​และ​พัฒนา​ ผลิตภัณฑ์ การ​เลือก​ทำ�เล​ที่​ตั้ง การ​วาง​ผัง​โรงงาน การ​จัด​ซื้อ การ​ บริหารกำ�ลัง​การ​ผลิต การ​บริหาร​สินค้า​คงคลัง การ​บริหาร​โครงการ การ​ควบคุม​คุณภาพ ​และ​การ​บำ�รุงร​ ักษา​เครื่องจักร จก. 222 การเป็นผูป้ ระกอบการและการพัฒนาธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 222 Entrepreneurship and Business Development พื้นความรู้: จก. 112 ศึกษาถึงความหมาย บทบาท ประเภท และคุณลักษณะ พิเศษของผูป้ ระกอบการ การมองหาโอกาสใหม่ๆ ในการลงทุนในโลก ธุรกิ จ การเริ่มต้น ความก้าวหน้า การบริหารธุรกิจอย่างเป็นระบบ ความเสี่ ย งในการด�ำเนินธุรกิจ และการก�ำหนดแนวทางการด�ำเนิน งานของธุรกิจในรูปแบบของแผนธุรกิจเพือ่ ผูป้ ระกอบการจะได้ใช้เป็น ตัวก�ำหนดทิศทางในการด�ำเนินธุรกิจจริงได้ ปลูกจิตวิญญาณของการ เป็นเจ้าของกิจการ และการท�ำหน้าทีเ่ ป็นทีป่ รึกษาให้กบั ผูป้ ระกอบการ ทั่วไป


จก. 311 การ​จัดการองค์การ​และ​ปัจเจกบุคคล (3 หน่วยกิต) MG 311 Management of Organizations and Individuals พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​วิธี​การ​บริหาร​องค์การ​ใน​รูป​แบบ​ต่างๆ โดย​ใช้​ ความ​รู้ ความ​สามารถ ตลอด​จน​ทักษะ​ของ​ผู้นำ�​ใน​การ​บริหาร​องค์การ จิตวิทยา​การ​เรียน​รู้ การ​รับ​รู้​ค่า​นิยม ทัศนคติ บุคลิกภาพ​เพื่อ​เสริม​ สร้างบรรยากาศ​และ​สภาพ​แวดล้อม​โดย​ทั่วไป​ของ​องค์กร ตลอด​จน​ เสริม​สร้าง​ระบบ​ย่อย​ต่างๆ ใน​การ​จัดการให้​สอดคล้อง​กับ​การ​สร้าง​ ทัศนคติแ​ ละ​ความ​รสู้ กึ ใ​น​การ​มส​ี ว่ น​รว่ ม​กบั อ​ งค์กร​ของ​บคุ ลากร​ภายใน จก. 313 การ​จัดการ​เชิงกล​ยุทธ์​สมัย​ใหม่ (3 หน่วยกิต) MG 313 Modern Strategic Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ทฤษฎี หลัก​การ ความ​สำ�คัญ​ของ​ กลยุทธ์ รวม​ถึง​เทคนิค​ใน​การ​วิเคราะห์​สภา​วะ​แวดล้อม​ทั้ง​ภายใน​และ​ ภายนอก รวม​ทงั้ ศ​ กึ ษา​ประเภท​ของ​กลยุทธ์ท​ ผ​ี่ บ​ู้ ริหาร​ใช้ใ​น​การ​กำ�หนด กลยุทธ์ข​ อง​องค์กร การนำ�​แผน​กลยุทธ์ไ​ป​ปฏิบตั ิ การ​ควบคุมแ​ ละ​การ​ ประเมินผ​ ล​เชิงกล​ยทุ ธ์ นอกจาก​นยี้ งั ศ​ กึ ษา​ถงึ เ​ครือ่ ง​มอื ท​ างการ​จดั การ​ ที่​ทัน​สมัย​ใหม่ เพื่อช​ ่วย​ผู้​บริหาร​สามารถ​จัดการ​เชิงกล​ยุทธ์ ​ได้​อย่าง​มี ประสิทธิภาพ จก. 314 การจัดการและพฤติกรรมองค์การ (3 หน่วยกิต) MG 314 Management and Organization Behavior พื้นความรู้: จก. 112 ศึกษาถึงพฤติกรรมของบุคคล กลุม่ และองค์การ ทางด้าน สังคม จิตวิทยา มานุษยวิทยา ค่านิยม คุณค่าขององค์กร วัฒนธรรม องค์กรทัง้ ทีเ่ ป็นทางการและไม่เป็นทางการ การเปลีย่ นแปลงและความ ขัดแย้งภายในองค์กร เพื่อให้เกิดความเข้าใจในพฤติกรรมของบุคคล กลุม่ และองค์กรทีท่ ำ� งานร่วมกัน สามารถบริหารจัดการธุรกิจหรืองาน ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

จก. 315 การ​จัดการสำ�นักงาน (3 หน่วยกิต) MG 315 Administrative Office Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​แนวคิด​และ​หลัก​การ​บริหาร​สำ�นักงาน​สมัย​ใหม่ การ​จัด​องค์การ​สำ�นักงาน การ​บริหารพื้นที่​และ​การ​จัดการ​สภาพ​ แวดล้อม​ภายใน​สำ�นักงาน การ​บริหาร​พัสดุ​สำ�นักงาน การ​บริหาร​ เอกสาร​และการ​ติดต่อ​สื่อสาร​ภายใน​สำ�นักงาน รวม​ทั้ง​การ​วิเคราะห์​ พัฒนา​ระบบ การ​บริหาร​สำ�นักงาน การ​ควบคุมงาน​สำ�นักงาน การ​ บริหาร​สำ�นักงาน​อัตโนมัติ ตลอด​จน​ศึกษา​ถึง​แนว​โน้ม​การ​บริหาร​ สำ�นักงาน​ใน​อนาคต จก. 316 การ​จัดการ​ระบบ​การ​ให้​บริการ (3 หน่วยกิต) MG 316 Service Operations Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ความ​หมาย ความ​สำ�คัญข​ อง​งาน​บริการ การ​จดั การ งาน​บริการ​ด้าน​ต่าง ๆ เครื่อง​มือ​และเทคนิค​สำ�หรับ​การ​จัดการ​งาน​ บริการ กลยุทธ์​ของ​การ​จัดการ​งาน​บริการ การ​ออกแบบ​และ​พัฒนา​ งาน​บริการ การ​กำ�หนด​นโยบาย​ใน​ธุรกิจบ​ ริการ​อย่าง​เหมาะ​สม รวม​ ทั้ง​แนว​ความ​คิด​ใน​การ​ควบคุม​คุณภาพงาน​บริการ และ​แนวทาง​การ​ ปรับปรุงค​ ณ ุ ภาพ​ใน​งาน​บริการ​อย่าง​ตอ่ เ​นือ่ ง​เพือ่ ส​ ร้าง​คณ ุ ค่าแ​ ละ​ความ​ พึงพ​ อใจ​แก่​ลูกค้า จก. 317 ​การ​ต่อ​รอง​ทาง​ธุรกิจและการจัดการ (3 หน่วยกิต) ความขัดแย้ง MG 317 Business Negotiation and Conflict Management พื้นความรู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​แนวคิด หลัก​การ​และ​เทคนิค​ของ​การ​ต่อ​รอง​ ทาง​ธุรกิจ การ​วางแผน​การ​เจรจา​ต่อ​รอง​อย่าง​เป็น​ระบบ การ​เลือก​ ใช้​กลยุทธ์​และ​การ​ประเมิน​กลยุทธ์​ใน​การ​เจรจา​ต่อ​รอง นอกจาก​นี้​ยัง​ ศึกษา​ถงึ ทักษะ​การ​ตดิ ต่อส​ อื่ สาร​เพือ่ ก​ าร​เจรจา​ตอ่ ร​อง​ทม​ี่ ป​ี ระสิทธิภาพ ตลอด​จน​ปัญหา​และ​อุปสรรค​ต่าง ๆ ใน​การ​เจรจา​ต่อ​รอง หลักสูตรปริญญาตรี 359


จก. 318 กลยุทธ์การจัดการบริษัทข้ามชาติ (3 หน่วยกิต) และบริษัทระดับโลก MG 318 Strategies in Global and Multinational Corporation Management พื้นความรู้: จก.112 ศึกษ าถึงทฤษฎี หลักการ แนวความคิดขององค์ความ รู้ด้า นการจัดการเชิงกลยุทธ์อย่างเป็นระบบในบริบทของการจัดการ องค์กรข้ามชาติ โดยให้นักศึกษาเข้าใจความหมาย ความส�ำคัญ และ ทฤษฎีในการบริหารทีม่ คี วามแตกต่างกันในด้านวัฒนธรรม ความเชือ่ ความคิ ด ตลอดจนเทคนิคการจัดการองค์กรที่อยู่ในสภาพแวดล้อม ทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน รวมถึงเรียนรู้รูปแบบการจัดการองค์กร และการบริหารองค์กรข้ามชาติอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถ ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ก�ำหนดกลยุทธ์การน�ำไป ปฏิบัติ รวมทั้งการควบคุม และประเมินผล นอกจากนี้แล้วยังศึกษา ถึงตัว แบบของการประยุกต์ใช้กลยุทธ์ของธุรกิจข้ามชาติในบริบทที่มี ความหลากหลายและมีความร่วมสมัย จก. 319 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หน่วยกิต) สำ�หรับธุรกิจ MG 319 Business Information Technology Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถงึ ก​ ารใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศในงานด้าน ต่าง ๆ ของธุรกิจครอบคลุมเนื้อหาการใช้ประโยชน์ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารทรัพยากร และกิจการขององค์กร เช่น บริหาร ทรัพยากรบุคคล บริหารการเงิน การบัญชี การผลิต และสินค้าคงคลัง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ งานขาย การบริการ การบริหารเครือข่ายผู้ ผลิตและการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า การใช้ระบบสารสนเทศ เพือ่ ดำ�เนินกิจการ เพือ่ สนับสนุนการตัดสินใจ เพือ่ สือ่ สารทัง้ ในองค์กร นอกองค์กรและระหว่างองค์กรด้วยระบบอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต รวมถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ใช้ในธุรกิจหรือสังคม เป็นต้น 360 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

จก. 321 การ​วางแผน​และ​ควบคุมด​ ้านการจัดการ (3 หน่วยกิต) MG 321 Management Planning and Control พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​วางแผน การ​ วางแผน​นโยบาย วิธกี​ าร​ใช้​กระบวนการ​วางแผน กระบวนการ​ตัดสิน​ ใจ​และ​การ​ตัดสิน​ใจ​ใน​การ​บริหาร​องค์การ แนวคิด​ใน​การ​กำ�หนด​ วัตถุประสงค์แ​ ละ​นโยบาย​องค์การ ขัน้ ต​ อน​การ​วางแผน ความ​สมั พันธ์​ ของ​การ​วางแผน​กบั ก​ าร​ควบคุมประเภท วิธก​ี าร​และ​การ​ออกแบบ​ระบบ​ การ​ควบคุม ตลอด​จน​การ​ประเมิน​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน จก. 322 การ​วิจัยธ​ ุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 322 Business Research พื้น​ความ​รู้: จก. 112 และ บธ. 207 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ประเภท​และ​ขอบเขต​ของ​การ​วิจัย​ ธุรกิจ การ​เขียน​โครง​รา่ ง​การ​วจิ ยั กระบวนการ​วจิ ยั การ​กำ�หนด​ปญั หา​ และ​วัตถุประสงค์ การ​ออกแบบ​วิจัย​รวม​ถึง​เทคนิค​การ​วิจัย​ใหม่ ๆ และ​การนำ�​เทคโนโลยี​สมัย​ใหม่​มา​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​ของ​การ​วิจัย​และ​ คุณภาพ​ของ​งาน​วิจัย การ​วิเคราะห์ข​ ้อมูลแ​ ละ​การนำ�​เสนอ​ผล​การ​วิจัย การนำ�​ผล​วิจัย​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​กำ�หนด​กลยุทธ์​ทาง​ธุรกิจ ปัญหา​ที่​ มักพ​ บ​ใน​การ​วจิ ยั แ​ ละ​แนวทาง​แก้ไข รวม​ตลอด​ถงึ จ​ ริยธรรม​และ​จรรยา​ บรรณ​ของ​นัก​วิจัย จก. 323 ภาวะ​ผู้นำ�​และ​การ​พัฒนา​ทีม​งาน (3 หน่วยกิต) MG 323 Leadership and Team Development พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศท. 111 หรือ ศป. 221 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​และ​รูป​แบบ​ของ​ผู้นำ� บทบาท​ของ​ ผู้นำ�​ใน​การ​สร้าง​แรง​จูงใจ และ​ความ​ร่วม​มือ​ของ​บุคลากร​ทุก​ระดับ​ ชั้น​ใน​องค์การ เพื่อ​ให้​เกิด​การ​สร้าง​และ​พัฒนา​ทีม​งาน​ที่​ดี ด้วย​การ​ เสริม​สร้าง​บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์ รวม​ทั้ง​ฝึกฝน​ทักษะ และ​ความ​ สามารถ​ใน​การ​เป็น​ผู้​บริหารและ​ผู้นำ�​ทีม เพื่อ​ให้​นัก​บริหาร​สามารถ​ กำ�หนด​แนวทาง​และ​พัฒนา​ความ​สามารถ​ใน​การ​เป็น​ผู้นำ�​ได้อย่าง​มี​ ประสิทธิภาพ


จก. 324 การ​จัดการ​ธุรกิจ​ใน​ครอบครัว (3 หน่วยกิต) MG 324 Family Business Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​การ​ดำ�เนินง​ าน​ทเี่​กี่ยว​กับ​ธุรกิจใ​น​ครอบครัวเ​พื่อ​ ช่วย​ทำ�ให้เ​กิดค​ วาม​คดิ ใ​หม่ ๆ ซึง่ ส​ ามารถ​นำ�​ไป​พฒ ั นา​ใน​การ​วางแผน​ การ​ดำ�เนินอ​ าชีพร​ วม​ถึงก​ าร​จัดการ​เกี่ยว​กับ​โครงสร้าง​และ​ความเกี่ยว​ ดอง​ของ​ครอบครัว การ​ลด​ความ​ขัด​แย้ง การ​เรียน​รู้​ถึงก​ าร​สร้างสรรค์​ โอกาส​ต่าง ๆ ให้เ​กิดข​ ึ้น รวม​ถึง​การ​สร้าง​ศักยภาพ​ให้​ตนเอง​มี​ความ​ ได้​เปรียบ​ทางการ​ค้า อัน​จะ​ส่ง​ผล​ให้​ครอบครัวป​ ระสบ​ความ​สำ�เร็จ จก. 325 การ​ฝึกงาน​ด้าน​วิชาชีพ (3 หน่วยกิต) MG 325 Professional Internship พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับ อย่าง​น้อย 2 วิชา หรือ​ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ถึง​การ​จัดต​ ั้ง​องค์การ การ​วางแผน การ​ปฏิบัติ​งาน​ จริง​และ​หา​แนวทาง​ใน​การ​แก้​ปัญหา โดยนัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​ฝึกงาน​ใน​ โครงการ​ฝึกงาน​ของ​มหาวิทยาลัย ภาย​ใต้​การ​ดูแล​ของ​คณาจารย์​ที่​ ปรึกษา​โครงการ​หรือฝ​ ึกงาน​ใน​องค์การ​ต่าง ๆ เป็น​จำ�นวน​ไม่​น้อย​กว่า 200 ชัว่ โมง และ​นกั ศ​ กึ ษา​ตอ้ ง​จดั ท​ ำ�​รายงาน​สรุปผ​ ล​การ​ฝกึ งาน​เมือ่ ส​ นิ้ ​ สุด​การ​ฝึกงาน จก. 326 การจัดการสินค้าและคลังสินค้า (3 หน่วยกิต) MG 326 Inventory and Warehouse Management พื้นความรู้: จก. 212 ศึกษ าถึงความหมาย วัตถุประสงค์ในการควบคุมสินค้า คงคลัง การวางแผน การพยากรณ์ เทคนิคการควบคุมสินค้าคงคลัง โดยวิธีต่างๆ โดยเน้นกิจการที่มีสินค้ามากชนิด และปริมาณสินค้า คงคลังแตกต่างกัน รวมทั้งศึกษาถึงทฤษฎี แนวคิด หลักการ และวิธี ปฏิบตั ิในการบริหารคลังสินค้า การบริหารข้อมูลทีเ่ กีย่ วกับคลังสินค้า วิธีการวางระบบในการรับสินค้าคงคลัง การเคลื่อนย้ายสินค้าคงคลัง

และการ ส่งมอบสินค้าคงคลัง โดยเชื่อมโยงกับหลักของการบริหาร วัสดุแ ละการวางแผนด้านการผลิต เพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปโดย เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จก. 327 การสื่อสารในองค์กร (3 หน่วยกิต) MG 327 Organization Communication ศึกษา​ความสำ�คัญและปัญหาของการสื่อสารภายในและ ภายนอกองค์การ โดยเน้นพฤติกรรมทางการสื่อสารของบุคคลที่มี ความหมายต่อการสื่อสาร ตลอดจนรูปแบบของการสื่อสารที่เกิดขึ้น ในองค์การ โครงสร้างองค์การที่มีผลต่อลักษณะและรูปแบบของการ สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ จก. 328 การ​จัด​กา​รน​วัตก​ รรม​และ​เทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) MG 328 Innovation and Technology Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​แนว​ความ​คิด ทฤษฎี ประเภท​ของ​น​วัต​กรรม และ​การ​ประ​ยุกต์​น​วัต​กรรม​และ​เทคโนโลยี​ใน​งาน​ธุรกิจ ทั้ง​ด้าน​การ​ วิจัย ด้าน​การ​ผลิต และ​ด้าน​อื่น ๆ ที่​เกี่ยวข้อง นอกจาก​นี้ ยัง​ศึกษา​ ถึงหลัก​การ​บริหาร​ทรัพย์​สิน​ทาง​ปัญญา อัน​ได้แก่ สิทธิบ​ ัตร อนุส​ ิทธิ​ บัตร ลิขสิทธิ์​ความ​ลับ​ทางการ​ค้าและ​เครื่องหมายการค้า จก. 329 การจัดการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หน่วยกิต) MG 329 Information Technology Service Management พื้นความรู้: จก. 112 ศึกษ าถึงการบริหารบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศใน องค์กร การจัดหา การเลือกผู้ให้บริการ ผู้ใช้ พฤติกรรมองค์กร และ การบริหารองค์กร ข้อตกลงระดับการให้บริการ เทคโนโลยีและเทคนิค เพือ่ การให้บริการ การบริหารบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การ คิดต้น ทุนของการให้บริการ ปัจจัยหลักของความส�ำเร็จ โดยผ่าน ตัวอย่างกรณีศึกษาของหน่วยงานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรปริญญาตรี 361


จก. 331 ผู้ประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หน่วยกิต) MG 331 Information Technology Entrepreneurship พื้นความรู้: จก. 112 ศึกษากระบวนการในการเริ่มต้นเป็นผู้ประกอบการ การ ประสบความส�ำเร็จของผูป้ ระกอบการ การประเมินและการตระหนักถึง โอกาสของธุรกิจ กลยุทธ์ส�ำหรับก่อตั้งและพัฒนาการลงทุนทางธุรกิจ ส�ำหรับผูป้ ระกอบการ วิชานีศ้ กึ ษาเกีย่ วกับรูปแบบของการลงทุนแบบ ใหม่ๆ การลงทุนส�ำหรับวิสาหกิจของกลางและขนาดย่อม รวมทัง้ การ ลงทุนในองค์กรที่มีขนาดใหญ่ขึ้น จก. 332 การจัดการสื่อดิจิตอลออนไลน์ (3 หน่วยกิต) MG 332 Online Digital Media Management พื้นความรู้: จก. 112 ศึกษาถึงสื่อดิจิตอลออนไลน์ประเภทและชนิดต่าง ๆ เทคนิคการสร้าง การเรียบเรียง และการจัดเก็บสื่อดิจิตอลในรูปแบบ มาตรฐาน การแปลงข้อมูล การใช้เครื่องมือทางซอฟต์แวร์เพื่อสร้าง สื่อดิจิตอลออนไลน์ เสียง ภาพนิ่ง วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว การสร้าง โปรแกรมเพือ่ ใช้สอื่ เป็นส่วนประกอบทีเ่ หมาะสมกับการน�ำเสนอทัง้ บน สื่อจัดเก็บในคอมพิวเตอร์และบนเครือข่าย การใช้โปรแกรมเพื่อสร้าง สื่อดิจิตอลประเภทต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับการใช้งานในธุรกิจต่างๆ จก. 333 การจัดการความเสีย่ งและการเปลีย่ นแปลง (3 หน่วยกิต) MG 333 Risk and Change Management พื้นความรู้: จก. 112 ศึกษา ถึงการพัฒนาระบบป้องกันบริหารความเสี่ยงใน องค์กรที่มีประสิทธิภาพ ศึกษาถึงวิธีการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่าง เป็นระบบ เพื่อให้องค์การมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวเข้ากับการ เปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ

362 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

จก. 411 การ​จัดการ​ธุรกิจอ​ ิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) MG 411 E-Business Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​ระบบ​เครือ​ข่าย องค์​ประกอบ​พื้น​ฐาน โปรแกรม​ ประยุกต์​ต่างๆ ที่​ใช้​ใน​ระบบ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ และ​ประเด็น​ทาง​ กฎหมาย​จริยธรรม​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ความ​ปลอดภัย​ของ​ระบบ​ธุรกิจ​ อิเล็กทรอนิกส์​ รวม​ทั้ง​วางแผน​กลยุทธ์​ด้าน​การ​ตลาด​ของ​ระบบ​เครือ​ ข่าย ตลอด​จน​การ​บริหาร​งาน​ด้าน​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ นับ​ตั้ง​แต่​การ​ วางแผน การ​จัด​องค์การ การ​สั่ง​การ และ​การ​ควบคุม​งาน​ใน​ระดับ​ ปฏิบัติ​การ จก. 412 การจัดการคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต (3 หน่วยกิต) MG 412 Quality and Productivity Management พื้นความรู้: จก. 112 และ บธ. 207 ศึกษา ถึงความเป็นมาของการบริหารคุณภาพ แนวคิด และปรัช ญาการบริหารคุณภาพในแบบต่างๆ เครื่องมือเทคนิคใน การบริหารงานคุณภาพ ช่องทางในการบริหารคุณภาพภายในองค์กร ศึกษาแน วทางในการเพิ่มผลิตให้กับองค์กร เทคนิคการเพิ่มผลผลิต ระบบการ ผลิตเพื่อลดความสูญเปล่าในการท�ำงาน การลดความสูญ เสียในก ารท�ำงาน ตลอดจนการการบูรณาการแนวคิด ปรัชญาการ บริหารคุณภาพและการเพิ่มผลิตในการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร


จก. 413 การ​วิเคราะห์เ​ชิง​ปริมาณ​ทางการ​จัดการ (3 หน่วยกิต) MG 413 Quantitative Analysis for Management พื้น​ความ​รู้: จก. 212 ศึกษา​ถึง​แนวคิด​และ​ทฤษฎี​ของ​การ​วิจัย​การ​ดำ�เนิน​งาน​ เพื่อ​ใช้​ประกอบ​การ​ตัดสิน​ใจ​ทางการ​บริหาร​และ​การ​ดำ�เนิน​งาน​ของ​ องค์กร โดย​เน้น​ศึกษา​เรื่อง​เกี่ยว​กับ​การ​ตัดสิน​ใจ​ใน​สถานการณ์​ที่​ ไม่​แน่นอน การ​วางแผน​และ​ควบคุม​สินค้า​คงคลัง การ​ประยุกต์ ​ใช้​ โปรแกรม​เส้นต​ รง​เพือ่ ก​ าร​ตดั สินใ​จ การ​วางแผน​การ​ขนส่ง การ​บริหาร​ เครือข​ า่ ย​และ​โครงการ รวม​ตลอด​ถงึ ก​ าร​วเิ คราะห์จ​ ำ�นวน​ชอ่ ง​ให้บ​ ริการ​ ที่​เหมาะ​สม​กับ​ปริมาณ​ลูกค้า โดย​มี​การนำ�​เอา​โปรแกรม​สำ�เร็จรูป​มา​ ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​เรียนการ​สอน จก. 414 การ​จัดการ​ห่วง​โซ่​อุปทาน​และ​โลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) MG 414 Supply Chain and Logistics Management พื้น​ความ​รู้: จก. 212 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ และ​กระบวนการ​ใน​ การ​บริหาร​ห่วง​โซ่​อุปทาน และ​การ​จัด​ส่งโดย​เริ่ม​จาก​ธุรกิจ​ต้นทาง​ จนถึง​ธุรกิจป​ ลาย​ทาง รวม​ทั้ง​ศึกษา​ถึง​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​ไหล​เวียน​ ของ​ขอ้ มูลการ​จดั ส​ ง่ แ​ ละ​การ​ไหล​เวียน​ของ​เงิน อันจ​ ะ​เป็นป​ ระโยชน์ต​ อ่ ​ การ​สร้าง​ความ​ได้​เปรียบ​ใน​การ​แข่ง​ขัน การบริการ​ลูกค้า​และ​การ​เพิ่ม​ คุณค่า​ให้​กับ​ธุรกิจ จก. 415 สถานการณ์​ปัจจุบัน (3 หน่วยกิต) ทางการ​จัดการ​ธุรกิจ​สมัย​ใหม่ MG 415 Current Issues in Modern Business Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​และ​วิเคราะห์​ประเด็น​และ​เหตุการณ์​ต่าง ๆ ที่​เกิด​ ขึ้น​ใน​การ​บริหาร​งาน​ใน​ปัจจุบัน อัน​จะ​ส่งผล​ต่อ​การ​วางแผน การ​จัด​ องค์การ การ​ติดต่อ​สื่อสาร การ​จัดค​ น​เข้าท​ ำ�งาน การ​เป็น​ผู้นำ� และ​ การ​ควบคุมการ​ดำ�เนิน​งาน นอกจาก​นี้ ยัง​มี​การนำ�​เอา​แนวคิด​และ​

เทคนิค​การ​จัดการ​สมัย​ใหม่​เข้า​มา​ประยุกต์ ​ใช้​ใน​การดำ�เนิน​งาน​เพื่อ​ ให้การ​บริหาร​งาน​เกิด​ประสิทธิภาพ​สูงสุด สอดคล้อง​กับ​สภาวการณ์​ การ​เปลี่ยนแปลงทางการ​บริหาร​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​ปัจจุบัน จก. 416 การ​วิเคราะห์​การ​ลงทุนท​ าง​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 416 Business Investment Analysis พื้น​ความ​รู้: จก. 112 และ กง. 212 ศึกษา​ถึง​หลัก​การ​เบื้อง​ต้น​ใน​การ​ลงทุน การ​วิเคราะห์​ ความ​เป็น​ไป​ได้​ทาง​ด้าน​การ​ลงทุน โดยพิจารณา​ถึง​ปัจจัย​ภายใน​และ​ ปัจจัย​ภายนอก​ที่​มี​ผล​กระทบ​ต่อ​การ​ลงทุน​ใน​ธุรกิจ ตลอด​จน​ประเมิน​ ถึงประสิทธิภาพ​การ​ใช้​ทรัพยากร การ​จัดหา​และ​จัดสรร​แหล่ง​เงิน​ทุน ความ​เสี่ยง​ภัย​และ​ผล​ตอบแทน​ที่​ได้​รับจาก​การ​ลงทุน โดย​ใช้​วิธี​การ​ ศึกษา​ทั้ง​ทาง​ทฤษฎี​และ​การ​ออก​ภาค​สนาม อัน​จะ​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​ การ​วางแผน​และ​ตัดสิน​ใจ​ทาง​ธุรกิจ จก. 417 การ​ประยุกต์ใ​ช้​ซอฟต์แวร์​ใน​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 417 Software Applications in Business พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถงึ ค​ วาม​สำ�คัญแ​ ละ​บทบาท​ของ​การนำ�​ซอฟต์แวร์ม​ า​ ใช้ใ​น​การ​เพิม่ ป​ ระสิทธิภาพ​ใน​การ​ดำ�เนินธ​ รุ กิจ ใน​ดา้ น​การ​วางแผน การ​ บริหาร​งาน​และ​การ​ควบคุม โดย​เน้นถ​ งึ ก​ าร​ศกึ ษา​โครงสร้าง​และ​วธิ ก​ี าร​ ใช้​ซอฟต์แวร์​สำ�เร็จรูป​ทาง​ธรุ กิจ​ทน​ี่ ยิ ม​ใน​ปจั จุบนั ส​ ำ�หรับ​เครือ่ ง​ไมโคร​ คอมพิวเตอร์ เช่น ซอฟต์แวร์ส​ ำ�เร็จรูปเ​กีย่ ว​กบั ร​ ะบบ​การ​จดั ซ​ อื้ ระบบ​ สินค้า​คงคลัง ระบบ​การ​จัดการ​วัตถุดิบ เป็นต้น

หลักสูตรปริญญาตรี 363


จก. 418 ประสบการณ์​ทาง​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 418 Business Experience พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถงึ ข​ อ้ เ​ท็จจ​ ริงเ​กีย่ ว​กบั ส​ ภาพ​แวดล้อม​ของ​ธรุ กิจ และ​ กลยุทธ์ก​ าร​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ต่าง ๆ โดยเรียน​รู้​จาก​การ​ดู​งาน​จริง หรือ​ใช้​ กรณีศ​ กึ ษา​จริง ซึง่ จ​ ะ​มก​ี าร​เชิญผ​ ป​ู้ ระกอบ​กจิ การ​เป็นว​ ทิ ยากร​ผทู้ รง​คณ ุ ​ วุฒิ นัก​ศึกษา​จะ​ได้​รับ​มอบ​หมาย​ให้จ​ ัด​ทำ�​โครงการ​หรือ​รายงาน เพื่อ​ นำ�​เสนอ​และ​อภิปรายร่วม​กัน​ใน​ชั้น​เรียน

จก. 423 ระบบ​สาร​สนเทศ​เพื่อ​การ​บริหาร (3 หน่วยกิต) MG 423 Management Intormation Systems พื้น​ความ​รู้: จก. 112 และ ศท. 112 ศึกษา​ถึง​แนวคิด ทฤษฎี หลัก​การ ความ​หมาย บทบาท​ ของ​ระบบ​สาร​สนเทศ องค์ป​ ระกอบการ​พฒ ั นา การนำ�​ระบบ​สาร​สนเทศ​ มา​ใช้​ นอกจาก​นยี้ งั ศ​ กึ ษา​ถงึ ก​ าร​จดั การ​เชิงกล​ยทุ ธ์ใ​น​การนำ�​ระบบสาร​ สนเทศ​มา​ประยุกต์ใ​ช้ใ​น​องค์กร จรรยา​บรรณ​ใน​การ​ใช้ร​ะบบ​สาร​สนเทศ​ รวม​ตลอด​ถึง​แนว​โน้ม​และทิศทาง​ของ​ระบบ​สาร​สนเทศ​ใน​อนาคต

จก. 421 สัมมนา​ทางการ​จัดการ​ธุรกิจ​สมัย​ใหม่ (3 หน่วยกิต) MG 421 Seminar in Modern Business Management พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับ อย่าง​น้อย 2 วิชา ศึกษา​และ​วิเคราะห์​ปัญหา​ที่​เกิด​ขึ้น​ทาง​ด้าน​การ​จัดการ เพื่อ​เสนอ​แนวคิดใ​น​การ​แก้ไข​ปัญหา​และส่งเ​สริมใ​ห้เ​ป็น​ไป​ใน​แนวทาง​ ที่​วาง​ไว้ นัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​ทำ�การ​อภิปราย ทำ�​รายงาน​และ​แสดง​ความ​ คิดเ​ห็นใน​ปญั หา​ของ​การ​จดั การ​โดย​การ​ใช้ก​ รณีศ​ กึ ษา รวม​ถงึ ก​ าร​เชือ่ ม​ โยง​สถานการณ์​ปัจจุบัน​เข้า​กับห​ ัวข้อ​ทางด้าน​การ​จัดการ

จก. 424 การ​จัดการ​เชิงกล​ยุทธ์แ​ ละ​นโยบาย​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 424 Strategic Management and Business Policy พื้น​ความ​รู้: จก. 112 จก. 212 ตล. 212 กง. 212 และ อม. 212 : จก. 212 ตล. 212 กง. 212 และ บม. 201 (สำ�หรับนักศึกษาคณะบัญชีรนุ่ ทีเ่ ข้าศึกษาตัง้ แต่ปี 2554) ศึกษา​ถึง​ทฤษฎี หลัก​การ กระบวนการ​วางแผน​กลยุทธ์ เพือ่ ส​ ร้าง​ความ​ได้เ​ปรียบ​ทางการ​แข่งข​ นั การ​วเิ คราะห์ส​ ภาวะ​แวดล้อม​ ทัง้ ภ​ ายใน​และ​ภายนอก​องค์การ​ทส​ี่ ง่ ผ​ ล​ตอ่ ก​ าร​กำ�หนด​กลยุทธ์ โดย​เน้น​ การนำ�​กรณี​ศึกษา​มา​ใช้​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​วางแผน​นโยบาย​ธุรกิจ​ใน​ องค์กร​ทั้ง​ทาง​ด้าน​การ​ตลาด การ​เงิน การ​ผลิต การ​จัดการ และ​การ​ บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์

จก. 422 จริยธรรม​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 422 Business Ethics พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​ของ​จริยธรรม ความ​สำ�คัญ​ของ​ จริยธรรม การนำ�​จริยธรรม​มา​ประกอบ​การ​ตัดสิน​ใจ​ทาง​ด้าน​ธุรกิจ ตลอด​จน​ศึกษา​กรณีศ​ ึกษา​ต่าง ๆ ใน​แง่​มุมข​ อง​จริยธรรม เพื่อ​นำ�​ไป​ ประยุกต์ใ​ช้​ใน​การ​ดำ�เนิน​งาน​ดา้ น​ธรุ กิจ และ​เพือ่ ​เป็น​ประโยชน์ใ​น​ชวี ติ ​ ประจำ�​วัน​ที่​สอดคล้อง​กับส​ ังคม​และ​วัฒนธรรมที่​เป็น​อยู่

364 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

จก. 425 การ​ศึกษา​เฉพาะ​บุคคล (3 หน่วยกิต) MG 425 Independent Study พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ค้นคว้า​และ​รวบรวม​ข้อมูล​ด้าน​การ​จัดการ​เชิงกล-​ ยุทธ์ใ​น​เรือ่ ง​ใด​เรือ่ ง​หนึง่ ท​ ม​ี่ ค​ี วาม​สำ�คัญเป็นร​าย​บคุ คล โดย​นกั ศ​ กึ ษา​จะ​ ต้อง​กำ�หนด​หวั ข้อร​ ายงาน​หรือง​ าน​วจิ ยั และ​จดั ท​ ำ�​รายงาน​ดว้ ย​ตนเอง​ อย่างละเอียด และ​นำ�แสดง​ผล​งาน​วิจัยห​ รือร​ ายงาน​ทเี่​สร็จส​ มบูรณ์ต​ ่อ​ อาจารย์ผ​ ส​ู้ อน โดย​อาจารย์ผ​ ส​ู้ อน​จะ​เป็นผ​ กู้ ำ�กับด​ แู ล​ให้ค​ ำ�​แนะนำ�​เกีย่ ว​ กับ​การ​ทำ�​รายงาน​แก่​นัก​ศึกษา


จก. 426 การ​วิเคราะห์แ​ ละ​การ​พยากรณ์​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) MG 426 Business Forecasting and Analysis พื้น​ความ​รู้: บธ. 207 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ประเภท และ​ขอบเขต​ของ​การ​ วิเคราะห์​และ​การ​พยากรณ์​ธุรกิจ เทคนิคแ​ ละ​เครื่อง​มือ​ต่าง ๆ สำ�หรับ​ การ​วิเคราะห์​ธุรกิจ ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​การ​วิเคราะห์​ธุรกิจ​และ​การ​ พยากรณ์ธุรกิจ การ​เก็บ​รวบรวม​ข้อมูล เทคนิคแ​ ละ​เครื่อง​มือ​ต่าง ๆ สำ�หรับ​การ​พยากรณ์ การ​ประเมินค​ ุณภาพ​ของเครื่อง​มือ และ​การนำ�​ ผล​การ​พยากรณ์​ธุรกิจไ​ป​ใช้​ใน​การ​ตัดสินใ​จ​ทาง​ธุรกิจ จก. 427 การ​จัดการ​โครงการ (3 หน่วยกิต) MG 427 Project Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ตล. 212 กง. 212 และ อม. 212 หรือ ได้​รับอ​ นุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย หลัก​การ และ​ขอบเขต​ของ​การ​ บริหาร​โครงการ รวม​ถึง​โอกาส​หน้าที่​ของ​ผู้​บริหาร​โครงการ โดย​เน้น​ ให้​เกิด​ความ​รู้ ความ​เข้าใจ​ใน​การ​สร้าง​และ​แสวงหา​โอกาส​ใน​การ​ สร้าง​โครงการ​ใหม่ ๆ และ​สามารถ​วิเคราะห์ป​ ัญหา​อุปสรรค​ใน​การ​ทำ�​ โครงการ ตลอด​จน​การ​ประเมินค​ วาม​เป็น​ไป​ได้​ของ​โครงการ และ​เน้น​ ให้​ผู้​เรียน​ได้​ประยุกต์​ใช้​โปรแกรม​สำ�เร็จรูป จก. 428 สัมมนาหัวข้อพิเศษสาขาวิชาการจัดการ (3 หน่วยกิต) ธุรกิจสมัยใหม่ MG 428 Seminar in Selected Topics for Modern Business Management พื้นความรู้: วิชาเอก-บังคับอย่างน้อย 2 วิชา ศึกษา และวิเคราะห์หัวข้อที่น่าสนใจที่ถูกคัดเฉพาะ และ เป็นประ โยชน์ทางด้านการจัดการ นักศึกษาจะต้องท�ำการอภิปราย ท�ำรายงาน และแสดงความคิดเห็น โดยการใช้กรณีศึกษา รวมถึงการ เชื่อมโยงสถานการณ์ปัจจุบันเข้ากับหัวข้อทางด้านการจัดการ

จก. 430 สห​กิจ​ศึกษา (9 หน่วยกิต) MG 430 Co-operative Education พื้น​ความ​รู้: สศ. 301 และวิชา​เอก-บังคับ​อย่าง​น้อย 3 วิชา หรือ ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ระบบ​การ​ทำ�งาน​จริง​ใน​สถาน​ประกอบ​การ​ธุรกิจ​ ใน​ฐานะ​พนัก​งาน​ของ​สถาน​ประกอบ​การเพื่อ​เสริม​สร้าง​ให้​นัก​ศึกษา​ มี​ความ​พร้อม​ด้วย​งาน​อาชีพ​จาก​การ​ปฏิบัติ​งาน​พื้น​ฐาน​อย่าง​มี​หลัก​ การ​และ​เป็น​ระบบ นัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​มี​ชั่วโมง​การ​ทำ�งาน​อย่าง​เต็ม​เวลา​ รวม​แล้วไ​ม่​น้อย​กว่า 16 สัปดาห์ หรือ 1 ภาค​การ​ศึกษา รวม​ถึงม​ ี​การ​ ประเมินผ​ ล​การ​ทำ�งาน​จาก​อาจารย์ท​ ป​ี่ รึกษา​รว่ ม​กบั ส​ ถาน​ประกอบ​การ​ ธุรกิจแ​ ละ​นกั ศ​ กึ ษา​ตอ้ ง​จดั ท​ ำ�​รายงาน​สรุปผ​ ล​การ​ทำ�งาน​เมือ่ ส​ นิ้ ส​ ดุ ก​ าร​ ทำ�งาน​จาก​สถาน​ประกอบ​การ จก. 440 เกมหมากล้อม (โกะ) : (3 หน่วยกิต) การพัฒนาทักษะการคิดเชิงกลยุทธ์ MG 440 Go: The Strategic Thinking Skill ศึกษาถึงกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน การคิดและวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่ มุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทักษะการคิดเชิงกลยุทธ์แบบเป็นเหตุเป็น ผล ตลอดจนการพัฒนาการคิดเพื่อค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหา การ ศึกษาจะเ น้นรูปแบบการเรียนรู้จากเกมหมากล้อม โดยให้นักศึกษา ได้ทดลองฝึกปฏิบัติและฝึกเล่นจริง

หลักสูตรปริญญาตรี 365


หมวด​วิชา​การ​จัดการทรัพยากร​มนุษย์ อม. 201 การจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ (3 หน่วยกิต) OH 201 Organization and Human Resource Management ศึกษากระบวนการจัดการองค์การทางด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การมอบหมายงาน การประสานงานและ การควบคุมประเมินผลงาน การบริหารสภาพแวดล้อมภายในองค์การ กระบวนการในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ตั้งแต่การสรรหา การคัด เลือก การพัฒนา การธำ�รงรักษาตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัติ งาน นอกจากนี้เนื้อหาของรายวิชายังครอบคลุมถึงการพัฒนาการ ปฏิบตั งิ านของบุคลากรในด้านการทำ�งานเป็นทีม การมีสว่ นร่วม การ มอบหมายอำ�นาจหน้าที่และการยอมรับการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ บุคลากรสามารถทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในด้านการปฏิบัติ งาน การตัดสินใจและการแก้ปัญหา อม. 212 การ​จัดการ​ทรัพยากร​มนุษย์ (3 หน่วยกิต) OH 212 Human Resource Management ศึกษา​ถึง​บทบาท​หน้าที่​และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​ฝ่าย​ บริหาร​ทรัพยากร​บุคคล​ใน​องค์การ​ต่าง ๆ ด้าน​การ​ออกแบบ​และ​ วิเคราะห์​งาน การ​วางแผน​กำ�ลัง​คน การ​สรรหา​และ​คัด​เลือก​บุคลากร การ​ฝึก​อบรมและ​การ​พัฒนา​ทรัพยากร​บุคคล การ​ประเมิน​ผล​การ​ ปฏิบตั ง​ิ าน การ​บริหาร​คา่ ต​ อบแทน​และ​สวัสดิการ การ​แรงงานสัมพันธ์ ความ​ปลอดภัยแ​ ละ​สขุ ภาพ ตลอด​ถงึ ร​ะบบ​สาร​สนเทศ​และ​การ​วจิ ยั ด​ า้ น​ การ​บริหารทรัพยากร​บุคคล

366 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อม. 311 การ​วางแผน​ทรัพยากร​มนุษย์​เชิงกล​ยุทธ์ (3 หน่วยกิต) OH 311 Strategic Human Resource Planning พื้น​ความ​รู้: อม. 212 ศึกษา​เกี่ยว​กับ​กระบวนการ​การ​วางแผน​และ​นโยบาย​การ​ บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์​ของ​องค์การ ใน​ด้าน​การ​วางแผน​กำ�ลัง​คน​ทั้ง​ ใน​ระยะ​สั้น​และ​ระยะ​ยาว การ​สรรหา​และ​คัด​เลือก​เพื่อ​ให้​ได้​บุคลากร​ที่ สอดคล้อง​กับ​ความ​ต้องการ​ของ​องค์การ รวม​ถึง​การ​สำ�รวจ​วิเคราะห์​ ความ​รู้​ความ​สามารถ​ของ​ตัว​บุคลากรที่​มี​อยู่​ใน​ปัจจุบัน​เพื่อ​วางแผน​ พัฒนา​ความ​รู้ ความ​สามารถ และ​ทักษะ​ของ​บุคลากร​ให้​สอดคล้อง​ กับ​แผนกลยุทธ์​ของ​องค์การ และ​ศึกษา​ถึง​วิธี​การ​ธำ�รง​รักษา​บุคลากร​ ที่​มี​คุณภาพ​ของ​องค์การ อม. 312 พฤติกรรม​องค์การ (3 หน่วยกิต) OH 312 Organization Behavior พื้น​ความ​รู้: จก. 112 หรือ​ได้​รับอ​ นุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ถึง​พฤติกรรม บุคคล กลุ่ม และ​องค์การ ความ​รู้​ ทาง​ดา้ น​จติ วิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา รวม​ถงึ ก​ าร​ตดิ ต่อ​สอื่ สาร การ​จูงใจ ภาวะ​ผู้นำ� การ​ตัดสิน​ใจ การ​เปลี่ยนแปลง​และ​ความ​ขัด​แย้ง​ ใน​องค์การ ทัง้ นี้ เพือ่ ใ​ห้​เกิดค​ วาม​เข้าใจ​พฤติกรรม​ของ​คน​ทท​ี่ ำ�งาน​ใน​ องค์การ​รว่ ม​กนั และ​การ​บริหาร​งาน​มท​ี งั้ ประสิทธิผล​และ​ประสิทธิภาพ อม. 313 เทคนิค​การ​สร้าง​แรง​จูงใจ (3 หน่วยกิต) OH 313 Motivation Techniques พื้น​ความ​รู้: จก. 112 และ อม. 212 ศึกษา​ถึง​บทบาท สถานภาพ​ของ​การ​จูงใจ​ใน​หน่วย​งาน​ หรือ​องค์การ ความ​หมาย​ของ​การ​จูงใจ ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​จูงใจ แนวคิด​และ​ทฤษฎี​เกี่ยว​กับ​แรง​จูงใจ ทฤษฎี​แรง​จูงใจ​ทั้ง​ที่​เป็น​ตัว​เงิน​ และ​ไม่​เป็นตัว​เงิน ปัจจัย​ที่​ก่อ​ให้​เกิด​แรง​จูงใจ​ใน​การ​ทำ�งาน แนว​ ความ​คดิ เ​กีย่ ว​กบั เ​รือ่ ง​เงินเ​ดือน ตลอด​จน​การนำ�​หลักก​ าร​จงู ใจ​ไป​ปรับ​ ประยุกต์​ใช้​ให้​เหมาะ​สม​เพื่อ​เพิ่ม​ผลผลิต​ของ​องค์การ


อม. 315 การ​บริหาร​องค์การ​อุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) OH 315 Industrial Organization Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​แนวคิด วิธี​การ​บริหาร​องค์การ​ใน​เชิง​อุตสาหกรรม โดย​พิจารณา​ถึง โครงสร้าง วัตถุดิบ รวม​ถึง​ปัจจัยภ​ ายใน​ที่​เป็น​ปัจจัย​ นำ�​เข้า​ของ​องค์การ ตลอด​จน​สภาพ​แวดล้อม​ภายนอก องค์ป​ ระกอบ​ ทางกายภาพ​และ​เทคนิคว​ ิธี​การ​จัดการ​เชิง​ปริมาณ​ต่าง ๆ อาทิ การ​ วางแผน​และ​การ​บริหาร​ความ​เสี่ยง การ​ควบคุม​คุณภาพ​ใน​การ​ผลิต​ ของ​องค์การ​ให้​ได้​มาตรฐาน​และ​มี​ประสิทธิภาพ​สูงสุด อม. 316 จิตวิทยา​องค์กร (3 หน่วยกิต) OH 316 Organizational Psychology พื้น​ความ​รู้: ศท. 111 และ อม. 312 ศึกษา​ถึง​ลักษณะ​ทาง​จิตวิทยา​ของ​บุคคล กลุ่ม และ​ องค์การ​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​บรรยากาศ​และ​วัฒนธรรม​องค์การ ความ​ ต้องการ​และ​ความ​แตก​ตา่ ง​ระหว่าง​บคุ คล ชนิดข​ อง​กลุม่ แ​ ละ​พฤติกรรม​ กลุ่ม องค์​ประกอบ​ที่​มี​อิทธิพล​ต่อ​ประสิทธิภาพ​ของ​องค์การ การ​ใช้​ ภาวะ​ผู้นำ� การ​สร้าง​มนุษยสัมพันธ์​ใน​การทำ�งาน การ​สร้าง​ขวัญ​และ​ ความ​พึง​พอใจ​ใน​การ​ทำ�งาน การ​บริหาร​ความ​ขัด​แย้ง​และ​ความ​ร่วม​ มือ การ​ออกแบบ​งาน​และ​สภาพ​แวดล้อม​ใน​การ​ทำ�งาน ตลอด​จน​การ​ จัดการ​กบั ค​ วาม​กดดัน ความ​เหนือ่ ย​ลา้ อุบตั เิ หตุแ​ ละ​ความ​ไม่ป​ ลอดภัย​ ต่าง ๆ ใน​ที่​ทำ�งาน อม. 321 การ​พัฒนา​ทรัพยากร​มนุษย์ (3 หน่วยกิต) OH 321 Human Resource Development พื้น​ความ​รู้: อม. 212 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ ประเภท ตลอด​จน​ วิธี​การ​ต่าง ๆ ที่​องค์การ​ใช้​ใน​การ​พัฒนา​ความ​รู้​ความ​สามารถ​ของ​ บุคลากร เช่น การ​ฝึก​อบรม การ​พัฒนา​ผู้​บริหาร การ​พัฒนา​อาชีพ​ ใน​สาย​งานการ​ทำ�งาน​เป็น​ทีม และ​องค์การ​แห่ง​การ​เรียน​รู้ เพื่อ​ให้​

บุคลากร​ปฏิบัติ​งาน​ใน​หน้าที่​ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ มี​ศักยภาพ​ที่​จะ​ เรียน​รู้​และ​รับ​ผิด​ชอบ​งาน​ที่​สูง​ขึ้น​ได้​ใน​อนาคต มี​โลก​ทัศน์​ใหม่ ๆ ใน​ การพัฒนา​งาน​และ​องค์การ ตลอด​จน​สามารถ​ปรับ​ตัว​เข้า​กับ​สภาพ​ แวดล้อม​ของ​การ​ทำ�งาน​ที่​เปลี่ยนแปลง​ไป​ได้​เป็น​อย่าง​ดี ส่ง​ผล​ต่อ​ ความ​สำ�เร็จ​และ​ความ​เจริญ​ก้าวหน้า​ของ​บุคคล​และ​องค์การ อม. 322 ทฤษฎี​และ​การ​ออกแบบ​องค์การ (3 หน่วยกิต) OH 322 Organization Theory and Design พื้น​ความ​รู้: จก. 112 หรือ​ได้​รับอ​ นุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ถึง​แนว​ความ​คิด ทฤษฎี​องค์การ องค์​ประกอบ​ของ​ องค์การ โครงสร้าง​องค์การ การ​จัด​แผนก​งาน อำ�นาจ​หน้าที่ การ​ ออกแบบ​งาน การ​ออกแบบ​องค์การ และ​ศึกษา​ถึง​ความ​สัมพันธ์ข​ อง​ โครงสร้าง​ของ​องค์การ​กับ​การ​ทำ�งาน​ของ​บุคคล​ใน​องค์การ ซึ่งถ​ ูก​นำ�​ มา​ใช้​ใน​การ​ออกแบบ​องค์การ เพื่อ​ให้​สอดคล้อง​กับ​สภาพ​แวดล้อม​ และ​ทัน​ต่อ​การ​เปลี่ยนแปลง อม. 323 การจัดการผล​งาน​และ​ค่า​ตอบแทน (3 หน่วยกิต) OH 323 Compensation and Performance Management พื้น​ความ​รู้: อม. 212 ศึกษา​ถึง​กระบวนการ​ใน​การ​กำ�หนด​มาตรฐาน​และ​เป้า​ หมาย​ของ​ผล​งาน​ให้​สอดคล้อง​กับ​นโยบายและ​กลยุทธ์​ธุรกิจ​ของ​ องค์การ วิธี​การ​ประเมิน​ผล​งาน​ของ​บุคลากร การ​ให้​ความ​ดี​ความ​ ชอบ การ​ปรับปรุงผล​งาน​ใน​อนาคต รวม​ทงั้ ศ​ กึ ษา​ถงึ ค​ วาม​หมาย หลัก​ การ โครงสร้าง​ หลัก​เกณฑ์​และ​วิธี​การ​จ่าย​ค่า​ตอบแทน โดย​อาศัย​การ​ ประเมิน​ค่า​งาน ​ปัจจัย​ด้าน​สภาพ​แวดล้อม​ทั้ง​ภายใน​และ​ภายนอก​ องค์การ​ที่​มี​ผล​กระทบ​ต่อ​การ​กำ�หนด​ค่า​ตอบแทน ตลอด​จน​เทคนิค​ การ​บริหาร​ค่า​จ้าง​เงิน​เดือน​และ​ผล​ประโยชน์​เกื้อกูล​รูป​แบบต่าง ๆ

หลักสูตรปริญญาตรี 367


อม. 325 การ​พัฒนา​บุคลิกภาพ (3 หน่วยกิต) OH 325 Personality Development ศึกษา​เกี่ยว​กับ​บุคลิกภาพ​ภายใน​และ​ภายนอก ศึกษา​ถึง​ วิธี​การ​ปรับปรุง​บุคลิกภาพ​ใน​ด้าน​การแต่ง​กาย​ให้​เหมาะ​สม การ​แต่ง​ กาย​ของ​สภุ าพ​บรุ ษุ และ​สภุ าพ​สตรี การ​บำ�รุงร​ กั ษา​สขุ ภาพ การ​วางตัว การ​ปรากฏ​ตวั ต​ อ่ ท​ ช​ี่ มุ ชน การ​พฒ ั นา​ลกั ษณะ​นสิ ยั ส​ ว่ น​ตวั ศึกษา​เกีย่ ว​ กับม​ นุษยสัมพันธ์ มารยาท​ไทย​และมารยาท​ใน​การ​สมา​คม การ​ฝกึ พ​ ดู ​ ใน​รปู แ​ บบ​ตา่ ง ๆ บุคลิกภาพ​ของ​การ​เป็นผ​ นู้ ำ� บุคลิกภาพ​ใน​การสมัคร​ งาน มารยาท​ใน​การ​ประชุม ตลอด​จน​วัฒนธรรม​และ​ประเพณีไ​ทย อม. 326 การจัดการทรัพยากร​มนุษย์ร​ะหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) OH 326 International Human Resource Management ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​บริหาร​ ทรัพยากร​มนุษย์​ระหว่าง​ประเทศ ความ​แตก​ต่าง​ของ​การ​บริหาร​ ทรัพยากร​มนุษย์ภ​ ายใน​ประเทศ​กบั ก​ าร​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์ร​ะหว่าง​ ประเทศ โดย​จะ​เน้น​ถึง​กระบวนการ​สรรหา​และ​การ​คัด​เลือก การ​ ประเมิน​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน การ​จูงใจ การ​ฝึก​อบรมแรงงานสัมพันธ์​ และ​การ​จัด​สวัสดิการ​สำ�หรับก​ าร​ดำ�เนิน​ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ อม. 327 ระบบ​ขอ้ มูล​ขา่ ว​สาร​เพือ่ ก​ าร​บริหาร​องค์การ (3 หน่วยกิต) และ​ทรัพยากร​มนุษย์ OH 327 Organization and Human Resource Information Systems พื้น​ความ​รู้: อม. 212 อม. 312 และ ศท. 112 ศึกษา​ถึง​การ​ประยุกต์ ​ใช้​ระบบ​เทคโนโลยี​สาร​สนเทศ​เพื่อ​ การ​บริหาร​องค์การ และ​การ​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์​ซึ่ง​จะ​ช่วย​ให้​ผู้​ ทำ�​หน้าที่​บริหาร​สามารถ​บริหาร​งาน​ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ โดย​การ ศึกษา​วิชา​นี้​เป็นการ​ศึกษา​การ​บริหาร​จัดการ​องค์กร​ใน​ภาพ​รวม​แล้ว​ อธิบาย​ถงึ ค​ วาม​สำ�คัญข​ อง​การ​บริหารทรัพยากร​มนุษย์ใ​น​องค์การ โดย​ จะ​ชี้​ให้​เห็น​ถึง​ประโยชน์​และ​ความ​จำ�เป็น​ของ​การ​ใช้​ระบบ​เทคโนโลยี 368 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สารสนเทศ​ใน​กระบวนการ​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์​ของ​องค์การ​ตั้ง​แต่​ การ​รับ​สมัคร​งาน​จนถึง​การ​ออก​จากองค์การ เช่น การ​รับ​สมัคร​งาน ฐาน​ข้อมูล​พนัก​งาน การ​จ่าย​ค่า​จ้าง​เงิน​เดือน เป็นต้น อม. 411 การ​พัฒนา​องค์การ​และ​การ​เปลี่ยนแปลง (3 หน่วยกิต) OH 411 Organization Development and Change พื้น​ความ​รู้: จก. 112 หรือ​ได้​รับ​อนุมัตจิ​ าก​คณบดี ศึกษา​เกี่ยว​กับ​ความ​หมาย และ​แนวคิด​ทฤษฎี​ของ​การ​ พัฒนา​องค์การ ความ​สำ�คัญ​ของ​กระบวนการ​พัฒนา​องค์การ ตัวแปร​ เชิง​พฤติกรรม​ที่​สำ�คัญ​ใน​การ​พัฒนา​องค์การ ผู้นำ�​การ​เปลี่ยนแปลง​ กับ​การ​พัฒนา​องค์การ การ​ต่อ​ต้าน​การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​องค์การ การ​ บริหาร​ความ​ขัด​แย้ง​ใน​การ​พัฒนา​องค์การ และ​การ​ประเมิน​ผล​การ​ พัฒนา​องค์การ​ เพือ่ ช​ ว่ ย​ให้อ​ งค์การ​สามารถ​ปรับเ​ปลีย่ น​รปู แ​ บบ​เทคนิค​ การ​พัฒนาองค์การ​ให้​มี​ความ​สอดคล้อง​กับ​สภาพ​แวดล้อม​ที่​มี​การ​ เปลี่ยนแปลง อม. 412 การจัดการแรงงานสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) OH 412 Labor Relation Management พื้น​ความ​รู้: อม. 212 ศึ ก ษา​ถึ ง ​ป รั ช ญา​ข อง​ไ ตรภาคี ทวิ ภาคี ประวั ติ การ​ ก่อ​ตั้ง​สหภาพแรงงาน​สากล​และ​ใน​ประเทศ แนวทาง​การ​ก่อ​ตั้ง​ สหภาพแรงงาน การ​กำ�หนด​ข้อ​บังคับ​สภาพ​การ​จ้าง​งาน ข้อ​ขัด​แย้ง​ ระหว่าง​นายจ้าง​กบั ลูกจ้าง กระบวนการ​เจรจา​ตอ่ ร​อง กฎหมาย​แรงงาน​ เกี่ยว​กับ​การ​นัด​หยุด​งาน การ​จัด​ทำ�​ข้อ​ตกลง​ร่วม​กัน และ​ผล​บังคับ​ ของ​ข้อ​ตกลง​ร่วม​กัน​ ทั้งนี้​ โดย​การ​เน้น​ให้​เห็น​ถึง​ปัญหา​แรงงาน​ใน ​ ประเทศ​ไทย


อม. 414 การ​บริหาร​องค์การ​ข้าม​ชาติ (3 หน่วยกิต) OH 414 Multinational Organization Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​หลัก​และ​แนว​ความ​คิด​เกี่ยว​กับ​การ​จัด​องค์การ​ ระหว่าง​ประเทศ การ​ดำ�เนิน​การ​บริหาร​งาน​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ ประเทศ ระเบียบ​บริหาร​และ​ขอ้ บ​ งั คับข​ อง​องค์การ การ​กำ�หนด​นโยบาย การ​จัดการ​ภายใน​องค์การ บทบาท​ของ​หน่วย​งาน​ที่​ปรึกษา​องค์การ แนวทาง​การ​พัฒนา​องค์การ​ระหว่างประเทศ การ​ทำ�​โครงการ​ต่าง ๆ การ​จดั สรร​งบ​ประมาณ การ​บริหาร​งาน​บคุ คล​ใน​องค์การ เอก​สทิ ธิแ​ ละ ความ​คุ้ม​กัน​ปัญหา​ด้าน​การ​บริหาร​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ การ​แก้​ ปัญหา​และ​การ​ปรับ​ตัว​เข้า​สู่​สภาพแวดล้อม ด้าน​กฎหมาย เศรษฐกิจ รวม​ทั้ง​การ​ศึกษา​ถึงว​ ัฒนธรรม​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ อม. 415 สถานการณ์​ปจั จุบนั ท​ างการ​บริหาร​องค์การ (3 หน่วยกิต) และ​ทรัพยากร​มนุษย์ OH 415 Current Issues in Organization and Human Resource Management พื้น​ความ​รู้: อม. 212 และ อม. 312 ศึกษา​หวั ข้อข​ า่ ว​สาร​และ​เทคนิคก​ าร​ทำ�งาน​ใหม่ ๆ ทางการ​ บริหาร​องค์การ​และ​การ​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์​ที่​น่า​สนใจ​ใน​ปัจจุบัน พัฒนาการ​ทางการ​บริหาร​องค์การ​และ​ทรัพยากร​มนุษย์ท​ ี่​สำ�คัญ เพื่อ​ วิเคราะห์​หา​ปัญหา​และ​แนวทาง​แก้ไข​ปัญหา โดย​นำ�​ความ​รู้​ทางการ​ บริหาร​องค์การ​และ​การ​บริหารทรัพยากร​มนุษย์ม​ า​ประยุกต์ใ​ช้เ​พือ่ ก​ าร​ ศึกษา​ค้นคว้า​เพิ่ม​เติม​ใน​อนาคต อม. 416 จริยธรรม​ใน​การ​บริหาร​องค์การ (3 หน่วยกิต) และ​ทรัพยากร​มนุษย์ OH 416 Ethics in Organization and Human Resource Management พื้น​ความ​รู้: อม. 212 อม. 312 และ ศท. 111 ศึกษา​ถึง​จริยธรรม จรรยา​บรรณ​ของ​บุคคล​ใน​องค์การ การนำ�​จริยธรรม​มาบ​ริ​หาร​องค์การ​และ​ประกอบ​การ​ตัดสิน​ใจ​ใน​การ​

ดำ�เนิน​งาน​ด้าน​ธุรกิจ​และ​ด้าน​การ​บริหาร​องค์การ​และ​ทรัพยากร​ มนุษย์ รวม​ถึง​การนำ�​หลัก​ศาสนา​มา​ประยุกต์ ​ใช้​ใน​การ​บริหาร​งาน เพือ่ ใ​ห้บ​ คุ คล​ใน​องค์การ​ได้ต​ ระหนักถ​ งึ ความ​รบั ผ​ ดิ ช​ อบ​ทม​ี่ ต​ี อ่ อ​ งค์การ เศรษฐกิจ สังคม ​และ​ประเทศ​โดย​รวม อม. 417 ทักษะ​สำ�หรับ​นัก​ธุรกิจมืออาชีพ (3 หน่วยกิต) OH 417 Business Professional Skills ศึกษา​และ​ฝึกฝน​ทักษะ​ด้าน​ต่าง ๆ ที่​จำ�เป็น​ต่อ​การ​เสริม​ สร้าง​บุคลิกภาพ​ของ​ความ​เป็น​นัก​ธุรกิจมือ​อาชีพ ได้แก่ การ​พูด​ใน​ ที่​ชุมชน การนำ�​เสนอ​ผล​งาน การ​ติดต่อ​สื่อสาร​ทาง​ธุรกิจ​ใน​รูป​แบบ​ ของ​การ​พูด การ​ฟัง การ​อ่าน และ​การ​เขียน เทคนิค​การ​ประชุม​อย่าง​ มี​ประสิทธิภาพ การ​พัฒนา​บุคลิกภาพ มารยาท​ทางสังคม ตลอด​จน​ คุณ​ธรรม​และ​จรรยา​บรรณ​ของ​นัก​ธุรกิจ อม. 421 สัมมนา​ทางการ​บริหาร​องค์การ (3 หน่วยกิต) และ​ทรัพยากร​มนุษย์ OH 421 Seminar in Organization and Human Resource Management พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับ อย่าง​น้อย 2 วิชา อภิปราย​และ​วิเคราะห์​ถึง​การ​จัดการ​องค์การ หลัก​ใน​การ​ จัดการ​สมัย​ใหม่ การ​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์​ภายใน​องค์การ การ​ ประยุกต์แ​ นว​ความ​คิด​ทฤษฎีม​ า​ใช้​ใน​การ​ปรับปรุงพ​ ัฒนา​องค์การ​และ​ ทรัพยากร​มนุษย์ โดย​ศึกษา​จาก​กรณี​ศึกษา​ต่าง ๆ ที่​เกี่ยวข้อง รวม​ถึง​ การ​เชิญ​ผทู้ รง​คณ ุ ว​ ฒ ุ ​ภิ ายนอก​ท​มี่ ปี ระสบการณ์​และ​ความ​เชีย่ วชาญ​ท​ี่ หลาก​หลาย​ใน​แต่ละ​หัวข้อ​มา​บรรยาย​ พร้อม​ทั้ง​แลก​เปลี่ยน​ความ​คิด​ เห็น​และ​ประสบการณ์​กับ​ผู้​เรียน นอกจาก​นี้​ผู้​ศึกษา​จะ​ต้อง​วิเคราะห์​ พร้อม​ทั้ง​อภิปราย​ปัญหา​ต่าง ๆ และ​ทำ�​รายงาน​เกี่ยว​กับ​ปัญหา​การ​ บริหาร​องค์การ และ​ทรัพยากร​มนุษย์​เพื่อ​นำ�​เสนอ​ใน​ชั้น​เรียน

หลักสูตรปริญญาตรี 369


อม. 422 กลยุทธ์​การ​จัดการองค์การ (3 หน่วยกิต) และ​ทรัพยากร​มนุษย์ OH 422 Strategies in Organization and Human Resource Management พื้น​ความ​รู้: อม. 212 และ อม. 312 ศึกษา​ถงึ ก​ ลยุทธ์ต​ า่ ง ๆ ทาง​ดา้ น​การ​บริหาร​องค์การ ได้แก่ การ​วางแผน​การ​จดั อ​ งค์การ การ​วางแผน​การ​จดั ร​ปู ง​าน ภาวะ​ผนู้ ำ� แรง​ จูงใจ และ​การ​ควบคุม รวม​ถึง​กลยุทธ์​ต่าง ๆ ใน​การ​บริหาร​ทรัพยากร​ มนุษย์ภ​ ายใน​องค์การ ได้แก่ การ​วางแผน​กำ�ลังค​ น การ​สรรหา การ​คดั ​ เลือก การ​ฝกึ อ​ บรม การ​พฒ ั นา​บคุ ลากร การ​ประเมินผ​ ล​การ​ปฏิบตั ง​ิ าน ระบบ​ค่า​จ้าง​เงิน​เดือน​และ​สวัสดิการ แรงงานสัมพันธ์ ความ​ปลอดภัย และ​สุขภาพ​ของ​พนัก​งาน​ใน​การ​ทำ�งาน โดย​มี​วัตถุประสงค์​เพื่อ​ให้​ผู้​ ศึกษา​มี​ความ​เข้าใจ และ​สามารถ​ตัดสิน​ใจ​เลือก​ใช้​กลยุทธ์​ต่าง ๆ ใน​ การ​บริหาร​งาน​ให้ม​ ค​ี วาม​สอดคล้อง​กบั ส​ ภาพ​แวดล้อมทีอ​่ งค์การ​เผชิญ​ อยู่ อม. 423 การ​วิจัยท​ างการ​จัดการ​องค์การ (3 หน่วยกิต) และ​ทรัพยากร​มนุษย์ OH 423 Research in Organization and Human Resource Management พื้น​ความ​รู้: อม. 212 อม. 312 และ บธ. 207 ศึกษา​ถึง​วัตถุประสงค์ รูปแ​ บบ และ​กระบวนการ​วิจัยอ​ ัน​ ประกอบ​ดว้ ย การ​สมุ่ ต​ วั อย่าง เทคนิคต​ า่ ง ๆ ใน​การ​เก็บร​ วบรวม​ขอ้ มูล การ​ประมวล​ผล และ​การ​วิเคราะห์ข​ ้อมูล รวม​ถึง​การ​เลือก​แบบ​วิธี​การ วิจยั ใ​ห้เ​หมาะ​สม​กบั เ​หตุการณ์ต​ า่ ง ๆ เพือ่ น​ ำ�​ผล​การ​วจิ ยั ม​ า​ชว่ ย​ใน​การ​ ตัดสินใ​จ​วางแผน​การ​ดำ�เนินง​าน​ดา้ น​การ​บริหาร​องค์การ​และ​ทรัพยากร​ มนุษย์

370 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อม. 425 การ​ศึกษา​เฉพาะ​บุคคล (3 หน่วยกิต) OH 425 Independent Study พื้น​ความ​รู้: อม. 212 และ อม. 312 ศึกษา​ค้นคว้า​และ​รวบรวม​ข้อมูล​ด้าน​การ​บริหาร​องค์การ​ และ​ทรัพยากร​มนุษย์ ​ใน​เรื่อง​ใด​เรื่อง​หนึ่ง​ที่​มี​ความ​สำ�คัญ​เป็น​ราย​ บุคคล โดย​นัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​กำ�หนด​หัวข้อร​ ายงาน​หรือง​ าน​วิจัย และ​ จัด​ทำ�​รายงาน​ด้วย​ตนเอง​อย่าง​ละเอียด และ​นำ�​เสนอ​ผล​งาน​วิจัย​หรือ​ รายงาน​ที่​เสร็จ​สมบูรณ์​ต่อ​อาจารย์​ผู้​สอน โดย​อาจารย์​ผู้​สอน​จะ​เป็น​ผู้​ กำ�กับ​ดูแล​ให้​คำ�​แนะนำ�​เกี่ยว​กับ​การ​ทำ�​รายงาน​แก่​นัก​ศึกษา อม. 426 กฎหมาย​แรงงาน (3 หน่วยกิต) OH 426 Labor Law ศึกษา​ลักษณะ​ของ​กฎหมาย​แรงงาน ประวัติ​และ​ความ​ เป็น​มา​ของ​กฎหมาย​แรงงาน หลัก​สำ�คัญ​ของ​กฎหมาย​แรงงาน​ของ​ ไทย​ว่า​ด้วย​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​นายจ้าง​และ​ลูกจ้าง การ​คุ้มครอง​ แรงงาน การ​แรงงานสัมพันธ์ การ​ระงับ​ข้อ​พิพาท​แรงงาน ตลอด​จน​ การ​พิจารณา​คดี​ที่​เกี่ยว​กับ​แรงงาน อม. 427 การ​ฝึกงาน​ด้าน​การ​บริหาร​องค์การ (3 หน่วยกิต) และ​ทรัพยากร​มนุษย์ OH 427 Organization and Human Resource Management Internship พื้น​ความ​รู้: อม. 212 และ อม. 312 ศึกษา​ถงึ ​วธิ ​กี าร​ปฏิบตั ง​ิ าน​จริง​ใน​ดา้ น​การ​บริหาร​องค์การ​ และ​ทรัพยากร​มนุษย์ โดย​ให้​นัก​ศึกษาเข้า​ฝึกงาน​ใน​องค์การ​หรือ​ หน่วย​งาน​ภายนอก​ใน​ส่วน​งาน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​บริหาร​องค์การ​และ​ ทรัพยากร​มนุษย์​โดยตรง เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​นำ�​ความ​รู้​ใน​เชิง​วิชา​การ​ ด้าน​การ​บริหาร​องค์การ​และ​ทรัพยากร​มนุษย์​มา​ประยุกต์ ​ใช้​ใน​การ​ ปฏิบตั ง​ิ าน​จริงใ​น​องค์การ ซึง่ น​ กั ศ​ กึ ษา​จะ​ตอ้ ง​ทำ�​รายงาน​ประกอบ​การ​ ฝึกงาน นำ�​เสนอ​อาจารย์ผ​ ู้​สอน โดย​อาจารย์ผ​ ู้​สอน​จะ​ทำ�การ​ประเมิน​ ผล​การ​ฝึกงาน​ของ​นัก​ศึกษา​ร่วม​กับ​หน่วย​งาน​ภายนอก


หมวด​วิชา​การ​จัดการ​ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ ธป. 321 การ​จัดการ​ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 321 International Business Management พื้น​ความ​รู้: จก. 112 ศึกษา​ถึง​แนวคิด​และ​วิธี​การ​การ​จัดการ​ธุรกิจ​ระหว่าง​ ประเทศ การ​วิเคราะห์​สภาพ​แวดล้อม​ในการ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ระหว่าง​ ประเทศ โดย​เน้น​การ​จัดอ​ งค์การ การ​ตลาด การ​เงิน และ​การ​บริหาร ทรัพยากร​มนุษย์ส​ ำ�หรับธ​ ุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ ปัญหา​และ​ข้อ​จำ�กัดใ​น​ การ​ทำ�​ธุรกิจท​ ั้ง​ใน​ด้าน​นโยบายการ​ค้า และ​นโยบาย​ภาษี​ต่าง ๆ ธป. 322 การ​จัดการ​การ​เงินร​ ะหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 322 International Financial Management พื้น​ความ​รู้: กง. 212 และ ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​บริหาร​การ​ เงิน​ระหว่าง​ประเทศ ระบบ​อัตรา​แลก​เปลี่ยน และ​ตลาด​เงิน​ระหว่าง​ ประเทศ ปัจจัยต​ ่าง ๆ ที่​มผี​ ล​กระทบ​ต่อ​การ​กำ�หนด​อัตรา​แลก​เปลี่ยน ศึกษา​วธิ ก​ี าร​บริหาร​ความ​เสีย่ ง​ดา้ น​อตั รา​แลก​เปลีย่ น​ของ​ธรุ กิจ กลยุทธ์​ และ​เครื่อง​มือ​ป้องกัน​ความ​เสี่ยงจาก​อัตรา​แลก​เปลี่ยน เรียน​รู้​หลัก​ เกณฑ์​การ​ระดม​ทุน​ของ​บริษัท​ข้าม​ชาติ​จาก​ตลาด​ทุนร​ ะหว่าง​ประเทศ ธป. 323 กลยุทธ์ท​ างการ​ตลาด​ระหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 323 International Marketing Strategies พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​ดำ�เนิน​งาน​ ทางการ​ตลาด​ระหว่าง​ประเทศ บทบาทของ​สภาพ​แวดล้อม​ท​แี่ ตก​ตา่ ง​ ทาง​ดา้ น​วฒ ั นธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และ​กฎหมาย ทีส​่ ง่ ผ​ ล​ให้ธ​ รุ กิจ​ ต้องปรับก​ ลยุทธ์ก​ าร​แบ่งส​ ่วน​ตลาด การ​กำ�หนด​กลุ่ม​เป้า​หมาย การ​ กำ�หนด​กลยุทธ์​ระหว่าง​ประเทศ​ทาง​ด้านผลิตภัณฑ์ ราคา การ​เข้า​สู่​ ตลาด ช่อง​ทางการ​จัดจ​ ำ�หน่าย​และ​การ​ส่ง​เสริมก​ าร​ตลาด รวม​ไป​ถึง​ การ​วิจัย​ตลาด​ระหว่าง​ประเทศ

ธป. 324 การ​จัดการ​องค์การ​ต่าง​วัฒนธรรม (3 หน่วยกิต) IB 324 Cross Cultural Organization Management พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ และ​ทฤษฎี​ใน​การ​ บริหาร​องค์การ​ที่​มี​ความ​แตก​ต่าง​กัน​ใน​ด้านวัฒนธรรม ความ​เชื่อ ความ​คิด และ​ทัศนคติ​ของ​ผู้​บริหาร​และ​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา ตลอด​จน​ เทคนิค​การ​จัดการ​องค์การ​ที่​อยู่​ใน​สภาพ​แวดล้อม​ทาง​ด้าน​วัฒนธรรม​ ที่​แตก​ต่าง​กัน ธป. 325 ประสบการณ์ธ​ ุรกิจต​ ่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 325 Global Business Experience พื้น​ความ​รู้: จก. 112 และ ธป. 321 ศึ ก ษา​ถึ ง ​ส ภาพ​แ วดล้ อ ม​ท าง​ธุ ร กิ จ ​ร ะหว่ า ง​ป ระเทศ เศรษฐกิจ​การเมือง สังคม วัฒนธรรม​ข้าม​ชาติและ​กลุยทธ์​การ​ดำ�เนิน​ ธุรกิจ​ใน​ต่าง​ประเทศ โดย​เรียน​รู้​จาก​ประสบการณ์​จริง โดย​การ​ศึกษา​ และ​ดู​งานใน​ต่าง​ประเทศ หรือ​ใช้​กรณี​ศึกษา​จริง​ของ​บริษัท​ที่​ดำ�เนิน​ ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ​ได้​ฟัง​บรรยาย​จาก​วิทยากร​ผู้ทรง​คุณ​วุฒิ​ที่​มี​ ประสบการณ์​ตรง​ นัก​ศึกษา​จะ​ได้​รับ​มอบ​หมาย​ให้​ทำ�​โครงการ​หรือ​ รายงาน​ตาม​หัวข้อ​ที่​สอดคล้อง​กับ​ธุรกิจท​ ี่​ศึกษา ธป. 421 เศรษฐศาสตร์แ​ ละ​นโยบาย​การ​ค้า (3 หน่วยกิต) ระหว่าง​ประเทศ IB 421 International Economics and Trade Polices ศึ ก ษา​ถึ ง ​แ นวคิ ด ​แ ละ​ท ฤษฎี ​การ​ค้ า ​ร ะหว่ า ง​ป ระเทศ นโยบาย​การ​เงิน​ระหว่าง​ประเทศ ดุลการค้า ดุลการชำ�ระเงิน ระบบ​ ภาษี กลไก​ระบบ​อตั รา​แลก​เปลีย่ น​ระหว่าง​ประเทศ การ​รวม​ตวั ท​ าง​ดา้ น​ เศรษฐกิจของ​กลุม่ ป​ ระเทศ​ตา่ ง ๆ ใน​โลก บทบาท​และ​ความ​สำ�คัญข​ อง​ สถาบัน​การ​เงินร​ ะหว่าง​ประเทศ

หลักสูตรปริญญาตรี 371


ธป. 422 การ​วิจัยธ​ ุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 422 International Business Research พื้น​ความ​รู้: บธ. 207 และ ธป. 321 ศึกษา​ถึง​แนวคิด บทบาท และ​ขั้น​ตอน​การ​ทำ�​วิจัยส​ ำ�หรับ​ ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ ผล​กระทบ​ของ​สภาพ​แวดล้อม​ที่​แตก​ต่าง​ใน​ แต่ละ​ประเทศ​ทม​ี่ ต​ี อ่ ก​ าร​วจิ ยั โดย​เน้นก​ าร​กำ�หนด​ปญั หา วัตถุประสงค์​ การออกแบบ​งาน​วจิ ยั แ​ ละ​เครือ่ ง​มอื ใ​น​การ​วจิ ยั ท​ ี่ใ​ช้ใ​น​การ​เก็บร​ วบรวม​ ข้อมูล การ​วิเคราะห์​และ​แปล​ผล​การ​วิจัย เพื่อ​เป็น​ประโยชน์ ​ใน​การ​ ตัดสิน​ใจ​ทาง​ธุรกิจ ธป. 423 สัมมนา​ทางการ​จัดการ​ธุรกิจระหว่าง​เทศ (3 หน่วยกิต) IB 423 Seminar in International Business Management พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับอ​ ย่าง​น้อย 2 วิชา ศึกษา​ถึง​ประเด็นแ​ ละ​ปัญหา​ต่าง ๆ ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​ปัจจุบัน​ที่​ มีผ​ ล​ต่อก​ าร​จัดการ​ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ โดย​มุ่งเ​น้นท​ ั้งป​ ัญหา​ใน​ด้าน​ การ​วางแผน​การ​ตลาด การ​จดั การ​องค์การ การ​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์ การ​จัดการ​ทางการ​เงิน ข้อ​บังคับ​ทาง​กฎหมาย​ทั้ง​ใน​และ​ต่าง​ประเทศ​ ตลอด​จน​การ​กีดกัน​ทางการ​ค้านัก​ศึกษา​ต้อง​นำ�​ความ​รู้​จาก​วิชา​ที่​เคย​ ศึกษา​มา​ประยุกต์ใ​น​การ​แก้ไข​ปญั หา​ทาง​ธรุ กิจซ​ ง่ึ อ​ ยูใ​่ น​รปู ข​ องกรณีศ​ กึ ษา ธป. 424 พฤติกรรม​ผู้​บริโภค​ใน​ตลาด​ต่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 424 Consumer Behavior in Global Market พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​ของ​พฤติกรรม​ผู้​บริโภค ตระหนัก​ใน​ บทบาท​ของ​สภาพ​แวดล้อม​ทาง​ด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย และ​สภาพ​แวดล้อม​ทางการ​ตลาด​อนื่ ๆ ทีส​่ ง่ ผ​ ล​ให้เ​กิดค​ วาม แตก​ต่าง​ของ​พฤติกรรม​ผู้​บริโภค​ใน​ด้าน​การ​เรียน​รู้ การ​รับร​ ู้ ทัศนคติ ความ​เชื่อ และ​พฤติกรรม​การ​ซื้อสินค้า รวม​ทั้ง​ศึกษา​ลักษณะ​เฉพาะ​ ของ​พฤติกรรม​ผบ​ู้ ริโภค​กลุม่ ต​ า่ งๆ ทัว่ โ​ลก​ทม​ี่ ผ​ี ล​ตอ่ ก​ าร​แบ่งส​ ว่ น​ตลาด​ การ​กำ�หนด​กลุม่ เ​ป้าห​ มาย การ​วาง​ตำ�แหน่งท​ างการ​ตลาด และ​กลยุทธ์​ ทางการ​ตลาด 372 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ธป. 425 การ​จัดการ​ผลิตภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) และ​ราคา​ระหว่าง​ประเทศ IB 425 International Product and Price Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย บทบาท และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​ นโยบาย​ผลิตภัณฑ์​และ​ราคา​ระหว่าง​ประเทศการ​ออกแบบ​ผลิตภัณฑ์ การ​บริหาร ตราสิน​ค้า บรรจุ​ภัณฑ์ และ​ฉลาก​ให้​เหมาะ​สม​กับ​ความ​ ต้องการ​ของลูกค้า​ต่าง​ประเทศ วงจร​ชีวิต​ผลิตภัณฑ์​ต่าง​ประเทศ ขั้น​ ตอน​การ​พฒ ั นา​ผลิตภัณฑ์ใ​หม่ ปัญหา​การ​ละเมิดลิขสิทธิแ​์ ละ​การ​ลอก​ เลียน​แบบ​ผลิตภัณฑ์​ใน​ประเทศ​ที่​กำ�ลัง​พัฒนา นอกจาก​นี้​ยัง​ศึกษา​ถึง​ นโยบาย​และเทคนิคใ​น​การ​ตงั้ ร​ าคา​ผลิตภัณฑ์ภ​ าย​ใต้ข​ อ้ จ​ ำ�กัดท​ าง​ดา้ น​ การเมือง กฎหมาย สภาพ​เศรษฐกิจ และ​วัฒนธรรม​ของ​ต่าง​ประเทศ ธป. 426 การ​จัดการ​ห่วง​โซ่อ​ ุปทาน (3 หน่วยกิต) และ​โลจิสติกส์ร​ ะหว่าง​ประเทศ IB 426 International Supply Chain and Logistics Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย บทบาท และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​ บริหาร​ห่วง​โซ่​อุปทาน​และ​การ​จัด​ส่งระหว่าง​ประเทศ การ​ออกแบบ การ​ควบคุมแ​ ละ​ขอ้ จ​ ำ�กัดข​ อง​ระบบ​หว่ ง​โซ่อ​ ปุ ทาน​และ​การ​จดั ส​ ง่ ใ​นต่าง​ ประเทศ การ​พยากรณ์​และ​การ​บริหาร​คำ�​สั่งซ​ ื้อ การ​ขนส่ง การ​บริหาร​ สินค้า​คงคลัง คลัง​สินค้า การ​บรรจุ​ภัณฑ์ การ​จัดการ​วัสดุ ตลอด​จน​ งาน​บริการ​อื่น ๆ ที่​สนับสนุน​การ​จัด​ส่ง​ระหว่าง​ประเทศ


ธป. 427 การ​จัดการ​ส่ง​เสริม​การ​ตลาด (3 หน่วยกิต) ระหว่าง​ประเทศ IB 427 International Promotion Management พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษา​ถงึ ค​ วาม​หมาย บทบาท และ​ความ​สำ�คัญข​ อง​การ​สง่ ​ เสริมก​ าร​ตลาด​สำ�หรับธ​ ุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ การ​วางแผน การ​จัดการ และ​การ​ออกแบบ​สว่ น​ประสม​การ​สง่ เ​สริมก​ าร​ตลาด​อนั ป​ ระกอบ​ไป​ดว้ ย​ การ​โฆษณา การ​ประชาสัมพันธ์ การ​ส่ง​เสริมก​ าร​ขาย การ​ขาย​โดย​ใช้​ พนัก​งาน​ขาย และ​การ​ตลาดทาง​ตรง ให้​สอดคล้อง​กบั ​ผู้​บริโภค​ภาย​ใต้​ ข้อ​จำ�กัด​ทาง​ด้าน​วัฒนธรรม การเมือง กฎหมาย​และ​ปัญหา​อื่น ๆ ที่​ ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ​จะ​ตอ้ ง​เผชิญใ​น​การ​บริหาร​การ​สง่ เ​สริมก​ าร​ตลาด​ ใน​ประเทศ​ต่าง ๆ ธป. 428 กลยุทธ์ช​ ่อง​ทางการ​จัด​จำ�หน่าย (3 หน่วยกิต) ระหว่าง​ประเทศ IB 428 International Distribution Strategies พื้น​ความ​รู้: ตล. 212 และ ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ทฤษฎี กลยุทธ์ ข้อดี​และ​ข้อ​เสีย​ของ​วิธี​การ​เข้า​ สู่​ตลาด​ต่าง​ประเทศ​ใน​แต่ละ​ประเภท ได้แก่ การ​ส่ง​ออก การ​ลงทุน​ ทาง​ตรง การ​ร่วม​ทุน การ​ใช้​ตัวแทน​จำ�หน่าย​และ​บริษัทก​ าร​ค้า ธุรกิจ​ สิทธิ​บัตร​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ แฟ​รน​ไชส์ สัญญา​จ้าง​ผลิต การ​เป็น​ พันธมิตร​ทาง​ธรุ กิจ รวม​ไป​ถงึ ก​ าร​ศกึ ษาบทบาท​และ​หน้าทีข​่ อง​องค์กร​ ทีเ​่ กีย่ วข้อง​กบั ก​ าร​บริหาร​ชอ่ ง​ทางการ​จดั จ​ ำ�หน่าย​ระหว่าง​ประเทศ ขัน้ ​ ตอนการ​บริหาร​ช่อง​ทางการ​จัด​จำ�หน่าย ตั้ง​แต่​การ​กำ�หนด​ทาง​เลือก​ ที่​เป็น​ไป​ได้ การ​ประเมิน​ทาง​เลือก การ​จูงใจ การ​จัดการ​ความ​ขัด​แย้ง​ และ​การ​ประเมินป​ ระสิทธิภาพ​ของ​ช่อง​ทางการ​จัด​จำ�หน่าย

ธป. 429 การ​บัญชี​และ​ภาษี​ระหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 429 International Accounting and Taxation พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​ถงึ ร​ ะบบ​มาตรฐาน​ทาง​บญั ชีข​ อง​ตา่ ง​ประเทศ กฎ​ขอ้ ​ บังคับ​และ​วิธี​การ​ทำ�​บัญชี​สำ�หรับ​ธุรกิจระหว่าง​ประเทศ การ​จัด​ทำ�​งบ​ การ​เงิน​รวม อิทธิพล​ของ​อัตรา​เงินเฟ้อ อัตรา​แลก​เปลี่ยน และ​อัตรา​ ภาษี ระหว่าง​ประเทศ​ตอ่ ก​ าร​จดั ท​ ำ�​รายงาน​ผล​การ​ดำ�เนินง​าน​และ​ฐานะ​ ทางการ​เงิน ธป. 430 การ​จัดการ​ทรัพยากร​มนุษย์ (3 หน่วยกิต) ระหว่าง​ประเทศ IB 430 International Human Resource Management พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​บริหาร​ ทรัพยากร​มนุษย์​ระหว่าง​ประเทศ ความ​แตก​ต่าง​ของ​การ​บริหาร​ ทรัพยากร​มนุษย์ภ​ ายใน​ประเทศ​กบั ก​ าร​บริหาร​ทรัพยากร​มนุษย์ร​ะหว่าง​ ประเทศ โดย​จะ​เน้น​ถึง​กระบวนการ​สรรหา​และ​การ​คัด​เลือก การ​ ประเมิน​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน การ​จูงใจ การ​ฝึก​อบรม แรงงานสัมพันธ์​ และ​การ​จัด​สวัสดิการ​สำ�หรับ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ ธป. 431 กฎหมาย​เกี่ยว​กับ​ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 431 Legal Issues in International Business พื้น​ความ​รู้: กม. 102 และ ธป. 321 ศึกษา​กฎหมาย ข้อบ​ งั คับ ทีต​่ อ้ ง​ปฏิบตั ใิ​น​การ​ดำ�เนินธ​ รุ กิจ​ ระหว่าง​ประเทศ​โดย​เป็น​กฎหมาย ข้อ​บังคับ ข้อ​ตกลง และ​กรอบ​การ​ ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ของ​องค์กร​การ​ค้า​โลก (WTO) กฎหมาย​เกี่ยว​กับ​การ​ ลงทุนระหว่าง​ประเทศ เช่น วิเทศ​ธน​กิจ​ทางการ​เงิน​ระหว่าง​ประเทศ การ​ประกัน​ภัย​สินค้า​และ​การ​บังคับ​ตามสัญญา​ทางการ​ค้า​ระหว่าง​ ประเทศ การ​คุ้มครอง​ทรัพย์​สินท​ าง​ปัญญา เป็นต้น หลักสูตรปริญญาตรี 373


ธป. 432 ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) ใน​กลุ่มป​ ระเทศ​เอเชีย​แป​ซิฟิค IB 432 International Business in Asia-Pacific Countries พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​ถึง​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ใน​กลุ่ม​ประเทศ​เอเชีย​แป​ซิฟิค โดย​เน้น​ถึง​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สภาพแวดล้อม​และ​สถานการณ์​ทาง​ ธุรกิจใ​น​ปจั จุบนั ท​ ม​ี่ ผ​ี ล​ตอ่ ก​ าร​ดำ�เนินธ​ รุ กิจร​ ะหว่าง​ประเทศ โอกาส​และ อุปสรรค​ทพ​ี่ บ​ใน​แต่ละ​ประเทศ​ใน​แถบ​เอเชียแ​ ป​ซฟิ คิ ตลอด​จน​แนวทาง​ แก้ไข​ปัญหา​ดัง​กล่าว การ​ศึกษาจะ​เน้น​การ​เรียน​รู้​จาก​กรณี​ศึกษา ธป. 433 ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) ใน​กลุ่มป​ ระเทศ​ยุโรป IB 433 International Business in European Countries พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​ถึง​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ใน​กลุ่ม​ประเทศ​ยุโรป โดย​เน้น​ ถึง​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สภาพ​แวดล้อม​และ​สถานการณ์​ทาง​ธุรกิจ​ใน​ ปัจจุบนั ท​ ม​ี่ ผ​ี ล​ตอ่ ก​ าร​ดำ�เนินธ​ รุ กิจร​ะหว่าง​ประเทศ โอกาส​และ​อปุ สรรค​ ที่พบ​ใน​แต่ละ​ประเทศ​ใน​ยุโรป ตลอด​จน​แนวทาง​แก้ไข​ปัญหา​ดัง​กล่าว การ​ศึกษา​จะ​เน้นก​ าร​เรียน​รู้​จาก​กรณีศ​ ึกษา ธป. 434 ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) ใน​กลุ่มป​ ระเทศ​ลา​ติ​นอ​เม​ริกา IB 434 International Business in Latin American Countries พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​ถึง​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ใน​กลุ่ม​ประเทศ​ลา​ติ​นอ​เม​ริกา โดย​เน้น​ถึง​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สภาพ​แวดล้อม​และ​สถานการณ์​ทาง​ ธุรกิจ​ใน​ปัจจุบัน​ที่​มี​ผล​ต่อ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ โอกาส​ และ​อปุ สรรค​ทพ​ี่ บ​ใน​แต่ละ​ประเทศ​ใน​ลา​ตน​ิ อ​เม​รกิ า ตลอด​จน​แนวทาง​ แก้ไข​ปัญหา​ดัง​กล่าว การ​ศึกษา​จะ​เน้น​การ​เรียน​รู้​จาก​กรณี​ศึกษา 374 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ธป. 435 การ​จัดการ​กลยุทธ์ร​ ะหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 435 International Strategic Management พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึ ก ษา​เกี่ ย ว​กั บ ​ก าร​กำ�หนด​วิ สั ย ​ทั ศ น์ ภารกิ จ ​ธุ ร กิ จ วัตถุประสงค์​และ​เป้า​หมาย สำ�หรับ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ การ​ประเมิน​สถานการณ์​และ​สิ่ง​แวดล้อม การ​วางแผน การ​กำ�หนด​ นโยบาย​และกลยุทธ์​ต่าง ๆ เกี่ยว​กับ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ ใน​ด้าน​การ​ตลาด การ​บริหาร​องค์การ​และ​ทรัพยากร​มนุษย์ การ​เงิน และ​การ​ผลิต รวม​ทงั้ ก​ าร​ควบคุมใ​ห้เ​ป็นไ​ป​ตาม​แผน​และ​เปา้ ห​ มาย​ทาง​ ธุรกิจ โดย​นัก​ศึกษา​จะ​ต้อง​สามารถ​ประยุกต์​ใช้​ทฤษฎี​ที่​ได้​ศึกษา​มา​ใช้​ กับ​กรณี​ศึกษา ธป. 436 การ​จัดการ​กลุ่ม​หลัก​ทรัพย์ ​ (3 หน่วยกิต) และ​การ​ลงทุนระหว่าง​ประเทศ IB 436 International Investment and Portfolio Management พื้น​ความ​รู้: กง. 212 และ ธป. 321 ศึกษา​ถึง​โครงสร้าง บทบาท​และ​การ​ดำ�เนิน​งาน​ของ​ ตลาดหลักทรัพย์​ภายใน​ประเทศ​และ​ต่าง​ประเทศ โดย​เฉพาะ​ประเทศ​ ที่​พัฒนา​แล้ว​และ​ประเทศ​ที่​เกิด​ใหม่ (Emerging Countries) ตลอด​ จนเทคนิค​การ​ประเมิน​และ​การ​วิเคราะห์​หลัก​ทรัพย์ การ​จัดการ​การ​ จัด​กลุ่ม​หลัก​ทรัพย์


ธป. 437 ประเด็นสำ�คัญใน​ปัจจุบัน​ทางการ​จัดการ (3 หน่วยกิต) ​ธุรกิจระหว่าง​ประเทศ IB 437 Current Issues in International Business Management พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​ถึง​ประเด็นแ​ ละ​ข่าว​สาร​ต่าง ๆ ทาง​ด้าน​การ​จัดการ​ ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ​ท​นี่ า่ ​สนใจ​ใน​ปจั จุบนั ตลอด​จน​การ​เปลีย่ นแปลง​ สภาวะ​แวดล้อม​ทาง​ธุรกิจ​ใน​ต่าง​ประเทศ แนวคิด​และ​เทคนิค​การ​ จัดการ​สมัย​ใหม่​เพื่อ​สามารถ​นำ�​มา​ประยุกต์​กับ​ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ​ ให้​สอดคล้อง​กับ​ภาวะ​ปัจจุบัน ธป. 438 การ​ศึกษา​เฉพาะ​บุคคล (3 หน่วยกิต) IB 438 Independent Study พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​คน้ คว้า หรือท​ ำ�​วจิ ยั ใ​น​วชิ า หรือห​ วั ข้อท​ เ​ี่ กีย่ วข้อง​กบั ​ การ​จัดการ​ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ​ในหัวข้อ​ที่​นัก​ศึกษา​สนใจ ภาย​ใต้​คำ�​ ปรึกษา​และ​ดูแล​จาก​อาจารย์ท​ ี่​ปรึกษา​ที่​ได้​รับม​ อบ​หมาย​จาก​ภาค​วิชา ธป. 439 เทคโนโลยีส​ ำ�หรับ​การ​จัดการ​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) ระหว่าง​ประเทศ IB 439 Technology for International Business Management พื้น​ความ​รู้: ธป. 321 ศึกษา​ถงึ ค​ วาม​สำ�คัญแ​ ละ​บทบาท​ของ​เทคโนโลยีท​ ม​ี่ ผ​ี ล​การ​ ดำ�เนินธ​ ุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ โดย​เน้นก​ าร​บริหาร​เทคโนโลยีต​ ั้งแ​ ต่ก​ าร​ แสวงหา​เทคโนโลยี การ​เลือก​การ​ตดั สินใ​จ​ใช้ การ​ประเมิน​ความคุม้ ค​ า่ ​ ทั้ง​ด้าน​ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ท​ ี่​จะ​นำ�​มา​ใช้​ใน​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​ระหว่าง​ ประเทศ ตลอด​จน​การ​ศึกษา​ถึงวิธี​ทำ�การ​ค้า​ด้วย​อิเล็กทรอนิกส์​เพื่อ​ การ​พาณิชย์

ธป. 440 การ​ฝึกงาน​ทาง​ด้าน​ธุรกิจร​ ะหว่าง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 440 International Business Internship พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับ​อย่าง​น้อย 2 วิชา ฝึกป​ ฏิบตั ง​ิ าน​จริงใ​น​ดา้ น​ตา่ ง ๆ ทีเ​่ กีย่ วข้อง​กบั ก​ าร​จดั การ​ ธุรกิจ​ระหว่าง​ประเทศ​ใน​องค์กร​ธุรกิจ​ที่​ได้​รับ​การ​อนุมัติ​จาก​ภาค​วิชา โดย​ฝึกงาน​เป็น​จำ�นวน​ไม่​น้อย​กว่า 200 ชั่วโมง ธป. 441 การ​เสริมส​ ร้าง​ประสบการณ์ต​ า่ ง​ประเทศ (3 หน่วยกิต) IB 441 International Experience Promotion พื้น​ความ​รู้: วิชา​เอก-บังคับ​อย่าง​น้อย 2 วิชา หรือได้รับการอนุมัติ จากคณบดี นักศ​ กึ ษา​จะ​ตอ้ ง​เข้าร​ว่ ม​โครงการ​อบรม​พเิ ศษ​ซงึ่ เ​ป็นค​ วาม​ ร่วม​มือ​ระหว่าง​มหาวิทยาลัย​กรุงเทพ​กับ​มหาวิทยาลัย​ใน​ต่าง​ประเทศ เพื่อเ​ป็นการ​เพิ่มพูนค​ วาม​รู้​และ​ประสบการณ์ท​ าง​ธุรกิจ การ​อบรม​จะ​ ครอบคลุม​เนื้อหา​เกี่ยว​กับ​สภาพ​แวดล้อม​ทาง​เศรษฐกิจ สังคม​และ​ การเมือง รูป​แบบ​และ​การ​ดำ�เนิน​ธุรกิจนัก​ศึกษา​จะ​ได้​รับ​มอบ​หมาย​ ให้​เป็น​ที่​ปรึกษา​ทาง​ธุรกิจ​ให้​กับ​ธุรกิจ​จริง​ใน​ประเทศ​นั้น ดัง​นั้น เมื่อ​ สิ้น​สุดโครงการ​อบรม นักศ​ ึกษา​จะ​ต้อง​จัด​ทำ�​รายงาน​และ​นำ�​เสนอ​ข้อ​ เสนอ​แนะ​ให้​กับ​ธุรกิจ​ดังก​ ล่าว ธป. 442 การเป็นผู้ประกอบการระดับโลก (3 หน่วยกิต) IB 442 Global Entrepreneurship พื้นความรู้: ธป. 321 ศึกษาถึงวิธีการสร้างและพัฒนาธุรกิจของตัวเองให้ก้าวสู่ ตลาดโลก โดยมุง่ เน้นเรือ่ งการเข้าสูต่ ลาดต่างประเทศ การสร้างความ สามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืนให้กับธุรกิจของตัวเอง พร้อมกับ ศึ ก ษาแง่ มุ ม และคุ ณ สมบั ติ ข องการเป็ น ผู้ ป ระกอบการระดั บ โลก กระบวนการของการเป็นผู้ประกอบการระดับโลก การสร้างสรรค์ นวัตกรรมเพื่อธุรกิจ การวิเคราะห์โอกาสทางธุรกิจ จรรยาบรรณทาง ธุรกิจระดับโลก และความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับโลก หลักสูตรปริญญาตรี 375


ธป. 443 การติดต่อสื่อสารและการเจรจา (3 หน่วยกิต) ข้ามวัฒนธรรม IB 443 Cross Cultural Communication and Negotiations พื้นความรู้: ธป. 321 ศึกษาถึงหลักการ กระบวนการ กลยุทธ์ และเทคนิคเกี่ยว กับการติดต่อสื่อสารและการเจรจากับบุคคลที่มาจากต่างวัฒนธรรม นักศึกษาจะได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ด้วยวิธีการบรรยาย อภิปราย กรณีศึกษา การแสดงบทบาทสมมติ การจำ�ลองเหตุการณ์ เป็นต้น ธป. 444 ธุรกิจระหว่างประเทศในกลุ่ม (3 หน่วยกิต) ประเทศตะวันออกกลาง IB 444 International Business in Middle Eastern Countries พื้นความรู้: ธป. 321 ศึกษาถึงการดำ�เนินธุรกิจในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง โดยเน้นถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ทาง ธุรกิจในปัจจุบนั ทีม่ ผี ลต่อการดำ�เนินธุรกิจระหว่างประเทศ โอกาสและ อุปสรรคที่พบในแต่ละประเทศในตะวันออกกลาง ตลอดจนแนวทาง แก้ไขปัญหาดังกล่าว การศึกษาจะเน้นการเรียนรู้จากกรณีศึกษา ธป. 445 ธุรกิจระหว่างประเทศในกลุ่ม (3 หน่วยกิต) ประเทศแอฟริกา IB 445 International Business in African Countries พื้นความรู้: ธป. 321 ศึกษาถึงการดำ�เนินธุรกิจในกลุ่มประเทศแอฟริกา โดย เน้นถึงการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ทางธุรกิจ ในปัจจุบันที่มีผลต่อการดำ�เนินธุรกิจระหว่างประเทศ โอกาสและ อุปสรรคที่พบในแต่ละประเทศในแอฟริกา ตลอดจนแนวทางแก้ไข ปัญหาดังกล่าว การศึกษาจะเน้นการเรียนรู้จากกรณีศึกษา 376 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวด​วิชา​คอมพิวเตอร์​ธุรกิจ คธ. 310 การเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BC 310 Business Application Programming ศึ ก ษาการพั ฒ นาโปรแกรมประยุ ก ต์ ท างธุ ร กิ จ โดยใช้ เทคนิคการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างและเทคนิคการเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุ เทคนิคการออกแบบโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม และ เทคนิคการพัฒนาส่วนต่อประสาน คธ. 321 การ​ใช้​ไมโคร​คอมพิวเตอร์​ใน​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BC 321 Microcomputer Applications in Business ศึ ก ษา​ถึ ง​การนำ�​โปรแกรม​ค อมพิ ว เตอร์ ​ม า​ใช้​ใน​งาน​ ธุรกิจ โดย​เน้น​ถึง​การ​ใช้​โปรแกรม​ใน​การ​ย้าย​แฟ้มข​ ้อมูล การ​คัด​ลอก​ แฟ้ม​ข้อมูล การ​ลบ​แฟ้ม​ข้อมูล การ​ค้น​ห้า​ข้อมูล​ที่​ต้องการ การ​เรียก​ โปรแกรมที่​ต้องการ​มา​ใช้​งาน การ​ใช้​โปรแกรม​สำ�เร็จรูป​กับ​งาน​ด้าน​ การ​พิมพ์ การ​จัด​รูป​แบบ​เอกสาร การ​ทำ�ส​เปร​ด​ชีท การ​พิมพ์​ผลลัพธ์ การ​สร้าง​กราฟ​จาก​ขอ้ มูล การ​ใช้โ​ปรแกรม​สำ�เร็จรูปใ​น​กา​รส​ราง​เว็บไ​ซต์ คธ. 323 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี (3 หน่วยกิต) BC 323 Data Structures and Algorithm พื้นความรู้: สอบได้ คธ. 310 ศึกษาพื้นฐานของประเภทข้อมูลแบบนามธรรม เช่น อาร์เรย์ คิว สแตก และ ต้นไม้ ศึกษาโครงสร้างการควบคุม การ ออกแบบแบบโมดูลาไรเซชัน และใช้ความรู้ดังกล่าวในการออกแบบ โปรแกรม ศึกษาโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธีโดยทั่วไป การเลือก โครงสร้างข้อมูลและขัน้ ตอนวิธที เี่ หมาะสมสำ�หรับแก้ปญั หาทางธุรกิจ


คธ. 324 การ​เขียน​โปรแกรม​ภาษา​โค​บอล (3 หน่วยกิต) BC 324 COBOL Programming พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คธ. 310 ศึกษา​หลัก​เกณฑ์​และ​วิธี​เขียน​คำ�​สั่งต​ ่าง ๆ ใน​ภาษา​โค-​ บอล การ​นิยาม​ชื่อข​ ้อมูล การ​จัดร​ ะเบียบ​ข้อมูล​และ​ชนิด​ข้อมูล การ​ สร้าง​และ​การ​เรียก​ใช้​แฟ้ม​ข้อมูล โปรแกรม​ย่อย การ​เขียน​โปรแกรม​ แบบ​โครงสร้าง การ​แก้ไข​ข้อ​ผิดพ​ ลาด การ​ทดสอบ​และ​แก้ไข​ปรับปรุง​ โปรแกรม คธ. 325 การเขียนและใช้งานโปรแกรมประยุกต์ (3 หน่วยกิต) ทางอินเตอร์เน็ต BC 325 Internet Programming and Applications ศึกษาการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ด้วย การใช้ HTML และ CSS เพื่อเป็นเครื่องมือในการเขียนและออกแบบ เว็บเพจ ศึกษาเทคนิคการออกแบบเว็บเพจให้สวยงามและน่าสนใจ รวมทั้งศึกษาการสร้างโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ โดยใช้ PHP ในการ โปรแกรมด้วยการติดต่อข้อมูลกับผู้ใช้ และการเข้าถึงฐานข้อมูล เพื่อ ให้ได้งานสร้างสรรค์ต่างๆ บนเว็บ คธ. 327 ระบบ​มัล​ติ​มีเดีย​และ​การ​ประยุกต์​ใช้ (3 หน่วยกิต) BC 327 Multimedia System and Applications ศึกษา​ทฤษฎี​เกี่ยว​กับ กราฟิก เสียง และ​ภาพ​เคลื่อนไหว​ เทคนิคเ​กีย่ ว​กบั ก​ าร​ผลิตส​ อื่ ด​ ว้ ย​ระบบ​ดจิ ติ อล กระบวนการ​ใน​การ​ผลิต​ สือ่ ใ​ห้น​ า่ ส​ นใจ โดย​อาศัยร​ะบบ​สอื่ ป​ ระสม​ทท​ี่ นั ส​ มัย การนำ�​สอื่ ผ​ สม เช่น เสียง ไฮเปอร์เ​ท็กซ์ วีดิทัศน์ และ​ภาพ​นิ่ง รวม​ถึง​ภาพ​เคลื่อนไหว​บน​ ระบบ​คอมพิวเตอร์ม​ า​ใช้เ​พือ่ ช​ ว่ ย​สร้าง​งาน​ทาง​ดา้ น​ศลิ ปะ​และ​ทาง​ดา้ น​ การ​ค้า เทคนิค​การนำ�​เสนอ​โดย​ใช้​มัล​ติ​มีเดีย

คธ. 422 ระบบฐานข้อมูล (3 หน่วยกิต) BC 422 Database Systems พื้นความรู้: สอบได้ คธ. 424 ศึกษาโครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การออกแบบ ฐานข้อมูลโดยการประยุกต์ใช้ตัวแบบเอนทิตี้และความสัมพันธ์ การ ปรับข้อมูลให้อยู่ในรูปปกติ การรักษาความปลอดภัย ความคงสภาพ ของข้อมูล การเกิดภาวะพร้อมกัน การฟืน้ คืนสภาพข้อมูล การเขียน โปรแกรมภาษาสืบค้นเชิงโครงสร้าง รวมถึงการศึกษาความหมายและ การใช้งานคลังข้อมูล คธ. 423 การ​วิเคราะห์​และ​ออกแบบ​ระบบ (3 หน่วยกิต) BC 423 Systems Analysis and Design พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คธ. 424 ศึกษา​การ​วิเคราะห์​ระบบ​งาน การ​ออกแบบ​และ​การ​ใช้​ ระบบ​สาร​สนเทศ​สำ�หรับ​หน่วย​งาน วงจร​การ​พัฒนา​ระบบ เครื่อง​มือ​ สำ�หรับ​การ​วิเคราะห์​ระบบ​งาน การ​วิเคราะห์​ปัญหา​และ​การ​กำ�หนด​ วัตถุประสงค์ใ​น​การ​พฒ ั นา​ระบบ​งาน​คอมพิวเตอร์ การ​พจิ ารณา​ความ​ เป็น​ไป​ได้​ใน​การนำ�​ระบบ​คอมพิวเตอร์​มา​ใช้​ใน​การ​จัด​ทำ�​ระบบ​งาน การ​พิจารณา​เลือก​ฮาร์ดแวร์​และ​ซอฟต์แวร์​ที่​เหมาะ​สม การ​เขียน​ข้อ​ กำ�หนด​ราย​ละเอียด​สำ�หรับ​โปรแกรม การ​ออกแบบ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์ การนำ�​ระบบ​ไป​ใช้​งาน​และการ​ประเมิน​ผล​หลังก​ าร​ใช้​งาน คธ. 424 เทคโนโลยีส​ าร​สนเทศทางธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BC 424 Business Information Technology ศึกษา​ถงึ เ​ทคโนโลยีใ​น​ปจั จุบนั การ​ประยุกต์ใ​ช้เ​ทคโนโลยี​ ดัง​กล่าว รวม​ถึง​ระบบ​สาร​สนเทศ​และ​การนำ�​ไป​ใช้​ใน​การ​บริหาร​ สำ�นักงาน​เพื่อ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​ใน​ด้าน​ต่าง ๆ เช่น งาน​ประจำ�​วัน หรือ​การ​วางแผน​งาน​ต่าง ๆ เพื่อ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​ใน​การ​ทำ�งาน​ด้าน​ การ​ติดต่อ​และ​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูล​ระหว่างภายใน​และ​ภายนอก​องค์กร เป็นต้น หลักสูตรปริญญาตรี 377


คธ. 425 การสือ่ สารข้อมูลและความมัน่ คงปลอดภัย (3 หน่วยกิต) ของระบบสารสนเทศ BC 425 Data Communication and Information Systems Security ศึ ก ษาถึ ง การสื่ อ สารข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น สื่ อ และอุ ป กรณ์ ที่ ใช้ส่ือสาร สถาปัตยกรรมเครือข่ายและโพรโทคอล เทคโนโลยี เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การเพิ่มประสิทธิภาพของการสื่อสารข้อมูล การจัดการการสื่อสารข้อมูล แนวโน้มในอนาคตของการสื่อสาร ข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การรักษาความมั่นคงของเครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ ประเภทภัยคุกคาม กลไก การโจมตี และการป้องกัน นโยบายการปฏิบัติ เพื่อความมั่นคง ปลอดภัยของระบบ

พยากรณ์ การ​จัด​ทำ�​งบ​ประมาณ​สำ�หรับ​วางแผน​และ​ควบคุม การ​ ดำ�เนิน​งาน การ​ทำ�​รายงาน​สำ�หรับ​การ​ตัดสิน​ใจ​ลงทุน

คธ. 426 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ (3 หน่วยกิต) โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ BC 426 Information Technology for Supply Chain Management and Logistics พื้นความรู้: สอบได้ จก. 212 ศึ ก ษาความสำ�คั ญ ของเทคโนโลยี เ พื่ อ การจั ด การโซ่ อุปทานและโลจิสติกส์ หัวข้อทีศ่ กึ ษาประกอบด้วยปัจจัยในการเลือกใช้ เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับงาน โดยมีการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำ�เร็จรูป หรือแบบจำ�ลองต่างๆ ในเรียนรู้ ตลอดจนการศึกษาถึงแนวโน้มการ พัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการโซ่อุปทานและ โลจิสติกส์ในอนาคต

คธ. 429 สัมมนา​ทาง​คอมพิวเตอร์​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BC 429 Seminar in Business Computer พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ว​ ิชา​เฉพาะด้านอย่างน้อย 3 วิชา ศึกษา​กรณี​และ​ปัญหา​เกี่ยว​กับ​การ​ใช้​คอมพิวเตอร์​กับ​ ระบบ​งาน​ด้าน​ธุรกิจ เช่น การ​ตลาด การ​เงินการ​จัดการ​องค์การ​และ​ ทรัพยากร​บุคคล ความ​ก้าวหน้า​ทาง​เทคโนโลยี​เกี่ยว​กับ​คอมพิวเตอร์ เพื่อ​นำ�​มา​ใช้​ใน​การ​วางแผน​และ​การ​ตัดสิน​ใจ​ของ​ผู้​บริหาร​และ​ผู้​ใช้​ใน​ ระดับ​ต่าง ๆ ทั้ง​ภายใน​และ​ภายนอก​องค์การ ตาม​สภาพ​แวดล้อม​ ทาง​ธุรกิจ​ที่​เปลี่ยน​ไป ลักษณะ​การ​ศึกษา​จะ​ใช้​อภิปราย​กลุ่ม​และ​การ​ บรรยาย​จาก​ผู้เชี่ยวชาญ​และ​ผู้ทรง​คุณ​วุฒิ

คธ. 427 การ​ประยุกต์​ใช้​คอมพิวเตอร์​ทางการ​เงิน (3 หน่วยกิต) BC 427 Computer Applications in Finance พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ กง. 212 ศึกษา​ถงึ ร​ ะบบ​งาน​และ​การ​ประยุกต์ใ​ช้โ​ปรแกรม​สำ�เร็จรูป​ ทางการ​เงิน ได้แก่ การ​วิเคราะห์อ​ ัตราส่วน การ​วิเคราะห์แ​ นว​โน้ม​การ​ 378 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คธ. 428 การ​วิจัยท​ าง​ด้าน​คอมพิวเตอร์​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BC 428 Research in Business Computer พื้น​ความ​รู้: บธ. 207 ศึกษา​ถึง​ลักษณะ​รูป​แบบ วัตถุประสงค์ และ​กระบวนการ​ ทาง​วิจัย การ​เลือก​แบบ​และ​วิธี​การ​วิจัยให้​เหมาะ​สม​กับ​สถานการณ์​ และ​ทรัพยากร การ​สร้าง​แบบ​เก็บ​ข้อมูล วิธกี​ าร​สุ่มต​ ัวอย่าง การ​เก็บ​ รวบรวมข้อมูล การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​โดย​ใช้​ซอฟต์แวร์​ประยุกต์ เพื่อ​ วิเคราะห์​ข้อมูล​ทาง​สถิติ ทั้ง​สถิติ​เชิง​พรรณนา และ​สถิติ​แบบ​อ้างอิง การ​เสนอ​รายงาน การนำ�​การ​วิจัยป​ ระยุกต์​ใช้​กับ​ธุรกิจ

คธ. 430 การ​จดั ​ทำ�​โครง​งาน​ทาง​คอมพิวเตอร์​ธรุ กิจ (3 หน่วยกิต) BC 430 Project in Business Computer พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เฉพาะด้านอย่างน้อย 3 วิชา ศึกษา​ถงึ ก​ าร​วเิ คราะห์ ออกแบบ และ​วางแผน​ใน​การ​จดั ท​ ำ�​ โครง​งาน ใน​การ​พัฒนา​ระบบ​สาร​สนเทศ พร้อม​ทั้ง​สามารถ​นำ�​ความ​รู้​ ที่​ได้​ไป​ประยุกต์​ใช้​กับ​กรณี​ศึกษา​ของ​ธุรกิจ​จริง


คธ. 431 การ​เขียน​โปรแกรม​เชิง​วัตถุ (3 หน่วยกิต) BC 431 Object Oriented Programming พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คธ. 310 ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​และ​หลัก​การ​ของ​โปรแกรม​เชิง​วัตถุ​ หลัก​เกณฑ์​และ​วิธี​การ​เขียน​คำ�​สั่ง​โปรแกรม​ภาษา​เชิง​วัตถุ​บน​ระบบ​ ปฏิบตั ก​ิ า​รวิน​ โดวส์ โดย​ศกึ ษา​โครงสร้าง​และ​องค์ป​ ระกอบ​การ​แก้ไขข้อ​ ผิดพ​ ลาด การ​ทดสอบ​และ​การ​ปรับปรุงโ​ปรแกรม เน้นก​ าร​ฝกึ ท​ กั ษะ​ใน​ การ​เขียน​โปรแกรม​ที่ใ​ช้ใ​นธุรกิจท​ วั่ ไป เช่น ระบบ​เงินเ​ดือน ระบบ​บญั ชี หรือส​ ินค้า​คงคลัง เป็นต้น คธ. 432 การจัดการโครงงานซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) BC 432 Software Project Management พื้นความรู้: สอบได้ จก. 112 ศึกษาถึงการจัดสร้าง การทดสอบ การติดตัง้ การนำ�เข้าใช้ ในระบบงาน การบำ�รุงรักษา การบริหารโครงงาน และการบริหารโครง ร่างของซอฟต์แวร์ การจัดรุน่ ของซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และจัดการ ความเสี่ยง การจัดการการเปลี่ยนแปลง การประมาณค่าใช้จ่าย และ การประกันคุณภาพของการพัฒนาซอฟต์แวร์ การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อ การจัดการโครงงาน การประเมินราคา เครื่องมือบริหารโครงร่างและ รุ่นซอฟต์แวร์ การเขียนเอกสารประกอบโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์ คธ. 433 หัวข้อพ​ ิเศษ​สาขา​วิชา​คอมพิวเตอร์​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BC 433 Selected Topics for Business Computer พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้​วิชา​เฉพาะด้านอย่างน้อย 3 วิชา ศึกษา​หัวข้อ​ที่​น่า​สนใจ​ที่​ถูกค​ ัด​เฉพาะ และ​เป็น​ประโยชน์​ เกี่ยว​กับ​สาขา​ใน​วิชา​คอมพิวเตอร์ธ​ ุรกิจ

คธ. 434 การ​เขียน​โปรแกรม​แบบ​วิชวล (3 หน่วยกิต) BC 434 Visual Programming พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คธ. 310 ศึกษา​หลักพ​ นื้ ฐ​ าน​และ​ทฤษฎีข​ อง​การ​เขียน​โปรแกรม​เชิง​ วัตถุ การ​เขียน​โปรแกรม​แบบ​วิชวล เช่น Visual BASIC, Visual C++ หรือ Visual J++ การ​เขียน​โปรแกรม​เชิง​โต้ตอบ​กับ​ผู้​ใช้ การ​ออกแบบ​ สร้าง​ฟอร์มแ​ ละ​เมนู การ​จดั การ​ฐาน​ขอ้ มูล รวม​ทงั้ ก​ าร​สร้าง​และ​พฒ ั นา​ โปรแกรม​ประยุกต์​ใช้​งาน​ด้วย​ภาษา​แบบ​วิชวล คธ. 435 การ​ใช้​คอมพิวเตอร์​กราฟิกเพื่อธุรกิจ (3 หน่วยกิต) BC 435 Computer Graphic for Business ศึกษา​พื้น​ฐาน​ด้าน​สี และ​การ​ผสม​สเี​บื้อง​ต้น รูป​แบบ​พื้น​ ฐาน​และ​องค์​ประกอบ​ของ​ภาพ ประเภท​อุปกรณ์​ใช้​งาน​คอมพิวเตอร์​ กราฟิก เช่น เมา​ส์ ปากกา​แสง เครือ่ ง​อา่ น​พกิ ดั เครือ่ ง​กวาด​ตรวจ​ภาพ อุปกรณ์แสดง​ผลลัพธ์แ​ บบ​แรส​เตอร์แ​ ละ​แบบ​เวก​เตอร์ วิธก​ี าร​เชือ่ ม​ใช้​ งาน​และ​ควบคุมอ​ ปุ กรณ์ก​ าร​เขียน​โปรแกรม​คอมพิวเตอร์เ​พือ่ ง​ าน​ดา้ น​ กราฟิก การ​ลบ​เส้น​และ​พื้น​ผิว​ที่​ถูก​บัง การ​แรเงา แบบ​จำ�ลอง​ของ​สี การ​สร้าง​แบบ​จำ�ลอง การ​แปลง​ภาพ​ใน 2 มิติ​ และ 3 มิติ ขอบเขต​ และ​ทาง​เลือก​เฉพาะ​สว่ น​ของ​ภาพ​ทอ​ี่ ยู่ ใน​ขอบเขต​ทก​ี่ ำ�หนด หลักก​ าร​ ของ​ภาพ​ใน 3 มิติ และ​ภาพ​ใน​มุม​มอง​ต่าง ๆ การ​ออกแบบ​ซอฟต์แวร์​ กราฟิก โปรแกรม​ประยุกต์​ด้าน​การ​ออกแบบ​กราฟิกในเชิงธุรกิจ

หลักสูตรปริญญาตรี 379


คธ. 436 การ​พัฒนา​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ (3 หน่วยกิต) BC 436 Electronic Business Development พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คธ. 424 ศึกษา​ความ​รเ​ู้ บือ้ ง​ตน้ ใ​น​การ​พฒ ั นา​ธรุ กิจท​ าง​อเิ ล็กทรอนิกส์ เพื่อ​ประยุกต์​ให้​สามารถ​ใช้​งาน​ร่วม​กับ​เทคโนโลยี​ท่​ีมี​อยู่​ใน​ปัจจุบัน​ได้​ อย่าง​ถกู ต​ อ้ ง​และ​รวดเร็ว รวม​ทง้ั ศ​ กึ ษา​ถงึ ก​ าร​แลก​เปลีย่ น​ขอ้ มูล​ผา่ น​สอ่ื ​ อิเล็กทรอนิกส์ การ​จดั การ​หว่ ง​โซ่​อปุ ทาน ศึกษา​ถงึ ​การ​บริหาร​จดั การ​ ด้าน​ลกู ค้า​สมั พันธ์ รวม​ทง้ั การ​ทำ�​พาณิชย์​อเิ ล็กทรอนิกส์ เพือ่ ​อำ�นวย​ ความ​สะดวก​ใน​การ​ทำ�​ธรุ กิจผ​ า่ น​สอ่ื อ​ เิ ล็กทรอนิกส์ และ​ศกึ ษา​หลัก​การ​ และ​เหตุผล​ใน​การ​วเิ คราะห์ธ​ รุ กิจ​ทาง​อเิ ล็กทรอนิกส์​ใน​รปู ​แบบ​ตา่ งๆ คธ. 437 การ​ศึกษา​เฉพาะ​บุคคล (3 หน่วยกิต) BC 437 Indepentdent Study พื้น​ความ​รู้: สอบ​ได้ คธ. 310 การ​ศึ ก ษา​แ บบ​เฉพาะ​ร าย​บุ ค คล​ถึ ง ​หั ว ข้ อ ​ท าง​ด้ า น​ คอมพิวเตอร์ธ​ รุ กิจ โดย​อาจารย์ผ​ ส​ู้ อน​มส​ี ว่ น​ใน​การ​กำ�หนด​หวั ข้อศ​ กึ ษา​ หรือ​วิจัย นัก​ศึกษา​เป็น​ผู้​ศึกษา​ค้นคว้า​วิจัยด​ ้วย​ตนเอง​ภาย​ใต้​การ​ดูแล​ แนะนำ�​และ​ให้​คำ�​ปรึกษา​ของ​อาจารย์​ผู้​สอน คธ. 438 ความมั่นคงปลอดภัยของ (3 หน่วยกิต) ระบบสารสนเทศ BC 438 Information Systems Security พื้นความรู้: สอบได้ คธ. 424 ศึกษาระบบความปลอดภัย การเข้ารหัส การวิเคราะห์ รหัส มา ตรฐานการเข้ารหัสข้อมูลภัยรุกรานของระบบสารสนเทศ กลไกการโ จมตีและการป้องกัน นโยบายและการปฏิบัติเพื่อความ มั่นคงขอ งระบบ มาตรฐานความปลอดภัยของระบบสารสนเทศการ พิสจู น์ทราบในระบบคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์การรุกราน การจัดการ ด้านความ มั่นคง การบริหารระบบป้องกันการบุกรุก ซอฟต์แวร์ต่อ ต้านไวรัส โครงสร้างพื้นฐานระบบกุญแจสาธารณะ 380 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คธ. 439 เทคนิคการนำ�เสนอทางด้านเทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) สารสนเทศทางธุรกิจ BC 439 Presentation Techniques in Business Information Technology ศึกษาถึงภาคปฏิบัติของทักษะการพูดในที่สาธารณะและ ทักษะการนำ�เสนอผลงานด้านเทคนิค มีการประยุกต์ใช้หลักการพื้น ฐานสำ�หรับการพูดในทีส่ าธารณะทัง้ สถานการณ์ทเี่ ป็นทางการและไม่ เป็นทางการ เพื่อเสริมสร้างทักษะในการพูด การสัมภาษณ์ การนำ� เสนอผลงาน ทางด้านเทคนิคและธุรกิจ เรียนรู้การสร้างสายสัมพันธ์ กับผู้ฟัง จัดการกับการตอบคำ�ถาม ปรับปรุงเสียง ท่าทาง การแต่ง กาย การใช้ อารมณ์ ขั น อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถสร้ า งและประยุ ก ต์ ใ ช้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้เสียง ภาพ ในการนำ�เสนอผลงาน และรับการ วิเคราะห์เกี่ยวกับการนำ�เสนอผลงานของตนเองจากผู้สอนและเพื่อน ในชั้นเรียน คธ. 440 การตรวจสอบและประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ (3 หน่วยกิต) BC 440 Software Assurance and Auditing พื้นความรู้: สอบได้ คธ. 310 ศึกษาเกีย่ วกับความรูพ้ นื้ ฐานเรือ่ งการรับประกันคุณภาพ ซอฟต์แวร์ มาตรฐานหรือโมเดลคุณภาพ ขั้นตอนการรับประกัน คุณภาพซอฟต์แวร์ สภาวะแวดล้อมของการตรวจสอบงานคอมพิวเตอร์ การควบคุมการพัฒนาระบบงาน การควบคุมความปลอดภัย และ เทคนิคการตรวจสอบงานคอมพิวเตอร์


หมวดวิชาการจัดการโลจิสติกส์ กล. 311 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (3 หน่วยกิต) LM 311 Logistics and Supply Chain Management ศึกษาค วามหมายและหลักการการจัดการโลจิสติกส์และ ซัพพลายเ ชน ความส�ำคัญของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนที่มีต่อ องค์กรแล ะระบบเศรษฐกิจ องค์ประกอบของระบบโลจิสติกส์และ ซัพพลายเชน เช่น การจัดซื้อ การพยากรณ์อุปสงค์ การจัดการสินค้า คงคลัง การผลิต การบรรจุภณ ั ฑ์ การขนส่งและการกระจายสินค้า การ ให้ บ ริ กา รลู ก ค้ า การติ ด ต่ อ สื่ อ สารด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ การจั ด การ โลจิสติกส์และซัพพลายเชนระดับโลก รวมตลอดถึงการน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน กล. 312 การจัดการการจัดซื้อ (3 หน่วยกิต) LM 312 Purchasing Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึ ก ษาถึ ง ความหมายและความส� ำ คั ญ ของการจั ด ซื้ อ บทบาทของ การจัดซื้อที่มีต่อการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักการของการจัดซือ้ ขัน้ ตอนและกระบวนการทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัด ซื้อการพัฒนากลยุทธ์ ในการจัดซื้ออย่างมีประสิทธิภาพ การส�ำรวจ ข้อมูลของผู้จัดจ�ำหน่าย ข้อมูลผลิตภัณฑ์ และข้อมูลตลาดอื่น ๆ ที่ จ�ำเป็นต่ อนโยบายการสั่งซื้อ รวมตลอดถึงการจัดการเอกสารและ สัญญาการจัดซื้อ กล. 313 การจัดการสินค้าคงคลังและคลังสินค้า (3 หน่วยกิต) LM 313 Inventory and Warehouse Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาเกีย่ วกับหลักการเบือ้ งต้นและเนือ้ หาของการจัดการ สินค้าคงคลัง ครอบคลุมถึงนโยบายและวัตถุประสงค์ของการจัดการ สินค้าคงคลัง ต้นทุนของสินค้าคงคลัง ประเภทของสินค้าคงคลัง ระบบ

การควบคุม สินค้าคงคลัง การก�ำหนดปริมาณของสินค้าคงคลัง การ พยากรณ์คว ามต้องการ การวางแผนความต้องการวัสดุ กลยุทธ์ใน การควบคุมสินค้าคงคลัง นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงกิจกรรมหลักของคลัง สินค้า กา รออกแบบคลังสินค้า วัตถุประสงค์และพันธกิจของการ จัดการคลังสินค้า กลยุทธ์การเลือกท�ำเลทีต่ งั้ ของคลังสินค้า ประเภท ของคลังสินค้า และประโยชน์ของคลังสินค้า กล. 321 การจัดการการขนส่งและ (3 หน่วยกิต) การกระจายสินค้า LM 321 Transportation and Distribution Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาเกีย่ วกับหลักการเบือ้ งต้นของการขนส่ง ครอบคลุม ถึงหน้าทีข่ องระบบการขนส่ง องค์ประกอบการขนส่งหลายรูปแบบของ ระบบขนส่งทั้งส่วนท้องถิ่นและระดับนานาชาติ รวมถึงเทคโนโลยี สารสนเทศส�ำหรับระบบขนส่ง นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงบทบาทและ ความส�ำคัญของการกระจายสินค้า และช่องทางการจัดจ�ำหน่าย การ จัดสรรสินค้าคงคลัง การคลังสินค้า กลยุทธ์ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย การตัดสินใจเกีย่ วกับการออกแบบช่องทางการจัดจ�ำหน่าย รวมตลอด ถึงการวิเคราะห์ต้นทุนในการกระจายสินค้า กล. 322 การค้าและโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) LM 322 International Trade and Logistics พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงทฤษฎีทางการค้าและนโยบายทางการค้าระหว่าง ประเทศ ความส�ำคัญของโลจิสติกส์ที่มีต่อธุรกิจระหว่างประเทศและ หน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กลยุ ท ธ์ ใ นการจั ด การและการบริ ห ารระบบ โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ ระบบการค้าอิเลคทรอนิกส์และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ข้อมูลสารสนเทศตลอดจนเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัด การระบบโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ และกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรปริญญาตรี 381


กล. 323 การจัดการเพื่อการส่งออกและน�ำเข้า (3 หน่วยกิต) LM 323 Export-Import Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์การส่งออกและน�ำ เข้าตลอดจนระเบียบพิธกี ารศุลกากร การจัดองค์การของแผนกส่งออก และน�ำเข้าขององค์การธุรกิจ กระบวนการตัดสินใจเลือกตลาดและ สินค้า เทคนิคหรือวีการคิดค�ำนวณต้นทุน และการตัง้ ราคาสินค้า ขัน้ ตอนและวิธกี ารต่างๆ ในการช�ำระเงิน สินเชือ่ ในการส่งออกและน�ำเข้า ความส�ำคัญของจดหมายสินเชื่อ (Letter of Credit) การหีบห่อ การ ส่งเสริมการขาย การขนส่ง การประกันภัย และการเตรียมเอกสารใน การส่งออกและน�ำเข้า กล. 411 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อโลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) LM 411 Information Technology for Logistics พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานข้อมูล และ การน�ำไปใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินงานโลจิสติกส์ เช่น การ ประยุกต์ใช้โปรแกรม ERP โปรแกรมส�ำหรับการพยากรณ์ การจัดการ ตารางการผลิต การบริหารสินค้าคงคลัง การคิดต้นทุนและค่าบริการ ขนส่ง การบริหารการจัดเก็บสินค้าและเคลื่อนย้ายสินค้า และการจัด ตารางเวลาการปฏิบตั งิ าน เป็นต้น รวมถึงการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ภาค อุตสาหกรรม กล. 412 กลยุทธ์โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (3 หน่วยกิต) LM 412 Logistics and Supply Chain Strategy พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงแนวคิดและบทบาทของกลยุทธ์ด้านการจัดการ โลจิสติกส์และซัพพลายเชน กลยุทธ์ในการจัดการอุปสงค์และอุปทาน การไหลเวียนของวัสดุและสินค้าคงคลัง กลยุทธ์การจัดการคลังสินค้า 382 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

และการกระจายสิ น ค้ า ตลอดจนการเลื อ กท� ำ เลที่ ตั้ ง เชิ ง กลยุ ท ธ์ นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงกลยุทธ์การขนส่ง กลยุทธ์การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การวางแผน โลจิสติกส์และซัพพลายเชนในระดับสากล รวมตลอดถึงการปรับ เปลีย่ นกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับทิศทางและแนวโน้มทางด้านการพัฒนา โลจิสติกส์และซัพพลายเชน กล. 413 การฝึกงานทางด้านการจัดการโลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) LM 413 Logistics Management Internship พื้นความรู้: กล. 311 ฝึกปฏิบัติงานจริงในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ โลจิสติกส์ในองค์การธุรกิจที่ได้รับการอนุมัติจากภาควิชา โดยฝึกงาน เป็นจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง กล. 414 การพยากรณ์ความต้องการและยอดขาย (3 หน่วยกิต) LM 414 Demand and Sale Forecasting พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงความส�ำคัญของการพยากรณ์ความต้องการที่มี ต่อการจัดการโลจิสติกส์ วิธีการพยากรณ์ความต้องการและยอดขาย โดยใช้เทคนิครูปแบบต่างๆ ตลอดจนปัจจัยภายในและภายนอกองค์กร ที่มีอิทธิพลต่อการพยากรณ์ยอดขาย นอกจากนี้ยังศึกษาถึงวิธีการ ควบคุมและวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าของการพยากรณ์กบั ผลทีเ่ กิดขึน้ จริง เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการขายและการจัดการโลจิสติกส์


กล. 415 การจัดหาเชิงกลยุทธ์ (3 หน่วยกิต) LM 415 Strategic Sourcing พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงความส�ำคัญและวัตถุประสงค์ของการจัดหา กระบวนการก� ำ หนดความต้ อ งการและการวางแผนการจั ด หา กระบวนการในการจัดหาและประเมินผู้จัดจ�ำหน่าย การวิเคราะห์และ เปรียบเทียบการจัดหาภายในประเทศและการจัดหาจากต่างประเทศ การเจรจาต่อรองในการจัดหา การจัดเตรียมข้อตกลงและสัญญา การ บริหารข้อตกลงและความสัมพันธ์กับผู้จัดจ�ำหน่าย รวมตลอดถึงการ วางแผนการจัดซือ้ จัดหา ทีส่ ง่ ผลของการสร้างความได้เปรียบทางการ แข่งขันขององค์กร กล. 416 การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อ (3 หน่วยกิต) การจัดการโลจิสติกส์ LM 416 Quantitative Methods for Logistics Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงเครือ่ งมือทางคณิตศาสตร์และสถิตทิ สี่ ามารถน�ำ มาใช้ในการจัดการและแก้ไขปัญหาทางด้านโลจิสติกส์ อันประกอบไป ด้วยโปรแกรมเชิงเส้น ตัวแบบสินค้าคงคลัง ตัวแบบการขนส่ง ตัวแบบ การจัดการการรอคอย การจัดคนเข้าท�ำงาน และเทคนิคการพยากรณ์ กล. 417 การจัดการความสัมพันธ์ทาง (3 หน่วยกิต) ด้านโซ่อุปทาน LM 417 Supply Chain Relationship Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาหลักการในการจัดหาผู้ขายปัจจัยการผลิต การ สรรหา การวิเคราะห์ การตัดสินใจในการเลือกผู้ขายปัจจัยการผลิต การเจรจาต่อรองกับผู้ขายปัจจัยการผลิต ตลอดจนเทคนิคและวิธีการ ในการสร้างความสัมพันธ์กบั ผูข้ ายปัจจัยการผลิต นอกจากนี้ ยังศึกษา ถึงเทคนิคและวิธีการในการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า

กล. 421 สัมมนาทางด้านการจัดการโลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) LM 421 Seminar in Logistics Management พื้นความรู้: วิชาเอกบังคับอย่างน้อย 2 วิชา ศึกษาถึงประเด็นและปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั ทีม่ ี ผลต่อการจัดการโลจิสติกส์ โดยมุ่งเน้นทั้งปัญหาในด้านการจัดซื้อ สินค้าคงคลัง การจัดการคลังสินค้า การกระจายสินค้าและการขนส่ง ข้อบังคับทางกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับโลจิสติกส์ โดยนักศึกษาต้องน�ำ ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่ได้ศึกษามาประยุกต์ในการแก้ไขปัญหาทาง ด้านโลจิสติกส์ซึ่งอยู่ในรูปของกรณีศึกษา กล. 422 การประกันภัยเพื่อการด�ำเนินงาน (3 หน่วยกิต) โลจิสติกส์ LM 422 Insurance for Logistics Operations พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาลักษณะและขอบเขตของธุรกิจประเภทต่าง ๆ ที่ เกีย่ วข้องกับการด�ำเนินงานทางด้านโลจิสติกส์ เช่น ผูร้ บั จัดการขนส่ง ผูป้ ระกอบการขนส่งสินค้า ท่าเรือและเทอร์มนิ ลั ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ ผู้น�ำเข้าส่งออก เป็นต้น เพื่อทราบลักษณะความเสี่ยงภัยในการ ประกอบธุรกิจและขอบเขตความคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัยที่ เกี่ยวข้อง กล. 423 การออกแบบและการด�ำเนินงานคลังสินค้า (3 หน่วยกิต) LM 423 Warehouse Design and Operations พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงการออกแบบคลังสินค้าและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการคลังสินค้า อุปกรณ์การจัดเก็บและการยกขน สินค้า การออกแบบพื้นที่ใช้งานภายในตัวอาคารคลังสินค้า ขั้นตอน การปฏิบัติการคลังสินค้า การจัดสรรทรัพยากรภายในคลังสินค้า เทคนิคการวิเคราะห์การไหลเวียนของสินค้า การออกแบบระบบและ การเลือกใช้อุปกรณ์ขนย้ายสินค้า หลักสูตรปริญญาตรี 383


กล. 424 ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อม (3 หน่วยกิต) ในการขนส่ง LM 424 Transport Safety and Environment พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงบทบัญญัตแิ ละข้อบังคับทางความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการด�ำเนินการด้านการขนส่ง การก�ำหนด มาตรการป้องกันและแก้ไข การวิเคราะห์ปัญหาและการประเมิน การ ควบคุมผลิต การจัดเก็บ การล�ำเลียงและการขนส่งสินค้าอันตราย เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม กล. 425 การล�ำเลียงวัสดุและการบรรจุภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) LM 425 Material Handling and Packaging พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงหน้าที่ของการล�ำเลียงวัสดุและการบรรจุหีบห่อ ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดการโลจิสติกส์ การออกแบบและ การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีส�ำหรับพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การเลือกใช้ อุปกรณ์ในการล�ำเลียงและขนย้ายอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงเทคนิค เชิงคุณภาพในการลดต้นทุนของบรรจุภัณฑ์ กล. 426 การจัดการการบริการโลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) LM 426 Logistics Service Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึ ก ษาถึ ง ลั ก ษณะของการบริ ก ารธุ ร กิ จ ต่ า งๆ ใน อุตสาหกรรมบริการ การจัดการธุรกิจบริการของโลจิสติกส์ เช่น การ ขนส่งทางบก ทางน�้ำ ทางอากาศ การให้บริการคลังสินค้า การกระจายสินค้า เป็นต้น ตลอดจนการน�ำโลจิสติกส์มาประยุกต์ ใช้ใน อุตสาหกรรมบริการ เป็นต้น

384 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กล. 427 กฎหมายเพื่อโลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) LM 427 Legal Aspects for Logistics พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงกฎหมายและกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องกับการจัดการ โลจิสติกส์ เช่น การจัดซือ้ จัดจ้างส�ำหรับสินค้าและบริการ การซือ้ ขาย สินค้าระหว่างประเทศ การช�ำระราคาในทางการค้าระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าต่อเนือ่ งหลายรูปแบบ การน�ำเข้าสินค้าและการส่งออกสินค้า การจัดเก็บในคลังสินค้าและ เทอร์มินัล เป็นต้น กล. 428 การตัดสินใจด้านท�ำเลที่ตั้งเชิงกลยุทธ์ (3 หน่วยกิต) LM 428 Strategic Location Decisions พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเลือกท�ำเลที่ตั้งทาง ธุรกิจ รูปแบบของการเลือกท�ำเลที่ตั้งเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์การ ไหลของอุปสงค์และอุปทานส�ำหรับสินค้าหรือบริการผ่านในโครงข่าย การตัดสินใจ แบบจ�ำลองการตัดสินใจและวิธกี ารหาท�ำเลทีต่ งั้ ทีด่ ที สี่ ดุ เช่น การหาท�ำเลที่ตั้งของร้านค้าปลีก ซุปเปอร์สโตร์ คลังสินค้า หรือ ศูนย์กระจายสินค้า เป็นต้น รวมถึงการศึกษาและวิเคราะห์กรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้อง กล. 431 ประสบการณ์โลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) LM 431 Logistics Experience พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ กลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจและการจัดการโลจิสติกส์ โดย เรียนรู้จากการดูงานจริงหรือใช้กรณีศึกษาจริง โดยจะมีการเชิญผู้ ประกอบกิจการทางด้านโลจิสติกส์มาเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ นักศึกษาจะได้รับมอบหมายให้จัดท�ำโครงการหรือรายงานทางด้าน การจัดการโลจิสติกส์ เพื่อน�ำเสนอและอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน


กล. 432 การวิจัยทางด้านโลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) LM 432 Logistics Research พื้นความรู้: บธ. 207 กล. 311 ศึกษาถึงความหมาย ประเภทและขอบเขตของการวิจัย ความส�ำคัญของการวิจัยที่มีต่อการจัดการโลจิสติกส์ การเขียนโครง ร่างการวิจยั กระบวนการวิจยั และการเลือกวิธกี ารวิจยั ให้เหมาะสมกับ การวิจัยทางด้านโลจิสติกส์ การก�ำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ การ ออกแบบวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการน�ำ เสนอผลการวิจัย และการน�ำผลวิจัยไปใช้ในการตัดสินใจทางการจัด การโลจิสติกส์ รวมตลอดถึงการศึกษาจริยธรรมและจรรยาบรรณของ นักวิจัย กล. 433 การจัดการท่าเรือและเทอร์มินัล (3 หน่วยกิต) LM 433 Port and Terminal Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงความส�ำคัญของท่าเรือและเทอรมินัลที่มีต่อ โลจิสติกส์ รูปแบบของการขนส่งทางทะเลและรูปแบบของเทอร์มินัล ประสิทธิภาพและการวัดประสิทธิภาพของการจัดการท่าเรือและ เทอร์มนิ ลั ความสัมพันธ์และการประสานงานของระบบปฏิบตั งิ านขน ถ่ายสินค้าในท่าเรือและเทอร์มินัล เทคโนโลยีสารสนเทศส�ำหรับการ จัดการท่าเรือและเทอร์มินัล รวมตลอดถึงการจัดการระบบสินค้า คงคลังที่เกี่ยวข้องกับท่าเรือและเทอร์มินัล กล. 434 การจัดการการขนส่งทางบก (3 หน่วยกิต) LM 434 Land Transportation Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึ ก ษาถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการขนส่ ง ทางบกที่ มี ต ่ อ โลจิสติกส์ ลักษณะและระบบการขนส่งคนและสินค้าทางถนน ทางราง และทางท่อ ทฤษฎีการจราจรเบื้องต้น การวิเคราะห์ความจุ การ ออกแบบลานจอดพาหนะและลานพักคอนเทนเนอร์ การพยากรณ์

ความต้องการและการจัดการการขนส่งทางบก ระบบการขนส่งทาง บกในเมืองและภูมิภาค ระบบการขนส่งที่เชื่อมต่อกันหลายประเทศ รวมทั้งศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของการขนส่งและวิธีการในก�ำหนด ค่าขนส่ง กล. 435 การจัดการการขนส่งทางอากาศ (3 หน่วยกิต) LM 435 Air Transportation Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงความส�ำคัญของการขนส่งทางอากาศที่มีต่อ โลจิสติกส์ ลักษณะและประเภทของท่าอากาศยาน การจัดการความจุ ของท่าอากาศยาน รูปแบบและระบบของสายการบินทัง้ ภายในประเทศ และต่ า งประเทศ รู ป แบบการด� ำ เนิ น งานและการปฏิ บั ติ ง านท่ า อากาศยานและสายการบิน รวมถึงการจัดการการขนส่งสินค้าทาง อากาศเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด กล. 436 การจัดการการขนส่งทางน�้ำ (3 หน่วยกิต) LM 436 Water Transportation Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงบทบาทและความส�ำคัญของการขนส่งทางน�้ำ และทางทะเล ลักษณะและประเภทของการขนส่งทางน�ำ้ ทัง้ ในและต่าง ประเทศ ประเภทของเรือที่ใช้ในการขนส่งทางน�้ำ การด�ำเนินงานและ การจัดการการขนส่งสินค้าทางน�้ำ รวมทั้งศึกษาถึงขั้นตอนการขนส่ง ทางน�ำ ้ นับตัง้ แต่การจองระวางเรือ การคิดค่าระวาง การด�ำเนินการ ด้านเอกสารการขนส่งต่างๆ และพิธีการทางด้านศุลกากร

หลักสูตรปริญญาตรี 385


กล. 441 สถานการณ์ปัจจุบันทางด้านการจัดการ (3 หน่วยกิต) โลจิสติกส์ LM 441 Current Issues in Logistics Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงประเด็นและข่าวสารต่าง ๆ ทางด้านการจัดการ โลจิสติกส์ที่น่าสนใจในปัจจุบัน แนวโน้มและทิศทางของการพัฒนา โลจิสติกส์ทั้งในและต่างประเทศ รวมตลอดถึงบทบาทของโลจิสติกส์ ที่มีต่อการพัฒนชุมชน สังคม และประเทศชาติ กล. 442 หัวข้อพิเศษทางการจัดการโลจิสติกส์ (3 หน่วยกิต) LM 442 Special Topics in Logistics Management พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาถึงหัวข้อพิเศษที่น่าสนใจด้านการจัดการโลจิสติกส์ โดยหัวข้อทีจ่ ะน�ำมาใช้ในการเรียนการสอนจะต้องได้รบั ความเห็นชอบ จากหัวหน้าภาควิชา กล. 443 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หน่วยกิต) LM 443 Independent Study พื้นความรู้: กล. 311 ศึกษาค้นคว้า หรือท�ำวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการจัด การโลจิสติกส์ในเรื่องที่นักศึกษาสนใจภายใต้ค�ำปรึกษา และการดูแล จากอาจารย์ที่ปรึกษาที่ได้รับมอบหมายจากภาควิชา

386 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวด​วิชา​การ​เป็น​เจ้าของ​ธุรกิจ จธ. 311 การเป็นเจ้าของธุรกิจและ (3 หน่วยกิต) การสร้างกิจการใหม่ EP 311 Entrepreneurship and New Venture Creation พื้นความรู้: บธ. 211 ศึกษาถึงความหมาย บทบาท ประเภท และคุณลักษณะ พิเศษของการเป็นเจ้าของธุรกิจ วิเคราะห์และประเมินสภาพแวดล้อม ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ อันประกอบด้วยจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคในการดำ�เนินธุรกิจ การวิเคราะห์และ ประเมินโอกาสทางธุรกิจ และการนำ�เทคโนโลยีมาใช้ นอกจากนี้ ยัง ศึกษาถึงเงื่อนไขต่างๆ ทางกฎหมาย แนวคิดต่างๆ และกระบวนการ ในการจัดตั้งธุรกิจใหม่ การดำ�เนินงานและปัญหาต่างๆ ในการดำ�เนิน ธุรกิจ รวมถึงความสำ�คัญและขั้นตอนการเขียนแผนธุรกิจ ตลอดจน แนวทางในการวางแผนและพัฒนาธุรกิจให้ยั่งยืน จธ. 312 การจัดการธุรกิจครอบครัว (3 หน่วยกิต) EP 312 Family Business Management พื้นความรู้: บธ. 211 ศึกษาถึงรูปแบบและการดำ�เนินงานธุรกิจแบบครอบครัว วัฒนธรรมองค์การของธุรกิจแบบครอบครัว บทบาทและความสัมพันธ์ ของสมาชิกทุกคนในครอบครัว นอกจากนี้ยังศึกษาถึงการพัฒนาและ การวางแผนการดำ�เนินธุรกิจ การจัดโครงสร้างองค์การธุรกิจแบบ ครอบครัว การสื่อสาร กฎหมายและภาษี การปฏิบัติต่อผู้บริหารมือ อาชีพ ภาวะผูน้ ำ�สำ�หรับธุรกิจครอบครัว การบริหารความขัดแย้ง การ สร้างจุดแข็งและลดจุดอ่อนเพื่อสร้างทีมงานที่สามารถช่วยให้ธุรกิจ แบบครอบครัวประสบความสำ�เร็จ ตลอดจนศึกษาถึงการเตรียมความ พร้อมรูปแบบ แผนการและกลวิธีในการสร้างทายาททางธุรกิจเพื่อ สืบทอดธุรกิจและธรรมนูญครอบครัว


จธ. 313 การเขียนแผนธุรกิจสำ�หรับเจ้าของธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EP 313 Business Plan for Entrepreneurs พื้นความรู้: จธ. 311 และ จธ. 312 ศึกษาถึงความสำ�คัญและกระบวนการเขียนแผนธุรกิจ สำ�หรับการจัดตั้งธุรกิจใหม่และธุรกิจที่มีการดำ�เนินการอยู่แล้วเพื่อใช้ เป็นเครื่องมือในการวางแผน และทบทวนแนวคิดในการดำ�เนินธุรกิจ ให้มีการดำ�เนินงานอย่างเป็นระบบและมีเอกภาพ รวมถึงเข้าใจหลัก การการเขียนแผนธุรกิจและวิธีการนำ�เสนอแผนธุรกิจต่อธนาคาร สถาบันการเงิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขอสนับสนุนทางด้านเงินทุน หรือเชิญชวนผู้อื่นให้มาร่วมทุน จธ. 321 การจัดการองค์การสำ�หรับเจ้าของธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EP 321 Organization Management for Entrepreneurs พื้นความรู้: บธ. 211 และ จธ. 311 ศึกษาถึงการบริหารองค์การสำ�หรับผู้ประกอบการ เกี่ยว กับรูปแบบองค์การ การเลือกรูปแบบองค์การ อิทธิพลของสภาพ แวดล้อมทัง้ ภายในและภายนอกทีม่ ตี อ่ รูปแบบและการจัดองค์การ การ กำ�หนดกลยุทธ์ การศึกษาถึงวัฒนธรรมขององค์การ และการสร้าง วัฒนธรรมองค์การ ตลอดจนการจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้ในการ บริหารองค์การเพื่อดึงศักยภาพของบุคลากร และทรัพยากรของ องค์การให้บรรลุเป้าหมายของบริษัท จธ. 322 การจัดการทางการตลาดเชิงกลยุทธ์ (3 หน่วยกิต) สำ�หรับเจ้าของธุรกิจ EP 322 Strategic Marketing Management for Entrepreneurs พื้นความรู้: บธ. 214 และ จธ. 311 ศึกษาถึงความหมาย แนวคิด และหน้าที่ของการบริหาร การตลาดเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกองค์การ เช่น ผู้ บริโภค ลูกค้า คู่แข่งขัน เป็นต้น และปัจจัยภายในองค์การ เช่น ผู้ ประกอบการและกลุ่มธุรกิจในองค์การ กลยุทธ์การแข่งขันทางการ ตลาด รวมถึงกลยุทธ์หน่วยธุรกิจต่างๆ ที่มีผลกระทบกับการบริหาร

การตลาดเชิงกลยุทธ์ เพือ่ สามารถนำ�ไปกำ�หนดแผนการตลาดเชิงกล ยุทธ์ อาทิ กลยุทธ์การเป็นผูน้ ำ�ด้านต้นทุน กลยุทธ์การสร้างความแตก ต่าง กลยุทธ์การมุ่งเน้น กลยุทธ์การขยายไปทำ�ธุรกิจอื่น และกลยุทธ์ การตลาดระดับโลก รวมถึงกระบวนการในการบริหารและดำ�เนินงาน ด้านการตลาดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อสร้างความได้เปรียบใน การแข่งขัน จธ. 323 การจัดการทางการเงินสำ�หรับเจ้าของธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EP 323 Financial Management for the Entrepreneurial Venture พื้นความรู้: บธ. 212 และ จธ. 311 ศึกษาถึงความแตกต่างระหว่างการบริหารเงินของเจ้าของ ธุรกิจและการบริหารเงินขององค์การขนาดใหญ่ การกำ�หนดเป้าหมาย ทางการเงินของธุรกิจ การวิเคราะห์งบการเงิน การพยากรณ์รายรับ รายจ่าย และกระแสเงินสดของธุรกิจ ความสำ�คัญของโครงสร้างเงิน ทุน การบริหารและการควบคุมทางการเงิน การจัดหาเงินทุนสำ�หรับ ธุรกิจที่อยู่ในช่วงเจริญเติบโต การวางแผนทางการเงินในสถานการณ์ ที่เปลี่ยนไปไม่ว่าจะเป็นการขยาย การหดตัว การลดขนาดหรือการ เลิกกิจการ จธ. 324 ประสบการณ์การเป็นเจ้าของธุรกิจ (6 หน่วยกิต) EP 324 Entrepreneurial Business Experience พื้นความรู้: สอบได้ บธ. 201 บธ. 213 บธ. 214 บธ. 215 บธ. 216 และ จธ. 313 ศึกษาการทำ�ธุรกิจจริงด้วยการลงมือปฏิบตั แิ ละเรียนรูก้ าร เป็นผู้ประกอบการธุรกิจโดยการลงทุนทำ�ธุรกิจจริงเพื่อเรียนรู้แบบ บู ร ณาการอย่างถ่องแท้ นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์จริงของ กระบวนการทำ�ธุรกิจตัง้ แต่การเริม่ ต้นกิจการ การบริหารจัดการธุรกิจ อาจใช้แผนธุรกิจทีเ่ รียนในวิชาแผนธุรกิจสำ�หรับผูเ้ ป็นเจ้าของธุรกิจมา ดำ�เนินการจริงให้เกิดผลลัพธ์ของการประกอบการ โดยมีทีมอาจารย์ ที่ปรึกษาคอยกำ�กับดูแล นักศึกษาจะได้รับมอบหมายให้ทำ�โครงการ หรือรายงานสรุปผลการดำ�เนินธุรกิจเมื่อสิ้นสุดโครงการ หลักสูตรปริญญาตรี 387


จธ. 411 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำ�หรับธุรกิจ (3 หน่วยกิต) และกิจการใหม่ EP 411 Technology Applications for Business and New Venture พื้นความรู้: ศท. 112 และ บธ. 211 ศึกษาถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ทงั้ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ ใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจและกิจการใหม่ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยศึกษาจากทฤษฎีและกรณีศึกษาต่างๆ เพื่อให้ นักศึกษาเข้าใจวิธกี ารตัดสินใจเลือกและวิธกี ารใช้งานเทคโนโลยีในเชิง ประยุกต์เพือ่ การกำ�หนดกลยุทธ์ และนำ�มาใช้บริหารจัดการกับกิจการ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จธ. 412 การเป็นเจ้าของธุรกิจในเศรษฐกิจโลก (3 หน่วยกิต) EP 412 Entrepreneurship in the Global Economy พื้นความรู้: บธ. 211 และ จธ. 311 ศึกษาถึงแนวทางการเป็นเจ้าของธุรกิจในตลาดโลก โดย การวิเคราะห์และประเมินปัจจัยสภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม กฎหมาย และเทคโนโลยี ที่ส่งผลต่อโอกาสและ อุปสรรคของการดำ�เนินงานทางธุรกิจ โดยศึกษาทั้งจากทฤษฎีและ กรณีศึกษาต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการวางแผนและประเมิน ความเป็นไปได้ในการพัฒนาธุรกิจในตลาดโลก รวมทั้งศึกษาวิธีการ จัดองค์การ การตลาด การจัดการ การเงิน และการบริหารทรัพยากร มนุษย์ การจัดการความรู้ การจัดการวัฒนธรรมของบริษัทข้ามชาติ เพื่อประโยชน์ในการจัดการธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ

388 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

จธ. 413 กลยุทธ์การสร้างธุรกิจใหม่ (3 หน่วยกิต) และเครือข่ายธุรกิจ EP 413 New Venture Strategies and Business Network พื้นความรู้: จธ. 311 ศึกษาถึงกลยุทธ์รปู แบบต่างๆ ในการสร้างธุรกิจใหม่ และ ปัจจัยสำ�คัญที่มีผลต่อกระบวนการกำ�หนด กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ ใหม่ เช่น ช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมในการตัง้ ธุรกิจใหม่ การประเมินโอกาส ของตลาด ขอบเขตของการสร้างธุรกิจใหม่ เงื่อนไขของตลาด และ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ เป็นต้น ตลอดจนศึกษาถึงการสร้างเครือข่าย ธุรกิจในรูปแบบต่างๆ เช่น แฟรนไชส์ ร้านสะดวกซื้อ ระบบธุรกิจขาย ตรงในรูปแบบต่างๆ และปัจจัยที่มีอิทธิพล แนวโน้มในอนาคตต่อการ ประกอบธุรกิจประเภทเครือข่าย จธ. 414 การวิเคราะห์และการพยากรณ์ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EP 414 Business Forecasting and Analysis พื้นความรู้: จธ. 311 ศึกษาความสำ�คัญของการวิเคราะห์และพยากรณ์เชิง ปริมาณต่อการดำ�เนินธุรกิจ วิธีการพยากรณ์เพื่อการตัดสินใจทาง ธุรกิจ โดยศึกษาโมเดลต่างๆ เช่น ข้อมูลอนุกรมเวลาของยอดขาย กำ�ไร ราคาหุ้น ดัชนีทางเศรษฐกิจเพื่อใช้ทำ�นายแนวโน้มของธุรกิจใน อนาคต ศึกษาเปรียบเทียบโมเดลต่างๆ ที่นำ�มาประยุกต์ ใช้เพื่อหา โมเดลที่ดีที่สุด นอกจากนี้นักศึกษาจะได้ศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์ สำ�เร็จรูปเพือ่ ประยุกต์ใช้กบั การพยากรณ์ทางธุรกิจ และศึกษาตัวอย่าง จากกรณีศึกษาของบริษัทที่ใช้การพยากรณ์ในการดำ�เนินธุรกิจจริง


จธ. 415 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ (3 หน่วยกิต) EP 415 New Product and Service Development พื้นความรู้: บธ. 214 และ จธ. 311 ศึกษาถึงกระบวนการพัฒนาและวางแผนการนำ�ผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่เข้าสูต่ ลาด ความหมาย และความสัมพันธ์ระหว่างการ วิเคราะห์โอกาสทางการตลาด การแสวงหาและประเมินโอกาสทาง ธุรกิจ ศึกษาแนวโน้มและความต้องการของตลาด การวิเคราะห์ ประเมินสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ นำ�มาสู่การสร้างแนวความคิด การ กลั่นกรองแนวความคิด การประเมินผลแนวความคิดในการคิดค้น ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ นำ�ไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ การ ทดสอบตลาด และการนำ�ผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าสูต่ ลาด รวมถึงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่หรือธุรกิจใหม่อย่างต่อเนือ่ งให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด จธ. 416 วิสาหกิจร่วมทุนและธุรกิจเงินร่วมทุน (3 หน่วยกิต) EP 416 Private Equity and Venture Capitals พื้นความรู้: บธ. 212 และ จธ. 311 ศึกษาถึงลักษณะและรูปแบบของกองทุนรวมเพื่อร่วม ลงทุนในวิสาหกิจประเภทต่างๆ ในรูปแบบของวิสาหกิจเงินร่วมทุน และธุรกิจเงินร่วมทุน เพือ่ ให้ทราบถึงแหล่งเงินทุนทีส่ ามารถระดมทุน มาใช้ในธุรกิจ การวิเคราะห์โอกาสและการลงทุน วิธีการจัดการธุรกิจ ร่วมทุนตามสัดส่วนของการลงทุน การจัดสรรผลประโยชน์จากการทำ� ธุรกิจร่วมกัน กฎเกณฑ์ ในการแบ่งส่วนของกิจการเมื่อต้องการเลิก กิจการหรือขายทอดตลาด โดยใช้กรณีศึกษาของกิจการรูปแบบต่างๆ

จธ. 421 สัมมนาการเป็นเจ้าของธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EP 421 Seminar in Entrepreneurship พื้นความรู้: วิชาเอก-บังคับ อย่างน้อย 2 วิชา ศึกษาถึงแนวทางการจัดตั้ง การดำ�เนินการธุรกิจ ทั้งใน เรื่องของแนวคิด การแสวงหาโอกาส ความเสี่ยง การวางแผน และ ผลตอบแทนของการเป็นเจ้าของธุรกิจในตลาดโลก ตลอดจนการ วิเคราะห์ปญั หาและแนวทางแก้ไขทีเ่ กิดขึน้ จริงกับผูเ้ ป็นเจ้าของธุรกิจ รวมถึงการจัดการองค์กรแห่งการเรียนรู้ และเครื่องมือในการจัดการ ความรู้เพื่อนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาธุรกิจอย่างเป็นระบบ ด้วยวิธกี ารเรียนรูจ้ ากกรณีศกึ ษา การ ระดมสมอง และการอภิปรายกลุ่ม เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนนำ�ไป ประยุกต์ใช้ในการดำ�เนินธุรกิจจริง จธ. 422 การจัดการธุรกิจที่กำ�ลังเจริญเติบโต (3 หน่วยกิต) EP 422 Managing a Growing Business พื้นความรู้: จธ. 312 ศึกษาถึงการดำ�เนินธุรกิจในช่วงที่มีการเติบโต รวมถึง ลักษณะและความท้าทายของการดำ�เนินธุรกิจในช่วงเวลาดังกล่าว เตรียมความพร้อมของผู้เป็นเจ้าของธุรกิจและทีมงานในการสร้าง ความสามารถที่จะเผชิญและรับมือกับการเติบโตทางธุรกิจ ตลอดจน ศึกษาถึงการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันแบบยัง่ ยืนทางธุรกิจ และการสร้างองค์การธุรกิจให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรูแ้ ละสามารถ เผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงราย ละเอียดในหัวข้อต่างๆ ที่เกี่ยวกับการเติบโตทางธุรกิจอย่างรวดเร็ว อาทิ การจัดสรรกำ�ลังคนและระบบในการทำ�งาน การบริหารทรัพยากร ทีม่ อี ยูจ่ ำ�กัด และการวางแผนเรือ่ งเงินสดหมุนเวียนในองค์การ เป็นต้น

หลักสูตรปริญญาตรี 389


จธ. 423 การลงทุนของวิสาหกิจครอบครัว (3 หน่วยกิต) EP 423 Financing Family Enterprises พื้นความรู้: บธ. 212 และ จธ. 312 ศึกษาถึงลักษณะเฉพาะของธุรกิจที่เป็นแบบวิสาหกิจ ครอบครัว วิเคราะห์การดำ�เนินงาน รูปแบบการลงทุน และตัวขับ เคลื่อนที่สำ�คัญในการสร้างมูลค่าแก่ธุรกิจ ข้อจำ�กัดของธุรกิจแบบ วิสาหกิจครอบครัวที่มีต่อการจัดหาเงินทุน การวิเคราะห์งบการเงิน การบริหารเงินทุนหมุนเวียน และลักษณะโครงสร้างเงินทุนของ วิสาหกิจครอบครัว การประยุกต์หลักการและทฤษฎีทางการเงินสำ�หรับ การบริหารธุรกิจแบบวิสาหกิจครอบครัว เช่น การประเมินการลงทุน และการประเมินมูลค่าธุรกิจ เป็นต้น จธ. 424 การจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง (3 หน่วยกิต) EP 424 Innovation and Change Management พื้นความรู้: บธ. 211 และ บธ. 424 ศึกษาบริบทด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และ เทคโนโลยีทม่ี ผี ลกระทบต่อการผลิตสินค้าและบริการ กระบวนการดำ�เนิน งาน และการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ สำ�หรับธุรกิจผูป้ ระกอบการ อีกทัง้ ยัง มุง่ เน้นให้นกั ศึกษาได้ฝกึ ปฏิบตั กิ ารคิดกลยุทธ์ในการสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันให้กบั ธุรกิจผูป้ ระกอบการ และเรียนรูก้ ารพัฒนาบทบาท ในการเป็นผูน้ ำ�การเปลีย่ นแปลงในธุรกิจผูป้ ระกอบการ จธ. 425 พลวัตของธุรกิจครอบครัว (3 หน่วยกิต) EP 425 Family Business Dynamics พื้นความรู้: จธ. 312 ศึ ก ษาและเรี ย นรู้ กระบวนการวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ลึ ก และ กระบวนการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ เพือ่ นำ�มาใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ การ เรียนรู้และทำ�ความเข้าใจธรรมชาติของการดำ�เนินธุรกิจครอบครัว อย่างแท้จริง โดยเน้นการวิเคราะห์ประเด็นด้านการถือกรรมสิทธิ์ใน การเป็นเจ้าของธุรกิจครอบครัว การสืบทอดมรดกทางธุรกิจครอบครัว 390 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

การบริหารจัดการค่าจ้างและค่าตอบแทนพนักงาน การบริหารประเด็น ความขัดแย้งทีเ่ กิดขึน้ ในการประกอบธุรกิจครอบครัว รวมถึงการศึกษา บทบาทความสำ�คัญของกระบวนการการสื่อสารอย่างเป็นทางการซึ่ง เกีย่ วข้องกับกฎหมาย กฎเกณฑ์ และกฎระเบียบในการบริหารจัดการ ธุรกิจครอบครัว และการศึกษาวิธีการประเมินผลวงจรชีวิตของธุรกิจ ครอบครัว จธ. 431 การจัดการธุรกิจขนาดย่อม (3 หน่วยกิต) EP 431 Small Business Management พื้นความรู้: บธ. 211 ศึกษาถึงความหมาย บทบาท ประเภท คุณลักษณะพิเศษ และการดำ�เนินงานของธุรกิจขนาดย่อม การวิเคราะห์และประเมิน สภาพแวดล้อมต่างๆ ทั้งในเรื่องของโอกาส อุปสรรค เงื่อนไขต่างๆ ทางกฎหมาย พร้อมทั้งแนวคิดต่างๆ ในการจัดตั้งธุรกิจใหม่ การ ดำ�เนินงานและปัญหาในการบริหารงาน ตลอดจนแนวทางในการ วางแผนและพัฒนาธุรกิจ จธ. 432 การวินิจฉัยสถานประกอบการและ (3 หน่วยกิต) ให้คำ�ปรึกษาธุรกิจ EP 432 Entrepreneurial Diagnosis and Business Consulting พื้นความรู้: สอบได้ จธ. 313 และ จธ. 324 ศึกษาหลักการและกระบวนการวินิจฉัยและให้คำ�ปรึกษา ธุรกิจ มุง่ เน้นให้นกั ศึกษาฝึกปฏิบตั กิ ารวินจิ ฉัยสถานประกอบการและ ให้คำ�ปรึกษาทางธุรกิจ โดยนำ�ความรู้ที่ได้จากการเรียนหลายๆ ด้าน ไปประยุกต์ ในการสังเคราะห์ความรู้ใหม่ โดยเริ่มตั้งแต่การศึกษา ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ธุ ร กิ จ จริ ง ที่ เ ลื อ กมาเป็ น กรณี ศึ ก ษาจากสถาน ประกอบการจริง และให้นักศึกษาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและหา วิธีการแก้ไขปัญหา และนำ�สรุปวิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น นำ�ไปสู่ การสังเคราะห์ให้คำ�ปรึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาต่อผูป้ ระกอบการและ อาจารย์ทปี่ รึกษากำ�กับดูแล นักศึกษาจะได้เรียนรูท้ ฤษฏีจากห้องเรียน และได้ลงมือปฏิบัติจริง ณ สถานประกอบการ


จธ. 433 การบริหารตราสินค้า (3 หน่วยกิต) EP 433 Brand Management พื้นความรู้: บธ. 214 ศึกษาและทำ�ความเข้าใจถึงความสำ�คัญของการกำ�หนด จุดยืนและความแตกต่างให้กบั สินค้าและบริการสำ�หรับธุรกิจผูป้ ระกอบ การ เรียนรู้ระบบการบริหารชื่อสินค้า การวางแผนปฏิบัติงาน การ ดำ�เนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด การประเมิน และการวัดค่าตราสินค้า และการบริหารคุณค่าตราสินค้าให้เป็นที่ ยอมรับในระยะยาว การสร้างให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ ประโยชน์ของการบริหารตราสินค้าต่อธุรกิจผู้ประกอบการ รวมทั้ง การนำ�เทคนิคการสื่อสารการตลาดมาใช้ในการสร้างกลยุทธ์ ในการ พัฒนาคุณค่าตราสินค้า จธ. 434 การพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) และบริการ EP 434 Product and Service Design Development พื้นความรู้: บธ. 214 ศึกษาบทบาทความสำ�คัญ ประเภทของการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์และป้ายฉลาก มาตรฐานอุตสาหกรรมมาตรฐานด้านคุณธรรม และจริยธรรม ระบบการตรวจสอบคุณภาพ กลยุทธ์และเทคนิคในการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์และป้ายฉลากสินค้าและบริการที่สอดคล้องตาม กฎระเบียบของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ด้วยการนำ�ศิลปะเทคโนโลยีรว่ ม สมัยมาประยุกต์ใช้ในธุรกิจผู้ประกอบการ โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาได้ ฝึกฝนนำ�ไปสูก่ ารพัฒนาทักษะในเชิงสร้างสรรค์นวัตกรรมและวิสยั ทัศน์ เชิงรุก และนำ�มาพัฒนาเป็นมูลค่าเพิม่ ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และ บริการ

จธ. 435 การวิจัยการเป็นเจ้าของธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EP 435 Research in Entrepreneurship พื้นความรู้: บธ. 206 จธ. 311 และ จธ. 312 ศึกษาถึงความหมาย ประเภทและขอบเขตของการวิจัย ความสำ�คัญของการวิจัยที่มีต่อเจ้าของธุรกิจ การเขียนโครงร่างการ วิจัย กระบวนการวิจัยและการเลือกวิธีการวิจัยให้เหมาะกับความ ต้องการของเจ้าของธุรกิจ การกำ�หนดปัญหาและวัตถุประสงค์ การ ออกแบบวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำ� เสนอผลการวิจัย และการนำ�ผลวิจัยไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ รวมถึงการศึกษาจริยธรรมและจรรยาบรรณของนักวิจัย จธ. 441 เทคนิคการเจรจาต่อรอง (3 หน่วยกิต) สำ�หรับเจ้าของธุรกิจ EP 441 Entrepreneurial Negotiation Techniques พื้นความรู้: บธ. 211 ศึกษาถึงแนวคิด หลักการ และเทคนิคของการเจรจาต่อ รองทางธุรกิจ การวางแผนการเจรจาต่อรองอย่างเป็นระบบ การเลือก ใช้กลยุทธ์และการประเมินกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรอง นอกจากนี้ยัง ศึกษาถึงทักษะการติดต่อสือ่ สารเพือ่ การเจรจาต่อรองทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รวมถึงการศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการเจรจาต่อรองทาง ธุรกิจ และการหาวิธกี ารในการแก้ไขปัญหาและเอาชนะหรือหลีกเลีย่ ง อุปสรรคต่างๆ เหล่านั้น

หลักสูตรปริญญาตรี 391


จธ. 442 การจัดการห่วงโซ่อุปทานและ (3 หน่วยกิต) การจัดการโลจิสติกส์ EP 442 Supply Chain and Logistics Management พื้นความรู้: บธ. 211 และ บธ. 216 ศึกษาถึงความหมาย ความสำ�คัญ และกระบวนการในการ บริหารห่วงโซ่อุปทานและการจัดส่ง โดยเริ่มจากธุรกิจต้นทางจนถึง ธุรกิจปลายทาง รวมทั้งศึกษาถึงความสำ�คัญของการไหลเวียนของ ข้อมูลการจัดส่ง และการไหลเวียนของเงิน อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน การบริการลูกค้า และการเพิ่ม คุณค่าให้กับธุรกิจ

จธ. 444 สถานการณ์ปัจจุบันของการเป็น (3 หน่วยกิต) เจ้าของธุรกิจ EP 444 Current Issues in Entrepreneurship พื้นความรู้: วิชาเอก-บังคับ อย่างน้อย 2 วิชา ศึกษาและวิเคราะห์ประเด็นและเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับเจ้าของธุรกิจในปัจจุบัน อันจะส่งผลต่อการบริหารงานและการ ตัดสินใจดำ�เนินงานของเจ้าของธุรกิจ รวมถึงการศึกษาแนวคิดและ เทคนิคการจัดการสมัยใหม่เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการวางแผนกลยุทธ์ ของการเป็นเจ้าของธุรกิจเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

จธ. 443 การบริหารผลงานและค่าตอบแทน (3 หน่วยกิต) สำ�หรับเจ้าของธุรกิจ EP 443 Compensation and Performance Management for Entrepreneurs พื้นความรู้: บธ. 215 ศึกษาถึงกระบวนการในการกำ�หนดมาตรฐานและเป้า หมายของผลงานให้สอดคล้องกับนโยบายและกลยุทธ์ธุรกิจของ ผู้ประกอบการ วิธกี ารประเมินผลงานของบุคลากร การให้ความดีความ ชอบ การปรับปรุงผลงานในอนาคต รวมทัง้ ศึกษาถึงความหมาย หลัก การ โครงสร้าง หลักเกณฑ์ และวิธีการจ่ายค่าตอบแทนโดยอาศัยการ ประเมินค่างาน ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทัง้ ภายในและภายนอกสถาน ประกอบการที่ส่งผลกระทบต่อการกำ�หนดค่าตอบแทน ตลอดจน เทคนิคการบริหารค่าจ้างเงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูลรูปแบบ ต่างๆ

จธ. 445 การศึกษาเฉพาะบุคคล (3 หน่วยกิต) EP 445 Independent Study พื้นความรู้: จธ. 311 และ จธ. 312 ศึกษา และค้นคว้าเชิงลึก หรือทำ�วิจยั ในหัวข้อทีเ่ กีย่ วข้อง กับการเป็นเจ้าของธุรกิจทีน่ กั ศึกษาสนใจ ภายใต้คำ�แนะนำ�และการดูแล จากอาจารย์ทป่ี รึกษา นักศึกษาจะเป็นผูท้ ำ�การศึกษาค้นคว้าในศาสตร์ องค์ความรู้เฉพาะด้านด้วยตนเองและนำ�เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา

392 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

จธ. 446 การศึกษาประเทศอาเซียนสำ�หรับ (3 หน่วยกิต) เจ้าของธุรกิจ EP 446 Asian Countries Study for Entrepreneurs พื้นความรู้: บธ. 211 จธ. 311 และ จธ. 412 ศึกษาถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง ประชากรศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม กฎหมาย คูแ่ ข่งขัน เทคโลโนยี พฤติกรรมผู้บริโภคของกลุ่มประเทศในภูมิภาคอาเซียนและประเทศ ใกล้เคียง รวมถึง ประเทศจีน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อินเดีย เป็นต้น ที่ ส่งผลต่อการพิจารณาโอกาสและอุปสรรคในการจัดตัง้ ธุรกิจ หรือขยาย ธุรกิจ รวมทั้งศึกษาแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยศึกษาทั้งจาก ทฤษฎีและกรณีศกึ ษาต่างๆ เพือ่ ให้นกั ศึกษาศึกษาและเข้าใจถึงวิธกี าร จัดองค์การ การตลาด การผลิต การจัดการ การเงิน การบริหาร


ทรัพยากรมนุษย์ การจัดการโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความ สำ�เร็จในการดำ�เนินธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพและ ได้เปรียบในเชิงแข่งขัน จธ. 447 การศึกษาประเทศตลาดใหม่สำ�หรับ (3 หน่วยกิต) เจ้าของธุรกิจ EP 447 New Emerging Market Countries Study for Entrepreneurs พื้นความรู้: บธ. 211 และ จธ. 311 และ จธ. 412 ศึกษากระบวนการในการวิเคราะห์และประเมินถึงปัจจัย สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง ประชากรศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม กฎหมาย คู่แข่งขัน เทคโลโนยี ความเสี่ยง และ พฤติกรรมผูบ้ ริโภคของประเทศทีเ่ ริม่ เปิดประเทศสูเ่ วทีการค้าในตลาด โลก อาทิ กลุ่มประเทศสหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ อินเดีย กลุ่มประเทศ ตะวันออกกลาง เป็นต้น โดยศึกษาทัง้ จากทฤษฎีและกรณีศกึ ษาต่างๆ เพื่อให้เข้าใจกระบวนการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศและการจัดตั้งธุรกิจ โดยเตรียมพร้อมในด้านการจัดการองค์การ การตลาด การผลิต การ จัดการ การเงิน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การจัดการโลจิสติกส์ ใน บริบทของการทำ�ตลาดโลกซึ่งเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสำ�เร็จในการ ดำ�เนินธุรกิจในกลุ่มประเทศตลาดใหม่อย่างมีประสิทธิภาพและได้ เปรียบในเชิงแข่งขัน จธ. 448 โอกาสทางการตลาดในกลุ่มประชาคม (3 หน่วยกิต) เศรษฐกิจอาเซียนสำ�หรับเจ้าของธุรกิจ EP 448 Market Opportunity in ASEAN Economic Community for Entrepreneurs พื้นความรู้: บธ. 211 และ จธ. 311 และ จธ. 412 ศึกษาถึงสาระสำ�คัญหลักของกฎบัตรประชาคมอาเซียน ได้แก่ ประชาคมด้านการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมด้าน เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมด้านสังคมและวัฒนธรรม เพื่อการ วิเคราะห์และประเมินโอกาสทางการตลาดในการนำ�เสนอสินค้าและ

บริการนวัตกรรมใหม่ในกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ ของประเทศกลุ่ม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมถึงศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยด้านความ เสี่ยง นโยบายทางการค้า ปัญหาและแนวทางแก้ไขเพื่อการวางแผน กระบวนการทำ�ธุรกิจ ผลตอบแทนของการเป็นเจ้าของธุรกิจให้ สอดคล้องกับพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภค โดยเรียนรู้ จากกรณีศึกษาของธุรกิจที่ประสบความสำ�เร็จและล้มเหลว การระดม สมอง และการอภิปรายกลุ่ม เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนนำ�ไป ประยุกต์ใช้ในการดำ�เนินธุรกิจจริง จธ. 449 การจัดการนวัตกรรมสำ�หรับ (3 หน่วยกิต) ธุรกิจรูปแบบใหม่ EP 449 Innovation Management for New Business Model พื้นความรู้: บธ. 424 และ จธ. 311 ศึกษาถึงบริบทพลวัตการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมวัฒนธรรม พฤติกรรมผู้บริโภค และเทคโนโลยีของ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อกำ�หนดรูปแบบการทำ�ธุรกิจที่ให้ความได้ เปรียบในเชิงกลยุทธ์ ที่ก่อให้เกิดผลกำ�ไร การกำ�หนดราคา ขอบเขต โครงสร้ า งเงิ น ทุ น และแหล่ ง ที่ ม าของรายได้ จากการประยุ ก ต์ ใ ช้ ทรัพยากรขององค์กรอย่างเต็มที่ อันจะก่อให้เกิดผลกำ�ไรสูงสุดและ เพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการในการพัฒนาสินค้า ผลิตสินค้า และ บริการใหม่ รวมถึงศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการค้นหาโอกาสทาง ธุรกิจ กระบวนการนวัตกรรมและการพัฒนาธุรกิจใหม่ การประเมิน โอกาสการพัฒนาแนวคิดทางธุรกิจ และการดำ�เนินการตามแผนธุรกิจ ใหม่โดยใช้กรณีศึกษาและการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

หลักสูตรปริญญาตรี 393


หมวด​วิชา​กฎหมาย กม. 100* กฎหมายเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) LA 100 Introduction to Law ศึกษาลักษณะแห่งกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย หลัก กฎหมายที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับประชาชน อาทิ หลักกฎหมายที่ เกีย่ วกับบุคคล หลักกฎหมายเกีย่ วกับการท�ำนิตกิ รรมและสัญญา หลัก กฎหมายครอบครัว หลักกฎหมายมรดก หลักกฎหมายอาญา หลัก กฎหมายเกี่ยวกับหนี้ กฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายปกครอง กม. 101* ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (3 หน่วยกิต) LA 101 Jurisprudence ศึกษาลักษณะแห่งกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย การ ใช้และการยกเลิกกฎหมาย หลักกฎหมายที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับ ประชาชน อาทิ หลักกฎหมายเกี่ยวกับบุคคล หลักกฎหมายเกี่ยวกับ การท�ำนิติกรรมและสัญญา หลักกฎหมายเกี่ยวกับหนี้ กม. 102* กฎหมายธุรกิจ (3 หน่วยกิต) LA 102 Business Law ศึกษาถึงหลักกฎหมายที่มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นในการ ประกอบธุรกิจ อันได้แก่ กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา หลัก กฎหมายเกีย่ วกับองค์กรธุรกิจ กฎหมายเอกเทศสัญญาทีเ่ กีย่ วกับการ ประกอบธุรกิจ เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาค�้ำประกัน จ�ำนอง จ�ำน�ำ สัญญาเช่าทรัพย์ เช็ค ตลอดจนกฎหมายอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ

* เปิดสอนให้นักศึกษาอื่นนอกจากคณะนิติศาสตร์

394 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กม. 103* ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจ (3 หน่วยกิต) LA 103 Introduction to Business Law ศึกษาถึงความหมาย ความส�ำคัญและที่มาของกฎหมาย รวมทัง้ ศึกษาหลักกฎหมายทีม่ คี วามส�ำคัญและจ�ำเป็นในการประกอบ ธุรกิจ อาทิ กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา หลักกฎหมายเกี่ยว กับองค์กรธุรกิจ กฎหมายเอกเทศสัญญาทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจ เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาค�้ำประกัน จ�ำนอง จ�ำน�ำ สัญญาเช่าทรัพย์ เช็ค ตลอดจนกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ประกอบธุรกิจ กม. 104* กฎหมายรัฐธรรมนูญ (3 หน่วยกิต) LA 104 Constitutional Law ศึ ก ษาถึ ง วิ วั ฒ นาการของแนวความคิ ด ทางกฎหมาย รัฐธรรมนูญ รัฐ ระบบรัฐบาล อ�ำนาจอธิปไตย ความสัมพันธ์ระหว่าง องค์กรผู้ใช้อ�ำนาจอธิปไตย สิทธิเสรีภาพของประชาชน กม. 209 ทักษะการศึกษาวิชานิติศาสตร์เบื้องต้น (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์) ไม่นับหน่วยกิต LA 209 Fundamental Legal Study Skills ศึกษาวิธีการสืบค้นและเข้าถึงฐานข้อมูลเฉพาะทางด้าน นิตศิ าสตร์ วิธกี ารใช้ฐานข้อมูลทัว่ ไป การค้นคว้าค�ำพิพากษาศาลฎีกา ราชกิจจานุเบกษา วารสารกฎหมาย ฝึกทักษะการอ่าน การตีความ ภาษากฎหมาย การเขียนตอบ การวิเคราะห์และการให้ความเห็นทาง กฎหมาย ฝึกทักษะเบื้องต้นการใช้ศัพท์ภาษาอังกฤษเฉพาะทางด้าน นิตศิ าสตร์ ตลอดจนการแนะน�ำทางเลือกในการประกอบวิชาชีพของ นักกฎหมาย การพัฒนาบุคลิกภาพ จริยธรรม และเจตคติของ นักศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมในการศึกษากฎหมายและวางแผน ในการประกอบอาชีพต่อไป


กม. 210 กฎหมายแพ่ง: หลักทั่วไป (3 หน่วยกิต) LA 210 Civil and Commercial Code: General Principles ศึกษาลักษณะทั่วไปของกฎหมายแพ่ง การใช้และการ ตีความกฎหมาย การอุดช่องว่างของกฎหมาย ผลบังคับทางกฎหมาย สิทธิหน้าทีแ่ ละการใช้สทิ ธิ สาระส�ำคัญของกฎหมายแพ่งตามทีป่ รากฏ ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 (นอกจากทีเ่ ป็นเนือ้ หา ของ กม. 211) กม. 211 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา (3 หน่วยกิต) LA 211 Juristic Acts and Contract Law วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 209 ทักษะการศึกษาวิชา นิติศาสตร์เบื้องต้น ศึ ก ษาหลั ก กฎหมายลั ก ษณะนิ ติ กรรมตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 ระยะเวลา อายุความ และหลัก กฎหมายลักษณะสัญญาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 ลักษณะ 2 กม. 212 กฎหมายลักษณะหนี้: หลักทั่วไป (4 หน่วยกิต) LA 212 Law of Obligations: General Principles ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะหนี้ ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 ลักษณะ 1 กม. 213 กฎหมายลักษณะละเมิด (3 หน่วยกิต) จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ LA 213 Law of Tort, Management of Affairs without Mandate and Undue Enrichment ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 ลักษณะ 3, 4 และ 5 รวมถึงศึกษากฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของ เจ้าหน้าที่

กม. 214 กฎหมายลักษณะทรัพย์ (3 หน่วยกิต) LA 214 Law of Property ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะทรัพย์สิน ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 4 กม. 220 กฎหมายอาญา: ภาคทั่วไป (3 หน่วยกิต) LA 220 Criminal Law: General Provisions ศึ ก ษาหลั ก ทั่ ว ไปของกฎหมายอาญา ตามประมวล กฎหมายอาญา ภาคบทบัญญัติทั่วไป กม. 221 กฎหมายอาญา: ภาคความผิด (4 หน่วยกิต) LA 221 Criminal Law: Offences วิชาบังคับก่อน: สอบผ่านวิชา กม. 220 กฎหมายอาญา: ภาคทั่วไป ศึกษาหลักกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาคความผิด และภาคลหุโทษ กม. 230 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น (2 หน่วยกิต) LA 230 Introduction to Public Law ศึกษาวิวัฒนาการ บ่อเกิด ปรัชญา ความหมาย ลักษณะ ทัว่ ไป และประเภทของกฎหมายมหาชน ทฤษฎีการจัดโครงสร้างทาง ปกครองในรัฐ อ�ำนาจและทฤษฎีส�ำคัญเกี่ยวกับการใช้อ�ำนาจ โดย เฉพาะการแบ่งแยกการใช้อ�ำนาจอธิปไตย อ�ำนาจดุลพินิจและอ�ำนาจ ผูกพัน นิติกรรมทางปกครอง เขตอ�ำนาจศาลปกครอง กม. 241 เอกเทศสัญญา 1 (4 หน่วยกิต) LA 241 Specific Contracts I ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่า ทรัพย์ เช่าซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3

หลักสูตรปริญญาตรี 395


กม. 242 เอกเทศสัญญา 2 (3 หน่วยกิต) LA 242 Specific Contracts II ศึกษากฎหมายลักษณะจ้างแรงงาน จ้างท�ำของ รับขน ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน นายหน้า ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ บรรพ 3 กม. 243 กฎหมายลักษณะประกันด้วยบุคคล (3 หน่วยกิต) และทรัพย์ LA 243 Secured Transactions ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะค�้ำประกัน จ�ำนองและจ�ำน�ำ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 กม. 244 กฎหมายลักษณะประกันภัย (2 หน่วยกิต) LA 244 Law of Insurance ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะประกันภัย ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ตลอดจนศึกษากฎหมายอื่นที่ เกี่ยวข้องกับการประกันภัย กม. 245 กฎหมายรัฐธรรมนูญ (3 หน่วยกิต) LA 245 Constitutional Law วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 230 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น ศึ ก ษาวิ วั ฒ นาการของแนวความคิ ด ทางกฎหมาย รัฐธรรมนูญ รัฐ ระบบรัฐบาล อ�ำนาจอธิปไตย ความสัมพันธ์ระหว่าง องค์กรผูใ้ ช้อำ� นาจอธิปไตย สิทธิเสรีภาพของประชาชน การควบคุมมิ ให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญ ตลอดจนศึกษากฎหมายประกอบ รัฐธรรมนูญอื่นๆ

396 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กม. 300 กฎหมายลักษณะห้างหุ้นส่วน บริษัท (3 หน่วยกิต) และบริษัทมหาชน LA 300 Law of Partnerships, Corporation and Association and Law of Public Company ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะหุ้นส่วน บริษัท และสมาคม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 ลักษณะ 2 หมวด 2 และบรรพ 3 ลักษณะ 22 ตลอดจนศึกษากฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชน กม. 311 กฎหมายว่าด้วยตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด (3 หน่วยกิต) LA 311 Law of Negotiable Instruments and Current Account ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 19 และ ลักษณะ 21 กม. 312 กฎหมายลักษณะครอบครัว (3 หน่วยกิต) LA 312 Law of Family ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะครอบครัว ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 กม. 313 กฎหมายลักษณะมรดก (3 หน่วยกิต) LA 313 Law of Succession ศึกษาหลักกฎหมายลักษณะมรดก ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (4 หน่วยกิต) LA 314 Law of Civil Procedures ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งภาค 1 ภาค 2 และภาค 3


กม. 315 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (3 หน่วยกิต) ภาคบังคับคดี LA 315 Law of Civil Procedures - Provisional Measures and the Execution of Judgments วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณา ความแพ่ง ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งภาค 4 กม. 316 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (4 หน่วยกิต) LA 316 Law of Criminal Procedures วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณา ความแพ่ง ศึกษาหลักกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กม. 317 กฎหมายลักษณะพยาน (3 หน่วยกิต) LA 317 Law of Evidence ศึกษากฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐานตามบทบัญญัตขิ อง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาเกี่ยวกับพยานหลักฐาน กม. 318 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม (2 หน่วยกิต) และระบบตุลาการ LA 318 Constitution of Courts of Justice and Judicial System ศึกษาพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ศาลยุติธรรม อ�ำนาจ ศาล อ�ำนาจผูพ้ พิ ากษาในการพิจารณาพิพากษาคดี และระบบตุลาการ

กม. 319 กฎหมายล้มละลาย (3 หน่วยกิต) LA 319 Bankruptcy Law ศึกษาวิวฒ ั นาการและวัตถุประสงค์ของกฎหมายล้มละลาย วิธกี ารจัดการทรัพย์สนิ ของลูกหนี้ การบังคับช�ำระหนี้ และการจัดสรร ช�ำระหนี้ บทบาทของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และบุคคลอื่นที่ เกี่ยวข้องกับลูกหนี้ อ�ำนาจศาล กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย และ การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ กม. 320 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา (3 หน่วยกิต) LA 320 Intellectual Property Law ศึกษาแนวคิดและหลักการทัว่ ไปของทรัพย์สนิ ทางปัญญา โดยเน้นเรื่องของลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า และความลับ ทางการค้า ตลอดจนข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง กม. 321 กฎหมายปกครอง (3 หน่วยกิต) LA 321 Administrative Law ศึกษาความหมายและขอบเขตของกฎหมายปกครอง ความแตกต่างระหว่างกฎหมายปกครองกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ หลัก ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดระเบียบบริหารของรัฐ สิทธิ และหน้าที่ระหว่าง รัฐกับเอกชน องค์กรของฝ่ายปกครอง วิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง และการควบคุมการใช้อ�ำนาจปกครอง กม. 410 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล (3 หน่วยกิต) LA 410 Private International Law ศึกษาหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับสัญชาติของบุคคล การก�ำหนดสิทธิหน้าที่และ สถานภาพของบุคคลในทางระหว่างประเทศ สถานะของคนชาติและ คนต่างด้าว หลักว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย โดยการศึกษา กฎหมายว่าด้วยสัญชาติ กฎหมายว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย กฎหมายเกี่ยวกับคนต่างด้าว และอนุสัญญาที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรปริญญาตรี 397


กม. 411 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง (3 หน่วยกิต) LA 411 Public International Law ศึกษาหลักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง บ่อ เกิดของกฎหมายระหว่างประทศ การใช้กฎหมายระหว่างประเทศ สิทธิ และหน้าที่ของรัฐ ดินแดนของรัฐ สนธิสัญญา การระงับข้อพิพาท ระหว่างรัฐ การท�ำสงครามและความสัมพันธ์อ่ืนๆ ตามกฎหมาย ระหว่างประเทศ กม. 412 หลักวิชาชีพนักกฎหมาย (2 หน่วยกิต) LA 412 Legal Profession ศึกษาวิวัฒนาการของวิชาชีพกฎหมาย ความรับผิดชอบ จริยธรรมและงานของนักกฎหมายในสาขาต่างๆ มารยาทและอุดมคติ ของนักกฎหมายตลอดจนหน่วยงานต่างๆ ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อควบคุมผู้ ประกอบอาชีพทางกฎหมาย กม. 413 ภาษาอังกฤษพื้นฐานส�ำหรับนักกฎหมาย (2 หน่วยกิต) LA 413 Fundamental English for Lawyers ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐานด้านกฎหมาย โดยจะเน้นการอ่านและการท�ำความเข้าใจขัน้ พืน้ ฐานเกีย่ วกับเอกสาร ทางกฎหมาย การใช้ศัพท์และถ้อยค�ำทางกฎหมายที่จ�ำเป็น กม. 414 กฎหมายภาษีอากร (2 หน่วยกิต) LA 414 Tax Law ศึกษาประมวลรัษฎากรในส่วนที่ว่าด้วยภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล การอุทธรณ์ภาษี ตลอดจนปัญหาเกี่ยว กับภาษีอากร

แรงงานสัมพันธ์ กฎหมายประกันสังคม รวมทัง้ การพิจารณาคดีทเ่ี กีย่ ว กับแรงงาน กม. 420 สัมมนากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (2 หน่วยกิต) LA 420 Seminar in Civil and Commercial Law ศึกษาประเด็นปัญหาในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์โดยการ สัมมนา เพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้า ฝึกฝนการวิเคราะห์และการให้ ความเห็นทางกฎหมาย กม. 421 สัมมนากฎหมายอาญา (2 หน่วยกิต) LA 421 Seminar in Criminal Law ศึกษาประเด็นปัญหาในกฎหมายอาญาภาคทั่วไป ภาค ความผิด และภาคลหุโทษ โดยการสัมมนา เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้คน้ คว้า ฝึกฝนการวิเคราะห์และการให้ความเห็นทางกฎหมาย กม. 422 สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (2 หน่วยกิต) LA 422 Seminar in Law of Civil Procedures ศึกษาประเด็นปัญหาในกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่งที่ เกีย่ วกับขัน้ ตอนและกระบวนการด�ำเนินคดีแพ่งและการบังคับคดีแพ่ง โดยการสัมมนา เพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้า ฝึกฝนการวิเคราะห์และ การให้ความเห็นทางกฎหมาย

กม. 423 สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (2 หน่วยกิต) LA 423 Seminar in Law of Criminal Procedures ศึกษาประเด็นปัญหาในกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา ที่เกี่ยวกับการด�ำเนินกระบวนวิธีพิจารณาความอาญาในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา โดยการสัมมนา เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้คน้ คว้า กม. 415 กฎหมายแรงงาน (2 หน่วยกิต) ฝึกฝนการวิเคราะห์และการให้ความเห็นทางกฎหมาย LA 415 Labor Law ศึกษาหลักเกณฑ์ของกฎหมายแรงงาน ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมาย 398 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


กม. 424 กฎหมายเกี่ยวกับการกระท�ำความผิด (2 หน่วยกิต) ของเด็กและเยาวชน LA 424 Law of Juvenile Delinquency ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของเด็กและเยาวชน การ กระท�ำความผิดของเด็กและเยาวชน กระบวนการยุตธิ รรมส�ำหรับเด็ก และเยาวชน การแก้ไขและฟืน้ ฟูจติ ใจของเด็กและเยาวชนทีก่ ระท�ำผิด ปัญหาความรุนแรงภายในครอบครัว ตลอดจนการคุ้มครองเด็กและ เยาวชนตามกฎหมายการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี พิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว และพระราชบัญญัติอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง กม. 425 อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา (2 หน่วยกิต) LA 425 Criminology and Penology ศึกษาความหมายและขอบเขตของอาชญาวิทยา ลักษณะ และสาเหตุของอาชญากรรม การป้องกันอาชญากรรม การแก้ไขและ ฟื้นฟูผู้กระท�ำความผิด ความหมายและขอบเขตของทัณฑวิทยา ทฤษฎีและการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำความผิดอาญา การรอการลงโทษ การคุมประพฤติ และการพักการลงโทษ กม. 426 กฎหมายอาชญากรรมทางธุรกิจ (2 หน่วยกิต) LA 426 Law of Business Crime ศึกษาความหมายของอาชญากรรมทางธุรกิจ ลักษณะ และรูปแบบของอาชญากรรมทางธุรกิจ มาตรการและกลไกของรัฐใน การปราบปรามอาชญากรรมทางธุรกิจ กม. 427 การสืบสวนสอบสวนและนิติเวชศาสตร์ (2 หน่วยกิต) LA 427 Investigation and Forensic Medicine ศึ ก ษาหลั ก การและกระบวนการทางกฎหมายในการ สืบสวนและสอบสวนการกระท�ำความผิดทางอาญา สิทธิของผูต้ อ้ งหา ตามรัฐธรรมนูญ ศึกษาการใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์เพือ่ ประกอบ

การสืบสวนสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐาน ตลอดจนการ พิสูจน์พยานหลักฐานส�ำหรับการด�ำเนินคดีตามกระบวนการยุติธรรม กม. 428 นิติปรัชญา (2 หน่วยกิต) LA 428 Legal Philosophy ศึกษาแนวความคิดของนักปรัชญากฎหมายในส�ำนักต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาทฤษฎีอันเป็นรากฐานของกฎหมาย ตลอดจนปรัชญาทีเ่ ป็นเหตุผลในการบัญญัตกิ ฎหมาย เพือ่ ให้นกั ศึกษา สามารถน�ำแนวความคิดเหล่านั้นไปประยุกต์ ใช้ในการร่างกฎหมาย การใช้และการตีความกฎหมายในสังคมปัจจุบันได้อย่างถูกต้องและ เป็นธรรม กม. 430 ประวัติศาสตร์กฎหมาย (2 หน่วยกิต) และกระบวนการยุติธรรมของไทย LA 430 History of Law and the Judicial Process of Thailand ศึกษาประวัตศิ าสตร์ทางวัฒนธรรมและสังคมไทยในอดีต แนวความคิดและอิทธิพลของระบบกฎหมายต่างๆ ทีม่ ตี อ่ วิวฒ ั นาการ ของกฎหมายไทย ตลอดจนวิวัฒนาการของระบบกฎหมายไทยและ กระบวนการยุติธรรมของไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กม. 431 ภาษาไทยส�ำหรับนักกฎหมาย (2 หน่วยกิต) LA 431 Thai for Lawyers ศึกษาทักษะการใช้ภาษาไทยส�ำหรับนักกฎหมาย ฝึกการ อ่าน การวิเคราะห์และตีความภาษากฎหมาย และการสรุปประเด็น จากเอกสารทางกฎหมาย เช่น สัญญา บทความ ค�ำพิพากษาของศาล และเอกสารทางกฎหมายอืน่ ๆ ศึกษาความหมายของศัพท์และส�ำนวน ที่มีลักษณะเฉพาะและการใช้ภาษากฎหมาย รวมทั้งฝึกการเขียนการ ใช้ถ้อยค�ำภาษาให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทยและหลักกฎหมาย

หลักสูตรปริญญาตรี 399


กม. 432 การอ่านเอกสารทางกฎหมาย (2 หน่วยกิต) ภาษาอังกฤษและการค้นคว้า LA 432 English Legal Reading and Research วิชาบังคับก่อน: สอบผ่านวิชา กม. 413 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ส�ำหรับนักกฎหมาย ศึกษาและฝึกฝนการอ่านเอกสารวิชาชีพกฎหมาย เช่น ต�ำรา บทความ รายงานคดี (Law Report) ของประเทศต่างๆ และ ฝึกฝนการค้นคว้ากฎหมายต่างประเทศ กม. 433 การว่าความและศาลจ�ำลอง (2 หน่วยกิต) LA 433 Advocacy and Moot Court ศึกษาเทคนิคและวิธกี ารในการเตรียมคดี การร่างค�ำฟอ้ ง ค�ำให้การ แถลงการณ์ ค�ำร้อง และเทคนิคการว่าความในชั้นศาล ตลอดจนปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการด�ำเนินคดี กม. 434 วิชาชีพให้ค�ำปรึกษาด้านกฎหมาย (2 หน่วยกิต) และทนายความ LA 434 Legal Consultancy and Advocacy วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณา ความแพ่ง และเคยหรือก�ำลังศึกษาวิชา กม. 316 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ศึกษาหลักการส�ำคัญในการจัดตัง้ ส�ำนักงานกฎหมาย การ บริหารงาน และวิธีการให้ค�ำปรึกษาแก่ลูกความ รวมทั้งมารยาท ทนายความ เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมในการประกอบ วิชาชีพ

400 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กม. 435 ทักษะในการปฏิบัติงานทางกฎหมาย (2 หน่วยกิต) LA 435 Basic Skills in Legal Practice วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 314 กฎหมายวิธีพิจารณา ความแพ่ง และเคยหรือก�ำลังศึกษาวิชา กม. 316 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ศึกษาหลักการให้ค�ำปรึกษาทางกฎหมายโดยทั่วไปและ การฝึกภาคปฏิบัติ เช่น การให้ค�ำปรึกษาทางกฎหมาย การซักถาม ข้อเท็จจริง การสรุปข้อเท็จจริง การท�ำความเห็นเบือ้ งต้นทางกฎหมาย เป็นต้น โดยมีการบรรยายสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง และฝึกปฏิบัติตลอด หลักสูตรไม่น้อยกว่า 14 ชั่วโมง กม. 436 การใช้และการตีความกฎหมาย (2 หน่วยกิต) LA 436 Application and Interpretation of Law ศึกษาหลักเกณฑ์การใช้และการตีความกฎหมายลาย ลักษณ์อักษรและการใช้กฎหมายแบบเทียบเคียง (Analogy) การใช้ กฎหมายจารีตประเพณี รวมทั้งศึกษาปัญหาและหลักการใช้และการ ตีความกฎหมายเฉพาะเรื่อง เช่น กฎหมายอาญา กฎหมายมหาชน นิติกรรม สัญญา และเรื่องอื่นๆ กม. 437 กฎหมายเกี่ยวกับสุขภาพและการแพทย์ (2 หน่วยกิต) LA 437 Health and Medical Law ศึกษากฎหมายเกีย่ วกับสิทธิผปู้ ว่ ย กฎหมายเกีย่ วกับหลัก ประกันสุขภาพ กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์ และการควบคุมสถานพยาบาล และกฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์


กม. 438 เตรียมสหกิจศึกษา (3 หน่วยกิต) LA 438 Pre-cooperative Education (คู่ขนานวิชา สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา) ศึ ก ษาแนวคิดและความเข้า ใจของระบบสหกิ จศึ ก ษา ตลอดจนเป็นการเตรียมความพร้อมและทักษะด้านต่างๆ อาทิ การ เขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการหรือหน่วยงาน ราชการที่รองรับนักศึกษากฎหมาย เทคนิคการเข้ารับการสัมภาษณ์ งาน การพัฒนาทักษะในการสือ่ สาร วัฒนธรรมองค์กร เทคนิคการคิด อย่างสร้างสรรค์ เทคนิคการเขียนรายงานและการน�ำเสนอผลงานทาง กฎหมาย ข้อควรปฏิบัติ จรรยาบรรณและจริยธรรมที่ควรปฏิบัติใน ระหว่างการปฏิบัติงานในฐานะนักกฎหมาย

กม. 440 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา (2 หน่วยกิต) เพื่อภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม LA 440 Intellectual Property Law for Traditional Knowledge and Culture วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 320 กฎหมายทรัพย์สิน ทางปัญญา ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองทรัพย์สินทาง ปัญญาที่เชื่อมโยงกับภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ของไทย ได้แก่ สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์(Geographical Indication) ทรัพยากรพันธุกรรม (Genetic Resources) องคความ รูดั้งเดิม (Traditional Knowledge) และศิลปวัฒนธรรม (Folklore)

กม. 439 สหกิจศึกษา (6 หน่วยกิต) LA 439 Cooperative Education วิชาบังคับก่อน: สอบผ่านวิชา กม. 438 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการท�ำงานจริงในศาล หน่วยงานราชการหรือ หน่วยงานเอกชนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านกฎหมายในฐานะ พนักงานของหน่วยงานนัน้ ๆ เพือ่ เสริมสร้างให้นกั ศึกษามีความพร้อม ในการประกอบอาชีพจากการปฏิบัติงานอย่างมีหลักการและมีระบบ นักศึกษาจะต้องมีชั่วโมงการท�ำงานอย่างเต็มเวลา รวมแล้วไม่น้อย กว่า 16 สัปดาห์ หรือ 1 ภาคการศึกษา รวมถึงมีการประเมินผลการ ท�ำงานจากอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมกับหน่วยงานที่นักศึกษาเข้าท�ำงาน และนักศึกษาจะต้องจัดท�ำรายงานสรุปผลการท�ำงานเมื่อสิ้นสุดการ ท�ำงาน

กม. 441 กฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้า (2 หน่วยกิต) LA 441 Competition Law ศึกษาแนวคิดและกฎหมายว่าด้วยการแข่งขันเสรี การ ผูกขาดทางการค้า การก�ำหนดราคาสินค้า ตลอดจนการแข่งขันที่ไม่ เป็นธรรม และผลกระทบต่อผูบ้ ริโภค รวมทัง้ ศึกษาถึงกฎหมายว่าด้วย ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม กม. 442 กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (2 หน่วยกิต) LA 442 Securities Law and Regulations ศึกษากฎหมายเกีย่ วกับตลาดหลักทรัพย์ การบริหารงาน ของตลาดหลักทรัพย์และสถาบันต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการ ควบคุมการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ การออกและการค้าหลักทรัพย์ ตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวข้อง

หลักสูตรปริญญาตรี 401


กม. 443 การร่างสัญญาและการเจรจาต่อรอง (2 หน่วยกิต) LA 443 Contractual Drafting and Negotiation ศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการยกร่างนิติกรรมและสัญญา แบบต่าง ๆ ตลอดจนการใช้ถอ้ ยค�ำภาษาให้ถกู ต้องตามกฎหมาย และ การฝึกทักษะเตรียมการเจรจาต่อรอง รวมทัง้ ศึกษาถึงกฎหมายว่าด้วย ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม

กม. 447 การบัญชีส�ำหรับนักกฎหมาย (2 หน่วยกิต) LA 447 Accounting for Lawyers ศึกษาการน�ำหลักและกฎเกณฑ์ทางบัญชีเข้ามาประกอบ การใช้กฎหมาย ความสัมพันธ์ระหว่างหลักการบัญชีกับกฎหมายหุ้น ส่วนบริษัทและภาษีอากร การอ่านงบดุลและงบก�ำไรขาดทุนเพื่อการ ให้ค�ำปรึกษาด้านกฎหมาย

กม. 444 การจัดเตรียมเอกสารส�ำหรับ (2 หน่วยกิต) องค์กรธุรกิจใหม่ LA 444 Drafting Legal Documents for New Business วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 300 กฎหมายลักษณะห้างหุน้ ส่วน บริษัทและบริษัทมหาชน ศึกษาและฝึกฝนการใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วย องค์กรธุรกิจมาปรับใช้ในการจัดเตรียมเอกสารต่างๆ เพือ่ ใช้ในการจัด ตั้งองค์กรทางธุรกิจใหม่ ทั้งในส่วนที่เป็นเอกสารราชการ และสัญญา ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้น รวมทั้งสัญญามาตรฐานอื่นๆ ที่ จ�ำเป็นต้องใช้ส�ำหรับผู้ประกอบธุรกิจรายใหม่

กม. 448 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค (2 หน่วยกิต) LA 448 Consumer Protection Law ศึ ก ษาแนวคิ ด หลั ก การเกี่ ย วกั บ สิ ท ธิ ข องผู ้ บ ริ โ ภค มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราช บัญญัตคิ มุ้ ครองผูบ้ ริโภคและการด�ำเนินคดีเกีย่ วกับผูบ้ ริโภคตามพระ ราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551

กม. 445 การระงับข้อพิพาททางเลือก (2 หน่วยกิต) LA 445 Alternative Dispute Resolution ศึกษาแนวคิดและวิธีการระงับข้อพิพาททางเลือก ได้แก่ การเจรจา การไกล่เกลี่ย การไต่สวน การประนีประนอม และการ อนุญาโตตุลาการ

กม. 449 กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดของ (2 หน่วยกิต) สินค้าที่ไม่ปลอดภัย LA 449 Products Liability Law วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 448 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ศึกษาหลักการและเหตุผลของการร่างกฎหมาย เนื้อหา รวมทัง้ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการบังคับใช้กฎหมายเกีย่ วกับความรับผิด ของสินค้าที่ไม่ปลอดภัย รวมทั้งวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคที่จะน�ำมาใช้ กั บ การด� ำ เนิ น คดี ลัก ษณะนี้ รวมทั้ งเปรี ย บเที ย บกรณี ศึ กษาของ กฎหมายดังกล่าวของต่างประเทศและประเทศไทย

กม. 446 กฎหมายธุรกรรมการธนาคารและการเงิน (2 หน่วยกิต) LA 446 Banking and Finance Transaction Law ศึกษาการท�ำธุรกรรมด้านการเงิน การธนาคาร การก่อ หนี้ การให้ ห ลั ก ประกั น ที่ เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กรรมด้ า นการเงิ น ทั้ ง ใน ประเทศไทยและต่างประเทศ

กม. 450 กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (2 หน่วยกิต) LA 450 Information Technology Law ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อินเทอร์เน็ต ในรูปแบบต่างๆ การกระท�ำความผิดโดยการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ความรับผิดของผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ

402 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


กม. 451 กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทาง (2 หน่วยกิต) อิเล็กทรอนิกส์ LA 451 Electronic Transaction Law ศึ ก ษากฎหมายเกี่ ย วกั บ ธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ลายมื อ ชื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ธุ ร กิ จ บริ ก ารเกี่ ย วกั บ ธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ ตามพระราช บัญญัติธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

กม. 455 กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่งสินค้า (2 หน่วยกิต) และโลจิสติกส์ LA 455 Transportation Logistic and the Law ศึกษากฎหมายการจัดการด้านขนส่ง ได้แก่ กฎหมายด้าน การขนส่งทางบก การขนส่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ และการ ขนส่งต่อเนือ่ งหลายรูปแบบ กฎหมายพาณิชย์นาวี การจัดการด้านคลัง สินค้า รวมทัง้ กฎหมายทีส่ ง่ เสริมผูป้ ระกอบการธุรกิจโลจิสติกส์ไทย

กม. 452 กฎหมายการลงทุน (2 หน่วยกิต) LA 452 Law of Investment ศึกษาความส�ำคัญของการลงทุนในระบบเศรษฐกิจไทยใน ปัจจุบนั นโยบายการส่งเสริมการลงทุน (BOI) หลักเกณฑ์ของกฎหมาย เกี่ยวกับการลงทุน กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของคน ต่างด้าว กฎหมายเกี่ยวกับสถาบันการเงินที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน และกฎหมายอื่นที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการลงทุน รวมทั้งกฎหมาย เกี่ยวกับการลงทุนของต่างประเทศ

กม. 456 กฎหมายธุรกิจท่องเที่ยว (2 หน่วยกิต) LA 456 Law of Tourism Business ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกอบธุรกิจท่องเทีย่ ว ประเภทต่างๆ เช่น ธุรกิจน�ำเที่ยว มัคคุเทศก์ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจ สถานบริการ ในประเด็นที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไขในการขอใบ อนุญาตประกอบอาชีพ รวมทัง้ ท�ำความเข้าใจเนือ้ หาและศึกษารูปแบบ ของสัญญาประเภทต่างๆ ที่จ�ำเป็น

กม. 453 กฎหมายเกี่ยวกับการอุตสาหกรรม (2 หน่วยกิต) LA 453 Industrial Law ศึกษาหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม กฎหมายควบคุมการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม ระเบียบ กฎ เกณฑ์ และปัญหาทางด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กม. 454 กฎหมายศุลกากร (2 หน่วยกิต) LA 454 Customs Law ศึกษานโยบายของรัฐเกี่ยวกับพิธีการศุลกากร ความร่วม มือระหว่างประเทศว่าด้วยศุลกากร การก�ำหนดและการช�ำระภาษีขา เข้าและขาออก หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย พิธีการศุลกากรแบบไร้เอกสาร (Paperless) ตลอดจนศึกษาระเบียบ กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

กม. 457 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ (2 หน่วยกิต) โทรคมนาคม LA 457 Law of Telecommunication Business ศึกษาแนวนโยบายแห่งรัฐในการประกอบกิจการด้าน โทรคมนาคม บทบาทหน้าทีข่ ององค์กรอิสระในการก�ำกับดูแล ตลอด จนกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการขออนุ ญ าตเพื่ อ ประกอบกิ จ การ โทรคมนาคม กม. 458 กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ (2 หน่วยกิต) อสังหาริมทรัพย์ LA 458 Law of Real Estate Business ศึกษากฎหมายการจัดสรรที่ดิน กฎหมายว่าด้วยอาคาร ชุ ด กฎหมายที่ ดิ น กฎหมายผั ง เมื อ ง และภาษี เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์ตลอดจนแนวนโยบายของรัฐในการสนับสนุนและส่ง เสริมการประกอบธุรกิจดังกล่าว หลักสูตรปริญญาตรี 403


กม. 459 กฎหมายเกี่ยวกับการควบรวมกิจการ (2 หน่วยกิต) LA 459 Law of Mergers and Acquisitions ศึ ก ษาหลั ก เกณฑ์ รู ป แบบกฎหมายที่ เ กี่ ย วกั บ คณะ กรรมการบริษทั การควบรวมกิจการ (Take over) กฎหมายหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินการดังกล่าว วิธีการร่างสัญญาควบรวม กิจการ ภาษีที่เกี่ยวกับการควบรวมกิจการ และการน�ำบริษัทออกจาก ตลาดหลักทรัพย์ กม. 460 กฎหมายเกี่ยวกับตราสารอนุพันธ์ (2 หน่วยกิต) LA 460 Derivative Law ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับอนุพนั ธ์ทางการเงินทีเ่ กีย่ ว เนื่องกับอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน กม. 461 การบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา (2 หน่วยกิต) LA 461 Intellectual Property Management วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 320 กฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญา ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารจัดการทรัพย์สนิ ทางปัญญาส�ำหรับเจ้าของสิทธิ์หรือผู้ประกอบธุรกิจ โดยมุ่งเน้น กฎหมายสิทธิบตั ร กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายเครือ่ งหมายการค้า และ กฎหมายอื่นๆ ในมุมมองการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา กม. 462 สัมมนากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา (2 หน่วยกิต) LA 462 Seminar in Intellectual Property Law วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 320 กฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญา ศึกษาประเด็นปัญหาในกฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญาและ ประเด็นใหม่ที่โต้แย้งในปัญหาข้อกฎหมาย โดยการสัมมนาเพื่อให้ นักศึกษาได้ค้นคว้า ฝึกฝนการวิเคราะห์และการให้ความเห็นทาง กฎหมาย

404 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กม. 463 กฎหมายส�ำหรับผู้ประกอบการ (2 หน่วยกิต) LA 463 Entrepreneurship Law ศึกษากฎหมายที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้ประกอบการ เช่น กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกองค์กรธุรกิจ กฎหมายตัวแทนนายหน้า กฎหมายแรงงาน นอกจากนี้นักศึกษาจะได้ศึกษาถึงประเด็นข้อ กฎหมายทีส่ ำ� คัญในสัญญาประเภทต่างๆ ทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการประกอบ ธุรกิจ เช่น สัญญากู้ยืมเงิน สัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชี สัญญาจ�ำนอง สัญญาตั้งตัวแทนจ�ำหน่าย สัญญาเช่า สัญญาจ้างแรงงาน เลตเตอร์ ออฟเครดิต และทรัสต์รีซีท เป็นต้น กม. 464 กฎหมายภาษีการบริโภค (2 หน่วยกิต) LA 464 Consumption Tax วิชาบังคับก่อน: เคยศึกษาวิชา กม. 414 กฎหมายภาษีอากร หลักการและแนวคิดของกฎหมายภาษีการบริโภค ภาษี ธุรกิจเฉพาะ ภาษีสรรพสามิต ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่นๆ ที่มี ลักษณะในท�ำนองเดียวกัน กม. 470 กฎหมายเลือกตั้งและรัฐสภา (2 หน่วยกิต) LA 470 Election Law and Parliament ศึกษาระบบพรรคการเมือง ระบบการเลือกตัง้ ในด้านของ ความเป็นมา องค์กรของรัฐ และกฎหมายที่มีความเกี่ยวข้อง ในส่วน ของรัฐสภาจะศึกษาถึงความเป็นมาของระบบรัฐสภา ความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐสภากับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย กระบวนการ ตราพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญและกระบวนการตราพระราช บั ญ ญั ติ โ ดยรั ฐ สภา ข้ อ บั งคั บ การประชุ ม สภาผู ้ แ ทนราษฎร ข้อ บังคับการประชุมวุฒิสภา ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา บทบาทของ รัฐสภาในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐสภา


กม. 471 สิทธิมนุษยชน (2 หน่วยกิต) LA 471 Human Rights ศึ ก ษาประวั ติ แ ละวิ วั ฒ นาการของแนวความคิ ด และ ปรัชญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน การคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนโดยสันนิบาต ชาติและสหประชาชาติ การคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศใน ระดับภูมิภาค ตลอดจนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายไทย

กม. 475 การร่างกฎหมายและกระบวนการ (2 หน่วยกิต) นิติบัญญัติ LA 475 Legal Drafting and Legislative Process ศึกษาหลักเกณฑ์ วิธีการยกร่างกฎหมาย การใช้ภาษา และถ้อยค�ำในกฎหมาย ตลอดจนกระบวนการนิติบัญญัติของไทยใน ส่วนที่เกี่ยวกับการเสนอร่างกฎหมาย การพิจารณา และการประกาศ ใช้กฎหมาย

กม. 472 ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (2 หน่วยกิต) LA 472 Administrative Court and Administrative Procedures ศึกษาถึงแนวคิดการควบคุมการใช้อ�ำนาจรัฐโดยองค์กร ตุลาการ ศึกษาถึงที่มาในการจัดตั้งศาลปกครอง การจัดองค์กรของ ศาลปกครอง เขตอ�ำนาจศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง

กม. 476 กฎหมายอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (2 หน่วยกิต) และสิ่งแวดล้อม LA 476 Natural Resources and Environmental Law ศึกษาแนวความคิดและหลักเกณฑ์ทางกฎหมายเกีย่ วกับ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ศึกษาถึงมูลเหตุแห่งการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและผล กระทบที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสังคม การแก้ไขและป้องกันโดยอาศัย มาตรการทางกฎหมายและนโยบายของรัฐในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการด�ำเนินคดีเพื่อเรียกค่าสินไหมทดแทนความเสียหายอัน เกิดจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

กม. 473 กฎหมายการคลัง (2 หน่วยกิต) LA 473 Law of Public Finance ศึกษาทฤษฎีนโยบายการเงินและหลักเศรษฐศาสตร์ซึ่ง เกีย่ วกับการเงินและการคลังของรัฐ บทบาทและนโยบายของรัฐในการ ด�ำเนินการเศรษฐกิจ หลักกฎหมายที่เกี่ยวกับการเงินการคลัง วิธีการ งบประมาณ การกู้หนี้และพันธบัตร ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวกับ นโยบายการเงินอื่นๆ กม. 474 สัญญาของรัฐ (2 หน่วยกิต) LA 474 State Contract ศึกษาหลักเกณฑ์ องค์ประกอบ กระบวนการ รูปแบบและ การจัดท�ำสัญญาของรัฐตามกฎหมายแพ่ง และกฎหมายปกครอง

กม. 477 กฎหมายประกันสังคม (2 หน่วยกิต) LA 477 Law of Social Security ศึกษาถึงแนวคิดพื้นฐานและประวัติความเป็นมาของ กฎหมายประกันสังคม ระบบการประกันความเจ็บป่วย การประกัน ความทุพพลภาพ การประกันความชราภาพ การประกันการมรณะ และการประกันการว่างงาน ตลอดจนศึกษาถึงพัฒนาการและปัญหา จากการใช้ระบบประกันสังคมในประเทศไทย

หลักสูตรปริญญาตรี 405


กม. 478 กฎหมายเกี่ยวกับพลังงาน (2 หน่วยกิต) LA 478 Energy Law ศึกษาหลักเกณฑ์ของกฎหมายในการควบคุมและใช้ ประโยชน์ในแหล่งพลังงานต่างๆ รวมทั้งพลังงานทดแทน กม. 479 สัมมนากฎหมายมหาชน (2 หน่วยกิต) LA 479 Seminar in Public Law ศึกษาประเด็นปัญหาในทางกฎหมายมหาชนสาขาต่างๆ เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง และกฎหมายการคลัง เป็นต้น โดยการสัมมนาเพือ่ ให้นกั ศึกษาได้คน้ คว้า ฝึกฝนการวิเคราะห์ และการให้ความเห็นทางกฎหมาย กม. 480 กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ (2 หน่วยกิต) LA 480 Public Economic Law ศึกษาถึงหลักทั่วไปของกฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ ความหมาย วิวฒ ั นาการ ลักษณะทัว่ ไปและหลักพืน้ ฐานของกฎหมาย มหาชนทางเศรษฐกิจ การจัดองค์กรและการด�ำเนินการที่เกี่ยวกับ เศรษฐกิจของรัฐ ตลอดจนการควบคุมการแทรกแซงทางเศรษฐกิจ ของรัฐ กม. 490 กฎหมายว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ (2 หน่วยกิต) LA 490 International Trade Law ศึกษาหลักกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมาย เศรษฐกิจระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายที่ใช้บังคับกับสัญญาการค้าระหว่างประเทศ ข้อก�ำหนดใน การส่งมอบสินค้า การท�ำสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ การขนส่ง และการประกันภัยสินค้า การช�ำระเงินและการโอนเงินระหว่างประเทศ และการระงับข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนสิทธิ ประโยชน์ทางภาษี 406 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กม. 491 กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล (2 หน่วยกิต) LA 491 International Law of the Sea ศึกษาหลักกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล ความ ส�ำคัญของทะเลในทางเศรษฐกิจและการเมือง การครอบครองทะเล การแบ่งอาณาเขตทางทะเลของรัฐ การปอ้ งกันการแสวงหาประโยชน์ จนเกินควรทางทรัพยากรธรรมชาติใต้ทะเล พืน้ ดินใต้ทะเลซึง่ อยูน่ อก เหนือเขตอ�ำนาจของรัฐ และการระงับปัญหาข้อพิพาทระหว่างรัฐซึ่ง เกิดจากทะเล กม. 492 กฎหมายว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ (2 หน่วยกิต) LA 492 Law of International Organization ศึกษาวิวัฒนาการโครงสร้าง อ�ำนาจหน้าที่และบทบาท ขององค์การสหประชาชาติ ทบวงการช�ำนัญพิเศษและองค์การต่างๆ ของสหประชาชาติ รวมทัง้ องค์การระหว่างประเทศระดับภูมภิ าค เช่น องค์การอนามัยโลก กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ องค์การ สิ่งแวดล้อมโลก เป็นต้น กม. 493 กฎหมายสหภาพยุโรป (2 หน่วยกิต) LA 493 European Union Law ศึ ก ษาหลั ก ทั่ ว ไปของกฎหมายเกี่ ย วกั บ สหภาพยุ โ รป สถาบันของสหภาพยุโรป สิทธิและหน้าทีข่ องรัฐภาคีภายใต้พนั ธะของ สหภาพยุโรป อ�ำนาจศาลแห่งสหภาพยุโรป ปัญหาและแนวโน้มของ สหภาพยุโรป กม. 494 กฎหมายการเงินและการธนาคาร (2 หน่วยกิต) ระหว่างประเทศ LA 494 Law of International and Finance Transaction ศึ ก ษากฎหมายและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ การเงิ น การ ธนาคารระหว่างประเทศ ทั้งในส่วนของกฎหมายและข้อสัญญา เช่น สัญญากูเ้ งินระหว่างประเทศ การออกหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ และ ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น


กม. 495 อนุญาโตตุลาการทางการค้า (2 หน่วยกิต) ระหว่างประเทศ LA 495 International Commercial Arbitration ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาท การระงับข้อ พิพาททางธุรกิจการค้า โดยการใช้อนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่าง ประเทศ กระบวนการพิจารณา การท�ำค�ำวินิจฉัยชี้ขาด ความเห็น และการบังคับตามค�ำวินิจฉัย กม. 496 กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (2 หน่วยกิต) LA 496 International Environmental Law ศึกษาหลักเกณฑ์ทางกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม หลักการพืน้ ฐานของ อนุสัญญาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญ รวมทั้งองค์กรเพื่อการจัดการ สิ่งแวดล้อม และการระงับข้อพิพาทด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ กม. 497 ประชาคมอาเซียน (2 หน่วยกิต) LA 497 ASEAN Community ศึกษาเกีย่ วกับความเป็นมาของอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (Asean Charter) ซึ่งเป็นข้อตกลงในความร่วมมือด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ทีม่ งุ่ ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพ ในกลุ่มประเทศอาเซียน ได้แก่ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และประชาคมสังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

กม. 498 หลักการภาษีอากรระหว่างประเทศ (2 หน่วยกิต) LA 498 International Taxation ศึกษาภาษีอากรทีม่ ผี ลกระทบต่อธุรกรรมระหว่างประเทศ การจัดเก็บภาษีเงินได้จากผูม้ ถี นิ่ ทีอ่ ยู่ในประเทศและจากผูม้ เี งินได้จาก แหล่งในประเทศ การป้องกันการเลี่ยงภาษีระหว่างประเทศ หลักการ ตั้งราคาโอน ภาษีซ้อน การขจัดภาษีซ้อน การเว้นการเก็บภาษีซ้อน ระหว่างรัฐ กฎหมายภาษีเงินได้ระหว่างประเทศและข้อตกลงการเว้น การเก็บภาษีซ้อนของประเทศไทย กม. 499 กฎหมายองค์การเศรษฐกิจ (2 หน่วยกิต) ระหว่างประเทศ LA 499 Law of International Economic Organizations ศึกษาวิวัฒนาการ โครงสร้าง อ�ำนาจหน้าที่ บทบาท และ หลักเกณฑ์ของการเข้าเป็นสมาชิกองค์การเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น องค์การการค้าโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ธนาคารโลก กลุ่มแปดประเทศ เป็นต้น

หลักสูตรปริญญาตรี 407


หมวด​วิชา​เศรษฐศาสตร์ ศศ. 101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 (3 หน่วยกิต) EC 101 Microeconomics I ศึกษาความหมายของเศรษฐศาสตร์ ระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์อปุ ทานและการกำ�หนดราคา ความยืดหยุน่ พฤติกรรมผูบ้ ริโภค ว่าด้วยทฤษฎีอรรถประโยชน์และเส้นความพอใจเท่ากัน ความหมาย ของการผลิต ต้นทุนและรายรับจากการผลิต ปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการ ผลิตและผลตอบแทนของปัจจัยเหล่านัน้ การกำ�หนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ ศศ. 102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 (3 หน่วยกิต) EC 102 Macroeconomics I ศึกษาถึงความหมายของรายได้ประชาชาติ การกำ�หนด รายได้ประชาชาติและผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ พฤติกรรมของ การใช้จ่ายทางด้านการบริโภค การออม การลงทุน และการใช้จ่าย ของรัฐบาล การเงินและการธนาคาร นโยบายการเงินและนโยบายการ คลัง การค้าระหว่างประเทศ การจ้างงาน วงจรเศรษฐกิจ ตลอดจน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ศศ. 103 คณิตศาสตร์สำ�หรับนักเศรษฐศาสตร์ 1 (3 หน่วยกิต) EC 103 Mathematics for Economist I ศึกษาระบบจำ�นวนจริง สมการและอสมการ ฟังก์ชนั และ กราฟของฟังก์ชันชนิดต่างๆ ได้แก่ ฟังก์ชันเส้นตรง ฟังก์ชันโพลีโน เมียล ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิซึม รวมทั้งการ หาอนุพนั ธ์และการอินทิเกรทของแต่ละชนิด การจัดลำ�ดับอนุกรม โดย เน้นการนำ�ไปใช้ในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์

408 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. 104 คณิตศาสตร์สำ�หรับนักเศรษฐศาสตร์ 2 (3 หน่วยกิต) EC 104 Mathematics for Economist II พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 103 ศึกษาเมทริกซ์ ดีเทอร์มิแนนท์ และค�ำตอบของระบบ สมการเชิงเส้น การหาค่าต�่ำสุดและสูงสุดของฟังก์ชันทั้งที่มีเงื่อนไข และไม่มเี งือ่ นไข การศึกษาอนุพนั ธ์ยอ่ ยและอนุพนั ธ์ยอ่ ยอันดับสูง อิน ทริกรัลหลายชั้น โดยเน้นการน�ำไปใช้ในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ศศ. 106 คณิตศาสตร์สำ�หรับเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EC 106 Mathematics for Business Economics พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 103 ศึกษาถึงการน�ำเทคนิคทางคณิตศาสตร์เพื่อน�ำไปใช้ วิเคราะห์ปญั หาต่าง ๆ ในทางเศรษฐศาสตร์ธรุ กิจทัง้ ในทางทฤษฎีและ การประยุกต์ใช้ เช่น การหาค่าความยืดหยุ่นชนิดต่างๆ ของอุปสงค์ และอุปทาน การวิเคราะห์ฟังก์ชันการผลิตและฟังก์ชันต้นทุนการหา ค่าก�ำไรสูงสุดและขาดทุนต�่ำสุดภายใต้ข้อจ�ำกัด การสั่งซื้อโดยเสียค่า ใช้จ่ายต�่ำสุด ทฤษฎีของเกมส์ PERT และ CPM ตลอดจนทฤษฎีการ ตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง เป็นต้น ศศ. 107 สถิติเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น (3 หน่วยกิต) EC 107 Introduction to Economic Statistics ศึกษาความหมาย ขอบเขตความสำ�คัญของสถิติ วิธที าง สถิติ การรวบรวมและนำ�เสนอข้อมูล การแจกแจงความถี่ การสุ่ม ตัวอย่าง การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย ความน่า จะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่องและแบบไม่ต่อเนื่อง การประมาณค่าและการทดสอบ สมมติฐานเบื้องต้นเพื่อเป็นพื้นฐาน ความรูท้ างสถิตใิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลทางเศรษฐศาสตร์ในลำ�ดับทีส่ งู ขึน้


ศศ. 200 เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิตประจำ�วัน (3 หน่วยกิต) EC 200 Practical Economics for Daily Life เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู้ แ ละเข้ า ใจหลั ก การทาง เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นสำ�หรับชีวิตประจำ�วันและมุ่งเน้นให้นักศึกษามี ทักษะที่จะนำ�องค์ความรู้ที่ได้ในชั้นเรียนไปพัฒนาใช้ได้เองโดยง่าย โดยเนื้อหาจะมุ่งเน้นถึงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในเวลานั้นและ อธิบายเนื้อหาโดยใช้ตัวอย่างของสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นกับระบบ เศรษฐกิจ ทั้งนี้ครอบคลุมการศึกษาวงจรทางเศรษฐกิจในทุกระดับ ตั้งแต่ความรู้เบื้องต้นในทางเศรษฐศาสตร์ ต้นทุนและกำ�ไรจากการ ผลิต ตลาด ตลาดเงิน ตลาดทุน นโยบายรัฐบาล ปัญหาเศรษฐกิจ การค้าและการเงินระหว่างประเทศ ตลอดจนความรู้รอบตัวเกี่ยวกับ เศรษฐกิจ ศศ. 201 เศรษฐศาสตร์จุลภาค (3 หน่วยกิต) EC 201 Microeconomics เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวความคิดและหลักวิชาทาง เศรษฐศาสตร์อย่างกว้างๆ เพื่อนำ�ไปใช้วิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐกิจ ที่เกิดขึ้นในภาคเอกชนและธุรกิจ ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ มูลค่า ราคา การจัดสรรทรัพยากร พฤติกรรมของผู้บริโภค พฤติกรรมของ ผูผ้ ลิต การกำ�หนดราคาในตลาดทีม่ กี ารแข่งขันสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ ตลอดจนการกำ�หนดราคาของปัจจัยการผลิต ศศ. 202 เศรษฐศาสตร์มหภาค (3 หน่วยกิต) EC 202 Macroeconomics เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบถึงหลักทั่วไปทางเศรษฐกิจที่ เกี่ยวกับเศรษฐกิจในด้านส่วนรวม ศึกษาถึงพฤติกรรมของปัจจัยทาง เศรษฐกิจต่างๆ ซึง่ เป็นตัวกำ�หนดรายได้ การออม การลงทุน บทบาท ของรัฐบาล การว่าจ้าง ทำ�งาน ระดับเงินเฟ้อและเงินฝืด ภาพทางการ เงิน บทบาททางด้านการค้าระหว่างประเทศ ความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการพัฒนาเศรษฐกิจ

ศศ. 203 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น (3 หน่วยกิต) EC 203 Introduction to Economics เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู้ แ ละเข้ า ใจหลั ก การทาง เศรษฐศาสตร์ ที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจในชีวิตประจำ�วัน ศึกษาถึงการกำ�หนดราคาสินค้า ราคาปัจจัยการผลิต ทฤษฎีการผลิต รายได้ประชาชาติ ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ การเงิน การ คลัง การติดต่อกับต่างประเทศ ตลอดจนการใช้นโยบายต่างๆ เพื่อ ทำ�ให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ศศ. 204 สถิติเศรษฐศาสตร์ (3 หน่วยกิต) EC 204 Economic Statistics พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 107 หรือ สถ. 201 ศึกษาการประมาณค่าพารามิเตอร์ตา่ งๆ การทดสอบสถิติ ที่ใช้พารามิเตอร์และไม่ใช้พารามิเตอร์ เช่น ไคสแควร์ เป็นต้น การ วิเคราะห์สมการถดถอย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และความแปรปรวน การศึกษาเปรียบเทียบค่าสถิติต่างๆ กับผลที่ได้จากโปรแกรมสำ�เร็จ รูปทางสถิติ การใช้เลขดัชนี รวมทัง้ การวิเคราะห์อนุกรมเวลาเพือ่ การ พยากรณ์ความเจริญเติบโตในระยะยาวและความแปรปรวนในระยะสัน้ ศศ. 211 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 (3 หน่วยกิต) EC 211 Microeconomics II พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 101 เคยเรียน ศศ. 104 หรือ ศศ. 106 ศึกษาทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค วิเคราะห์ความพอใจ ของผูบ้ ริโภคทัง้ แบบนับหน่วย และแบบเรียงลำ�ดับ หลักการสร้างเส้น อุปสงค์และเส้นอุปทาน ทฤษฎีการผลิต หลักการผสมปัจจัยการผลิต หลักการเลือกผลผลิตรวม ทฤษฎีตน้ ทุนการผลิตโดยเน้นส่วนประกอบ ต้นทุน การผลิตทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ลักษณะของโครงสร้าง ของตลาด เงื่อนไขดุลยภาพของตลาดประเภทต่างๆ ตลอดจน เศรษฐศาสตร์สวัสดิการ หลักสูตรปริญญาตรี 409


ศศ. 212 เศรษฐศาสตร์มหภาค 2 (3 หน่วยกิต) EC 212 Macroeconomics II พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 102 ศึกษาวิธีคำ�นวณรายได้ประชาชาติด้านรายได้ รายจ่าย และด้านผลผลิต ระบบบัญชีสังคม ทฤษฎีการกำ�หนดรายได้ ส่วน ประกอบของอุปสงค์รวมและอุปทานรวม ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ โดยแยกศึกษาปัจจัยสำ�คัญต่างๆ ด้านผลผลิต ปริมาณเงินและการจ้าง งาน แนวทางการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์แบบคลาสสิคและแบบเคนส์ ดุลการชำ�ระเงิน ดุลยภาพภายในและภายนอกของระบบเศรษฐกิจ ตลอดจนความเติบโตและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ศศ. 213 ประวัติลัทธิเศรษฐกิจ (3 หน่วยกิต) EC 213 History of Economic Thoughts พื้นความรู้: ศศ. 101 และ ศศ.102 ศึกษาแนวความคิดของนักปราชญ์ทางเศรษฐกิจสมัย โบราณ สำ�นักพาณิชย์นิยม ฟิซิโอแครตส์ แนวความคิดของสำ�นัก คลาสสิค นีโอคลาสสิค มาร์กซิสซึม และเคนส์ จนถึงแนวความคิด ของนักเศรษฐศาสตร์ในยุคปัจจุบนั และเปรียบเทียบให้เห็นถึงลักษณะ ของระบบเศรษฐกิจต่างๆ เช่น ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม สังคมนิยม ฯลฯ ศศ. 219 ธุรกิจระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) EC 219 International Business พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 101 และ ศศ. 102 ศึกษาวัตถุประสงค์ และรูปแบบของธุรกิจระหว่างประเทศ ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม นโยบายของรัฐและบทบาทขององค์กร ระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมและการดำ�เนินงานของ ธุรกิจระหว่างประเทศ ศึกษายุทธศาสตร์และความสามารถในการ แข่งขันของธุรกิจระหว่างประเทศ วิเคราะห์ผลกระทบของธุรกิจ ระหว่างประเทศต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 410 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. 222 เศรษฐกิจพอเพียง (3 หน่วยกิต) EC 222 Sufficiency Economy ศึ ก ษาถึ ง ความหมาย ปรั ช ญาและหลั ก แนวคิ ด ของ เศรษฐกิจพอเพียง และการนำ�แนวพระราชดำ�ริเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ ใช้ในการดำ�เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการดำ�เนินชีวิต ประจำ�วันภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ โดยศึกษาบทเรียนจากเหตุการณ์ วิกฤตเศรษฐกิจของไทยใน ปี 2540 ตลอดจนศึกษาความสัมพันธ์ของ ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำ�ริกับเศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์ตาม แนวพระราชดำ�ริ ซึง่ เป็นแนวทางในการพัฒนาทีน่ ำ�ไปสูค่ วามสามารถ ในการพึง่ ตนเองอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนในระดับต่างๆ อย่างเป็นขัน้ ตอน รวมไปถึงการศึกษานอกสถานที่ในกรณีศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ ศศ. 309 เศรษฐมิติเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) EC 309 Introduction of Econometrics พื้นความรู้: ศศ. 204 ศึกษาการประยุกต์ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคณู เพือ่ ศึกษาปัญหาทางเศรษฐศาสตร์และการวิเคราะห์การถดถอยในรูปแบบ อื่นๆ ที่นอกเหนือจากสมการเชิงเส้นตรง ได้แก่ สมการโพลีโนเมียล และสมการในรูปของล๊อก รวมทั้งปัญหาทางสถิติที่เกิดขึ้นในการ วิเคราะห์การถดถอยพหุคณ ู ด้วยวิธกี ำ�ลังทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ ตลอดจนเทคนิค อื่นๆ ในการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ เช่น การใช้ตัวแปรหุ่น การ ใช้ตัวแปรล่าช้า เป็นต้น ทั้งนี้รวมไปถึงการศึกษาการใช้โปรแกรม สำ�เร็จรูปทางสถิตเิ พือ่ วิเคราะห์การถดถอยพหคูณในภาคปฏิบตั อิ กี ด้วย ศศ. 310 ภาษาอังกฤษสำ�หรับเศรษฐศาสตร์ (3 หน่วยกิต) EC 310 English for Economics พื้นความรู้: สอบได้ อก. 212 ศศ. 101 และ ศศ. 102 ศึกษาแนวทางในการอ่านตำ�รา บทความ และเอกสาร ทางวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ทเี่ ป็นภาษาอังกฤษ เพือ่ ยกระดับความ สามารถในการอ่าน การจับประเด็นความสำ�คัญ ความเข้าใจ การ ตีความหมาย และการสรุปเรื่องราวได้อย่างถูกต้อง


ศศ. 311 หลักการพัฒนาเศรษฐกิจเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) EC 311 Principles of Economic Development พื้นความรู้: ศศ. 212 ศึกษาถึงความหมายของการพัฒนาและการเจริญเติบโต การวัดการขยายตัวและการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิด การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ลักษณะของความด้อยพัฒนา สาเหตุของ ความด้อยพัฒนา และผลกระทบที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ ตัวแบบ (Models) ในการพัฒนาและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของนัก เศรษฐศาสตร์ตั้งแต่สมัยคลาสสิคจนถึงสมัยปัจจุบัน

ศศ. 314 เศรษฐศาสตร์การเงินการธนาคาร (3 หน่วยกิต) EC 314 Economics of Money and Banking พื้นความรู้: ศศ. 212 ศึกษาถึงบทบาทของเงินและสินเชื่อในระบบเศรษฐกิจ พิจารณาวิวัฒนาการของเงินและระบบการเงิน ทฤษฎีเงินตรา หน้าที่ ของธนาคารกลาง ธนาคารพาณิชย์ ระบบธนาคารทีเ่ ป็นธนาคารเดีย่ ว และธนาคารสาขา บทบาทของธนาคารต่อปริมาณเงิน การสร้างและ การทำ�ลายเงินฝาก ตลอดจนตลาดและสถาบันการเงินอื่นๆ รวมทั้ง บทบาทของสถาบันการเงินในการพัฒนาเศรษฐกิจ

ศศ. 312 การคลังสาธารณะ (3 หน่วยกิต) EC 312 Public Finance พื้นความรู้: ศศ. 212 ศึกษาทางด้านเศรษฐศาสตร์เกีย่ วกับรายรับและรายจ่าย โดยเน้นระบบภาษีอากร ตลอดจนการก่อหนี้และการบริหารหนี้ของ รัฐบาล ศึกษาการใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดินของรัฐบาล รวมทั้ง วัตถุประสงค์ และเครือ่ งมือของนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพือ่ นำ�ไปใช้ในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

ศศ. 316 เศรษฐศาสตร์เมืองและภูมิภาค (3 หน่วยกิต) EC 316 Urban Economics พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 311 หรือ เรียนพร้อมกัน ศึกษาสาเหตุที่รวมตัวกันของกิจกรรมทางเศรษฐกิจขึ้น มาเป็นเมือง โดยวิเคราะห์ถงึ ผลประโยชน์และต้นทุนในการรวมตัวกัน เปรียบเทียบรูปแบบเมืองที่มีอยู่ในปัจจุบันกับรูปแบบของระบบเมือง ไทย โดยพิจารณาถึงปัจจัยการเลือกทีต่ งั้ การใช้ทด่ี นิ การกำ�หนดราคา ทีด่ นิ ทฤษฎีและนโยบายเกีย่ วกับทีต่ งั้ ของเมืองรวมทัง้ ขนาดของเมือง ทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ ทฤษฎี นโยบายและการวางแผนเพือ่ พัฒนาภูมภิ าค การกระจายรายได้ระหว่างภูมภิ าค การตัง้ ถิน่ ฐาน การใช้ทดี่ นิ วิเคราะห์ ปัญหาอันเกิดจากการขยายตัวของชุมชน เช่น การขาดแคลนที่อยู่ อาศัย ความยากจนในเมือง สิ่งแวดล้อม และการคมนาคม ฯลฯ การ วิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานที่ทำ�ให้เกิดอุตสาหกรรม และการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของภูมิภาค

ศศ. 313 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) EC 313 International Economics พื้นความรู้: ศศ. 101 และ ศศ. 102 ศึกษาถึงทฤษฎีและนโยบายการค้า การลงทุน ความช่วย เหลือระหว่างประเทศ และระบบการเงินระหว่างประเทศ โดยพิจารณา จากต้นทุนการผลิตเปรียบเทียบ การค้าเสรี การค้าให้ความคุ้มครอง ดุลการค้า ดุลการชำ�ระเงิน ตลอดจนองค์การทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ

หลักสูตรปริญญาตรี 411


ศศ. 317 เศรษฐศาสตร์สำ�หรับประเทศกำ�ลังพัฒนา (3 หน่วยกิต) EC 317 Economics of Developing Countries พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาลักษณะและปัญหาของประเทศกำ�ลังพัฒนา การ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจโดยพิจารณาจากทฤษฎีและ ข้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง การวิเคราะห์สาเหตุและผล ที่เกิดจากความล้าหลัง เป้าหมายและนโยบายเศรษฐกิจต่างๆ ที่มีผล ต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศไทยตั้งแต่แผนพัฒนาฉบับแรกจนถึงปัจจุบัน รวมทั้ง นโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศกำ�ลังพัฒนาอืน่ ๆ ศศ. 319 เศรษฐศาสตร์การขนส่ง (3 หน่วยกิต) EC 319 Economics of Transportation พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 101 ศึกษาถึงพัฒนาการและรูปแบบต่าง ๆ ของการขนส่ง ทฤษฎี การกำ�หนดราคาของการขนส่ง ปัจจัยที่กำ�หนดรูปแบบการ ขนส่งและความสัมพันธ์ของรูปแบบการขนส่งเหล่านั้น บทบาทของ รัฐในการส่งเสริมการลงทุนและการควบคุมด้านการขนส่ง ตลอดจน วิเคราะห์ผลกระทบของการขนส่งต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ศศ. 320 รายได้ประชาชาติ (3 หน่วยกิต) EC 320 National Income and Social Account พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 102 ศึกษาถึงความหมายและการกำ�หนดรายได้ประชาชาติ ความหมายและความสำ�คัญของรายการต่าง ๆ ในบัญชีประชาชาติ การคำ�นวณรายได้ประชาชาติ ตลอดจนกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการคำ�นวณ รายได้ประชาชาติโดยละเอียด

412 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. 321 เศรษฐศาสตร์แรงงานและแรงงานสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) EC 321 Labor Economics and Labor Relation พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 101 และ ศศ. 102 ศึกษาถึงความหมายของแรงงาน ตลาดแรงงาน อุปสงค์ และอุปทานของแรงงาน การทำ�งานค่าจ้างและชั่วโมงการทำ�งาน ปัญหาการว่างงาน ตำ�แหน่งงานว่าง แหล่งผูว้ า่ งงานและกำ�ลังหางาน ทำ� รวมทั้งศึกษาถึงการก่อตั้งสหภาพแรงงาน การเจรจาร่วมต่อรอง ทฤษฎีสหภาพแรงงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพแรงงาน และ แรงงานสัมพันธ์ ข้อพิพาทแรงงานและการไกล่เกลี่ย การประนีประนอม การอนุญาโตตุลาการ การประกันสังคม การใช้แรงงานเด็ก และสตรี พระราชบัญญัติเกี่ยวกับแรงงานไทย ศศ. 323 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของไทย (3 หน่วยกิต) EC 323 Thai Economic History ศึกษาถึงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของไทยตั้งแต่สมัย สุโขทัยถึงปัจจุบนั โดยเน้นสภาพเศรษฐกิจในสมัยตัง้ แต่ปลายสมัยกรุง ศรีอยุธยาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ลักษณะการติดต่อค้าขายกับ ประเทศต่างๆ การพัฒนาระบบเงินตราในสมัยต่างๆ การค้า การเก็บ ภาษี อากร และการหารายได้อื่นๆ ของประเทศในอดีต ศศ. 324 ทฤษฎีและนโยบายการค้าระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) EC 324 International Trade and Policy พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 313 ศึกษาถึงทฤษฎีการค้าและความชำ�นาญระหว่างประเทศ โดยพิ จารณาจากต้ น ทุ น เปรี ย บเที ย บสั ด ส่ ว นปั จ จั ย การผลิ ต ผล ตอบแทนปัจจัยการผลิต เปรียบเทียบทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร มนุษย์ ทุน และเทคโนโลยีระหว่างประเทศ ความสำ�คัญของการค้า ระหว่างประเทศ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัญหานโยบายและกลยุทธ์ ทางการค้าระหว่างประเทศของประเทศกำ�ลังพัฒนาและของไทย


ศศ. 325 เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) EC 325 Economics of International Monetary พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 313 ศึกษาถึงดุลการชำ�ระเงินระหว่างประเทศ กลไกการปรับ ตัวของความไม่สมดุลย์ ในดุลการชำ�ระเงิน ตลาดเงินตราระหว่าง ประเทศ การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ การลงทุนโดยตรง ระหว่างประเทศ วิวัฒนาการของระบบการเงินระหว่างประเทศ ความ สัมพันธ์ของดุลการชำ�ระเงิน และระบบการเงินต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเน้นถึงปัญหาและผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ ศศ. 326 เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข (3 หน่วยกิต) EC 326 Health Economics ศึกษาการประยุกต์หลักเศรษฐกิจในงานสาธารณสุข โดย เน้ น ความสำ�คั ญ ความจำ�เป็ น ในการใช้ ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ใ ห้ ไ ด้ ผ ล ตอบแทนสูงสุด หรือมีประสิทธิภาพมากที่สุด รูปแบบของการให้ บริการสาธารณสุขในเชิงเศรษฐศาสตร์ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่าง งานสาธารณสุขกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ศศ. 327 เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม (3 หน่วยกิต) EC 327 Environmental Economics ศึ ก ษาปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มโดยใช้ ก ารวิ เ คราะห์ เ ชิ ง เศรษฐศาสตร์ บทบาทของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ในการแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับเศรษฐกิจ หลักเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการควบคุมภาวะมลพิษ นโยบายรัฐบาลใน การควบคุมภาวะมลพิษ หลักการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ที่ นำ�มาประยุกต์ใช้กบั โครงการและมาตรการต่างๆ เกีย่ วกับการส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หลักการวางนโยบายและมาตรการ เศรษฐศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

ศศ. 328 ความสัมพันธ์และนโยบายต่างประเทศ (3 หน่วยกิต) ของไทย EC 328 Thai Foreign Affairs ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศในสมัย ต่ า งๆ พิ จ ารณาปั จ จั ย และกระบวนการในการกำ�หนดนโยบาย แบบแผนของนโยบาย การดำ�เนินนโยบายต่างประเทศ ตลอดจนผล การกระทบของนโยบายต่างประเทศที่มีต่อการเมืองภายในของไทย ศศ. 329 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) EC 329 International Relations ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของการเมืองระหว่างประเทศ ธรรมชาติ และโครงสร้างของระบบการเมืองระหว่างประเทศ ปัจจัย ทางด้านการเมือง ทหาร การเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตลอดจน อุดมการณ์ทมี่ ผี ลต่อแนวพฤติกรรมของรัฐ เครือ่ งมือที่ใช้ในการดำ�เนิน ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ตลอดจนพัฒนาการความร่วมมือระหว่าง ประเทศในรูปต่างๆ เช่น ระเบียบปฏิบตั ิ กฎหมายและสถาบันระหว่าง ประเทศ ศศ. 401 เศรษฐศาสตร์การบริหาร (3 หน่วยกิต) EC 401 Managerial Economics พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 201 ศศ. 202 หรือ ศศ. 101 ศศ. 102 เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ ข้ า ใจถึ ง การนำ�เอาทฤษฎี ท าง เศรษฐศาสตร์ ไปใช้ประโยชน์ ในการวิเคราะห์การแก้ปัญหา การวาง นโยบาย การบริหารและการตัดสินใจของธุรกิจ ศึกษาเกี่ยวกับการ เสี่ยงภัย การบริหารกำ�ไร การวิเคราะห์ ต้นทุน นโยบายการผลิต นโยบายการตลาด นโยบายการตั้งราคา และการบริหารเงินทุน

หลักสูตรปริญญาตรี 413


ศศ. 411 นโยบายและการวางแผนการพัฒนา (3 หน่วยกิต) เศรษฐกิจ EC 411 Economic Development Planning and Policies พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 311 ศึกษาหลักและทฤษฎีว่าด้วยการกำ�หนดนโยบายการ ลงทุนและการเลือกใช้เทคนิคในการผลิต นโยบายการค้าและความ ช่วยเหลือระหว่างประเทศ นโยบายการเงินและการคลัง นโยบายการ พัฒนาเกษตรและอุตสาหกรรม นโยบายเกี่ยวกับประชากร ตลอดทั้ง ขั้นตอนและกระบวนการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ เทคนิคและวิธีการ ในการวางแผนและการจัดทำ�โครงการพัฒนา การจัดองค์การ และการ ประสานงานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ศศ. 414 เศรษฐศาสตร์การเกษตร (3 หน่วยกิต) EC 414 Agricultural Economics พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 211 ศศ. 212 ศึ ก ษาลั ก ษณะและความสำ�คั ญ ของเศรษฐศาสตร์ การเกษตร ประวัติและขอบเขตของเศรษฐศาสตร์ การเกษตรแขนง ต่างๆ ทฤษฎีและการใช้ทดี่ นิ ทางการเกษตร การผลิต การตลาด ราคา และรายได้ทางการเกษตร สหกรณ์การเกษตร ตลอดจนทฤษฎีและ นโยบายในการพัฒนาการเกษตร โดยคำ�นึงถึงเปา้ หมายและโครงสร้าง ของประเทศด้ อ ยพั ฒ นาเป็ น หลั ก การพั ฒ นาการเกษตรของ ประเทศไทยที่ผ่านมา รวมทั้งนโยบายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ศศ. 412 เศรษฐกิจไทย (3 หน่วยกิต) EC 412 Thai Economy พื้นความรู้: ศศ. 212 ศึกษาลักษณะโครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในอดีตและกลไกของระบบเศรษฐกิจใน ปัจจุบัน การพัฒนาการเกษตร การอุตสาหกรรม การพาณิชยกรรม และการบริการ ปัญหาเศรษฐกิจที่สำ�คัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งความ ยากจน การกระจายรายได้ การพัฒนาชนบท การเงิน การคลังและ การค้า

ศศ. 415 เศรษฐศาสตร์องค์กรอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) EC 415 Economics of Industrial Organization พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึกษาโครงสร้างตลาด อำ�นาจตลาด พฤติกรรมของหน่วย ธุรกิจ และการรวมตัวของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ศึกษากลยุทธ์ทางด้านราคาและกลยุทธ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับราคา เช่น การแบ่งแยกราคาขาย การสร้างความแตกต่างในตัวสินค้า การโฆษณา และเทคโนโลยี ตลอดจนศึกษาพฤติกรรมเชิงกลยุทธ์ การเข้าสู่ตลาด และการออกจากตลาดของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

ศศ. 413 การศึกษาบทความด้านเศรษฐศาสตร์ (3 หน่วยกิต) EC 413 Reading in Development Economics พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาบทความที่ได้คัดเลือกแล้วทางด้านเศรษฐศาสตร์ การพัฒนา เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาด้วยตนเอง โดยผู้สอนจะเป็น ผู้มอบหมายบทความต่างๆ ให้แก่นักศึกษา

ศศ. 416 การจัดทำ�และการวิเคราะห์โครงการ (3 หน่วยกิต) EC 416 Project Preparation and Appraisal พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึกษาถึงความหมายและความสำ�คัญของโครงการพัฒนา ขั้นตอน การจัดทำ�โครงการ ลักษณะ ขอบเขต อายุโครงการ วิธี วิเคราะห์แบบ ต้นทุนและผลประโยชน์ตอบแทน วิธีวิเคราะห์แบบ อื่นๆ วิธีการประเมินผลโครงการ หลักเกณฑ์ ในการจัดลำ�ดับความ สำ�คัญของโครงการ

414 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ศศ. 417 สัมมนาปัญหาการพัฒนาเศรษฐกิจ (3 หน่วยกิต) และสังคม EC 417 Seminar in Economic and Social Development Problems พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 317 และ ศศ. 411 ศึกษาพิจารณา อภิปราย และวิเคราะห์ ในหัวข้อหรือ บทความเฉพาะทางด้านเศรษฐศาสตร์ การพัฒนาที่เกี่ยวกับปัญหา และแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทีเ่ กิดขึน้ ภายในประเทศ และผลกระทบที่มาจากต่างประเทศ ศศ. 418 เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ (3 หน่วยกิต) และกำ�ลังคน EC 418 Human Resources and Manpower Economics พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึกษาถึงความหมายของทรัพยากรมนุษย์และกำ�ลังคน ปัญหาของทรัพยากรมนุษย์ ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมทีม่ อี ทิ ธิพล ต่อประชากร การลงทุนทางการศึกษา และการวางแผนการศึกษาให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ การวิเคราะห์และประเมินผลการ ลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ รวมตลอดถึงทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ว่าด้วย อัตราการเกิดและการตาย การเจริญพันธ์ุ การย้ายถิ่นและผลกระทบ ต่างๆ ของการย้ายถิ่นด้วย ศศ. 419 การพัฒนาชนบทไทย (3 หน่วยกิต) EC 419 Thai Rural Development พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาและวิเคราะห์แนวความคิดในการพัฒนาชนบททัง้ ใน อดีตและปัจจุบัน ตลอดจนโครงสร้างของสังคมชนบท ปัญหาและ อุปสรรคในการพัฒนาชนบท ศึกษาสาเหตุของปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชนบท ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นโยบายการพัฒนาชนบทของ รัฐบาล การจัดองค์การและการบริหารงานในการพัฒนาชนบท

ศศ. 420 เศรษฐกิจของประเทศในเอเชีย (3 หน่วยกิต) EC 420 Asian Countries Economy พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาถึงลักษณะโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศใน เอเชียสถาบันและปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศนัน้ ๆ ศึกษากลไกเศรษฐกิจ นโยบายเศรษฐกิจ ตลอดจนความ สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่นๆ ศศ. 421 เศรษฐกิจญี่ปุ่น (3 หน่วยกิต) EC 421 Japanese Economy พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 311 ศึกษาถึงวิวัฒนาการและโครงสร้างทางเศรษฐกิจของ ญี่ปุ่น ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สถาบันและปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพล ต่อการเปลี่ยนแปลงและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่น บทบาท นโยบาย ความร่วมมือและความช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจ ที่ญี่ปุ่นมีต่อประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศศ. 422 กรณีศึกษาการบริหารการพัฒนา (3 หน่วยกิต) EC 422 Case Study of Development Administration พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 411 หรือ ศึกษาพร้อมกัน ศึกษาแนวคิดและหลักการบริหารงานตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม การจัดรูปองค์การด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและ นโยบายทางเศรษฐกิจอื่นๆ โดยใช้กรณีตัวอย่างของประเทศไทยและ ประเทศอื่นๆ

หลักสูตรปริญญาตรี 415


ศศ. 423 เศรษฐศาสตร์การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) EC 423 Economics of Technological Change พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 415 ศึกษาถึงความหมายของเทคโนโลยี วิวัฒนาการของ เทคโนโลยี ทฤษฎีและแนวความคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีการผลิตในแง่เศรษฐศาสตร์ กระบวนการนำ�เอาเทคโนโลยี มาใช้ การแพร่กระจายเทคโนโลยี ทฤษฎีเกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดค้น และผลของการประดิษฐ์คิดค้นที่มีต่อองค์การธุรกิจและต่อระบบ เศรษฐกิ จ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการพั ฒ นาและการเปลี่ ย นแปลง เทคโนโลยีทางด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมอื่นๆ รวมทั้งการ พิจารณาปัญหา นโยบายที่เหมาะสมสำ�หรับการพัฒนาเทคโนโลยีใน อนาคตด้วย ศศ. 424 ระเบียบวิธีการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ (3 หน่วยกิต) EC 424 Methodology of Economic Research พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 211 ศศ. 212 และ ศศ. 204 ศึกษาถึงระเบียบวิธวี จิ ยั ในทางเศรษฐศาสตร์ในแง่ทฤษฎี และปฏิบตั โิ ดยอาศัยหลักวิธกี ารวิจยั ทางสังคมศาสตร์ ตลอดทัง้ วิธกี าร ทางเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และการฝึกทำ�วิจัย ศศ. 425 สัมมนาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) EC 425 Seminar in International Economics พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 324 และ ศศ. 325 สัมมนาและวิจัยในหัวข้อเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ ภายใต้การควบคุมและแนะนำ�จากผู้บรรยาย

416 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศศ. 426 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน (3 หน่วยกิต) EC 426 Monetary Theory and Policy พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 314 ศึกษาทฤษฎีอปุ สงค์ของเงินของเคนส์ สำ�นักการเงินนิยม และสำ�นักนีโอคลาสสิค ทฤษฎีอุปทานของเงินและทุน บทบาทของ ธนาคารกลาง และธนาคารพาณิชย์ต่อตัวแปรการเงิน กลไกการ ถ่ายทอดทางการเงิน แนวความคิดของการปรับองค์ประกอบสินทรัพย์ การกำ�หนดเป้าหมายของนโยบาย ขั้นตอนและยุทธวิธีทางการเงิน นโยบายการเงินกับการดำ�รงเสถียรภาพภายในและภาวะเงินเฟ้อ ผล กระทบของนโยบายการเงินต่อดุลการชำ�ระเงิน การเงินกับการพัฒนา เศรษฐกิจ ทั้งนี้ เน้นถึงการนำ�ทฤษฎีและนโยบายการเงินมาประยุกต์ ใช้กับประเทศไทยศึกษาทฤษฎีอุปสงค์ของเงินของเคนส์ สำ�นักการ เงิ น นิ ย มและสำ�นั ก นี โ อคลาสสิ ค ทฤษฎี อุ ป ทานของเงิ น และทุ น บทบาทของธนาคารกลาง และธนาคารพาณิชย์ต่อตัวแปรการเงิน กลไกการถ่ายทอดทางการเงิน แนวความคิดของการปรับองค์ประกอบ สินทรัพย์ การกำ�หนดเป้าหมายของนโยบาย ขั้นตอนและยุทธวิธี ทางการเงิน นโยบายการเงินกับการดำ�รงเสถียรภาพภายในและภาวะ เงินเฟ้อ ผลกระทบของนโยบายการเงินต่อดุลการชำ�ระเงิน การเงิน กับการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งนี้ เน้นถึงการนำ�ทฤษฎีและนโยบายการ เงินมาประยุกต์ใช้กับประเทศไทย ศศ. 427 การตลาดสินค้าเกษตรราคาและนโยบาย (3 หน่วยกิต) EC 427 Agricultural Marketing, Price and Policy พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 414 ศึกษาบทบาทและความสำ�คัญของราคาสินค้าเกษตร ลักษณะอุปสงค์และอุปทานของสินค้าเกษตร การกำ�หนดราคาและ การวิเคราะห์ราคา การเปลีย่ นแปลงของราคาสินค้าเกษตรกรรมในรูป แบบของเวลาและสถานที่ ที่ ต่ า งกั น วิ ธี ก ารศึ ก ษาการตลาด ประสิทธิภาพการตลาด ปัญหาเกี่ยวกับการตลาดและราคาสินค้า เกษตร ตลอดจนนโยบายของรัฐที่เกี่ยวกับการตลาดและราคาสินค้า เกษตร


ศศ. 428 สัมมนาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EC 428 Seminar in Business Economics พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 401 สัมมนาและค้นคว้าเสนอรายงานเอกสารในหัวข้อเกี่ยว กับเศรษฐศาสตร์ธุรกิจภายใต้การควบคุมและแนะนำ�จากผู้บรรยาย ศศ. 429 โลจิสติกส์ (แบบปกติ) (3 หน่วยกิต) EC 426 Logistics พื้นความรู้: เคยเรียน ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึกษาบทบาทของกระบวนการโลจิสติกส์ ในภาคธุรกิจ ระดับประเทศและนานาประเทศ ภาครัฐบาลคุณลักษณะของกิจกรรม โลจิสติกส์ และความสัมพันธ์ระหว่างกันภายในโซ่อุปทานกับหน่วย งานภายนอก ศึกษาระบบโลจิสติกส์ การขนถ่ายลำ�เลียงในส่วนของ วัตถุดบิ ทีน่ ำ�มาผลิต การกระจายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ไปยังลูกค้า การ บริการลูกค้า การจัดการสินค้าคงคลัง การคลังสินค้า การขนถ่าย ลำ�เลียงวัตถุดบิ และสินค้าภายใน กระบวนการสัง่ ซือ้ และการไหลของ สารสนเทศ การบรรจุภัณฑ์ บทบาทของการขนส่งที่มีต่อโลจิสติกส์ และการควบคุมการปฏิบตั ทิ างด้านโลจิสติกส์ กำ�หนดหลักเกณฑ์และ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านเพือ่ ปรับปรุงผลดำ�เนินงานเพือ่ ลดต้นทุนและ เพิม่ ระดับการบริการทีจ่ ะสร้างความพึงพอใจให้แก่ลกู ค้าและความได้ เปรียบทางการแข่งขัน เน้นให้นกั ศึกษาพัฒนาทักษะการวิเคราะห์และ การแก้ปัญหาทางด้านโลจิสติกส์ กำ�หนดกลยุทธ์ทางด้านโลจิสติกส์ ในส่วนของสินค้าใช้แล้วเพือ่ นำ�กลับมาใช้ใหม่ การกำ�จัดของเสีย การ ขนถ่ายสินค้ากลับและการซ่อมบำ�รุง การวางเครือข่ายของระบบ โลจิสติกส์ และระบบสารสนเทศโลจิสติกส์

ศศ. 430 สหกิจศึกษา (3 หน่วยกิต) EC 430 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพ จากการปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ทำ�งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ศศ. 431 เศรษฐศาสตร์ประชากร (3 หน่วยกิต) EC 431 Demographic Economics พื้นความรู้: สอบได้ ศศ. 211 และ ศศ. 212 ศึ ก ษาวิ ช าประชากรศาสตร์ ซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ ขนาด โครงสร้าง และการกระจายตัวเชิงพืน้ ทีข่ องประชากร การเปลีย่ นแปลง ขนาด โครงสร้าง และการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของประชากร และองค์ ประกอบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร อันได้แก่ การเจริญพันธ์ุ การตาย และการย้ายถิ่น ตลอดจนศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ประชากรและเศรษฐกิจ แนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้อง กั บ การเปลี่ ย นแปลงทางประชากร และความเชื่ อ มโยงระหว่ า ง กระบวนการทางเศรษฐกิจ นโยบายทางเศรษฐกิจ กระบวนการทาง ประชากร และนโยบายทางประชากร

หลักสูตรปริญญาตรี 417


หมวด​วิชา​ศิลปกรรม​ศาสตร์ ศก. 101 วาดเส้น 1 (3 หน่วยกิต) FA 101 Drawing I ศึกษาและปฏิบัติการวาดเส้นในฐานะภาษาภาพ เพื่อให้ เข้าใจแนวคิด หลักทฤษฎี และองค์ประกอบต่างๆ ของการวาดเส้น เช่น เส้น รูปทรง แสง-เงา พื้นผิว และการจัดองค์ประกอบภาพ ฯลฯ ฝึกการรับรู้และแสดงออกด้วยเทคนิควิธีการใช้เครื่องมือและวัสดุใน ลักษณะต่างๆ เพือ่ ให้สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้เป็นพืน้ ฐานของวิชาชีพ ศก. 102 วาดเส้น 2 (3 หน่วยกิต) FA 102 Drawing II พื้นความรู้: สอบได้ ศก.101 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารวาดเส้นในฐานะภาษาภาพ เพือ่ ให้ เข้าใจแนวคิด หลักทฤษฎี และองค์ประกอบต่างๆ ของการวาดเส้นต่อ เนื่องจากเนื้อหาในวิชา ศก.101 วาดเส้น 1 เรียนรู้และฝึกฝนการรับรู้ และการแสดงออกในแง่ของความคิดสร้างสรรค์ในลักษณะต่างๆ เพือ่ ให้สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้เป็นพื้นฐานของวิชาชีพ ศก. 103 การออกแบบ 2 มิติ (3 หน่วยกิต) FA 103 Two Dimensional Design ศึกษาความสอดคล้องระหว่างภาคปฏิบตั กิ ารและทฤษฎี พืน้ ฐานในการสร้างงาน 2 มิติ อันประกอบด้วย ความสัมพันธ์ของทัศนะ ธาตุและหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ที่มีต่อการออกแบบ เน้นทักษะ ในการสือ่ สารทัง้ ทางถ้อยคำ�อธิบาย (Verbal) และการสือ่ สารด้วยภาษา ภาพ (Visual) เพือ่ การสร้างงานอย่างมีเหตุผลและสามารถนำ�ข้อมูล และความรู้ต่างๆ ไปประยุกต์ ใช้ในการสร้างงานออกแบบ 2 มิติได้ อย่างมีคุณค่า

418 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศก. 104 การออกแบบ 3 มิติ (3 หน่วยกิต) FA 104 Three Dimensional Design ศึกษาความสอดคล้องระหว่างภาคปฏิบตั กิ ารและทฤษฎี พื้นฐานในการสร้างงาน 3 มิติ เน้นทักษะในการสื่อสารทั้งทางถ้อยคำ� อธิบาย (Verbal) และการสือ่ สารด้วยภาษาภาพ (Visual) เพือ่ การสร้าง งานอย่างมีเหตุผลและสามารถนำ�ข้อมูลและความรูต้ า่ งๆ ไปประยุกต์ ใช้ในการสร้างงานออกแบบ 3 มิติได้อย่างมีคุณค่า ศก. 105 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 1 (3 หน่วยกิต) FA 105 History of Arts I ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตกตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์มาจนถึงปลายยุคกลางโดยสังเขป และศึกษาประวัติศาสตร์ ศิ ล ปะตะวั น ตกตั้ ง แต่ ต้ น สมั ย ฟื้ น ฟู ศิ ล ปะวิ ท ยาจนถึ ง ปลายคริ ส ต์ ศตวรรษที่ 19 โดยเน้นความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ความ คิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบของ ศิลปะ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเข้าใจศิลปะตะวันตกอย่างแท้จริง ศก. 106 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 2 (3 หน่วยกิต) FA 106 History of Arts II พื้นความรู้: สอบได้ ศก. 105 ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะสมัยใหม่ของตะวันตกตั้งแต่ ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มาจนถึงสมัยสงครามโลกครัง้ ทีส่ องในปลาย ยุคสมัยใหม่ โดยเน้นความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ความ คิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบของ ศิลปะ เพือ่ เป็นพืน้ ฐานในการเข้าใจศิลปะตะวันตกในยุคสมัยใหม่อย่าง แท้จริง


ศก. 107 ทฤษฎีสี (3 หน่วยกิต) FA 107 Color Theory ศึกษาทำ�ความเข้าใจเรื่องสีทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติ อย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในคุณสมบัติของสีทั้งในทาง กายภาพและจิตวิทยาที่มีผลต่อความรู้สึกของมนุษย์ รวมถึงความ หมายและสุนทรียภาพในการใช้สี เพื่อให้สามารถนำ�หลักทฤษฎีมาใช้ เป็นพื้นฐานในการสร้างผลงานทางศิลปะและการออกแบบได้อย่างมี เหตุและผล ศก. 108 พื้นฐานคอมพิวเตอร์เพื่อศิลปะ (3 หน่วยกิต) และการออกแบบ FA 108 Basic Visual Computing ศึกษาและปฏิบัติในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ รวมถึง อุปกรณ์ตอ่ พ่วงต่างๆ ตลอดจนศึกษาการใช้ซอฟท์แวร์ทมี่ อี ยู่ในระบบ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพือ่ เป็นพืน้ ฐานในการสร้างผลงานทางศิลปะและ การออกแบบ ศก. 200 ประวัติศาสตร์ศิลปะและการออกแบบ (3 หน่วยกิต) FA 200 History of Art and Design ศึกษาประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะและการออกแบบของตะวันตก ตัง้ แต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 มาจนถึงสมัยสงครามโลกครัง้ ทีส่ องในปลาย ยุคสมัยใหม่ โดยเน้นความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ความ คิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบของ ศิลปะและการออกแบบ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเข้าใจศิลปะตะวันตก

ศก. 311 การศึกษาทฤษฎีของความรู้ผ่านแนวคิด (3 หน่วยกิต) ของงานสถาปัตยกรรมไทย FA 311 Epistemology through Thai Architecture ศึกษากระบวนการวิธีการแสวงหาความรู้ และการเกิด ของชุดความรู้ ในมิติทางด้านวิทยาศาสตร์ และปรัชญา (Epistemology) โดยศึกษาผ่านบริบทของสังคมไทยที่สะท้อนออกมาในงาน สถาปัตยกรรมไทยว่าอ้างอิงอยู่กับปรัชญาและโลกทัศน์แบบใด และ ดำ�รงตนอยู่ด้วยปัจจัยใด การเรียนการสอนเน้นการสัมมนา เพื่อแลก เปลี่ยนแนวความคิด และการเขียนเพื่อถ่ายทอดความคิด ศก. 312 ศิลปะการใช้ตัวพิมพ์เชิงทดลอง (3 หน่วยกิต) FA 312 Experimental Typography ค้นคว้าและทดลองความเป็นไปได้ในการใช้ตวั พิมพ์ทงั้ ที่ เกิดจากการสร้างขึ้นเองใหม่ และตัวพิมพ์ที่พบเห็นในชีวิตประจำ�วัน โดยการตั้งสมมติฐาน วิเคราะห์ สร้างความสัมพันธ์ เพื่อนำ�เสนองาน สร้างสรรค์ที่น่าสนใจ ศก. 313 การออกแบบหนังสือเชิงทดลอง (3 หน่วยกิต) FA 313 Experimental Book Design เรียนรู้และฝึกปฏิบัติเพื่อทำ�ความเข้าใจการออกแบบที่ เกีย่ วข้องกับหนังสือ ทัง้ ในเชิงทฤษฎี ปฏิบตั ิ หรือทดลองได้ตามบริบท โดยพัฒนาการวิเคราะห์และสร้างสรรค์ ได้ตามความสามารถเฉพาะ บุคคล ศก. 332 ศิลปะปริทัศน์ (3 หน่วยกิต) FA 332 Survey of Art ศึกษาศิลปกรรมสำ�คัญของไทยจากการนำ�ชมสถานทีจ่ ริง และภาพถ่าย เพือ่ ให้เข้าใจและเห็นคุณค่าในภูมปิ ญั ญาโบราณของไทย และเพื่อเป็นการเสริมความรู้ทั้งทางประวัติศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ หลักสูตรปริญญาตรี 419


ศก. 351 ศิลปกรรมพื้นบ้าน (3 หน่วยกิต) FA 351 Folk Arts ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของงานศิลปกรรมพื้นบ้าน ของไทยในภูมิภาคต่างๆ โดยสังเขป รวมทั้งวิเคราะห์องค์ประกอบ ของศิ ล ปะแขนงต่ า งๆ ตลอดจนวั ฒ นธรรมและขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี เพื่อให้เข้าใจและเห็นคุณค่าในภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทย ศก. 352 การนำ�เสนอผลงานส่วนบุคคล (3 หน่วยกิต) FA 352 Portfolio ศึกษาแนวทางการนำ�เสนอผลงานส่วนบุคคล การเตรียม ผลงานและจัดทำ�ผลงานส่วนบุคคลเพื่อใช้สมัครงาน และศึกษาต่อใน อนาคต ศก. 431 การดำ�เนินธุรกิจการออกแบบ (3 หน่วยกิต) FA 431 Design Management ศึกษาการดำ�เนินธุรกิจขนาดย่อมและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงข้อคิดต่างๆ ในการก่อตั้ง การดำ�เนินงาน การควบคุม และวัด ประสิทธิภาพของงาน ตลอดจนกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็น แนวทางสำ�หรับนักศึกษาที่คิดจะออกไปประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ งานศิลปะต่อไป

420 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวดวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ อน. 101 วาดเส้นเพื่อการออกแบบ (3 หน่วยกิต) CD 101 Design Drawing พื้นความรู้: สอบได้ ศก.101 วาดเส้น 1 ศึกษาและปฏิบัติการวาดเส้นที่ต่อเนื่องจากวิชา ศก.101 เรียนรู้เกี่ยวกับการรับรู้ การสื่อสารความคิดสร้างสรรค์ด้วยเทคนิควิธี การใช้เครื่องมือและวัสดุในลักษณะที่มีความซับซ้อนขึ้น เพื่อเป็นพื้น ฐานสำ�หรับการนำ�ไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพการออกแบบนิเทศศิลป์ อน. 102 พื้นฐานการออกแบบนิเทศศิลป์ (3 หน่วยกิต) CD 102 Communication Design Fundamental ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับทฤษฎีพื้นฐานในการออกแบบ เรียนรู้เรื่องการใช้สี พื้นผิว วัสดุ การสร้างรูปร่างรูปทรงใหม่ด้วยวิธี ต่างๆ รวมถึงฝึกปฏิบัติการทำ�งานออกแบบที่เป็นงาน 2 มิติและ 3 มิติ เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำ�งานออกแบบนิเทศศิลป์ อน. 103 พื้นฐานการเขียนแบบสำ�หรับนิเทศศิลป์ (3 หน่วยกิต) CD 103 Basic Technical Drawing for Communication Design ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนแบบขั้นพื้นฐาน เช่น การเขียนรูปด้านทัศนียภาพ แสงเงา การเขียน Isometric ของรูปทรง แบบต่างๆ โดยเริ่มจากการเขียนแบบด้วยมือไปจนถึงการเขียนแบบ ที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้นกั ศึกษาสามารถนำ�ความรูท้ ี่ได้ไป ใช้ในการทำ�งานออกแบบนิเทศศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


อน. 104 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (3 หน่วยกิต) CD 104 Computer-Aided Design ศึกษาและฝึกปฏิบตั พิ น้ื ฐานการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานออกแบบนิเทศศิลป์และการตกแต่งภาพ โดยศึกษา เรี ย นรู้ เ ครื่ อ งมื อ พื้ น ฐานเพื่ อ นำ � ไปสร้ า งผลงานออกแบบ เข้ า ใจ คุ ณ ลั ก ษณะของไฟล์ แ ต่ ล ะชนิ ด รวมถึ ง การเตรี ย มไฟล์ สำ � หรั บ กระบวนการพิมพ์อย่างถูกต้อง อน. 121 การออกแบบนิเทศศิลป์ 1 (4 หน่วยกิต) CD 121 Communication Design I ศึ ก ษาค้ น คว้ า และปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ ทฤษฎี พื้ น ฐานการ ออกแบบที่ใช้ในการสื่อสาร การสื่อความหมายด้วยภาษาภาพ การ ออกแบบสัญลักษณ์ภาพ (Pictogram) รวมถึงเรียนรู้การนำ�เสนอผล งานออกแบบที่สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ อน. 131 ตัวพิมพ์เพื่อการออกแบบ 1 (3 หน่วยกิต) CD 131 Typography I ศึกษาพัฒนาการและพื้นฐานการใช้ตัวพิมพ์ โดยเรียนรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับรูปแบบ ลักษณะ บุคลิก ตระกูลของตัวพิมพ์ รวมถึง ฝึกปฏิบัติการใช้ตัวพิมพ์ที่เน้นการอ่านออกและสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (Readability and Legibility) อน. 133 การถ่ายภาพ (3 หน่วยกิต) CD 133 Photography ศึกษาทฤษฎีและหลักการพื้นฐานด้านการถ่ายภาพ ฝึก ปฏิบัติเกี่ยวกับภาพขาว-ดำ�และภาพสี รวมทั้งการกำ�หนดแนวความ คิดและเนื้อหาในภาพถ่าย เพื่อนำ�ไปใช้ในการออกแบบนิเทศศิลป์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

อน. 211 ประวัติศาสตร์การออกแบบนิเทศศิลป์ (3 หน่วยกิต) CD 211 History of Communication Design ศึกษาประวัติศาสตร์การออกแบบนิเทศศิลป์ เรียนรู้ วิวฒ ั นาการ ผลกระทบ การเปลีย่ นแปลงสังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี ที่มีผลต่อการออกแบบนิเทศศิลป์ในแต่ละยุคสมัย อน. 222 การออกแบบนิเทศศิลป์ 2 (4 หน่วยกิต) CD 222 Communication Design II พื้นความรู้: สอบได้ อน.121 การออกแบบนิเทศศิลป์ 1 ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ในการออกแบบสัญลักษณ์โดยคำ�นึงถึงการสือ่ สาร รวมถึงกระบวนการ ในการออกแบบสัญลักษณ์ เช่น การหาข้อมูล การพัฒนาความคิด การออกแบบ การใช้กริด (Grid) เพื่อให้ได้สัญลักษณ์ที่สมบูรณ์ สามารถนำ�ไปใช้งานในสื่อต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อน. 223 การออกแบบนิเทศศิลป์ 3 (4 หน่วยกิต) CD 223 Communication Design III พื้นความรู้: สอบได้ อน. 222 การออกแบบนิเทศศิลป์ 2 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบเพือ่ สร้างอัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity) โดยเริ่มจากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อ นำ�มากำ�หนดภาพรวมของการใช้งานสัญลักษณ์และองค์ประกอบ กราฟิกที่ครอบคลุมงานออกแบบในองค์กรทั้งหมดอย่างเป็นระบบ รวมถึงออกแบบคู่มืออัตลักษณ์องค์กร (CI Manual) ด้วย อน. 232 ตัวพิมพ์เพื่อการออกแบบ 2 (3 หน่วยกิต) CD 232 Typography II พื้นความรู้: สอบได้ อน. 131 ตัวพิมพ์เพื่อการออกแบบ 1 ศึกษาและฝึกปฏิบตั กิ ารออกแบบจัดวางตัวพิมพ์ในแบบ ต่างๆ รวมถึงการเลือกตัวอักษรมาใช้ในงานออกแบบต่างๆ และเลือก ตัวพิมพ์มาใช้ในงานออกแบบนิเทศศิลป์ได้อย่างเหมาะสมกับเรือ่ งราว ในสื่อต่างๆ และสื่อความหมาย หลักสูตรปริญญาตรี 421


อน. 234 ภาพประกอบ (3 หน่วยกิต) CD 234 Illustration ศึกษาทฤษฎีพื้นฐานในการสร้างภาพประกอบ และฝึก ปฏิ บั ติ ก ารออกแบบภาพประกอบที่ ผ่ า นการตี ค วาม ถ่ า ยทอด จินตนาการจากเรื่องสู่ภาพให้สามารถสื่อสารได้อย่างเหมาะสม และ ฝึกทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ

อน. 238 การกำ�กับศิลป์ (3 หน่วยกิต) CD 238 Art Direction ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอดแนวความคิดและ จินตนาการด้วยภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหว สามารถสือ่ สาร สร้างมุม มองที่แตกต่าง และดึงดูดความสนใจ ซึ่งเป็นหัวใจสำ�คัญสำ�หรับการ สร้างสรรค์งานออกแบบต่างๆ

อน. 235 การออกแบบเพื่อการสื่อสารข้อมูล (3 หน่วยกิต) CD 235 Information Graphic Design ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบและเรียบเรียง ข้อมูลประเภทต่างๆ ผ่านกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล เพื่อให้ สามารถสื่อสารข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยนำ�เสนอผ่านงาน ออกแบบด้วยภาพ สัญลักษณ์ และตัวอักษร ที่ครอบคลุมตั้งแต่สื่อสิ่ง พิมพ์ ไปจนถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างสร้างสรรค์

อน. 251 การนำ�เสนอผลงานส่วนบุคคล (3 หน่วยกิต) CD 251 Portfolio ศึกษาแนวทางการนำ�เสนอผลงานส่วนบุคคล เตรียมผล งาน และจัดทำ�ผลงานส่วนบุคคล เพื่อใช้สมัครงานและศึกษาต่อใน อนาคต

อน. 236 การออกแบบสื่อภาพเคลื่อนไหว (3 หน่วยกิต) CD 236 Time-based Media Design ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบสื่อที่เกี่ยวข้องกับมิติของ เวลา ตัง้ แต่ภาพเคลือ่ นไหวและเสียง ไปจนถึงสือ่ อินเตอร์แอคทีฟด้วย เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่เหมาะสม อน. 237 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (3 หน่วยกิต) CD 237 Editorial Design ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การออกแบบสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ประเภทต่างๆ เช่น นิตยสาร หนังสือ แผ่นพับ โดยเน้นการจัดวาง ภาพ ตัวอักษร องค์ประกอบทีส่ ามารถสือ่ สารกับเนือ้ หาและแนวความ คิดของสื่อนั้นๆ

422 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อน. 252 การพิมพ์ซิลสกรีน (3 หน่วยกิต) CD 252 Silk Screen ศึกษาทฤษฎีและปฏิบตั กิ ารพิมพ์ซลิ สกรีนกับสือ่ สิง่ พิมพ์ บนวัสดุตา่ งๆ เพือ่ สามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ในงานออกแบบนิเทศศิลป์ อน. 253 กระบวนการพิมพ์ (3 หน่วยกิต) CD 253 Print Production ศึกษาหลักเกณฑ์ กระบวนการพิมพ์ และเทคโนโลยีการ พิมพ์ในระบบต่างๆ ที่จำ�เป็นสำ�หรับการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ในออกแบบ นิเทศศิลป์ การเตรียมไฟล์งานก่อนส่งงานเข้าโรงพิมพ์ รวมถึงเรียนรู้ เกี่ยวกับเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับระบบการพิมพ์ อน. 254 การออกแบบกราฟิกสำ�หรับบรรจุภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) CD 254 Graphic Design for Packaging ศึกษาวัตถุประสงค์ของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ฝึก ปฏิบัติการออกแบบกราฟิกที่มีความสัมพันธ์กับโครงสร้างของบรรจุ ภัณฑ์ รวมทั้งเรียนรู้เกี่ยวกับวัสดุและกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์ ประเภทต่างๆ โดยสังเขป


อน. 312 ประเด็นร่วมสมัยในการออกแบบนิเทศศิลป์ (3 หน่วยกิต) CD 312 Contemporary Issues in Communication Design ศึกษาอิทธิพลของการออกแบบนิเทศศิลป์ที่มีต่อการ สื่อสารในชีวิตประจำ�วัน ความเชื่อ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม รวมทัง้ ศึกษาอิทธิพลของกระแสและแนวทางการออกแบบ นิเทศศิลป์ร่วมสมัย อน. 313 วิธีวิจัยในการออกแบบนิเทศศิลป์ (3 หน่วยกิต) CD 313 Research Methods in Communication Design ศึกษาความหมาย ประเภท แนวความคิดพื้นฐานของ การวิจัยการออกแบบ รวมถึงขั้นตอนการดำ�เนินการวิจัย การกำ�หนด ปัญหานำ�วิจัย การศึกษาทบทวนทฤษฎี แนวความคิดและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการ สรุปผลการวิจัยเพื่อนำ�ไปสู่งานออกแบบนิเทศศิลป์ อน. 314 การดำ�เนินธุรกิจและการตลาด (3 หน่วยกิต) CD 314 Management and Marketing ศึกษาการดำ�เนินธุรกิจการออกแบบ การบริหารจัดการ การดำ�เนินงาน ควบคุม และวัดประสิทธิผลของงาน รวมถึงแนวคิด เกีย่ วกับการตลาด ปัจจัยเบือ้ งต้นและตัวแปรทีม่ อี ทิ ธิพลต่อพฤติกรรม ผู้บริโภคและมีอิทธิพลต่อการออกแบบ เพื่อนำ�มาใช้ประโยชน์ในการ ออกแบบนิเทศศิลป์ อน. 324 การออกแบบนิเทศศิลป์ 4 (4 หน่วยกิต) CD 324 Communication Design IV พื้นความรู้: สอบได้ อน. 223 การออกแบบนิเทศศิลป์ 3 ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบกราฟิกที่เกี่ยวข้องกับ สภาพแวดล้อม (Environmental Graphic) โดยมีการศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ นำ�มาสร้างระบบในการออกแบบให้มคี วามสอดคล้องและมี ลักษณะเฉพาะกับสภาพแวดล้อมนั้น

อน. 325 การออกแบบนิเทศศิลป์ 5 (4 หน่วยกิต) CD 325 Communication Design V พื้นความรู้: สอบได้ อน. 324 การออกแบบนิเทศศิลป์ 4 (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบที่เน้นกระบวนการพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ที่เน้นรูปแบบของการวิจัย เชิงทดลอง โดยมีการ ศึกษาค้นคว้าและนำ�ทฤษฎีหรือข้อมูลต่างๆ มาใช้ในงานออกแบบเชิง ทดลองด้วย อน. 326 การปฏิบัติงานวิชาชีพ (0 หน่วยกิต) CD 326 Job Training พื้นความรู้: สอบได้ อน. 325 การออกแบบนิเทศศิลป์ 5 (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาระบบการทำ�งาน การแก้ปัญหา และการทำ�งาน ร่วมกับผูอ้ นื่ ด้วยการฝึกปฏิบตั งิ านในหน่วยงานที่ได้รบั การอนุมตั จิ าก ภาควิชาฯ โดยใช้เวลาฝึกงานไม่ต่ำ�กว่า 8 สัปดาห์ หรือประมาณ 320 ชั่วโมง ข้อกำ�หนด 1. นักศึกษาทีจ่ ะฝึกงานต้องผ่านการศึกษามาแล้วไม่นอ้ ย กว่า 6 ภาคการศึกษา 2. นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะฝึ ก งานต้ อ งสอบได้ อน.325 การ ออกแบบนิเทศศิลป์ 5 3. การวัดผลให้ถือเกณฑ์ S และ U เป็นเกณฑ์ผ่านและ ไม่ผ่านตามลำ�ดับ

หลักสูตรปริญญาตรี 423


อน. 327 สหกิจศึกษาสำ�หรับ (7 หน่วยกิต) การออกแบบนิเทศศิลป์ CD 327 Cooperative Education for Communication Design พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา อน. 324 การออกแบบนิเทศศิลป์ 4 และนักศึกษาต้องลงทะเบียน และสอบผ่านในกลุ่มวิชาเอก-บังคับแล้วไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต (สำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการเพื่อเสริมสร้างให้มีความพร้อมด้าน งานอาชีพจากการปฏิบตั งิ านทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาอย่าง เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการปฏิบตั งิ านเต็มเวลาในสถานประกอบ การไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษาปกติหรือ 16 สัปดาห์ โดยมีการ ประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์ร่วมกับสถานประกอบการ และ นักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษาหลัง เสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน อน. 339 การออกแบบสื่อส่งเสริมการขาย (3 หน่วยกิต) CD 339 Visual Communication in Promotional Design ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบสื่อส่งเสริมการขายและ บรรจุภัณฑ์ โดยเน้นโครงสร้าง วัสดุ และการออกแบบกราฟิก เพื่อ สร้างบุคลิกลักษณะเฉพาะตัวให้กับสินค้าหรือบริการ อน. 415 การประกอบวิชาชีพออกแบบนิเทศศิลป์ (3 หน่วยกิต) CD 415 Professional Practice in Communication Design ศึกษาแนวทางในการประกอบวิชาชีพในการออกแบบ นิเทศศิลป์ หลักปฏิบัติวิชาชีพ การจัดการสำ�นักงานออกแบบ ปัญหา ข้อกำ�หนดต่างๆ ความสัมพันธ์และความเกี่ยวข้องกับวิชาชีพอื่นๆ จรรยาบรรณและพันธะกรณีของผู้ประกอบวิชาชีพ เงื่อนไขในการ ประกอบธุรกิจ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ เป็นหลักการในการนำ�ไป ใช้ประกอบวิชาชีพต่อไป 424 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อน. 428 การเตรียมโครงการออกแบบ (3 หน่วยกิต) CD 428 Degree Project Proposal พื้นความรู้: อน. 325 การออกแบบนิเทศศิลป์ 5 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลหัวข้อโครงงานส่วนบุคคล ซึ่ง เป็นโครงการทีน่ กั ศึกษาสนใจ จัดเตรียมข้อมูลสำ�หรับนำ�เสนอเพือ่ ขอ อนุมัติต่อคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิ ในสาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ รวมถึงนำ�ข้อมูลที่ได้มาเขียนโครงการ ออกแบบนิเทศศิลป์ ข้อกำ�หนด 1. การวัดผลวิชานี้ให้ถอื เกณฑ์ S และ U เป็นเกณฑ์ผา่ น และไม่ผ่านตามลำ�ดับ 2. นักศึกษาที่เรียนวิชานี้ต้องสอบได้ อน. 325 และผ่าน อน. 326 หรือ อน. 327 อน. 429 โครงการออกแบบนิเทศศิลป์ (6 หน่วยกิต) CD 429 Degree Project in Communication Design พื้นความรู้: อน. 428 การเตรียมโครงการออกแบบ ดำ�เนินการโครงการออกแบบนิเทศศิลป์ที่นำ�เสนอไว้ใน รายวิชา อน. 428 ซึง่ ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการของภาควิชา ให้ดำ�เนินการได้ตามข้อกำ�หนดของการทำ�โครงการออกแบบนิเทศ ศิลป์ ข้อกำ�หนด 1. นักศึกษาที่จะลงทะเบียนวิชานี้ต้องผ่านวิชาแกนและ วิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา และวิชาโทไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต 2. ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.75 ขึ้นไป 3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต่ 2.00 (เกรด C) ขึ้น ไปเป็นเกณฑ์ผ่าน 4. มีการนำ�เสนอผลงานสู่สาธารณะ


อน. 3411 การถ่ายภาพโฆษณา (3 หน่วยกิต) CD 3411 Advertising Photography ศึกษาและเรียนรูห้ ลักการถ่ายภาพวัตถุตา่ งๆ การจัดแสง และคุณภาพของแสงที่เหมาะสมกับวัตถุพื้นผิวต่างๆ การจัดองค์ ประกอบภาพ การจัดสิ่งของประกอบฉาก รวมถึงการวางแนวคิดและ กำ�หนดเนื้อหาในการถ่ายภาพ เพื่อนำ�ไปใช้ในงานโฆษณาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อน. 3421 การแต่งภาพขั้นสูง (3 หน่วยกิต) CD 3421 Advanced Photography Retouching ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคการแต่งหรือประกอบ ภาพถ่ายให้ดสู มจริง หรือเหนือจินตนาการแบบมืออาชีพด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ รวมถึงการออกแบบสร้างสรรค์ภาพโฆษณาเพื่อดึงดูด ความสนใจของผู้ชมอย่างมีชั้นเชิง อน. 3431 การผลิตภาพยนตร์วิดีโอ (3 หน่วยกิต) CD 3431 Video Production (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบตั กิ ารผลิตสือ่ วิดโี อและภาพยนตร์สนั้ โดย ศึกษากระบวนการผลิตทัง้ หมดในการสร้างงาน ตัง้ แต่เครือ่ งมือ สถาน ที่ในการถ่ายทำ� การเตรียมการถ่ายทำ� การตัดต่อ การลำ�ดับภาพ และ การอัดเสียงประกอบ โดยเน้นรูปแบบการสื่อสารและการดำ�เนินเรื่อง ทีแ่ ตกต่างกันตามจุดมุง่ หมายของภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์โฆษณา ภาพยนตร์สารคดี ฯลฯ อน. 3441 การสร้างสรรค์งานโฆษณา 1 (3 หน่วยกิต) CD 3441 Creative Advertising I (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาพืน้ ฐานการสร้างสรรค์งานออกแบบโฆษณา เรียน รู้การวิเคราะห์จุดเด่นของสินค้า บริการ กลุ่มเป้าหมาย กระบวนการ

สร้างสรรค์ การกำ�หนดแนวความคิด (Concept) และแนวคิดหลัก (Big Idea) รวมถึงวิธีการนำ�เสนอผลงานอย่างมีประสิทธิภาพ อน. 4451 การสร้างสรรค์งานโฆษณา 2 (3 หน่วยกิต) CD 4451 Creative Advertising II พื้นความรู้: สอบได้ อน. 394-2 การสร้างสรรค์งานโฆษณา 1 ศึกษาการสร้างสรรค์งานออกแบบโฆษณาขัน้ สูง โดยเน้น กระบวนการทำ�งานสำ�หรับสือ่ TVC (TV Commercial) และสือ่ โฆษณา อื่นๆ เช่น Radio Spot, Ambient, Social Media, Innovation Media วิชาเอก-เลือกแอนิเมชั่น (Animation) อน. 3412 การเขียนสตอรี่บอร์ดสำ�หรับแอนิเมชั่น (3 หน่วยกิต) CD 3412 Storyboard for Animation ศึกษาและปฏิบัติทักษะการเล่าเรื่องผ่านการทำ�สตอรี่ บอร์ด (Storyboard) และพัฒนาเป็นภาพเคลือ่ นไหว (Animatics) เพือ่ วางแผน ทดลอง พัฒนา และเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างภาพ เคลือ่ นไหวทีม่ ตี วั แปรคือ ความยาวของเวลาทีต่ า่ งกัน เพือ่ สือ่ สารผ่าน สื่อต่างๆ ในลักษณะงานออกแบบไทม์เบส (Time-Based Design) อน. 3422 การออกแบบคาร์แร็กเตอร์ (3 หน่วยกิต) CD 3422 Character Design ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบรูปลักษณ์ของตัวละครใน จินตนาการ ตัง้ แต่รปู ร่างหน้าตา คุณลักษณะเฉพาะภายนอก ไปจนถึง การสร้างบุคลิกลักษณะนิสัยใจคอ การสื่อสารและการแสดงออกทาง ความคิดและอารมณ์ เพื่อสร้างชีวิตให้กับตัวละครที่สร้างขึ้น สำ�หรับ การนำ�ไปใช้ต่อยอดประยุกต์ใช้ในสื่อต่างๆ ตั้งแต่บนหน้ากระดาษ 2 มิติ ในเสปซ 3 มิติ ไปจนถึงภาพเคลื่อนไหว 4 มิติ

หลักสูตรปริญญาตรี 425


อน. 3432 การออกแบบแอนิเมชั่น 2 มิติ (3 หน่วยกิต) CD 3432 Classic Animation and Stop Motion (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาแนวคิดและหลักทฤษฎีของแอนิเมชั่น ฝึกปฏิบัติ การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยใช้เทคนิคแบบดั้งเดิม ตั้งแต่การวาดไป จนถึงการขยับทีละภาพ รวมถึงทดลองการใช้เครื่องมือ วัสดุ ที่มี ลักษณะแตกต่างกัน เช่น ดินสอ ดินน้ำ�มัน ตุ๊กตา สิ่งรอบตัว ไปจนถึง มนุษย์ อน. 3442 การออกแบบแอนิเมชั่น 3 มิติ (3 หน่วยกิต) CD 3442 3D Modeling and Animation (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานการสร้างภาพสามมิติ โดยการขึ้นรูปจำ�ลอง (Model) เพื่อนำ�ไปใช้ในการสร้างงานออกแบบ 3 มิติ เช่น ภาพยนตร์ เกมส์ มิวสิกวิดีโอ ด้วยโปรแกรมการออกแบบ 3 มิติ เช่น 3D Max และ Maya อน. 4452 การจัดองค์ประกอบภาพเคลื่อนไหว (3 หน่วยกิต) CD 4452 Digital Compositing and Matte Painting ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การเรี ย บเรี ย งและจั ด องค์ ประกอบภาพเคลื่อนไหวที่เป็นการนำ�มาจากแหล่งต่างๆ โดยเน้นที่ การประกอบตกแต่งภาพพื้นหลัง หรือการเปลี่ยนฉากสถานที่ที่ไม่มี จริงให้เป็นฉากประกอบในแอนิเมชั่น วิดีโอ หรือภาพยนตร์ วิชาเอก-เลือกการออกแบบสื่อวิดีโอและภาพเคลื่อนไหว (Digital Video Production and Moving Images) อน. 3412 การเขียนสตอรี่บอร์ดสำ�หรับแอนิเมชั่น (3 หน่วยกิต) CD 3412 Storyboard for Animation ศึกษาและปฏิบัติทักษะการเล่าเรื่องผ่านการทำ�สตอรี่ บอร์ด (Storyboard) และพัฒนาเป็นภาพเคลือ่ นไหว (Animatics) เพือ่ 426 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วางแผน ทดลอง พัฒนา และเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างภาพ เคลือ่ นไหวทีม่ ตี วั แปรคือ ความยาวของเวลาทีต่ า่ งกัน เพือ่ สือ่ สารผ่าน สื่อต่างๆ ในลักษณะงานออกแบบไทม์เบส (Time-Based Design) อน. 3431 การผลิตภาพยนตร์วิดีโอ (3 หน่วยกิต) CD 3431 Video Production ศึกษาและปฏิบตั กิ ารผลิตสือ่ วิดโี อและภาพยนตร์สนั้ โดย ศึกษากระบวนการผลิตทัง้ หมดในการสร้างงาน ตัง้ แต่เครือ่ งมือ สถาน ที่ในการถ่ายทำ� การเตรียมการถ่ายทำ� การตัดต่อ การลำ�ดับภาพ และ การอัดเสียงประกอบ โดยเน้นรูปแบบการสือ่ สารและการเล่าเรือ่ งตาม จุดมุ่งหมายของสื่อแต่ละแบบ เช่น ภาพยนตร์สารคดี ภาพยนตร์ โฆษณา อน. 3433 การออกแบบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (3 หน่วยกิต) CD 3433 Motion Graphics Design (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติการสร้างภาพกราฟิกเคลื่อนไหวสำ�หรับ สื่อต่างๆ ตั้งแต่บนโทรศัพท์มือถือไปจนถึงจอขนาดยักษ์ โดยผสม ผสานการใช้ภาพกราฟิก วิดโี อ แอนิเมชัน่ เสียงและดนตรีเข้าด้วยกัน เพื่อสื่อสารให้ข้อมูลเล่าเรื่อง สร้างบรรยากาศ หรือใช้ร่วมกับภาพ เคลื่อนไหวอื่นๆ อน. 3443 การออกแบบเทคนิคพิเศษสำ�หรับ (3 หน่วยกิต) ภาพเคลื่อนไหว CD 3443 Visual Effect (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานการสร้างเทคนิคพิเศษ ต่างๆ สำ�หรับงานภาพเคลื่อนไหว โดยใช้การผสมผสานกันระหว่าง ภาพ 2 มิติและ 3 มิติ เพื่อสร้างสรรค์ภาพเสมือนจริงหรือเหนือจริง สำ�หรับแอนิเมชั่น ภาพยนตร์ หรือมิวสิควิดีโอ


อน. 4452 การจัดองค์ประกอบภาพเคลื่อนไหว (3 หน่วยกิต) CD 4452 Digital Compositing and Matte Painting ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การเรี ย บเรี ย งและจั ด องค์ ประกอบภาพเคลื่อนไหวที่เป็นการนำ�มาจากแหล่งต่างๆ โดยเน้นที่ การประกอบตกแต่งภาพพื้นหลัง หรือการเปลี่ยนฉากสถานที่ที่ไม่มี จริงให้เป็นฉากประกอบในแอนิเมชั่น วิดีโอ หรือภาพยนตร์ วิชาเอก-เลือกภาพประกอบ (Illustration) อน. 3414 ภาพ ความคิด และการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) CD 3414 Image and Idea for Communication ศึกษาความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับการใช้แนวความคิดร่วมกับ ภาพ การเชื่อมโยงระหว่างภาพและข้อความ โดยวิธีการนำ�เสนอให้ มองเห็นได้ทั้งแนวนามธรรมและรูปธรรม ฝึกแก้โจทย์การใช้ภาพและ ความคิดในการสร้างงานภาพประกอบ อน. 3424 ภาพประกอบเพื่อการเล่าเรื่อง (3 หน่วยกิต) CD 3424 Illustrative Storytelling ศึกษาวิเคราะห์และทำ�ความเข้าใจกับสาระสำ�คัญของการ เล่าเรือ่ งอย่างเป็นระบบ โดยเน้นการตีความสามารถเล่าเรือ่ งเป็นภาษา ภาพอย่างมีชนั้ เชิงทางความคิด และกระบวนการแสดงออก เพือ่ สร้าง ภาพประกอบที่มีความซับซ้อนขึ้น รวมถึงสอดคล้องกับรูปแบบที่มี ลักษณะเฉพาะตัวของนักศึกษา อน. 3434 ภาพประกอบสำ�หรับสื่อสิ่งพิมพ์ (3 หน่วยกิต) CD 3434 Illustration for Publishing (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบตั เิ กีย่ วกับการทำ�งานภาพประกอบที่ใช้ใน สือ่ สิง่ พิมพ์ เรียนรูล้ �ำ ดับ กระบวนการในการผลิตผลงาน โดยประมวล ความรู้ ทักษะ นำ�มาปรับใช้ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ เพื่อก้าวไปสู่การ เป็นนักภาพประกอบมืออาชีพ

อน. 3432 การออกแบบแอนิเมชั่น 2 มิติ (3 หน่วยกิต) CD 3432 Classic Animation and Stop Motion ศึกษาแนวคิดและหลักทฤษฎีของแอนิเมชั่น ฝึกปฏิบัติ การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยใช้เทคนิคแบบดั้งเดิม ตั้งแต่การวาดไป จนถึงการขยับทีละภาพ รวมถึงทดลองการใช้เครื่องมือ วัสดุ ที่มี ลักษณะแตกต่างกัน เช่น ดินสอ ดินน้ำ�มัน ตุ๊กตา สิ่งรอบตัว ไปจนถึง มนุษย์ อน. 3442 การออกแบบคาร์แร็กเตอร์ (3 หน่วยกิต) CD 3442 Character Design (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบรูปลักษณ์ของตัวละครใน จินตนาการ ตัง้ แต่รปู ร่างหน้าตา คุณลักษณะเฉพาะภายนอก ไปจนถึง การสร้างบุคลิกลักษณะนิสัยใจคอ การสื่อสารและการแสดงออกทาง ความคิดและอารมณ์ เพื่อสร้างชีวิตให้กับตัวละครที่สร้างขึ้น สำ�หรับ การนำ�ไปใช้ต่อยอดประยุกต์ใช้ในสื่อต่างๆ ตั้งแต่บนหน้ากระดาษ 2 มิติ ในสเปซ 3 มิติ ไปจนถึงภาพเคลื่อนไหว 4 มิติ วิชาเอก-เลือกการออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟ (Interactive Media) อน. 3425 การออกแบบเว็บไซต์และอินเตอร์เฟซ (3 หน่วยกิต) CD 3425 Web and Interface Design ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบตั กิ ารออกแบบเว็บไซต์โดยเน้น การออกแบบเลย์เอาท์ การวางผังโครงสร้าง การออกแบบอินเทอร์เฟซ เทคนิคและโปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบ รวมถึงหัวข้อต่างๆ เช่น HTML, CSS, XML, FTP, CMS และอื่นๆ

หลักสูตรปริญญาตรี 427


อน. 3433 การออกแบบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (3 หน่วยกิต) CD 3433 Motion Graphics Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารสร้างภาพกราฟิกเคลือ่ นไหวสำ�หรับ สื่อต่างๆ ตั้งแต่บนโทรศัพท์มือถือไปจนถึงจอขนาดยักษ์ โดยผสม ผสานการใช้ภาพกราฟิก วิดโี อ แอนิเมชัน่ เสียงและดนตรีเข้าด้วยกัน เพื่อสื่อสารให้ข้อมูลเล่าเรื่อง สร้างบรรยากาศ หรือใช้ร่วมกับภาพ เคลื่อนไหวอื่นๆ อน. 3435 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) สำ�หรับสื่ออินเตอร์แอคทีฟ CD 3435 Interactive Media Programming (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น สำ�หรับการออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟในรูปแบบเว็บไซต์ ซีดีรอม มัลติทัชสกรีน คีออส วิดีโอและสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในบริบทที่มีการ ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ เช่น การใช้ Flash Action Script สำ�หรับการ ออกแบบเว็บไซต์ อน. 3445 การออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟ (3 หน่วยกิต) CD 3445 Interactive Media Design (ยกเว้นสำ�หรับแผนการเรียนแบบสหกิจศึกษา) ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบตั เิ กีย่ วกับการออกแบบสือ่ ผสม และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่เป็นการผสมผสานระหว่างตัวอักษร (Text) รูปภาพ (Image) เสียง (Sound) หรือภาพเคลือ่ นไหว (Moving Image) ในบริบทที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ เช่น สื่อเพื่อการเรียนรู้ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ซีดีรอม ภาพเคลื่อนไหวประกอบเพลง (VJ) หรืออื่นๆ ที่ใช้การอินเตอร์แอคทีฟบนคอมพิวเตอร์

428 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อน. 4455 การออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟขั้นสูง (3 หน่วยกิต) CD 4455 Advanced Interactive Media Design ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบตั เิ กีย่ วกับการออกแบบสือ่ ผสม โดยใช้ เ ทคโนโลยี สมั ย ใหม่ ผ สมผสานกั บ การเขี ย นโปรแกรมเพื่อ สร้างสรรค์งานออกแบบที่ใช้การอินเตอร์แอคทีฟที่ไม่จ�ำ กัดอยูแ่ ค่เม้าส์ และคียบ์ อร์ด รวมถึงการศึกษาเทคนิคขัน้ สูงอืน่ ๆ ในขอบเขตของการ ออกแบบสื่ออินเตอร์แอคทีฟ เช่น Computer Vision

หมวด​วิชา​ทัศน​ศิลป์ ทศ. 121 จิตรกรรม 1 (3 หน่วยกิต) VA 121 Painting I ศึกษาและฝึกปฏิบตั ปิ ญั หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ จิตรกรรม ด้วยสีอะครีลิก เพื่อให้เข้าใจสุนทรียศาสตร์ ธรรมชาติ และลักษณะ เฉพาะของสื่อ และสามารถสร้างงานจิตรกรรมในระดับพื้นฐานได้ ทศ. 122 จิตรกรรม 2 (3 หน่วยกิต) VA 122 Painting II พื้นความรู้: สอบได้ ทศ. 121 ศึกษาและฝึกปฏิบตั ปิ ญั หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ จิตรกรรม ด้วยสีน�้ำ มัน เพือ่ ให้เข้าใจสุนทรียศาสตร์ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะ ของสื่อ และสามารถสร้างงานจิตรกรรมในระดับพื้นฐานได้


ทศ. 223 ประติมากรรม 1 (3 หน่วยกิต) VA 223 Sculpture I ศึ ก ษาและฝึ ก ปฏิ บั ติ ปั ญ หาระดั บ พื้ น ฐานของสื่ อ ประติมากรรม เพื่อให้เข้าใจสุนทรียศาสตร์ ธรรมชาติ และลักษณะ เฉพาะของสือ่ และสามารถสร้างงานประติมากรรมในระดับพืน้ ฐานได้ โดยเรี ย นรู้ เ ทคนิ ค การทำ � แม่ พิ ม พ์ แ ละการหล่ อ รวมทั้ ง เรี ย นรู้ กระบวนการสร้างผลงานด้วยไม้ ทศ. 224 ภาพพิมพ์ 1 (3 หน่วยกิต) VA 224 Printmaking I ศึกษาและฝึกปฏิบตั ปิ ญั หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ ภาพพิมพ์ เพือ่ ให้เข้าใจสุนทรียศาสตร์ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของสือ่ และ สามารถสร้างงานภาพพิมพ์ในระดับพื้นฐานได้ โดยเรียนรู้การสร้าง สื่อภาพพิมพ์ 2 กระบวนการหลักคือ แม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Process) และแม่พิมพ์ตะแกรงไหม (Silk–Screen) ในขอบเขตของการ สร้างงานด้วยมือ (Hand Drawn) ทศ. 225 ศิลปะภาพถ่าย (3 หน่วยกิต) VA 225 Photography ศึกษาและฝึกปฏิบตั ปิ ญั หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ ภาพถ่าย เพือ่ ให้เข้าใจสุนทรียศาสตร์ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของสือ่ และ สามารถสร้างงานภาพถ่ายในระดับพืน้ ฐานได้ โดยศึกษาหลักการและ ปฏิบัติการพื้นฐานของการถ่ายภาพ อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ฝึก ปฏิบตั กิ ารล้างอัด ขยายภาพ และเทคนิคต่างๆ ของภาพถ่ายขาว - ดำ� ทศ. 226 ประติมากรรม 2 (3 หน่วยกิต) VA 226 Sculpture II พื้นความรู้: สอบได้ ทศ. 223 ศึ ก ษาและฝึ ก ปฏิ บั ติ ปั ญ หาระดั บ พื้ น ฐานของสื่ อ ประติมากรรม เพื่อให้เข้าใจสุนทรียศาสตร์ ธรรมชาติ และลักษณะ

เฉพาะของสือ่ และสามารถสร้างงานประติมากรรมในระดับพืน้ ฐานได้ โดยเรียนรูก้ ระบวนการสร้างผลงานด้วยโลหะไปจนถึงการทดลองวัสดุ และวิธีการใหม่โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์ ทศ. 227 ภาพพิมพ์ 2 (3 หน่วยกิต) VA 227 Printmaking II พื้นความรู้: สอบได้ ทศ. 224 ศึกษาและฝึกปฏิบตั ปิ ญั หาระดับพืน้ ฐานของสือ่ ภาพพิมพ์ เพือ่ ให้เข้าใจสุนทรียศาสตร์ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของสือ่ และ สามารถสร้างงานภาพพิมพ์ในระดับพื้นฐานได้ โดยเรียนรู้การสร้าง สื่อภาพพิมพ์ 2 กระบวนการหลักคือ แม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Process) และ Serigraphy (Silk-Screen) ในรูปของการสร้างหรือพัฒนา มาจากการใช้เทคนิคภาพถ่าย ทศ. 228 มีเดียอาร์ต (3 หน่วยกิต) VA 228 Media Art ศึกษาและฝึกปฏิบัติปัญหาระดับพื้นฐานของมีเดียอาร์ต เพื่อให้เข้าใจสุนทรียศาสตร์ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของสื่อจน สามารถสร้างงานมีเดียอาร์ตในระดับพื้นฐานได้ รวมทั้งศึกษาความ เป็นมาและพัฒนาการของมีเดียอาร์ต โดยเรียนรู้กระบวนการผลิต เทคนิควิธีการ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จำ�เป็นต่างๆ ทศ. 231 ศิลปะร่วมสมัยและประเด็นหลังสมัยใหม่ (3 หน่วยกิต) VA 231 Contemporary Arts and Postmodern Issues พื้นความรู้: สอบได้ ศก. 106 ศึกษาศิลปะร่วมสมัยของตะวันตกตัง้ แต่หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 จนถึงปัจจุบัน เพื่อให้สามารถเข้าใจและวิเคราะห์ความ สัมพันธ์ระหว่างรูปแบบ เนื้อหา และแนวคิดของงานศิลปะที่เกิดขึ้น ในโลกร่วมสมัย โดยเน้นความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา แนว ความคิดหลัก และประเด็นที่สำ�คัญของยุคสมัยกับรูปแบบศิลปะเพื่อ เป็นพื้นฐานในการเข้าใจศิลปะร่วมสมัยอย่างแท้จริง หลักสูตรปริญญาตรี 429


ทศ. 232 ศิลปะร่วมสมัยและประเด็นหลัง (3 หน่วยกิต) สมัยใหม่ในเอเชีย VA 232 Contemporary Arts and Postmodern Issues in Asia สำ�รวจและศึกษาความเคลื่อนไหวทางศิลปะร่วมสมัยใน เอเชีย เพื่อให้สามารถเข้าใจและวิเคราะห์ความสัมพันธ์และเงื่อนไข ต่างๆ ระหว่างรูปแบบ เนื้อหา และแนวคิดของงานศิลปะที่เกิดขึ้นใน ยุคปัจจุบัน เพื่อเป็นพื้นฐานในการเข้าใจศิลปะร่วมสมัยของเอเชีย อย่างแท้จริง ทศ. 333 การทำ�ประเทศไทยให้เป็นสมัยใหม่ (3 หน่วยกิต) กับศิลปะ VA 333 Modernization and Thai Arts ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะของไทยตั้งแต่ยุคของการทำ� ประเทศไทยให้เป็นสมัยใหม่ (ร.4) จนถึงปัจจุบนั เพือ่ ให้เข้าใจทีม่ าและ เงื่อนไขต่างๆ ที่เป็นตัวกำ�หนดแนวคิดทางศิลปะและสุนทรียศาสตร์ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเข้าใจปัญหาอัตลักษณ์ของศิลปะไทยในยุค ปัจจุบันอย่างแท้จริง ทศ. 334 สุนทรียศาสตร์ 1 (3 หน่วยกิต) VA 334 Aesthetic I ศึกษาความหมายของปรัชญาศิลปะและสุนทรียศาสตร์ โดยศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของนักปรัชญาต่าง ๆ ที่มีบทบาทสำ�คัญ และมีอิทธิพลต่อประวัติศาสตร์และปรัชญาศิลปะสมัยใหม่ เพื่อให้ นักศึกษาได้รู้จัก เข้าใจ และสามารถนำ�ความรู้จากปรัชญาศิลปะแนว ต่างๆ ไปใช้ประกอบความคิดในการสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ทำ�ความเข้าใจผลงานศิลปกรรมสมัยใหม่

430 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทศ. 335 สุนทรียศาสตร์ 2 (3 หน่วยกิต) VA 335 Aesthetic II พื้นความรู้: สอบได้ ทศ. 334 ศึกษาความหมายของปรัชญาศิลปะและสุนทรียศาสตร์ ร่วมสมัย โดยศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของนักปรัชญาต่างๆ ที่มี บทบาทสำ�คัญและมีอิทธิพลต่อประวัติศาสตร์และปรัชญาศิลปะร่วม สมัย เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้รจู้ กั เข้าใจ และสามารถนำ�ความรูจ้ ากปรัชญา ศิลปะแนวต่างๆ ไปใช้ประกอบความคิดในการสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิจารณ์ และทำ�ความเข้าใจผลงานศิลปกรรมร่วมสมัย ทศ. 336 ศิลปะวิจารณ์ (3 หน่วยกิต) VA 336 Art Criticism ศึกษาการวิจารณ์ผลงานศิลปะและทฤษฎีการวิจารณ์ ศิลปะของสำ�นักความคิดต่างๆ ให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลปะแนว ต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลหรือมีบทบาทต่อชีวิตมนุษย์ในสังคมร่วมสมัย โดย ศึกษาหลักการวิจารณ์ในเรื่องความหมาย ขอบข่าย ระเบียบวิธีการ เพื่อให้สามารถวิจารณ์ผลงานศิลปะได้ด้วยการพูดและการเขียน ทศ. 341 ทัศนศิลป์ 1 (4 หน่วยกิต) VA 341 Visual Arts I พื้นความรู้: สอบได้ ทศ. 121- ทศ. 122 และ ทศ. 223 - ทศ. 228 ศึ ก ษาและทดลองปฏิ บั ติ งานสร้ า งสรรค์ โ ดยเน้นการ สำ�รวจความสนใจ ความถนัด และธรรมชาติของนักศึกษาในฐานะ ปัจเจกบุคคล เพื่อสำ�รวจและค้นหาแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะให้สอดคล้องกับการแสดงออกด้วยสื่อทัศนศิลป์ร่วมสมัย รวม ทั้งสร้างและพัฒนาความเข้าใจ การมองปัญหาและการแก้ปัญหาใน การสร้างสรรค์และปฏิบัติงานของนักศึกษาแต่ละคนอย่างเป็นระบบ


ทศ. 342 ทัศนศิลป์ 2 (4 หน่วยกิต) VA 342 Visual Arts II พื้นความรู้: สอบได้ ทศ. 341 เปิดโอกาสให้นักศึกษาเสนอชุดความคิด ตีความหมาย ของศิลปะและการสร้างงานศิลปะเฉพาะบุคคลอย่างเสรี ฝึกการสำ�รวจ และตรวจสอบความคิดคู่ขนานไปกับการทำ�ความเข้าใจกระบวนการ สร้ า งสรรค์ แ ละการหาความเป็ น ไปได้ ใ นการสร้ า งผลงานภายใต้ ขอบเขตของชุดความคิดนัน้ พร้อมไปกับการพัฒนาการวิเคราะห์และ การแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ตามลักษณะเฉพาะของผลงานของ แต่ละบุคคล ทศ. 351 ภาพถ่ายในสตูดิโอ (3 หน่วยกิต) VA 351 Studio Photography ศึกษาและฝึกฝนกระบวนการผลิตผลงานภาพถ่ายในสตู ดิโอในระดับมืออาชีพ ตัง้ แต่การจัดหุน่ การจัดแสง และเทคนิคเฉพาะ อื่นๆ ของภาพถ่าย ทศ. 352 การผลิตวิดีโอ (3 หน่วยกิต) VA 352 Video Production ศึกษาและฝึกฝนกระบวนการผลิตผลงานวิดีโอในระดับ มืออาชีพ ตั้งแต่การถ่ายทำ� การตัดต่อ ลำ�ดับภาพ การบันทึกเสียง ประกอบ และเทคนิคเฉพาะอื่นๆ ของงานวิดีโอ ทศ. 361 การฝึกทักษะสำ�หรับการดำ�เนินชีวิต (3 หน่วยกิต) ในเชิงวิชาชีพ VA 361 Professional Preparation ฝึกปฏิบัติการนำ�เสนอโครงการหรือผลงานส่วนบุคคล การรวบรวมและจัดระบบข้อมูล การเตรียมผลงาน การติดต่อบุคคล หรือองค์กรทางศิลปวัฒนธรรม เพื่อการแสดงผลงาน จัดนิทรรศการ

รวมไปถึงการจำ�หน่ายงานศิลปะและกฎหมายลิขสิทธิ์ เพื่อสร้างองค์ ความรู้ แ ละทั ก ษะที่ จำ � เป็ น ในการประกอบอาชี พ ในวงการศิ ล ป วัฒนธรรมร่วมสมัย ทศ. 362 การจัดการองค์กรทางศิลปะ (3 หน่วยกิต) VA 362 Art Management เรียนรู้ถึงความสำ�คัญในการจัดการหอศิลป์ พิพิธภัณฑ์ และองค์กรทางศิลปวัฒนธรรมอืน่ ๆ ในโลกศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยใน แบบสหวิทยาการ โดยศึกษาแนวคิดและเทคนิคการแสดงงานโดย วิเคราะห์พนื้ ทีแ่ ละองค์ประกอบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการหอศิลป์ และพิพธิ ภัณฑ์ เช่น การมีสว่ นร่วมของชุมชน การเงิน กฎหมาย แนว โน้มด้านเทคโนโลยี ความหลากหลายของพฤติกรรมและทัศนคติของ ผู้บริโภค ฯลฯ โดยการใช้ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริง ทศ. 363 พิพิธภัณฑ์ศึกษา (3 หน่วยกิต) VA 363 Museum Studies ศึ ก ษาแนวคิ ด ของการจั ด การงานพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ใ นเชิ ง วิเคราะห์เปรียบเทียบ โดยสำ�รวจและทำ�ความเข้าใจแนวคิดและการ จัดการพิพธิ ภัณฑ์ในโลกศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยเพือ่ ให้เข้าใจแนวคิด และการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ในยุคปัจจุบัน ทศ. 364 องค์ความรู้เพื่อการเป็นภัณฑารักษ์ (3 หน่วยกิต) VA 364 Curatorial Knowledge ศึกษาหลักการ แนวคิด วิธีการในการวิเคราะห์ และการ จัดการงานศิลปะ โดยเรียนรู้แนวคิด กระบวนการนำ�เสนอ การจัด แสดงนิทรรศการศิลปะ และการจัดสร้างองค์ความรู้ในฐานะภัณฑารักษ์ เพื่อนำ�มาปรับใช้ต่อการพัฒนาองค์กรทางศิลปวัฒนธรรมใน ประเทศไทย

หลักสูตรปริญญาตรี 431


ทศ. 365 การตลาดสำ�หรับองค์กรทาง (3 หน่วยกิต) ศิลปวัฒนธรรม VA 365 Marketing for Art Organizations ศึกษากระบวนการการวางแผนการตลาด เพื่อให้เข้าใจ หลักการวางแผน พฤติกรรมผูบ้ ริโภคทางศิลปะ การแข่งขัน และการ วิจัยทางการตลาด ฯลฯ โดยฝึกทักษะและวิเคราะห์รูปแบบการเขียน ทัง้ การเขียนรายงาน การเขียนการนำ�เสนอโครงการ การเขียนและทำ� โฆษณาประชาสัมพันธ์ ทศ. 366 ศิลปะไทยและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม (3 หน่วยกิต) VA 366 Thai Arts and Cultural Identities ศึกษาวิธีคิดและกระบวนการสร้างผลงานศิลปกรรมไทย ตั้ ง แต่ อ ดี ต ในเชิ ง วิ เคราะห์แ ละเปรียบเทียบ ให้เข้า ใจถึง ปรั ช ญา ภูมิปัญญา และพัฒนาการของศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อให้สามารถใช้ เป็นพื้นฐานในการทำ�ความเข้าใจประเด็นอัตลักษณ์ไทย ทศ. 367 สัญวิทยา (3 หน่วยกิต) VA 367 Semiotics ศึกษาศาสตร์และองค์ประกอบต่างๆ ของวิชาสัญวิทยา โดยเน้นทีท่ ฤษฎี มุมมอง แนวคิด การประยุกต์เปรียบเทียบ ฯลฯ เพือ่ ให้เกิดความเท่าทันต่อแนวคิดและปรากฏการณ์ของโลกปัจจุบัน ทศ. 368 สหกิจศึกษา (เฉพาะแผนสหกิจศึกษา) (6 หน่วยกิต) VA 368 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 ศึ ก ษาระบบการทำ � งานจริ ง ในหน่ ว ยงานหรื อ สถาน ประกอบการในฐานะพนักงานของหน่วยงานหรือสถานประกอบการ หรือกับศิลปินอาชีพในฐานะผู้ช่วยศิลปิน เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษา มีความพร้อมด้านงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมีหลัก การและเป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน 432 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ท�ำ งาน (Work Integrated Learning) ที่ตรงกับสาขาวิชาชีพเกี่ยวข้อง มีการ ประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์ร่วมกับสถานประกอบการ และ นักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษาหลัง เสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ทศ. 437 วัฒนธรรมทางการเห็น (3 หน่วยกิต) VA 437 Visual Culture ศึกษาและทำ�ความเข้าใจวัฒนธรรมทางการเห็นในแบบ สหวิทยาการ โดยเน้นในการวิพากษ์ทฤษฎีมุมมอง แนวคิด และ บทบาทของวัฒนธรรมทางการเห็นในโลกร่วมสมัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อโลก ศิลปะเพื่อให้เกิดความเท่าทันต่อแนวคิดและปรากฏการณ์ของโลก ปัจจุบัน ทศ. 443 ทัศนศิลป์ 3 (4 หน่วยกิต) VA 443 Visual Arts III พื้นความรู้: สอบได้ ทศ. 342 นักศึกษาเสนอชุดความคิด การตีความหมายของศิลปะ และกระบวนการสร้างงานศิลปะเฉพาะบุคคลอย่างเสรี รวมทั้งสำ�รวจ และตรวจสอบความคิดคู่ขนานไปกับกระบวนการสร้างสรรค์และ หาความเป็นไปได้ในการสร้างผลงานภายใต้ขอบเขตของชุดความคิด นั้น พร้อมไปกับการพัฒนาการวิเคราะห์และการแก้ปัญหาในการ สร้างสรรค์ตามลักษณะเฉพาะของผลงานของแต่ละบุคคล โดยเน้น พัฒนาการในเชิงลึก


ทศ. 444 การสัมมนาและวิเคราะห์ผลงานทัศนศิลป์ (4 หน่วยกิต) VA 444 Seminar and Analyses in Visual Arts สร้างกระบวนระบบผ่านการเรียนการสอนเชิงสัมมนาและ วิเคราะห์ผลงานทัศนศิลป์ โดยการเน้นและให้ความสำ�คัญกับการ เปรียบเทียบและบูรณาการแนวคิด ทฤษฎี วิธีวิทยา และประเด็นร่วม สมัยคู่ขนานไปกับการสร้างงานศิลปะเฉพาะบุคคล เพื่อให้นักศึกษา เข้าใจและสามารถประยุกต์ นำ�หลักการ แนวคิดหรือวิธีวิทยาต่างๆ ดังกล่าวมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานของตนอย่างเป็นระบบและเป็น รูปธรรม ทศ. 445 การเตรียมโครงการทัศนศิลป์ (3 หน่วยกิต) VA 445 Degree Project Preparation ศึกษาและดำ�เนินการวิเคราะห์ข้อมูลโครงการเพื่อสรุป แนวคิด จุดมุ่งหมาย กระบวนการและการนำ�เสนอผลงานสร้างสรรค์ และถ่ายทอดในรูปแบบของการเขียน เพื่อให้สามารถเขียนอธิบายวิธี คิด กระบวนการในการสร้างสรรค์ รูปแบบ และเนื้อหาในผลงานของ ตนได้อย่างชัดเจนและมีระบบ ทศ. 446 โครงการทัศนศิลป์ (6 หน่วยกิต) VA 446 Degree Project in Visual Arts นักศึกษานำ�เสนอแนวคิดและผลงานของตัวเองที่สรุป รวบรวมเป็ น โครงการศิ ล ปะอย่ า งเป็ น ระบบมาจั ด แสดงเป็ น งาน นิทรรศการ พร้อมทัง้ นำ�เสนอเอกสารประกอบ เพือ่ ให้เห็นถึงภาพรวม ของการศึกษาและการสร้างสรรค์ผลงานที่มีลักษณะเฉพาะตัว โดย ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดในการทำ�โครงการทัศนศิลป์ ข้อกำ�หนด 1. นักศึกษาที่จะลงทะเบียนวิชานี้ ต้องผ่านวิชาแกนและ วิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา ยกเว้นวิชา VA 444 (การสัมมนาและ วิเคราะห์ผลงานทัศนศิลป์) ที่ให้เรียนไปพร้อมกันได้ และเรียนวิชา เอก-เลือกไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 2. ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.75 ขึ้นไป

3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต่ 2.00 (เกรด C) ขึ้น ไปเป็นเกณฑ์ผ่าน 4. มีการนำ�เสนอผลงานสู่สาธารณะ

หมวด​วิชา​การ​ออกแบบ​แฟชั่น​และ​สิ่ง​ทอ อฟ. 121 การเขียนภาพประกอบการออกแบบแฟชัน่ (3 หน่วยกิต) FD 121 Fashion Drawing and Illustration พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษาและฝึกปฏิบตั กิ ารวาดโครงสร้างหุน่ และเครือ่ งแต่ง กาย เพือ่ นำ�เสนอผลงานการออกแบบแฟชัน่ ทีส่ ามารถสือ่ สารให้เข้าใจ ถึงแนวคิดในการออกแบบได้อย่างชัดเจน และมีคณ ุ ลักษณะความเป็น ภาพประกอบที่งดงาม รวมถึงสามารถคลี่คลายผลงานการออกแบบ แฟชั่นเพื่อนำ�ไปสร้างแบบเสื้อผ้าสำ�หรับตัดเย็บที่ถูกต้อง อฟ. 122 โครงสร้างการออกแบบแฟชั่น 1 (3 หน่วยกิต) FD 122 Fashion Construction I พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษาและเรียนรู้พื้นฐานโครงสร้างการออกแบบแฟชั่น เพื่อนำ�ไปใช้ในการตัดเย็บเสื้อผ้าเบื้องต้น เรียนรู้การกำ�หนดขนาด สัดส่วน ขั้นตอนการสร้างโครงเสื้อ ศึกษาและปฏิบัติฝึกฝนการสร้าง แบบ การใช้อปุ กรณ์ รวมทัง้ เทคนิคการวางผ้าและการตัดเย็บเบือ้ งต้น

หลักสูตรปริญญาตรี 433


อฟ. 211 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 1 (4 หน่วยกิต) FD 211 Fashion and Textile Design I พื้นความรู้: สอบได้ อฟ. 122 ศึกษาขั้นตอนความเป็นมา องค์ประกอบขั้นพื้นฐาน ทฤษฎี หลักการในการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ โดยให้ความสำ�คัญ ต่อกระบวนการคิด ขนาด สัดส่วน คุณสมบัติของสิ่งทอ การแบ่ง ประเภทของเครื่องแต่งกาย และกระบวนการออกแบบ รวมทั้งฝึกฝน ทักษะการเสนอความคิดและการนำ�เสนองาน อฟ. 212 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 2 (4 หน่วยกิต) FD 212 Fashion and Textile Design II พื้นความรู้: สอบได้ อฟ. 211 ศึกษาต่อเนือ่ งจากวิชา อฟ. 211 การออกแบบแฟชัน่ และ สิง่ ทอ 1 โดยเน้นทีก่ ระบวนการศึกษาจากแนวความคิด โดยปฏิบตั จิ ริง จากการออกแบบโดยใช้หุ่นลองเสื้อขนาดเท่าคนจริงในการออกแบบ เครื่องแต่งกาย การเลือกใช้วัสดุสิ่งทอประเภทต่างๆ วิเคราะห์สภาพ ปัญหาและการแก้ไขเชิง 3 มิติ รวมถึงเรียนรู้เทคนิคที่สามารถนำ�มา ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับแนวความคิดได้อย่างเป็นรูปธรรม อฟ. 223 โครงสร้างการออกแบบแฟชั่น 2 (3 หน่วยกิต) FD 223 Fashion Construction II พื้นความรู้ : สอบได้ อฟ. 122 ศึกษาและเรียนรู้ต่อเนื่องจาก อฟ.122 โครงสร้างการ ออกแบบแฟชัน่ 1 โดยการฝึกปฏิบตั กิ ารสร้างแบบเสือ้ ผ้าประเภทต่างๆ เพื่อนำ�ไปใช้ในการตัดเย็บเสื้อผ้าขั้นสูง รวมถึงเทคนิคการตัดเย็บที่ หลากหลาย เพื่อสามารถนำ�มาพัฒนาการสร้างแบบตัดเย็บที่ตอบ สนองกับแนวทางการออกแบบที่สมบูรณ์

434 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อฟ. 224 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบแฟชั่น (3 หน่วยกิต) และสิ่งทอ FD 224 Computer Aided Design for Fashion and Textile Application พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษาและปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อนำ�มาประยุกต์ ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอทั้งในเชิง 2 มิติ และ 3 มิติ รวมถึงเรียนรู้เทคนิคและพัฒนาทักษะการนำ�เสนอผล งานการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ อฟ. 225 การออกแบบเครือ่ งประกอบเครือ่ งแต่งกาย (3 หน่วยกิต) FD 225 Accessories Design พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษากระบวนการคิดและการออกแบบเครื่องประกอบ เครื่องแต่งกายเบื้องต้น เรียนรู้วิธีการกำ�หนดขนาด สัดส่วน รวมถึง เข้าใจคุณสมบัติของวัสดุประเภทต่างๆ ที่ใช้ในการออกแบบ และ สามารถเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม ฝึกฝนการสร้างแบบและเรียนรู้ เทคนิคการผลิตเบื้องต้นเพื่อสามารถนำ�ไปพัฒนาผลงานต้นแบบได้ อฟ. 226 กระบวนการทอผ้า (3 หน่วยกิต) FD 226 Weaving Design Process พื้นความรู้: ไม่มี เรียนรู้กระบวนการทอผ้าเบื้องต้น และขั้นตอนการสร้าง ผลงานโดยการฝึกปฏิบัติการทอ ศึกษากระบวนการคิดและการ ออกแบบ รวมถึงการเลือกใช้วัสดุ พร้อมทั้งถ่ายทอดผลงานด้วยการ สร้างลวดลายบนผืนผ้าทีส่ อดคล้องกับแนวคิดในการออกแบบได้อย่าง ชัดเจน และสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างงานออกแบบเครื่อง แต่งกายได้อย่างเหมาะสม


อฟ. 231 ประวัติศาสตร์การออกแบบแฟชั่น (3 หน่วยกิต) และสิ่งทอ FD 231 History of Fashion and Textile พื้นความรู้: ไม่มี ศึ ก ษาประวั ติ ค วามเป็ นมาและวิ วั ฒ นาการของการ ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยให้เข้าใจถึง อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม และการพัฒนาทางเทคโนโลยี ที่มี ผลต่อพัฒนาการในการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ อฟ. 232 ศิลปะสัญจรเครื่องแต่งกายและสิ่งทอไทย( 3 หน่วยกิต) FD 232 Survey of Thai Fashion and Textile พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษา และสำ�รวจเพือ่ เรียนรูถ้ งึ ศิลปะการออกแบบเครือ่ ง แต่งกายไทย และลายผ้าจากแต่ละท้องถิน่ ของประเทศไทยในยุคสมัย ต่างๆ เพื่อให้เข้าใจถึงอิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม รวมถึง พัฒนาการทางเทคโนโลยีที่มีผลต่อพัฒนาการในการออกแบบเครื่อง แต่งกายและสิ่งทอไทย อฟ. 241 การตลาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น (3 หน่วยกิต) และสิ่งทอ FD 241 Marketing for Fashion and Textile Design พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษารูปแบบการตลาดและการจัดการธุรกิจด้านแฟชั่น และสิ่งทอ ปัจจัยพื้นฐานในการออกแบบที่มีผลต่อการตลาด เพื่อให้ สามารถพัฒนางานออกแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เรียนรูข้ นั้ ตอนการวิเคราะห์และดำ�เนินกิจกรรมทางการตลาดทีเ่ หมาะ สม และสอดคล้องกับเป้าหมายทางการตลาดขององค์กรธุรกิจ

อฟ. 313 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 3 (4 หน่วยกิต) FD 313 Fashion and Textile Design III พื้นความรู้: สอบได้ อฟ. 212 ศึกษาต่อเนือ่ งจากวิชา อฟ.212 การออกแบบแฟชัน่ และ สิ่งทอ 2 โดยฝึกปฏิบัติการออกแบบรวมถึงทักษะการนำ�เสนอผลงาน เน้นกระบวนการคิดและการวางแผนงานอย่างเป็นระบบ เรียนรู้การ สร้างคอลเลคชัน่ และวิเคราะห์ประเภทของสิง่ ทอทัง้ ทางด้านกายภาพ และพฤติกรรมการใช้งาน เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของ เครื่องแต่งกายสตรีแต่ละประเภท รวมทั้งศึกษาเรื่องการตลาด ความ หมาย และปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบแฟชั่นและ สิ่งทอ และการประกอบวิชาชีพ อฟ. 314 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 4 (4 หน่วยกิต) FD 314 Fashion and Textile Design IV พื้นความรู้: สอบได้ อฟ. 313 ศึกษาต่อเนือ่ งจากวิชา อฟ. 313 การออกแบบแฟชัน่ และ สิ่งทอ 3 โดยฝึกปฏิบัติการออกแบบรวมถึงทักษะการนำ�เสนอผลงาน เน้นกระบวนการคิดและการวางแผนงานอย่างเป็นระบบ เรียนรู้การ สร้างคอลเลคชัน่ และวิเคราะห์ประเภทของสิง่ ทอทัง้ ทางด้านกายภาพ และพฤติกรรมการใช้งาน เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของ เครือ่ งแต่งกายบุรษุ แต่ละประเภท การสร้างแนวทางการออกแบบและ รูปแบบให้สอดคล้องกับความต้องการ โดยคำ�นึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่มี ความสำ�คัญต่อการประกอบวิชาชีพ การตลาด การวิเคราะห์ สำ�รวจ และเลือกตลาดเป้าหมายเพื่อให้สอดคล้องกับการออกแบบ

หลักสูตรปริญญาตรี 435


อฟ. 327 กระบวนการย้อมและพิมพ์สิ่งทอ (3 หน่วยกิต) อฟ. 343 การบริหารสินค้าแฟชั่น (3 หน่วยกิต) FD 327 Print and Dyeing Design Process FD 343 Fashion Merchandising พื้นความรู้: ไม่มี พื้นความรู้: ไม่มี ศึกษาระบบ กระบวนการย้อมผ้าและเส้นใยประเภทต่างๆ ศึกษากระบวนการบริหารสินค้าแฟชั่น การบริหารงบ และการพิมพ์ผา้ โดยฝึกปฏิบตั กิ ารออกแบบ การย้อม การพิมพ์ เรียน ประมาณ การวางแผนการออกแบบคอลเลคชั่นเพื่อกำ�หนดรูปแบบ รู้การใช้สี และวัสดุต่างๆ ทั้งที่เป็นวัสดุธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะห์ และสัดส่วนการผลิตสินค้าแต่ละประเภทในงบประมาณทีส่ อดคล้องกับ รวมถึงคุณสมบัติเฉพาะของวัสดุที่สามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ ในการ เป้า หมายทางการตลาดขององค์กรธุรกิจ เรียนรูว้ ธิ กี ารจัดลำ�ดับและ สร้างงานออกแบบสิ่งทอและเครื่องแต่งกาย ขั้นตอนการกระจายสินค้าออกสู่ตลาด ตลอดจนการจัดจำ�หน่าย และ ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมการขายด้วยการจัดแสดงสินค้า อฟ. 328 การออกแบบสิ่งทอเชิงประยุกต์ (3 หน่วยกิต) FD 328 Creative Textile Design อฟ. 361 การปฏิบัติงานวิชาชีพ (0 หน่วยกิต) พื้นความรู้: ไม่มี FD 361 Job Training ศึกษากระบวนการและแนวคิดในการสร้างสรรค์สงิ่ ทอเชิง ฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและได้รับการ ประยุกต์ ฝึกฝนทักษะและเรียนรู้การใช้วัสดุที่แปลกใหม่เพื่อสร้าง อนุมัติจากภาควิชาฯ เพื่อศึกษาระบบการทำ�งานและการแก้ปัญหา สรรค์งานสิ่งทอในเชิงทดลอง ซึ่งสามารถสื่อสารถึงแนวคิดในการ โดยใช้เวลาฝึกงานไม่ต่ำ�กว่า 8 สัปดาห์หรือประมาณ 320 ชั่วโมง ออกแบบได้อย่างชัดเจน ฝึกปฏิบตั กิ ารผสมผสานเทคนิคการออกแบบ ข้อกำ�หนด 1. นักศึกษาทีจ่ ะฝึกงานต้องผ่านการศึกษามาแล้วไม่นอ้ ย สิง่ ทอเพือ่ สร้างความหลากหลาย และสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในงาน กว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ ออกแบบด้านอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม 2. การวัดผลให้ถือเกณฑ์ S และ U เป็นเกณฑ์ผ่านและ ไม่ผ่านตามลำ�ดับ อฟ. 342 การสร้างตราสินค้าแฟชั่นและสิ่งทอ (3 หน่วยกิต) FD 342 Fashion and Textile Branding อฟ. 371 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ เอ (3 หน่วยกิต) พื้นความรู้: ไม่มี FD 371 Major Design Elective A ศึกษาองค์ประกอบและกระบวนการทางการตลาดที่ เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจทางด้านการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ อฟ. 372 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ บี (3 หน่วยกิต) เรียนรู้ขั้นตอนในการจัดตั้งองค์กรทางธุรกิจและการจัดการบริหาร FD 372 Major Design Elective B องค์กร การสร้างตราสินค้าแฟชั่นและสิ่งทอ รวมทั้งปัจจัยแวดล้อมที่ มีอิทธิพลต่อการสร้างตราสินค้าให้ประสบความสำ�เร็จ อฟ. 373 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ซี (3 หน่วยกิต) FD 373 Major Design Elective C อฟ. 374 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ดี FD 374 Major Design Elective D 436 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

(3 หน่วยกิต)


อฟ. 415 การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 5 (4 หน่วยกิต) FD 415 Fashion and Textile Design V พื้นความรู้: สอบได้ อฟ. 314 ศึกษาต่อเนือ่ งจากวิชา อฟ. 314 การออกแบบแฟชัน่ และ สิ่งทอ 4 ศึกษาและปฏิบัติถึงกระบวนการออกแบบและเทคนิคในการ วางแผนงาน โดยเน้นที่การศึกษาโดยวิจัยถึงความต้องการที่กำ�หนด ขึ้น และมีความละเอียดซับซ้อนมากขึ้น เรียนรู้การวางแผนงานการ วิเคราะห์ข้อมูล การปฏิบัติงานที่ใช้ระยะเวลา ซึ่งมีขั้นตอนในการ ออกแบบ การวางแผนงานที่ละเอียด รวมถึงเทคนิคการนำ�เสนอผล งานในรูปแบบการจัดแสดง ตลอดจนวางนโยบายในการจัดการทางการ ตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาด อฟ. 416 การเตรียมโครงการออกแบบ (3 หน่วยกิต) FD 416 Degree Project Preparation พื้นความรู้: สอบได้ อฟ. 314 นำ�เสนอหัวข้อโครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์ โครงการ สรุปแนวความคิดของกระบวนการ สร้างสรรค์ รูปแบบและเนื้อหา รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลเพื่อใช้ในการ ออกแบบ การวัดผลวิชานี้ให้ถือเกณฑ์ S และ U เป็นเกณฑ์ผ่านและ ไม่ผ่านตามลำ�ดับ อฟ. 417 โครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ (6 หน่วยกิต) FD 417 Degree Project in Fashion and Textile Design พื้นความรู้: สอบได้ อฟ. 416 ดำ�เนินการออกแบบโครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ที่ได้เสนอไว้แล้วและผ่านการเห็นชอบจากภาควิชาฯ โดยปฏิบัติตาม ข้อกำ�หนดในการทำ�โครงการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ข้อกำ�หนด 1. นักศึกษาที่จะลงทะเบียนวิชานี้ ต้องผ่านวิชาพื้นฐาน วิชาชีพและวิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา และวิชาเอก-เลือกไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต

2. ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.75 ขึ้นไป 3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต่ 2.00 (เกรด C ) ขึ้น ไปเป็นเกณฑ์ผ่านเพื่อรับปริญญาตรี สำ�หรับผู้ที่ได้รับคะแนน 1.50 และ 1.00 (เกรด D+ และ D ) สามารถขอรับอนุปริญญาได้ตามระเบียบ มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี เรื่องการให้ อนุปริญญา 4. มีการนำ�เสนอผลงานสู่สาธารณะ อฟ. 430 สหกิจศึกษา (9 หน่วยกิต) FD 430 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ อฟ. 314 และได้รับการอนุมัติจากภาควิชาฯ ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการธุรกิจใน ฐานะพนักงานของสถานประกอบการธุรกิจ เพือ่ เสริมสร้างให้นกั ศึกษา มีความพร้อมด้านงานวิชาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมีหลัก การและเป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีชั่วโมงการทำ�งานอย่างเต็มเวลา ในสถานประกอบการธุรกิจรวมแล้วไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ หรือ 1 ภาคการศึกษา รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากอาจารย์ที่ ปรึกษาร่วมกับสถานประกอบการธุรกิจ และนักศึกษาต้องจัดทำ� รายงานสรุปผลการทำ�งานเมือ่ สิน้ สุดการทำ�งานจากสถานประกอบการ อฟ. 475 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ อี FD 475 Major Design Elective E

(3 หน่วยกิต)

หลักสูตรปริญญาตรี 437


หมวด​วิชา​การ​ออกแบบผลิตภัณฑ์ อผ. 172 ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ (3 หน่วยกิต) ผลิตภัณฑ์ PD 172 Creative Thinking for Product Design เปิ ดโลกทัศน์แบบนักคิดนักสร้างสรรค์ ปลูกฝังความ คิดริ เริ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริมนักศึกษาให้เกิดพัฒนาการทางความคิด โดยนั กออกแ บบผลิตภัณฑ์ผู้มีประสบการณ์และผู้ประกอบการณ์ใน ธุรกิจออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อจุดประกายในการออกแบบและกระตุ้น จิตส�ำ นึกใน การเป็นนักออกแบบผลิตภัณฑ์เรียนรู้วิธีการน�ำความคิด สร้างส รรค์ ไ ปใช้ในการออกแบบ น�ำความคิดมาพัฒนาหาทางแก้ ปัญหาและสร้างความเป็นไปได้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ เรียนรูห้ ลัก การทีส่ �ำคัญจาก นักคิดและนักออกแบบทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ

วัฒนธรรม โดยปฏิบตั จิ ริงจากการออกแบบ โดยออกแบบควบคูไ่ ปกับ การท�ำผลิตภัณฑ์ต้นแบบ วิเคราะห์สภาพ ปัญหาและการแก้ไขเชิง 3 มิติ รวมถึงการเพิ่มทักษะทางเทคนิคทางการคิดและการออกแบบที่ สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับการออกแบบผลิตภัณฑ์ อผ. 271 นวัตกรรมวัสดุ 1 (3 หน่วยกิต) PD 271 Material Innovation I ศึกษาโค ร งสร้างในกระบวนการผลิตพื้นฐานศึกษาวัสดุ ในกระบวนการการผลิตของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ที่สามารถ พัฒนาต่อยอดจากองค์ความรู้พื้นฐานสู่สากล โดยเรียนรู้ เกีย่ วการผลิตในระบบอุตสาหกรรมขนาดพืน้ บ้านและการผลิตในระบบ อุตสาหกรรมสากลสูร่ ะบบอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ศึกษาและวิเคราะห์ ตัวอย่างวัสดุที่ใช้ในระบบการออกแบบผลิตภัณฑ์ในปัจจุบัน

อผ. 251 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 (4 หน่วยกิต) PD 251 Product Design I ศึกษ า ขั้นต อนความเป็นมา องค์ประกอบขั้นพื้นฐาน ทฤษฎี ห ลักกา รในการออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยให้ความส�ำคัญกับ กระบวนความคิด รูปร่าง รูปทรง สัดส่วน และประโยชน์ใช้สอย การ แบ่งประเภทของผลิตภัณฑ์ และกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวม ทั้งฝึ ก ฝ นการ วาดภาพประกอบผลิตภัณฑ์ โดยน�ำประเด็นส�ำคัญใน สังคม แ ล ะเศร ษฐกิจสร้างสรรค์ สร้างหัวข้อที่ทันสมัยและร่วมสมัย เพือ่ สร้างทักษะ การน�ำเสนอแนวความคิดสร้างสรรค์ และการน�ำเสนอ งานออกแบบ

อผ. 272 เทคนิคการเขียนแบบและ (3 หน่วยกิต) การน�ำเสนองานส�ำหรับนักออกแบบผลิตภัณฑ์ PD 272 Drawing and Presentation Technic for Product Designer ศึกษาหลั กการในการเขียนแบบเพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยการฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนแบบและฝึกการร่างภาพ และลงสีอย่างมือ อาชีพ เพือ่ น�ำไปใช้ในกระบวนการผลิตและน�ำเสนองานในระดับสากล รวมทั้งสามารถน�ำมาประยุกต์ ในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ทั้งในเชิง 2 มิติและ 3 มิติ รวมถึงเรียนรู้เทคนิค และพัฒนา ทักษะการออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์

อผ. 252 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 2 (4 หน่วยกิต) PD 252 Product Design II พื้นความรู้: สอบได้ อผ. 251 ศึกษาต่อเนือ่ งจากวิชา อผ. 251 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 โดยเ น้ นที่กระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ ศึกษาจากแนวความ คิดของทฤษฎีร่วมสมัย ผสมผสานจากสภาวะเศรษฐกิจ สังคม และ

อผ. 273 ปฏิบัติการสร้างต้นแบบ 1 (3 หน่วยกิต) PD 273 Studio Modeling I ศึกษากระบวนการสร้างต้นแบบจากการออกแบบและการ ผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในตลาด สร้างความรู้ และความเข้าใจในวิธีการ สร้างต้นแบบ รวมถึงความเข้าใจคุณสมบัติของวัสดุประเภทต่างๆ ที่ ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ และสามารถเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม

438 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ฝึกฝนการสร้างต้นแบบ และเรียนรู้เทคนิคการผลิตเพื่อน�ำไปพัฒนา ผลงานต้นแบบได้ อผ. 274 ปฏิบัติการสร้างต้นแบบ 2 (3 หน่วยกิต) PD 274 Studio Modeling II ปฏิบัติก ารขั้นสูงในการสร้างต้นแบบจากวัสดุที่ใช้จริงใน การออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยการศึกษาวัสดุ และขัน้ ตอนการผลิตในขัน้ สูง เรียนรูก้ ารผสมผสานวัสดุธรรมชาติกบั วัสดุทางอุตสาหกรรม เรียนรู้ หลักการสร้างสรรค์วสั ดุใหม่ๆ เพือ่ ตอบสนองเศรษฐกิจสร้างสรรค์และ น�ำมาพัฒนาต่อยอดกับกระบวนการผลิตในอุตสหกรรม การเรียนรู้ เทคนิคที่สา มารถน�ำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับแนวความคิดรวมถึงการ พัฒนาแนวควา มคิดในการออกแบบวัสดุปฏิบัติ การสร้างสรรค์วัสดุ ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาต่อยอดทางศิลปวัฒนธรรมและสร้างนวัตกรรมโดย สร้างงานที่มีคุณภาพ อผ. 275 การตอบสนองของมนุษย์เพื่อ (3 หน่วยกิต) การออกแบบผลิตภัณฑ์ PD 275 Human Sensibility Ergonomics in Product Design เรียนรูห้ ลักการวิเคราะห์ปจั จัยของมนุษย์ ทัง้ ทางกายภาพ และจินตภาพ อาทิ พื้นฐานทางครอบครัว (Family Background) พื้น ฐานความรู้ (Background of Knowledge) การเรียนที่ได้มาจากการ กลัน่ กรองและเก็บในรูปความรูด้ า้ นต่างๆ ทีจ่ ะส่งผลต่อวิธคี ดิ วิธปี ฏิบตั ิ ความเชื่อ บุคลิกภาพทางความคิด ตลอดจนแนวทางแก้ปัญหาต่างๆ ประสบการณ์ชีวิต (Experience of Life) บทเรียนต่างๆ ที่ผ่านมาใน ชีวิตเราทุกวันนี้ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กหรือเป็นเรื่องใหญ่ เป็นข้อมูลที่มี ผลโดยตรงกับการท�ำงานของสมอง (Brain Functioning) สมองของ แต่ละคนที่เกิดมามีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ละเอียดอ่อนที่ท�ำให้ทุกคน มีเอกลักษณ์ทางความรูส้ กึ นึกคิดและบุคลิกภาพ รวมทัง้ ศักยภาพด้าน ต่างๆ ไม่เท่ากันตั้งแต่เริ่มเกิดจนถึงโต วัฒนธรรม (Culture) เป็นวิถี ชีวติ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อความคิด ความเชือ่ และการปฏิบตั ขิ องคนอย่างมาก จึงถือว่าเป็นปัจจัยที่มีความส�ำคัญด้านหนึ่ง จริยธรรม (Morality) ผู้ที่

มีจริยธรรมสูงย่อมมีกรอบในการคิด การตัดสินใจ และการหาแนวทาง แก้ปญั หา การรับรู้ (Perception) เป็นสภาวะทีเ่ ราตอบสนองต่อสิง่ หนึง่ สิง่ ใดภายใต้กลไกของสมอง จิตใจ ฯลฯ ทีม่ ผี ลต่อวิธกี ารคิดของคนเป็น อย่างมาก สภาพแวดล้อม (Environment) เพือ่ ให้สามารถพัฒนางาน ออกแบบให้สอดคล้องกับอุปสงค์ และอุปทานของตลาดในปัจจุบนั และ ในอนาคต เรี ยนรู้ขั้นตอนการวิเคราะห์ และด�ำเนินกิจกรรมทางการ ออกแบบที่เห มาะสม และสอดคล้องกับเป้าหมายทางการตลาดของ องค์กรทางธุรกิจเพือ่ เข้าถึงปัจจัยของกลุม่ เป้าหมายในภูมภิ าคอาเซียน และในภูมิภาคอื่นๆ อผ. 276 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ (3 หน่วยกิต) นักออกแบบผลิตภัณฑ์ PD 276 Applications for Product Designer ศึกษาและปฏิบตั กิ ารใช้คอมพิวเตอร์เพือ่ น�ำมาประยุกต์ใน การสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ ทั้งในเชิง 2 มิติและ 3 มิติ ที่ใช้อย่างแพร่หลาย และโปรแกรมที่จะส่งเสริมประสิทธิภาพของ นักออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมถึงเรียนรู้เทคนิคและพัฒนาทักษะการน�ำ เสนอผลงานออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์อย่างมืออาชีพ อผ. 351 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 3 (4 หน่วยกิต) PD 351 Product Design III พื้นความรู้: สอบได้ อผ. 252 ศึกษาต่อเนือ่ งจากวิชา อผ. 252 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 2 โดยการศึก ษา ปฏิบัติการออกแบบโดยเน้น กระบวนการคิด การ วางแผนงาน เรียนรู้เทคนิคที่สามารถน�ำมาประยุกต์ ใช้ให้เข้ากับแนว ความคิด รวมถึงการพัฒนาแนวความคิด และกระบวนการออกแบบให้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความต้องการของการออกแบบผลิตภัณฑ์ ในแต่ละ ประเภทโดยไม่ลมื ทีจ่ ะค�ำนึงถึงสิง่ แวดล้อม การตอบสนองของมนุษย์ และเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นหลัก ฝึกทักษะการน�ำเสนอผลงาน ศึกษา เรื่องการตลาด ความหมาย ขอบเขต และความส�ำคัญ อิทธิพลการ เปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อตลาดผู้บริโภค หลักสูตรปริญญาตรี 439


อผ. 352 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 4 (4 หน่วยกิต) PD 352 Product Design IV พื้นความรู้: สอบได้ อผ. 253 ศึกษาต่อเนือ่ งจากวิชา อผ. 253 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 3 โดยการศึก ษาเชิงวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปฏิบัติการออกแบบ เข้าสู่มาตรฐานสากล โดยเน้นกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ การ ผลิต การวาง แผนงาน เรียนรู้ เทคนิคที่สามารถน�ำมาประยุกต์ ใช้ ให้เข้ากับแ นวความคิดรวมถึงการพัฒนาแนวความคิดสู่ตลาด และ กระบวนการออ กแบบให้อยู่บนพื้นฐานความต้องการของการตลาด เช่น ในกลุม่ อาเซียน กลุม่ อเมริกาเหนือ กลุม่ ยุโรป กลุม่ อาฟริกา กลุม่ ตะวันออกกลาง และอื่นๆ โดยค�ำนึงถึงวัฒนธรรมสากล การค�ำนึงถึง สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นหลัก ฝึกทักษะการน�ำเสนอ ผลงาน ศึกษาเรื่องผู้บริโภค ความหมาย ขอบเขต และความส�ำคัญ อิทธิพลของวัฒนธรรมเอเชีย และอื่นๆ วิเคราะห์ วิจัย ออกแบบ พัฒนาแบบ เต รียมการผลิต ผลิตต้นแบบ และทดลองผลิตภัณฑ์สู่ ระบบอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ อผ. 361 ประวัติศาสตร์การออกแบบผลิตภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) PD 361 History of Product Design ศึกษาและวิเคราะห์ประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการ ของการออกแบบผลิตภัณฑ์ในแต่ละทวีปตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั โดย สร้างความเข้าใจถึงอิทธิพลทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตลอด จนการพัฒนาท างเทคโนโลยีที่มีผลต่อพัฒนาการในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ สามารถวิเคราะห์ถงึ ทิศทางการออกแบบทีจ่ ะน�ำไปถึงการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต อผ. 362 การส�ำรวจและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาเซียน (3 หน่วยกิต) FD 362 Survey and Analysis of ASEAN Product วิเคราะห์ แนวทางการพัฒนา ศึกษา และส�ำรวจเพี่อ เรียนรู้ถึง ศิลปหัตถกรรมของผลิตภัณฑ์อาเซียน อันประกอบไปด้วย 440 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หัตถกรรมท้องถิน่ ของประเทศอาเซียนในยุคสมัยต่างๆ เพือ่ สร้างความ เข้าใจ ถึงอิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาการทาง เทคโนโลยีที่มีผลต่อพัฒนาการในการออกแบบผลิตภัณฑ์ ไทยควบคู่ กับศิลปหัตถ กรรมของอาเซียน น�ำไปประกอบเป็นองค์ความรู้กับ แนวความคิดในการสร้างสรรค์ ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่สามารถ แข่งขันกับตลาดอุตสาหกรรมการออกแบบ ในปัจจุบันและอนาคตได้ อผ. 371 นวัตกรรมวัสดุ 2 (3 หน่วยกิต) PD 371 Material Innovation II การออกแบบ นวัตกรรมวัสดุเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยากใน ปัจจุบันวัส ดุใหม่ๆ เป็นสิ่งที่ระบบอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ต้องใช้ใน การผลิตผลิต ภัณฑ์ใหม่ๆ และหาความเป็นไปได้กับเทคนิคการผลิต ใหม่ๆ นักศึกษาต้องเรียนรูโ้ ครงสร้างในกระบวนการผลิตนวัตกรรมวัสดุ ศึกษานวัตกร รมวัสดุในกระบวนการการผลิตของผลิตภัณฑ์ขั้นสูงที่ สามารถพัฒนาต่อยอดจากองค์ความรูส้ ากลสูก่ ารออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยเรียนรู้ เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตวัสดุในระบบสากล และการ ผลิตนวัตกรรมวัสดุในปัจจุบันสู่ระบบอุตสาหกรรมสร้างสรรค์จากการ วิเคราะห์แล ะวิจัยทดลอง น�ำวัสดุเฉพาะของวัสดุในเอเชียและวัสดุ ท้องถิน่ มาใช้ประโยชน์ในการสร้างความเป็นไปได้ให้กบั งานออกแบบ ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ และพัฒนานวัตกรรมวัสดุใหม่สู่สาธารณะ อผ. 373 การออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าบริโภค (3 หน่วยกิต) PD 373 Consumer Product Design สินค้าบริโภคเป็นยุทธปัจจัยของทุกประเทศ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์สนิ ค้าบริโภคเป็นปัจจัยส�ำคัญในการค้า และในการการด�ำรง ชีวติ ของมนุษย์ สินค้าบริโภคและการออกแบบผลิตภัณฑ์สนิ ค้าบริโภค สามารถสร้าง แรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศส่งออกสู่ภูมิภาค อาเซียนและทั่วโลก นักศึกษาจะได้เรียนรู้กระบวนการและแนวคิด ของผลิตภัณฑ์ สินค้าบริโภคทั้งในประเทศและในต่างประเทศ เรียน รู้และวิเคราะห์การออกแบบผลิตภัณฑ์ สินค้าบริโภค ผลิตภัณฑ์เชิง


ประยุกต์ แล ะฝึกฝนทักษะการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้า บริโภคเพือ่ สร้างสรรค์ผลงานให้ตอบรับกับความต้องการของผูบ้ ริโภค ฝึกสร้างวิสัยทัศน์ของนักออกแบบให้มีความเข้าใจสอดคล้องกับมุม มองของผู้บริโภคซึ่งจะสามารถเชื่อมต่อแนวคิดในการออกแบบได้ อย่างชัดเจนและตรงประเด็น ฝึกปฏิบัติการผสมผสานมุมมองของผู้ บริโภค และการออกแบบผลิตภัณฑ์สนิ ค้าบริโภค เพือ่ สร้างพัฒนาการ ให้กบั สินค้าบริโภค และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ความรูเ้ ชิงบูรณาการ ในงานออกแบบผลิตภัณฑ์ดา้ นอืน่ ๆ ได้อย่างเหมาะสม และตอบสนอง ปัจจัยต่างๆ ในความต้องการของผู้บริโภค

ข้อก�ำหนด นักศึกษาทีจ่ ะฝึกงานต้องผ่านการศึกษามาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ การวัดผลให้ถือเกณฑ์ S และ U เป็นเกณฑ์ ผ่านและไม่ผ่านตามล�ำดับ

อผ. 377 การออกแบบอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) PD 377 Product Identity Design สร้างความเข้าใจถึงบทบาทและความส�ำคัญของการสร้าง อัตลักษณ์ให้ผลิตภัณฑ์ ศึกษาและวิเคราะห์ถึงปัจจัยและความเกี่ยว เนือ่ งของอัตลักษณ์แบรนด์สนิ ค้า บุคลิกภาพของผลิตภัณฑ์ที่มคี วาม สอดคล้องกับผู้ใช้ และสินค้านั้นๆ โดยเรียนรู้การออกแบบผลิตภัณฑ์ ศึกษาประวัติ ปรัชญา กระบวนการ และแนวคิดสร้างสรรค์ของนัก ออกแบบมืออาชีพที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ มีอัตลักษณ์ วิเคราะห์อัตลักษณ์ของนักออกแบบผลิตภัณฑ์มาผสม ผสานกับความ เข้าใจในโครงสร้างพื้นฐานของการสร้างอัตลักษณ์ ทางการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการค้นหาศักยภาพและลักษณะ เด่นในการออกแบบของนักศึกษา โดยศึกษาองค์ประกอบ กระบวนการ ออกแบบที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อ สร้างสรรค์จุดแข็งในการออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้ตอบรับกับความเป็น ไปได้ในปัจจุบันและในอนาคต อผ. 382 การปฏิบัติงานวิชาชีพ (0 หน่วยกิต) PD 382 Job Training ฝึกปฏิบตั งิ านในหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องและได้รบั การอนุมตั ิ จากภาควิชาฯ เพื่อศึกษาระบบการท�ำงาน และแก้ปัญหาโดยใช้เวลา ฝึกงานไม่ต�่ำกว่า 8 สัปดาห์ หรือประมาณ 320 ชั่วโมง

อผ. 391 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ เอ PD 391 Major Design Elective A

(3 หน่วยกิต)

อผ. 392 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ บี PD 392 Major Design Elective B

(3 หน่วยกิต)

อผ. 393 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ซี PD 393 Major Design Elective C

(3 หน่วยกิต)

อผ. 394 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ ดี PD 394 Major Design Elective D

(3 หน่วยกิต)

อผ. 395 วิชาเลือกเพื่อการออกแบบ อี PD 395 Major Design Elective E

(3 หน่วยกิต)

หมวด Packaging Design & Development ศึ ก ษาเรี ย นรู้ การออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ โ ดยมุ่ ง เน้ น ให้ เกิดความชำ�นาญในเฉพาะด้านและสามารถพัฒนาผสมผสานงาน ออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ รวมถึงวิชาที่เกี่ยวข้องกับการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้เเหมาะสมกับผู้บริโภค เรียนรู้เทคนิคและ ปฏิบัติการสำ�รวจความต้องการของผู้บริโภค และการวิเคราะห์บรรจุภัณฑ์ในตลาดสินค้า เทคนิคการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ขัน้ ตอนการผลิต และการวัสดุที่เป็นไปได้ในการผลิต ริเริ่มการนำ�นวัตกรรมวัสดุ และ แนวคิดสร้างสรรค์มาใช้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดยมุ่งเน้นการ พัฒนาบรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์อาเซียน และผลิตภัณฑ์สากล หลักสูตรปริญญาตรี 441


หมวด Service Design ในปัจจุบันและอนาคต Service Design เป็นสิ่งที่สังคม และธุรกิจสร้างสรรค์มากมาย ต้องการเป็นอย่างสูง Service Design สร้างสรรค์และพัฒนาการบริการเพื่อสร้างประโยชน์ และตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าและองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ในปัจจุบันและอนาคต ไม่ได้จำ�กัดอยู่เพียงสินค้า ทีจ่ บั ต้องได้ หากแต่ตอ้ งคำ�นึงถึงการออกแบบการบริการซึง่ ถือว่าเป็น ผลิตภัณฑ์อย่างหนึง่ ซึง่ ต้องศึกษาการสร้างปฏิสมั พันธ์กบั ลูกค้า และ ต้องศึกษาการออกแบบในการจัดการ การออกแบบทางการตลาด และ การออกแบบในการวิจัยปัจจัยต่างๆ ของลูกค้าและองค์กรนั้นๆ เพื่อ สร้างนวัตกรรมใหม่ทางความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและลูกค้าโดย การสร้างสรรค์การบริการใหม่ๆ เพื่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันกับองค์กร คู่แข่ง สร้างสัมพันธ์ที่ดีขึ้นและสร้างความจงรักภักดีของลูกค้าที่มีให้ กับองค์กร ผลพวงจาก Service Design สร้างผลกำ�ไรทีม่ ากขึน้ พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการบริการ ทำ�ให้องค์กรนั้นๆ เกิดพัฒนาการและ สร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างแท้จริง Service Design เริม่ ต้นใน Ko..ln International School of Design ประเทศเยอรมันมามากกว่า 20 ปี สู่ ประเทศอังกฤษและอิตาลีในเวลาต่อมา ปัจจุบนั มีมากกว่า 23 ประเทศ ได้มกี ารศึกษาและนำ� Service Design ไปพัฒนาจนสร้างเศรษฐกิจให้ ยั่งยืนและเติบโต จุดเด่นที่สุดจุดหนึ่งของประเทศไทยคือการบริการ การออกแบบทางการบริการคือปัจจัยของเศรษฐกิจประเทศ และการ ออกแบบทางการบริการ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการการพัฒนาอย่าง จริงจัง หมวด iDesign ปัจจุบันและอนาคต โลกใช้การสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งแวดล้อมรอบตัวและมนุษย์ โดยสื่อผ่านเทคโนโลยี ซึ่งเป็นตัวแปร สำ�คัญกับอุปสงค์และอุปทาน นักศึกษาต้องเรียนรู้เรื่องการออกแบบ การสื่อสารระหว่างเทคโนโลยีกับผู้ใช้ เรียนรู้การวิเคราะห์ความ 442 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

เหมาะสมทางกายภาพ และจินตภาพของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ และสื่อสาร กับสภาวะแวดล้อมรอบตัว สร้างกระบวนการคิดและกระบวนการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมาย และระบบการ สื่อสารระหว่างเทคโนโลยีกับผู้ใช้ เรียนรู้กระบวนการผลิต หลักการ และเหตุผล โดยมุง่ เน้นให้เกิดความชำ�นาญเฉพาะด้าน เพือ่ ตอบสนอง การขยายตัวของการสือ่ สารระหว่างเทคโนโลยีกบั ผูใ้ ช้ในปัจจุบนั และใน อนาคต และทดลองนำ�องค์ความรู้มาสู่สังคมและสิ่งแวดล้อม หมวด Invention Crafts ศึกษาเรียนรู้เรื่องการออกแบบจากผลิตภัณฑ์พื้นบ้านสู่ การออกแบบร่วมสมัยในระดับสากล และในทางกลับกันนำ�แนวคิด และทฤษฎีร่วมสมัยและมุมมองของผู้บริโภคในระดับสากลมาใช้ พั ฒ นากระบวนการคิ ด จากองค์ ค วามรู้ พื้ น บ้ า นและกระบวนการ ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์ของเอเชีย เรียนรู้จากกระบวนการผลิต โดยใช้วัสดุพื้นบ้านผสมผสานกับเทคนิคใหม่ๆ เสริมสร้างความเป็น ไปได้ให้กับผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ เรียนรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดย มุ่งเน้นให้เกิดความชำ�นาญเฉพาะด้านเพื่อตอบสนองกับปัจจุบัน และอนาคต ศึกษาความต้องการและสร้างมิติใหม่ให้กับผู้บริโภคต่อ หัตถกรรมร่วมสมัย เรียนรู้การสร้างจุดขายและศึกษาแนวทางการ จัดแสดงผลงานผลิตภัณฑ์ และขบวนการนำ�สื่อสารและเสนองาน เพื่อเพิ่มมูลค่าของศิลปหัตถกรรม สร้างแนวทางในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ศิลปหัตถกรรมร่วมสมัยซึ่งเป็นปัจจัยของเศรษฐกิจพอ เพียงและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ศึกษาเรียนรู้วิธีการและเทคนิคการนำ� วัสดุในภูมิภาคอาเซียน และนำ�มาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ หลัก การและเหตุผลในการใช้วสั ดุจากธรรมชาติและวัสดุทเี่ หลือใช้ และการ ออกแบบโดยคำ�นึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรและการใช้วัสดุอย่างคุ้ม ค่า นำ�เทคโนโลยีและนวัตกรรมวัสดุมาพัฒนาและออกแบบ เรียนรู้วิธี การออกแบบวัสดุเพื่อสร้างทางเลือกใหม่ รวมถึงการวัสดุที่ใช้ในการ ออกแบบผลิตภัณฑ์เพือ่ สังคม โดยสร้างความชำ�นาญเฉพาะทางด้าน การวิจยั และพัฒนาวัสดุเพือ่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ในเชิงอนุรกั ษ์ และ นำ�เสนอวัสดุออกแบบควบคูก่ บั ผลิตภัณฑ์ในประเทศและต่างประเทศ


หมวด Innovation Design in Development & Management ปัจจัยสำ�คัญที่นักออกแบบผลิตภัณฑ์ขาดไม่ได้ ทั้งใน ปัจจุบันและในอนาคต คือ การจัดการและการพัฒนานวัตกรรมลูกค้า และผูบ้ ริโภคต่างมองหาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมทีด่ กี ว่า การใช้งานที่ ดีกว่า และที่สำ�คัญคือ การสร้างคุณค่าสินค้าที่ลูกค้าต้องการในธุรกิจ หลายประเภท ประสบความสำ�เร็จโดยสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ดีกว่าคู่ แข่งนักศึกษาต้องเรียนรู้หลักการการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ปัจจัยที่จะทำ�ให้การออกแบบผลิตภัณฑ์มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สร้าง โอกาสในการออกแบบนวัตกรรมใหม่ๆ สร้างความได้เปรียบทางการ ออกแบบ เรี ย นรู้ การจัดการทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ มุ่ ง เน้ น การจัดการเพื่อสร้างแนวความคิดทางนวัตกรรม ในการบริหารการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ จากการวิเคราะห์ประเมินความต้องการของลูกค้า สู่ต้นแบบ (prototype) และทดลองสู่ตลาดสินค้าเรียนรู้และทำ�ความ เข้าใจระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการบริหารและจัดการ องค์กรธุรกิจออกแบบสร้างสรรค์ ทัง้ ทางด้านการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์การวิเคราะห์และการบริหารธุรกิจการสร้างสรรค์ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยนำ�หลักการมาปฏิรปู และบูรณาการ ทดลองแสวงหา การบริหารจัดการทีส่ ร้างสรรค์ให้เหมาะกับองค์กรและผลิตภัณฑ์ เพือ่ เป็นการสร้างวิชาชีพทางด้านการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ สามารถ สื่อสารจัดการและพัฒนานวัตกรรมกับระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ใน บริบทของธุรกิจวิจัย ออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใน ระบบสากล อผ. 430 สหกิจศึกษา (6 หน่วยกิต) PD 430 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 และได้รับการอนุมัติจากภาควิชาฯ ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการธุรกิจใน ฐานะพนักงานของสถานประกอบการธุรกิจ เพือ่ เสริมสร้างให้นกั ศึกษา มีความพร้อมด้านงานวิชาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมีหลัก การและเป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีชั่วโมงการทำ�งานอย่างเต็มเวลา ในสถานประกอบการธุรกิจ รวมแล้วไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ หรือ

1 ภาคการศึกษา รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากอาจารย์ ที่ปรึกษาร่วมกับสถานประกอบการธุรกิจ และนักศึกษาต้องจัดทำ� รายงานสรุปผลการทำ�งานเมือ่ สิน้ สุดการทำ�งานจากสถานประกอบการ อผ. 451 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 5 (4 หน่วยกิต) PD 451 Product Design V พื้นความรู้: สอบได้ อผ. 354 ศึกษาต่อเนือ่ งจากวิชา อผ. 354 การออกแบบผลิตภัณฑ์ 4 ศึกษาและปฏิบตั ถิ งึ กระบวนการออกแบบ และเทคนิคในการวางแผน งาน โดยเน้นที่การศึกษาโดยวิจัยถึงความต้องการที่ก�ำหนดขึ้น และ มีความละเอียดซับซ้อนมากขึ้น เรียนรู้การวางแผนงานการวิเคราะห์ ข้อมูล การปฏิบัติงานที่ ใช้ระยะเวลาซึ่งมีขั้นตอนในการออกแบบ การวางแผนงานที่ละเอียด รวมถึงเทคนิคการน�ำเสนอผลงานในรูป แบบการจัดแสดง ตลอดจนวางนโยบายในการจัดการทางการตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาด อผ. 456 การเตรียมโครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) PD 456 Degree Project Preparation น�ำเสนอหัวข้อโครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อศึกษา และวิเคราะห์โครงการ และสรุปแนวความคิด กระบวน การสร้างสรรค์ รูปแบบและเนือ้ หา รวมทัง้ จัดเตรียมข้อมูลเพือ่ ใช้ในการออกแบบ การ วัดผลวิชานี้ให้ถือเกณฑ์ S และ U เป็นเกณฑ์ผ่านและไม่ผ่านตาม ล�ำดับ อผ. 457 โครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ (6 หน่วยกิต) PD 457 Degree Project in Product Design ด�ำเนินการออกแบบโครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้ เสนอไว้แล้วและผ่านการเห็นชอบจากภาควิชาฯ โดยปฏิบัติตามข้อ ก�ำหนดในการท�ำโครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ ข้อก�ำหนด 1.นักศึกษาที่จะลงทะเบียนวิชานี้ ต้องผ่านวิชาพื้นฐาน วิชาชีพและวิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา และวิชาเอก-เลือกไม่นอ้ ยกว่า หลักสูตรปริญญาตรี 443


6 หน่วยกิต 2. ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.75 ขึ้นไป 3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต่ 2.00 (เกรด C) ขึ้น ไปเป็นเกณฑ์ผ่านเพื่อรับปริญญาตรี ส�ำหรับผู้ที่ ได้รับคะแนน 1.50 และ 1.00 (เกรด D+ และ D) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ไม่ถึง 2.00 สามารถขอรับอนุปริญญาได้ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี เรื่องการให้อนุปริญญา 4. มีการน�ำเสนอผลงานสู่สาธารณะ

หมวดวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ กลุ่มวิชาพื้นฐาน

สถพ. 161 การวาดเส้นและแสดงผลงาน 1 (3 หน่วยกิต) ARF 161 Drawing & Rendering I ศึกษาและปฏิบัติพื้นฐานของการวาดเส้น เพื่อให้เข้าใจ แนวคิด หลักทฤษฎี และองค์ประกอบต่างๆ ของการวาดเส้น เช่น เส้น นำ�้ หนัก รูปทรง พืน้ ผิวชนิดต่างๆ ฯลฯ ฝึกการรับรูแ้ ละแสดงออก ด้วยเทคนิควิธีการใช้เครื่องมือและวัสดุในลักษณะต่างๆ เรียนรู้เกี่ยว กับการรับรูแ้ ละการแสดงออกในแง่ของความคิดสร้างสรรค์ทกี่ ว้างขึน้ เพื่อให้สามารถน�ำความรู้เหล่านี้ไปประยุกต์ ใช้เป็นพื้นฐานของการ ออกแบบงานสถาปัตยกรรมและงานออกแบบภายในต่อไป สถพ. 162 การวาดเส้นและแสดงผลงาน 2 (3 หน่วยกิต) ARF 162 Drawing & Rendering II พื้นความรู้: สอบได้ สถพ.161 การวาดเส้นและแสดงผลงาน 1 ศึกษาและปฏิบัติการวาดเส้นและฝึกฝนเทคนิคการลงสี โดยอยู่บนพื้นฐานแนวคิด หลักทฤษฎี และองค์ประกอบต่างๆ ของ การวาดเส้นและการลงสี และเทคนิคทีท่ �ำให้เกิดพืน้ ผิวชนิดต่างๆ ฯลฯ ฝึกการรับรู้และแสดงออกด้วยเทคนิควิธีการใช้เครื่องมือและวัสดุใน 444 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ลักษณะต่างๆ เรียนรู้เกี่ยวกับการรับรู้และการแสดงออกในแง่ของ ความคิดสร้างสรรค์ที่กว้างขึ้น เพื่อให้สามารถน�ำความรู้เหล่านี้ไป ประยุกต์ใช้เป็นพื้นฐานของการออกแบบงานสถาปัตยกรรมและงาน ออกแบบภายในต่อไป สถพ. 163 การออกแบบเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) ARF 163 Basic Design ศึกษาเกี่ยวกับความสอดคล้องเชิงปฏิบัติและทฤษฎีพื้น ฐานในการออกแบบงาน 2 มิติ ไปจนถึง 3 มิติ รวมถึงความสัมพันธ์ ของทัศนธาตุและหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ที่มีต่อการออกแบบ และศึกษาท�ำความเข้าใจเรือ่ งสีทงั้ ในทางทฤษฏีและปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เกิด ความเข้าใจในคุณสมบัติของสีทั้งในทางกายภาพและจิตวิทยาที่มีผล ต่อความรูส้ กึ ของมนุษย์ รวมถึงความหมายและสุนทรียภาพในการใช้ สีและการจัดองค์ประกอบในงาน 2 มิติและ 3 มิติ เพื่อให้สามารถน�ำ ความรู้เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้เป็นพื้นฐานของวิชาชีพต่อไป สถพ. 164 การเขียนแบบเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) ARF 164 Basic Graphic and Drafting ศึกษาและปฏิบัติให้เกิดทักษะในการเขียนแบบ รู้จักและ ฝึกใช้อุปกรณ์เครื่องมือ และสัญลักษณ์งานเขียนแบบต่างๆ ที่ใช้ใน ระบบสากล เพือ่ สร้างเทคนิคการน�ำเสนอผลงานเบือ้ งต้น รายละเอียด ยังครอบคลุมถึงการท�ำความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมทีม่ นุษย์สร้างขึน้ ขนาดและสัดส่วนของงานสถาปัตยกรรม และวัสดุต่างๆ ที่ใช้ในงาน สถาปัตยกรรม สถพ. 165 วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในการออกแบบ (3 หน่วยกิต) ARF 165 Science and Mathematics in Design ศึกษาและท�ำความเข้าใจหลักการค�ำนวณพื้นฐานที่มี ความเกี่ยวเนื่องในงานสถาปัตยกรรมและงานออกแบบ เช่น สถิติ เรขาคณิต แคลคูลสั เบือ้ งต้น ฯลฯ รวมไปถึงหลักการทางวิทยาศาสตร์


พื้นฐาน เช่น แรง กลศาสตร์ ฯลฯ เพื่อช่วยให้นักศึกษามีความเข้าใจ และสามารถเชือ่ มโยงหลักการดังกล่าวเข้ากับการค�ำนวณในเรือ่ งของ โครงสร้างและความปลอดภัยของอาคาร รวมไปถึงการสร้างสรรค์รูป แบบและสัดส่วนของงานออกแบบที่หลากหลายมากขึ้น สถพ. 166 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม (3 หน่วยกิต) และการออกแบบ 1 ARF 166 History of Architecture and Design I ศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและการออกแบบ ตะวันตก ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตร์ศิลปะตั้งแต่ก่อน ประวัติศาสตร์มาจนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเน้นความเข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ความคิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบของศิลปะ เพื่อเป็นพื้นฐานในการ เข้าใจทีม่ าของงานสถาปัตยกรรมและแนวทางการออกแบบของตะวัน ตกอย่างแท้จริง สถพ. 167 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม (3 หน่วยกิต) และการออกแบบ 2 ARF 167 History of Architecture and Design II พื้นความรู้: สอบได้วิชา สถพ. 166 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และการออกแบบ 1 ศึกษาประวัตศิ าสตร์สถาปัตยกรรมและการออกแบบตะวัน ตก ซึง่ มีความเกีย่ วเนือ่ งกับประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะสมัยใหม่ของตะวันตก ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ในปลายยุคสมัยใหม่ โดยเน้นความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ความคิดหลักของยุคสมัย สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และรูปแบบ ของศิลปะ เพือ่ เป็นพืน้ ฐานความเข้าใจงานสถาปัตยกรรมและแนวทาง การออกแบบของตะวันตกในยุคสมัยใหม่อย่างแท้จริง

สถพ. 361 สถาปัตยกรรมไทย (3 หน่วยกิต) ARF 361 Thai Architecture ศึกษาลักษณะลวดลายสถาปัตยกรรมไทย ศิลปะการ ตกแต่งและลักษณะสถาปัตยกรรมไทย วิวฒ ั นาการของสถาปัตยกรรม ไทย ส่วนประกอบและโครงสร้าง รวมถึงระบบการก่อสร้างของบ้าน ไทยและอาคารไทยแบบประเพณีนิยม ฝึกหัดการเขียนแบบลวดลาย และรูปแบบอาคารดังกล่าว

กลุ่มวิชาหลัก

สถป. 151 การออกแบบสถาปัตยกรรม 1 (4 หน่วยกิต) ARC 151 Architectural Design I ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบชิน้ ส่วน 2 และ 3 มิต ิ พืน้ ที่ ใช้สอย และที่ว่างต่างๆ ให้มีความสัมพันธ์กับขนาดสัดส่วนร่างกาย มนุษย์ บุคลิกและพฤติกรรมส่วนบุคคล กิจกรรมระหว่างบุคคล ผ่าน กระบวนการทดลอง และวิเคราะห์เพื่อเป็นฐานข้อมูลการออกแบบ เบื้องต้น โดยค�ำนึงถึงหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ จิตวิทยาของสี และรูปทรง คุณค่าเชิงสุนทรียภาพ กลไก และวัสดุประกอบโครงสร้าง ขั้นพื้นฐาน สถป. 152 การออกแบบสถาปัตยกรรม 2 (4 หน่วยกิต) ARC 152 Architectural Design II พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 151 การออกแบบสถาปัตยกรรม 1 ศึกษาออกแบบและเขียนแบบอาคารขนาดเล็ก สร้างพืน้ ที่ ใช้สอยภายในและภายนอกอาคารให้มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมเพื่อ การพักอาศัย วิถีทางการด�ำเนินชีวิต จิตวิทยาสถานพักอาศัย ทั้งใน แบบบุคคลและกลุม่ บุคคล ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ปญั หาเพือ่ ความ เข้าใจและแก้ไขด้วยวิธีการออกแบบ โดยค�ำนึงถึงรายละเอียดงาน สถาปัตยกรรมสภาพแวดล้อมของที่ตั้ง และระบบโครงสร้างอาคาร

หลักสูตรปริญญาตรี 445


สถป. 253 การออกแบบสถาปัตยกรรม 3 (4 หน่วยกิต) ARC 253 Architectural Design III พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 152 การออกแบบสถาปัตยกรรม 2 ศึกษา ออกแบบและเขียนแบบอาคารขนาดเล็กถึงขนาด กลาง สร้างพื้นที่ ใช้สอยภายในและภายนอกอาคารที่สัมพันธ์กับ กิจกรรมของกลุม่ บุคคล ผสานระหว่างกิจกรรมพักอาศัยและกิจกรรม เฉพาะ เน้นกระบวนการคิด การค้นคว้าข้อมูลในปัจจุบนั และวิเคราะห์ ปั ญ หาเป็ น พื้ น ฐานการออกแบบ โดยค�ำนึ ง ถึ ง รายละเอี ย ดงาน สถาปัตยกรรม สภาพแวดล้อมของทีต่ งั้ กฎหมาย โครงสร้างและระบบ ที่เกี่ยวข้อง

สถป. 356 การออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (4 หน่วยกิต) ARC 356 Architectural Design VI พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 355 การออกแบบสถาปัตยกรรม 5 ศึกษา ออกแบบและเขียนแบบอาคารขนาดกลางถึงขนาด ใหญ่ สร้างพื้นที่ใช้สอยภายใน ภายนอกอาคาร และผังบริเวณให้ สัมพันธ์กบั กิจกรรมทีห่ ลากหลายของกลุม่ คน มีความซับซ้อนของการ ใช้สอยส่วนกลาง และส่วนสาธารณะ โดยค�ำนึงถึงรายละเอียดงาน สถาปัตยกรรมกายภาพที่ตั้ง การจราจรภายในภายนอกโครงการ ผัง ชุมชน เศรษฐกิจ และสังคม วัฒนธรรม กฎหมาย โครงสร้างและระบบ ที่เกี่ยวข้อง

สถป. 254 การออกแบบสถาปัตยกรรม 4 (4 หน่วยกิต) ARC 254 Architectural Design IV พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 253 การออกแบบสถาปัตยกรรม 3 ศึกษา ออกแบบและเขียนแบบอาคารขนาดเล็กถึงขนาด กลาง สร้างพื้นที่ ใช้สอยภายในและภายนอกอาคารที่สัมพันธ์กับ กิจกรรมของกลุ่มบุคคลหลายกลุ่ม ผสานระหว่างกิจกรรมพักอาศัย และการพาณิชย์ มีการใช้สอยร่วมส่วนกลางและสาธารณะ เน้นการ ค้นคว้าข้อมูลจริงวิเคราะห์ ใช้เหตุผลเป็นพื้นฐานการออกแบบ โดย ค�ำนึงถึงรายละเอียดงานสถาปัตยกรรมกายภาพทีต่ งั้ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กฎหมาย โครงสร้างและระบบที่เกี่ยวข้อง

สถป. 451 การออกแบบสถาปัตยกรรมในกลุ่ม (3 หน่วยกิต) ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ARC 451 Architectural Design in Southeast Asian Nations ศึกษาอาคารที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์ด้านสังคม ศิลป วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีงานวิศวกรรมก่อสร้าง ในกลุม่ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทัง้ นีเ้ พือ่ สามารถวิเคราะห์ได้ ถึงความคล้ายและแตกต่างในลักษณะเฉพาะของงานสถาปัตยกรรมที่ มีความหลากหลายในแต่ละประเทศ รวมถึงสามารถสังเคราะห์และ ออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่มีรูปแบบเฉพาะได้

สถป. 355 การออกแบบสถาปัตยกรรม 5 (4 หน่วยกิต) ARC 355 Architectural Design V พื้นความรู้: สอบได้ส ถป.254 การออกแบบสถาปัตยกรรม 4 ศึกษา ออกแบบและเขียนแบบแบบอาคารขนาดกลาง สร้างพืน้ ที่ใช้สอยภายในและภายนอกอาคารทีส่ มั พันธ์กบั กิจกรรมของ หลายกลุม่ คนเพือ่ การพาณิชย์หรือกลุม่ องค์กรฯ มีการใช้สอยร่วมส่วน กลางและสาธารณะ เน้นการวิเคราะห์ข้อมูลจริงตามแนวโน้มกระแส ของรูปแบบธุรกิจ โดยค�ำนึงถึงรายละเอียดงานสถาปัตยกรรมกายภาพ ทีต่ งั้ เศรษฐกิจ และสังคม กฎหมาย โครงสร้างและระบบทีเ่ กีย่ วข้อง 446 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สถป. 452 วิธีการวางแผนและวิจัยโครงการ (3 หน่วยกิต) ออกแบบสถาปัตยกรรม ARC 452 Programming and Research Methods in Architecture ศึกษาวิธกี ารวางแผนและจัดท�ำรายละเอียดโครงการเพือ่ การออกแบบสถาปัตยกรรม โดยสามารถวิเคราะห์โครงการออกแบบ ด้วยการศึกษาถึงกระบวนการคิด การตัง้ ค�ำถาม การนิยามปัญหา การ ก�ำหนดเป้าหมาย การวางแผน และเข้าใจวิธีการค้นคว้า ตลอดจน เข้าใจถึงองค์ประกอบเหล่านี้ว่ามีความสัมพันธ์และเป็นปัจจัยที่ส่งผล ต่อการก�ำหนดทิศทางในการออกแบบอย่างไร


สถป. 457 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7 (4 หน่วยกิต) ARC 457 Architectural Design VII พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 356 การออกแบบสถาปัตยกรรม 6 ศึกษา ออกแบบ และเขียนแบบอาคารสูงหรืออาคารขนาด ใหญ่ สร้างพื้นที่ใช้สอยภายใน และภายนอกอาคาร และผังบริเวณให้ สัมพันธ์กับกิจกรรมที่มีความหลากหลายของคนจ�ำนวนมาก มีความ ซับซ้อนของการใช้สอยส่วนแผนกเฉพาะ ส่วนกลาง และส่วนสาธารณะ ผ่านกระบวนการค้นคว้าและวิเคราะห์เพื่อเป็นฐานข้อมูลใหม่ในการ ออกแบบ โดยค�ำนึงถึงผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน ผังเมือง ระบบ สาธารณูปโภค กายภาพทีต่ งั้ สังคมและวัฒนธรรมในระดับเมือง การ จราจรภายในและภายนอกโครงการ กฎหมาย เทคโนโลยี ง าน วิศวกรรมก่อสร้าง ทัง้ นี้ให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการก�ำหนดรายละเอียด โครงการ และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการไปพร้อมกัน สถป. 458 การออกแบบสถาปัตยกรรม 8 (4 หน่วยกิต) ARC 458 Architectural Design VIII พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 457 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7 ศึกษา ออกแบบ และเขียนแบบอาคารขนาดใหญ่หรือ ขนาดใหญ่พเิ ศษ สร้างพืน้ ที่ใช้สอยภายใน ภายนอกอาคาร ผังบริเวณ ผังแม่บทของกลุ่มอาคารให้สัมพันธ์กับกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ของคนจ�ำนวนมาก มีลกั ษณะเฉพาะและความซับซ้อนการใช้พนื้ ทีส่ งู มีการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ทีห่ ลากหลาย มีความซับซ้อนของการใช้พนื้ ที่ สาธารณะ ผ่านกระบวนการค้นคว้าและวิเคราะห์เพื่อเป็นฐานข้อมูล ใหม่ในการออกแบบ โดยค�ำนึงถึงผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน ผังเมือง ระบบสาธารณูปโภค กายภาพที่ตั้ง สังคมและ วัฒนธรรมในระดับ ประเทศ การจราจรภายในและภายนอกโครงการ การจัดสรรหรือการ จัดรูปทีด่ นิ กฎหมาย เทคโนโลยีงานวิศวกรรมก่อสร้าง ทัง้ นี้ให้ผเู้ รียน มีสว่ นร่วมในการก�ำหนดรายละเอียดโครงการ และวิเคราะห์ความเป็น ไปได้ของโครงการไปพร้อมกัน

สถป. 551 การเตรียมวิทยานิพนธ์ (3 หน่วยกิต) ARC 551 Thesis Preparation พื้นความรู้: ส�ำหรับนักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาแบบปกติตอ้ งสอบ ได้ สถป. 458 การออกแบบสถาปัตยกรรม 8 และ สถป. 452 วิธีการวางแผนและวิจัยโครงการออกแบบ สถาปัตยกรรมและ สถป. 482 การปฏิบัติงานวิชาชีพ ส�ำหรับนักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาแบบสหกิจศึกษา ต้องสอบได้ สถป. 459 สหกิจศึกษาในการประกอบวิชาชีพ สถาปัตยกรรม และ สถป. 452 วิธีการวางแผนและ วิจัยโครงการออกแบบสถาปัตยกรรม ศึกษาข้อมูลที่เตรียมนักศึกษาให้มีความพร้อมในการจัด ท�ำโครงการออกแบบสถาปัตยกรรมอันน�ำไปสู่วิธีการด�ำเนินการและ แนวทางการออกแบบในวิชา สถป. 552 วิทยานิพนธ์ ต่อไปได้นกั ศึกษา ผู้ท�ำโครงการออกแบบฯ และอาจารย์ที่ปรึกษาจะตกลงกันในหัวข้อ โดยนักศึกษาเป็นผูร้ า่ งโครงร่างการศึกษาโครงการออกแบบฯ น�ำเสนอ โครงร่างโครงการออกแบบฯ และข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อการ ศึกษาโครงการออกแบบฯ ต่อคณะกรรมการ และเรียบเรียงข้อมูลที่ ศึกษาโดยเขียนเป็นโครงร่างวิทยานิพนธ์ การวัดผลส�ำหรับวิชานี้ให้ ถือระดับคะแนนตั้งแต่ 2.00 (เกรด C) ขึ้นไปเป็นเกณฑ์สอบผ่าน สถป. 552 วิทยานิพนธ์ (9 หน่วยกิต) ARC 552 Thesis พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 551 การเตรียมวิทยานิพนธ์ นักศึกษาด�ำเนินการท�ำงานต่อเนือ่ งจากโครงร่างโครงการ ออกแบบฯ ที่ได้รบั อนุมตั แิ ล้วในวิชา สถป. 551 การเตรียมวิทยานิพนธ์ ในภาคออกแบบและน�ำเสนอผลงานต่อคณะกรรมการตามขั้นตอนที่ ภาควิชาฯ ก�ำหนด ผลงานสุดท้ายประกอบไปด้วยภาคออกแบบและ ภาคเอกสารวิทยานิพนธ์ที่เสร็จสมบูรณ์ และต้องน�ำผลงานเสนอต่อ สาธารณะ การวัดผลส�ำหรับวิชานี้ให้ถอื ระดับคะแนนตัง้ แต่ 2.00 (เกรด C) ขึน้ ไปเป็นเกณฑ์สอบผ่าน ส�ำหรับนักศึกษาที่ได้ระดับคะแนน 1.50 และ 1.00 (เกรด D+ และ D) โดยมีคะแนนเฉลีย่ สะสม (GPA) มากกว่า หลักสูตรปริญญาตรี 447


2.00 สามารถขอรับอนุปริญญาได้ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี เรื่องการให้อนุปริญญา

กลุ่มวิชาเทคโนโลยี

สถป. 171 การก่อสร้างและวัสดุในงาน (3 หน่วยกิต) สถาปัตยกรรม 1 ARC 171 Construction and Material in Architecture I ศึกษาเกีย่ วกับงานโครงสร้างไม้ตงั้ แต่อดีตจนปัจจุบนั เช่น บ้านเรือนไทยในแต่ละภูมิภาค ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบ้านโครงสร้าง ไม้ในปัจจุบัน การก่อสร้างเกี่ยวกับโครงสร้างไม้ รวมทั้งการประสาน งานและเตรียมพื้นที่อาคารส�ำหรับงานระบบ โดยผ่านการเขียนแบบ ในระบบทีเ่ ป็นทีย่ อมรับในสากล การท�ำหุน่ จ�ำลองอาคารและหุน่ จ�ำลอง รายละเอียดเฉพาะส่วนของอาคาร สถป. 272 การก่อสร้างและวัสดุในงาน (3 หน่วยกิต) สถาปัตยกรรม 2 ARC 272 Construction and Material in Architecture II พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 171 การก่อสร้างและวัสดุในงาน สถาปัตยกรรม 1 ศึ ก ษาเกี่ยวกับงานโครงสร้า งคอนกรีตตั้งแต่อ ดี ต จน ปัจจุบัน เทคโนโลยีการก่อสร้างเกี่ยวกับโครงสร้างคอนกรีต การ ก่อสร้างในระบบอุตสาหกรรม และการเตรียมพื้นที่อาคารส�ำหรับงาน ระบบในอาคารขนาดเล็กถึงขนาดกลางโดยผ่านการเขียนแบบอาคาร ในระบบที่เป็นที่ยอมรับในสากลการท�ำหุ่นจ�ำลองรายละเอียดเฉพาะ ส่วนของอาคาร

448 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สถป. 273 การก่อสร้างและวัสดุในงาน (3 หน่วยกิต) สถาปัตยกรรม 3 ARC 273 Construction and Material in Architecture III พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 272 การก่อสร้างและวัสดุใน งานสถาปัตยกรรม 2 ศึกษาเกี่ยวกับงานโครงสร้างเหล็กตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน เทคโนโลยีการก่อสร้างเกี่ยวกับโครงสร้างเหล็กและการเตรียมพื้นที่ อาคารส�ำหรับงานระบบในอาคารขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง โดยผ่าน การเขียนแบบอาคารในระบบทีเ่ ป็นทีย่ อมรับในสากล การท�ำหุน่ จ�ำลอง รายละเอียดเฉพาะส่วนของอาคาร สถป. 274 การออกแบบและวิเคราะห์โครงสร้าง 1 (3 หน่วยกิต) ARC 274 Structural Design and Analysis I พื้นความรู้: สอบได้ สถพ. 165 วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ในการออกแบบ ศึกษาการออกแบบและวิเคราะห์ โครงสร้างและข้อต่อ ประเภทต่างๆ ในอาคารขนาดเล็กถึงขนาดกลางศึกษาและจ�ำลอง โครงสร้างเพื่อค�ำนวณความเค้น ความเครียด แรงเฉือนการดัด โมเมนต์และการรับถ่ายแรงในโครงสร้างโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถป. 275 การออกแบบและวิเคราะห์โครงสร้าง 2 (3 หน่วยกิต) ARC 275 Structural Design and Analysis II พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 274 การออกแบบและวิเคราะห์ โครงสร้าง 1 ศึกษาการออกแบบและวิเคราะห์ โครงสร้างและข้อต่อ ประเภทต่างๆ ในอาคารสูงและอาคารช่วงยาวศึกษาและจ�ำลอง โครงสร้างเพื่อค�ำนวณความเค้น ความเครียด แรงเฉือนการดัด โมเมนต์ การสั่นและการรับถ่ายแรงในโครงสร้างโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์


สถป. 276 งานระบบประกอบอาคาร 1 (3 หน่วยกิต) ARC 276 Building System I ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ งานระบบประกอบอาคาร อั น ได้ แ ก่ วิศวกรรมระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง วิศวกรรมระบบสุขาภิบาล ระบบ วิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ สถป. 374 การก่อสร้างและวัสดุในงาน (3 หน่วยกิต) สถาปัตยกรรม 4 ARC 374 Construction and Material in Architecture IV พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 273 การก่อสร้างและวัสดุใน งานสถาปัตยกรรม 3 ศึกษาเกี่ยวกับงานโครงสร้างและเทคโนโลยีการก่อสร้าง เกี่ยวกับโครงสร้างช่วงกว้าง โครงสร้างช่วงยาว โครงสร้างอาคารสูง โดยผ่านการเขียนแบบอาคารและรายละเอียดโครงสร้างในระบบทีเ่ ป็น ที่ยอมรับในสากลการศึกษาและวิเคราะห์ โครงสร้างโดยการจ�ำลอง โครงสร้างด้วยคอมพิวเตอร์ สถป. 377 งานระบบประกอบอาคาร 2 (3 หน่วยกิต) ARC 377 Building System II พื้นความรู้: สอบได้วิชา สถป. 276 งานระบบประกอบอาคาร 1 ศึกษาเกี่ยวกับงานระบบประกอบอาคาร อันเนื่องมาจาก การพัฒนาของเทคโนโลยีในปัจจุบัน ได้แก่ การขนส่งในอาคารหรือ การสัญจรในทางตั้ง เช่น ระบบลิฟท์ บันไดเลื่อน ทางลาด เป็นต้น การออกแบบเสียงในอาคารและภายนอกอาคาร การออกแบบอาคาร เพื่อป้องกันภัยจากอัคคีภัย การออกแบบอาคารให้เหมาะสมกับผู้ ทุพพลภาพและคนต่างวัยโดยผ่านการศึกษาจากกรณีศึกษา รายงาน น�ำเสนอและการดูงาน

กลุ่มวิชาสนับสนุน

สถป. 281 คอมพิวเตอร์ส�ำหรับการปฏิบัติ (3 หน่วยกิต) งานออกแบบสถาปัตยกรรม 1 ARC 281 Computer for Architectural Practice I ศึกษาและปฏิบตั กิ ารใช้คอมพิวเตอร์ ตลอดจนศึกษาการ ใช้ซอฟต์แวร์เพือ่ การออกแบบต่างๆ เพือ่ เป็นพืน้ ฐานในการสร้างและ การน�ำเสนอผลงาน และถ่ายทอดแนวความคิดในการออกแบบงาน สถาปัตยกรรมและการออกแบบภายในจนถึงการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อ การออกแบบ (CAD) ขั้นพื้นฐาน สถป. 282 คอมพิวเตอร์ส�ำหรับการปฏิบัติ (3 หน่วยกิต) งานออกแบบสถาปัตยกรรม 2 ARC 282 Computer for Architectural Practice II พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 281คอมพิวเตอร์ส�ำหรับการปฏิบัติ งานออกแบบสถาปัตยกรรม 1 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารใช้คอมพิวเตอร์เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือ ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมและการออกแบบภายในการเขียน แบบเบื้องต้นทั้งในลักษณะ 2 มิติ และ 3 มิติ รวมถึงการน�ำข้อมูลที่ ได้จากคอมพิวเตอร์ไปใช้ประโยชน์ตา่ งๆ เช่น การน�ำเสนอผลงานและ การเขียนแบบเพื่อการก่อสร้าง สถป. 381 กฎหมายและระเบียบข้อบังคับอาคาร (3 หน่วยกิต) ARC 381 Law and Building Codes ศึกษาและวิเคราะห์กฎหมายควบคุมอาคารพระราช บัญญัติควบคุมอาคาร กฎหมายและพระราชบัญญัติอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กั บ การปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ การออกแบบสถาปั ต ยกรรม เปรี ยบเทีย บ กฎหมายและระเบียบข้อบังคับอาคารในประเทศต่างๆ เพือ่ สร้างความ พร้อมในการปฏิบัติวิชาชีพทั้งในและต่างประเทศ

หลักสูตรปริญญาตรี 449


สถป. 382 การออกแบบตกแต่งภายใน (3 หน่วยกิต) ARC 382 Interior Design ศึกษาหลักการแนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องกระบวนการและ เทคนิคในการออกแบบสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ศึกษาข้อมูลพืน้ ฐานและวิธกี ารในการออกแบบตกแต่งภายในงานสถาปัตยกรรม รวมถึง การออกแบบเฟอร์นเิ จอร์และการออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคาร สถป. 383 ภูมิสถาปัตยกรรมและการวางผังบริเวณ (3 หน่วยกิต) ARC 383 Landscape Architecture and Site Planning ศึกษาหลักการแนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องกระบวนการและ เทคนิคในการวางผังบริเวณการออกแบบ พัฒนาและปรับปรุงภูมิ สถาปั ต ยกรรมรวมถึ ง ศึ ก ษาหลั ก การเกี่ ย วกั บ พื ช พรรณและองค์ ประกอบต่างๆ ในการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม สถป. 384 การออกแบบผังเมือง (3 หน่วยกิต) ARC 384 Urban Design ศึกษาหลักการและกระบวนการออกแบบ แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลพื้นฐานเพื่อการออกแบบชุมชนเมือง การ อนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน วิวัฒนาการงานสถาปัตยกรรมและ ชุมชนต่างๆ ของประเทศไทย การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ เศรษฐกิจและสังคม กลวิธีก�ำหนดนโยบาย วิธีการวางผัง และการออกแบบ รวมถึงการปฏิบตั กิ ารออกแบบชุมชนเมืองเบือ้ งต้น สถป. 482 การปฏิบัติงานวิชาชีพ (0 หน่วยกิต) ARC 482 Internship ฝึกปฏิบตั งิ านในหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องและได้รบั การอนุมตั ิ จากภาควิชาฯ เพื่อศึกษาระบบการท�ำงานและการแก้ปัญหา โดยใช้ เวลาฝึกงานไม่ต�่ำกว่า 8 สัปดาห์หรือประมาณ 320 ชั่วโมง ข้อก�ำหนด - นักศึกษาที่จะฝึกงานต้องผ่านการศึกษามาแล้วไม่น้อย กว่า 8 ภาคการศึกษา 450 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

- การวัดผลให้ถือเกณฑ์ S และ U เป็นเกณฑ์ผ่าน และ ไม่ผ่านตามล�ำดับ สถป. 581 การประกอบวิชาชีพออกแบบ (3 หน่วยกิต) สถาปัตยกรรม ARC 581 Professional Practice in Architectural Design ศึกษาแนวทางในการประกอบวิชาชีพการออกแบบงาน สถาปัตยกรรม ความเป็นมาของวิชาชีพหลักปฏิบตั วิ ชิ าชีพ การจัดการ ส�ำนักงานออกแบบความสัมพันธ์และความเกี่ยวข้องกับวิชาชีพอื่นๆ จรรยาบรรณและพันธะกรณีของผู้ประกอบวิชาชีพ เงื่อนไขในการ ประกอบธุรกิจ การขออนุญาตการก่อสร้างกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง รวม ทั้งมาตรฐานและหลักวิชาชีพการออกแบบงานสถาปัตยกรรมใน ประเทศต่างๆ เพือ่ เป็นหลักในการน�ำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพต่อไป

กลุ่มวิชาสหกิจศึกษา

สถป. 459 สหกิจศึกษาในการประกอบวิชาชีพ (10 หน่วยกิต) สถาปัตยกรรม ARC 459 Cooperative Education in Architectural Practice พื้นความรู้: สอบได้ สถป. 499 เตรียมสหกิจศึกษา ศึกษาระบบการท�ำงานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพอย่างมีหลักการและเป็นระบบ โดยมีการเรียนรู้ และการฝึกฝนความช�ำนาญในด้านต่างๆ ที่ครอบคลุมหรือเทียบ เท่ากับเนื้อหาในวิชา สถป. 458 การออกแบบสถาปัตยกรรม 8 นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบตั งิ านเต็มเวลาในสถานประกอบการ โดย มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึ่งเป็นงาน ทีม่ คี ณ ุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ท�ำงาน (Work Integrated Learning) ที่ตรงกับสาขาวิชาชีพสถาปนิกหรือการบริการวิชาชีพ สถาปัตยกรรมที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กร รวมถึงมีการ ประเมินผลการท�ำงานจากคณาจารย์ร่วมกับสถานประกอบการ และ


นักศึกษาจะต้องน�ำเสนอและจัดท�ำรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน สถป. 499 เตรียมสหกิจศึกษา (3 หน่วยกิต) ARC 499 Pre-Cooperative Education ศึกษาแนวคิดและความเข้าใจของระบบสหกิจศึกษาตลอด จนเป็นการเตรียมความพร้อมและทักษะด้านต่างๆ อาทิ การเขียน จดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่ รองรับสหกิจศึกษา เทคนิคการเข้ารับการสัมภาษณ์งาน การพัฒนา ทักษะในการสื่อสาร วัฒนธรรมองค์กร ความสัมพันธ์ของวิชาชีพ สถาปนิกและความเกีย่ วข้องกับวิชาชีพอืน่ ๆ จรรยาบรรณ พันธะกรณี ของผู้ประกอบวิชาชีพ และแนวทางในการประกอบวิชาชีพการ ออกแบบงานสถาปัตยกรรมทั้งในระดับชาติและสากล เพื่อเป็นการ เตรียมความพร้อมในการน�ำไปใช้ในการเรียนวิชาสหกิจศึกษาในการ ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมต่อไป นักศึกษาที่จะลงทะเบียนเรียนวิชา สถป.499 เตรียม สหกิจศึกษาได้ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป

กลุ่มวิชา Architectural Design& Production Management สถป. 491 การจัดการองค์กรและการออกแบบ (3 หน่วยกิต)

สถาปัตยกรรม ARC 491 Architectural Design and Organization Management ศึกษาการจัดตั้งและจัดการองค์กร การด�ำเนินธุรกิจให้ บริการการออกแบบสถาปัตยกรรมทั้งในและระหว่างประเทศ เรียนรู้ กลยุ ท ธ์ ท างการจั ด การสมั ย ใหม่ ที่ ใ ช้ ใ นการประกอบวิ ช าชี พ การ ออกแบบสถาปัตยกรรม การออกแบบสถาปัตยกรรมและความคิด สร้างสรรค์ รวมทั้งข้อคิดต่างๆ ในการจัดการและบริหารการด�ำเนิน งาน การควบคุมและวัดประสิทธิภาพของงาน ตลอดจนนโยบายของ รัฐบาลทีม่ ผี ลต่อการด�ำเนินธุรกิจและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกระบวนการ จัดการที่เกิดขึ้นในองค์กรทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ

สถป. 492 การศึกษาความเป็นไปได้โครงการ (3 หน่วยกิต) ARC 492 Project Feasibility Study เพือ่ ศึกษาการจัดท�ำโครงการออกแบบ ศึกษาความเหมาะ สมของโครงการด้านต่างๆ ที่จะน�ำมาใช้ประโยชน์ต่อการจัดการและ การวางแผนโครงการต่างๆ ของธุรกิจออกแบบ ศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการ การจัดท�ำงบประมาณโครงการและการวิเคราะห์ผล ตอบแทนการลงทุนจากโครงการ การวางแผนโครงการควบคุมการ ปฏิบัติงานและการประเมินผลของโครงการ สถป. 493 นวัตกรรมเทคโนโลยีในการวิเคราะห์ (3 หน่วยกิต) และผลิตงานออกแบบ ARC 493 Innovative Technology in Design Analysis and Production ศึกษาถึงนวัตกรรมใหม่ของเทคโนโลยีทสี่ ามารถน�ำมาใช้ ในการผลิตและวิเคราะห์งานออกแบบ เข้าใจกระบวนการในการใช้ เครือ่ งมือทีท่ นั สมัยเพือ่ สร้าง วิเคราะห์และพยากรณ์ประสิทธิภาพของ งานออกแบบ รวมถึงการผลิตรูปทรงสามมิติด้วยเทคโนโลยีเครื่อง สร้างต้นแบบอัตโนมัต ิ ทัง้ นีเ้ พือ่ สร้างทางเลือกของการผลิตหุน่ จ�ำลอง ที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีปัจจุบัน รวมถึงเป็นการผสานองค์ความรู้ ด้านการออกแบบงานสถาปัตยกรรมทีม่ คี วามซับซ้อนสูงกับการสร้าง หุ่นจ�ำลองแบบเสมือนจริง สถป. 591 การจัดทําเอกสารประกอบโครงการ (3 หน่วยกิต) ARC 591 Project Design Documentation เพื่อศึกษาการจัดท�ำและบริหารงานเอกสารประกอบ โครงการ ศึกษาวิธกี ารบันทึก การประมวลและการรายงานข้อมูลต่างๆ ตัง้ แต่ขนั้ ตอนก่อนการออกแบบ งานขัน้ วางแผนแนวทางการออกแบบ และเสนอแนวความคิดในการออกแบบ งานออกแบบร่างขัน้ ต้นจนถึง การออกแบบขัน้ สุดท้าย การจัดระบบแบบก่อสร้างและแบบทีเ่ ขียนขึน้ หลังจากการก่อสร้างเสร็จ รวมถึงข้อมูลอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์เพื่อการ บริหาร บ�ำรุงรักษา ปรับปรุง ต่อเติมหรือดัดแปลงอาคาร หลักสูตรปริญญาตรี 451


สถป. 592 การสื่อสารในการให้บริการวิชาชีพ (3 หน่วยกิต) สถาปัตยกรรม ARC 592 Communication in Architectural Services ศึกษาลักษณะและวิธีการสื่อสารกับลูกค้า ผู้ร่วมงานและ บุคคลอืน่ ๆ ทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องในกระบวนการออกแบบ ศึกษาและเรียน รูเ้ ทคนิคการสือ่ สารเพือ่ เข้าใจความต้องการในการออกแบบของลูกค้า การสือ่ สารความคิดในการออกแบบและการน�ำเสนองานออกแบบต่อ บุคคลอืน่ ๆ ศึกษาลักษณะและวิธกี ารในการสือ่ สารเพือ่ การโน้มน้าวใจ และเพื่อการต่อรองทางธุรกิจการออกแบบ รวมทั้งองค์ประกอบทาง ด้านจิตวิทยาและสังคมวิทยา อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา บุคลิกภาพและการให้บริการวิชาชีพสถาปัตยกรรม

กลุ่มวิชา Architectural Construction Management

สถป. 494 การส�ำรวจปริมาณและการประมาณราคา (3 หน่วยกิต) ARC 494 Quantity Survey and Cost Estimation ศึกษาองค์ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับการส�ำรวจปริมาณ และ การประมาณราคา การแบ่งประเภทงานก่อสร้าง การวัดเนื้องาน การ ก�ำหนดราคาต่อหน่วย การประมาณราคางานเตรียมการเบือ้ งต้น การ ส�ำรวจปริมาณและการประมาณราคางานโครงสร้าง การส�ำรวจ ปริมาณและการประมาณราคางานสถาปัตยกรรม การส�ำรวจปริมาณ และการประมาณราคางานวิศวกรรมงานระบบในอาคาร การส�ำรวจ ปริมาณและการประมาณราคางานโยธา การสรุปราคาขัน้ สุดท้ายของ งานประมาณราคาค่าก่อสร้าง การควบคุมและการติดตามโครงการ ด้านงบประมาณและการเงิน การควบคุมและการติดตามผลการใช้วสั ดุ ในหน่วยงานสนาม สถป. 495 การจัดการเอกสารก่อสร้าง (3 หน่วยกิต) ARC 495 Construction Documentation ศึกษาเกี่ยวกับการจัดท�ำและการจัดการเอกสารสัญญาที่ เกีย่ วข้องกับการก่อสร้าง สัญญาประเภทต่างๆ การประกวดราคา การ 452 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คัดเลือกผู้รับเหมา การท�ำและบริหารสัญญาจ้าง การพิจารณากรณี พิพาทในการก่อสร้าง การป้องกันและแก้ไขข้อโต้แย้งอันเนื่องจาก เอกสารสัญญา สถป. 496 การบริหารงานก่อสร้าง (3 หน่วยกิต) ARC 496 Construction Management ศึกษาเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในการจัดท�ำแผนบริหาร โครงการ ก�ำหนดหลักเกณฑ์โครงการ วินิจฉัยการวางแผนงานและ วิธกี อ่ สร้าง โครงสร้างองค์กรก่อสร้างและบทบาทขององค์กรต่างๆ ที่ ร่วมกันท�ำงานในโครงการก่อสร้าง รวมถึงการควบคุมการก่อสร้าง ดัดแปลง ซ่อมแซม รื้อถอนหรือเคลื่อนย้ายอาคาร และติดตามผลให้ เป็นไปตามรูปแบบรายการ สถป. 594 คอมพิวเตอร์ส�ำหรับการบริหารงาน (3 หน่วยกิต) ก่อสร้าง ARC 594 Computer Applications in Construction Management ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการน�ำคอมพิวเตอร์มาใช้ กับกระบวนการจัดการในแต่ละขั้นตอนของงานก่อสร้างตลอดจนการ เลือกใช้โปรแกรม รวมถึงการประยุกต์ใช้โปรแกรมต่างๆ ให้เหมาะสม กับการจัดการระบบ สถป. 595 การจัดการระบบอาคาร (3 หน่วยกิต) ARC 595 Building Service Management ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการสินทรัพย์อาคารในงาน สถาปัตยกรรม ระบบอุปกรณ์อาคารประเภทต่างๆ เทคนิคการก่อสร้าง การวิเคราะห์การท�ำงานและการจัดการ ด้านการใช้และการบ�ำรุงรักษา อุปกรณ์ตา่ งๆ ในงานสถาปัตยกรรมทัง้ ทีก่ อ่ สร้างใหม่ รวมถึงปรับปรุง ซ่อมแซม หรือบูรณะฟื้นฟู


กลุ่มวิชาการออกแบบภายใน กลุ่มวิชาหลัก

อภน. 151 การออกแบบภายใน 1 (4 หน่วยกิต) INT 151 Interior Design I ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบภายในเบื้องต้น โดยใช้ กระบวนการคิดและวิเคราะห์ปญั หาการออกแบบ รวมถึงการท�ำความ เข้าใจในการจัดพื้นที่และประโยชน์ ใช้สอยเพื่อสร้างสภาพแวดล้อม ภายใน การเรียนการสอนเน้นการศึกษาหาประสบการณ์ผ่านผล งานการออกแบบทัง้ ในอดีตและทีม่ อี ยู่ในปัจจุบนั ฝึกฝนด้วยการปฏิบตั ิ การในชัน้ เรียน และสามารถน�ำทักษะนัน้ ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบ นอกชั้นเรียน อภน. 152 การออกแบบภายใน 2 (4 หน่วยกิต) INT 152 Interior Design II พื้นความรู้: สอบได้วิชา อภน. 151 การออกแบบภายใน 1 ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบภายในพื้นที่เพื่อการอยู่ อาศัย โดยใช้กระบวนการคิดและวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบ รวม ถึงการท�ำความเข้าใจในการจัดพื้นที่และประโยชน์ ใช้สอยเพื่อสร้าง สภาพแวดล้อมภายในเพือ่ การอยูอ่ าศัยทีเ่ หมาะสม การเรียนการสอน เน้นการศึกษาหาประสบการณ์ผา่ นผลงานการออกแบบทัง้ ในอดีตและ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ฝึกฝนด้วยการปฏิบัติการในชั้นเรียน และสามารถ น�ำทักษะนั้นไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบนอกชั้นเรียน อภน. 251 ทฤษฎีและการวิพากษ์งานสถาปัตยกรรม (3 หน่วยกิต) ภายใน INT 251 Theory and Criticism of Interior Architecture ศึกษาแนวความคิดบางประการของกระบวนการทางการ ช่าง ต่อการสร้างสรรค์รูปแบบงานสถาปัตยกรรมภายในอาคารทาง ตะวันตกและตะวันออกสมัย หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงยุค ปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และท�ำความเข้าใจถึงแนวความคิด อันจะน�ำไปสูก่ ารออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายในอาคารยุคปัจจุบนั

อภน. 253 การออกแบบภายใน 3 (4 หน่วยกิต) INT 253 Interior Design III พื้นความรู้: สอบได้วิชา อภน. 152 การออกแบบภายใน 2 ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบภายในพื้นที่เพื่อการพัก อาศัยขนาดกลางถึงใหญ่ หรือที่มีพื้นที่การใช้งานและรองรับกิจกรรม ของผูอ้ าศัยทีเ่ พิม่ ขึน้ การเรียนการสอนเน้นการใช้กระบวนการคิดและ วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบ การหาประสบการณ์ผ่านงานออกแบบ จริง โดยนักศึกษาสามารถน�ำข้อจ�ำกัดของงานสถาปัตยกรรมมา พิจารณาและวิเคราะห์เพื่อสร้างงานออกแบบภายในที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของโจทย์ ได้ อีกทั้งยังเน้นการฝึกปฏิบัติ ทั้งภายในและภายนอกชั้นเรียน รวมถึงการพัฒนาเทคนิควิธีการน�ำ เสนอผลงานในระดับที่สูงขึ้น อภน. 254 การออกแบบภายใน 4 (4 หน่วยกิต) INT 254 Interior Design IV พื้นความรู้: สอบได้วิชา อภน. 253 การออกแบบภายใน 3 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบภายใน พืน้ ทีส่ าธารณะเพือ่ การพาณิชย์ทเี่ ป็นธุรกิจบริการเดีย่ วหรือทีผ่ สมกับพืน้ ทีพ่ กั อาศัย และ เพือ่ รองรับกิจกรรมใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากแนวโน้มของธุรกิจและเศรษฐกิจ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา การเรียนการสอนเน้นการวิเคราะห์ การใช้เหตุผล การแลกเปลีย่ นระหว่างผูเ้ รียนและผูส้ อน กระตุน้ ให้เกิด การค้นคว้านอกห้องเรียน สัดส่วนของการท�ำงานออกแบบภายในและ นอกชั้นเรียนขึ้นอยู่กับประเด็นปัญหาการออกแบบในเวลานั้นๆ อภน. 352 วิธีการวางแผนโครงการออกแบบภายใน (4 หน่วยกิต) INT 352 Programming Methods in Interior Design ศึกษาวิธีการวางแผนและจัดท�ำรายละเอียดโครงการเพื่อ การออกแบบภายใน โดยสามารถวิเคราะห์โครงการออกแบบภายใน ด้วยการศึกษาถึงกระบวนการคิด การตัง้ ค�ำถาม การนิยามปัญหา การ ก�ำหนดเป้าหมาย การวางแผน และเข้าใจวิธีการค้นคว้า ตลอดจน หลักสูตรปริญญาตรี 453


เข้าใจถึงองค์ประกอบเหล่านี้ว่ามีความสัมพันธ์และเป็นปัจจัยที่ส่งผล ต่อการก�ำหนดทิศทางในการออกแบบอย่างไร อภน. 355 การออกแบบภายใน 5 (4 หน่วยกิต) INT 355 Interior Design V พื้นความรู้: สอบได้วิชา อภน. 254 การออกแบบภายใน 4 ศึก ษาและปฏิบัติการออกแบบภายในพื้นที่เพื่อ ธุ ร กิจ บริการ ที่รองรับผู้ใช้จ�ำนวนมากและหลากหลาย ทั้งการใช้พื้นที่เพื่อ กิจกรรมทีม่ หี ลากองค์ประกอบและทีม่ คี วามผสมผสานของวัฒนธรรม (Multi-culture) การเรียนการสอนเน้นที่การแลกเปลี่ยนความคิดใน การออกแบบ สนับสนุนการวิเคราะห์และวิจารณ์ผลงานออกแบบ ท�ำความเข้าใจและท�ำงานภายใต้ข้อก�ำหนดทางสถาปัตยกรรมของ อาคารขนาดใหญ่ได้ การสร้างผลงานเน้นการเรียนรู้และการท�ำงาน ร่วมกับผู้อื่น อภน. 356 การออกแบบภายใน 6 (4 หน่วยกิต) INT 356 Interior Design VI พื้นความรู้: สอบได้วิชา อภน. 355 การออกแบบภายใน 5 ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบภายในพืน้ ทีม่ คี วามซับซ้อน ของหน่วยงานภายในองค์กร มีผู้ใช้อาคารจ�ำนวนมากและมีกิจกรรม ที่ละเอียดซับซ้อนและมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันในหลายรูปแบบ การออกแบบต้องการการค้นคว้าเฉพาะด้าน ยกตัวอย่างเช่น โรง พยาบาล สถาบันการศึกษา ศูนย์การศึกษา ส�ำนักงาน พิพิธภัณฑ์ รวมถึงห้องปฏิบัติการต่างๆ ฯลฯ การศึกษาเน้นการค้นคว้านอกชั้น เรียนที่ต้องการการวางแผนการจัดระเบียบความคิดและระบบข้อมูล รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเลือกสรรสิ่งที่เป็นประโยชน์มาใช้ในการ ออกแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถน�ำเสนอผลงานด้วยเทคนิค การน�ำเสนองานในระดับที่สูงขึ้น สามารถสื่อสารได้อย่างเข้าใจและ ชัดเจน 454 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อภน. 457 การเตรียมวิทยานิพนธ์ (3 หน่วยกิต) INT 457 Thesis Preparation พื้นความรู้: สอบได้วิชา อภน. 356 การออกแบบภายใน 6 เป็นขั้นตอนการศึกษาที่เตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมใน การท�ำวิทยานิพนธ์การออกแบบภายในในภาคการออกแบบ โดยผู้ เรียนเป็นผู้เสนอหัวข้อหรือแนวทางที่ตนเองสนใจ โดยมีประเด็นใน การศึกษาที่ชัดเจนและสามารถเขียนโครงร่างของโครงการได้ โดย สามารถก�ำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ นิยามปัญหาของงานออกแบบ อันน�ำไปสู่วิธีการด�ำเนินการและแนวทางการออกแบบในวิชา อภน. 458 ต่อไปได้ โดยนักศึกษาจะต้องน�ำเสนอหัวข้อโครงการฯ ไปจนถึง ขั้นการน�ำเสนอข้อมูลสนับสนุนโครงการฯ ต่อคณะกรรมการ โดยมี อาจารย์ที่ปรึกษาให้ค�ำแนะน�ำในขั้นตอนต่างๆ เมื่อหัวข้อได้รับการ อนุมัติแล้วจึงสามารถลงทะเบียนวิชา อภน. 458 เพื่อท�ำงานในภาค ออกแบบต่อไป อภน. 458 วิทยานิพนธ์การออกแบบภายใน (9 หน่วยกิต) INT 458 Thesis in Interior Design พื้นความรู้: สอบได้วิชา อภน. 457 การเตรียมวิทยานิพนธ์ นักศึกษาด�ำเนินการท�ำงานต่อเนือ่ งจากหัวข้อวิทยานิพนธ์ การออกแบบภายในจนถึงส่วนของข้อมูลสนับสนุนโครงการฯ ที่ได้รบั อนุมตั แิ ล้วในวิชา อภน. 457 ในภาคออกแบบและน�ำเสนอผลงานตาม ขั้นตอนที่ภาควิชาฯ ก�ำหนด ผลงานสุดท้ายประกอบไปด้วยภาค ออกแบบที่เสร็จสมบูรณ์ ภาคเอกสารที่สรุปผลการค้นคว้า และต้อง น�ำผลงานเสนอต่อสาธารณะ นักศึกษาทีจ่ ะลงทะเบียนเรียนวิชานีต้ อ้ ง มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สอบได้วิชาแกนและวิชาเอก-บังคับครบทุกวิชา และ 2. วิชาเอก-เลือก (วิชาโท) ต้องเรียนมาแล้วไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต 3. จะต้องมีคะแนนสะสมเฉลี่ยตั้งแต่ 1.75 ขึ้นไป การ วัดผลส�ำหรับวิชานี้ ให้ถือระดับคะแนนตั้งแต่ 2.00 (เกรด C ) ขึ้นไป เป็นเกณฑ์สอบผ่าน


4. ส�ำหรับผู้ที่ได้ระดับคะแนน 1.50 และ 1.00 (เกรด D+ และ D) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ไม่ถึง 2.00 สามารถขอรับ อนุปริญญาได้ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยกรุงเทพว่าด้วยการศึกษาขัน้ ปริญญาตรี เรื่องการให้อนุปริญญา

กลุ่มวิชาเทคโนโลยี

อภน. 271 วัสดุอุปกรณ์และการก่อสร้าง (4 หน่วยกิต) งานตกแต่งภายใน INT 271 Materials and Interior Construction ศึกษาและท�ำความเข้าใจโครงสร้างภายในของเครือ่ งเรือน ทัง้ แบบลอยตัวและติดตาย รวมถึงการตกแต่งบนผิวสัมผัสและท�ำงาน ร่วมกับงานสถาปัตยกรรมเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ นักศึกษา สามารถเขียนแบบโครงสร้างและรายการประกอบแบบเพื่อสื่อสารกับ ช่างผู้สร้างงานได้ รู้จักเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับงาน เข้าใจผลดีผล เสียของวัสดุชนิดต่างๆ และสามารถประกอบหรือติดตั้งได้ถูกวิธี รู้จัก การแก้ปัญหาเพื่อให้ได้งานออกแบบที่ผู้ออกแบบต้องการมากที่สุด การเรียนการสอนเน้นการใช้ห้องปฏิบัติการเขียนแบบ และการได้มี ประสบการณ์ จากการได้เห็นขั้นตอนการท�ำงานจริง หรื อ จากผู ้ เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย และติดตาม เทคโนโลยีด้านการผลิตวัสดุ อุปกรณ์อยู่ตลอดเวลา อภน. 372 การศึกษาโครงสร้างงานสถาปัตยกรรม (3 หน่วยกิต) ภายในสาธารณะ INT 372 Public Interior Architectural Studies ศึกษาและเข้าใจโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมและวิธีการ ก่อสร้างอาคารขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ โดยผ่านการฝึกปฏิบัติการ เขียนแบบงานสถาปัตยกรรมเฉพาะส่วนหรือแบบขยายที่ส�ำคัญ รู้จัก การเลื อ กใช้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ และเข้ า ใจรายการประกอบแบบ สถาปัตยกรรม สามารถวิเคราะห์ลกั ษณะทางสถาปัตยกรรมของอาคาร ประเภทต่างๆ ได้ ทัง้ ลักษณะภายนอกและภายใน อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการท�ำงานร่วมกับสถาปนิก

อภน. 373 การออกแบบเครื่องเรือน (3 หน่วยกิต) INT 373 Furniture Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบเครือ่ งเรือนเพือ่ การตกแต่ง ภายใน โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงการท�ำความเข้าใจในรูปแบบและ แนวความคิด ประวัตศิ าสตร์การออกแบบเครือ่ งเรือน กายวิภาคและ กายภาพเชิงกล วัสดุและวิธีการผลิต นักศึกษาสามารถน�ำความรู้ไป ใช้ประกอบในการออกแบบภายในต่อไป

กลุ่มวิชาสนับสนุน

อภน. 283 ระเบียบวิธีวิจัยและกระบวนการ (4 หน่วยกิต) ในการออกแบบ INT 283 Research Methodology and Process in Design ศึกษาถึงกระบวนการคิดของงานออกแบบสถาปัตยกรรม ภายในเพื่อให้เข้าใจถึงความหมายและการตีความผ่านกระบวนการ วิเคราะห์งานออกแบบ (Design Critique) และในวิธคี ดิ แบบกระบวน การวิจัย เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจในกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และสามารถถ่ายทอดแนวความคิดสู่งานออกแบบได้ อภน. 381 การปฏิบัติงานวิชาชีพ (0 หน่วยกิต) INT 381 Internship พื้นความรู้: ต้องสอบผ่านวิชาเอก-บังคับไม่ต�่ำกว่า 53 หน่วยกิต และจะต้องลงทะเบียนเรียนวิชา อภน. 355 และวิชา อภน. 373 ในภาคเรียนก่อนหน้าที่จะมีการ ฝึกงานอย่างน้อย 1 ภาค ฝึกปฏิบตั งิ านในหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องและได้รบั การอนุมตั ิ จากภาควิชาฯ เพื่อศึกษาระบบการท�ำงานและการแก้ปัญหา โดยใช้ เวลาฝึกงานไม่ต�่ำกว่า 8 สัปดาห์หรือประมาณ 320 ชั่วโมง ข้อก�ำหนด 1. นักศึกษาทีจ่ ะฝึกงานต้องผ่านการศึกษามาแล้วไม่นอ้ ย กว่า 6 ภาคการศึกษา 2. การวัดผลให้ถือเกณฑ์ S และ U เป็นเกณฑ์ผ่านและ ไม่ผ่านตามล�ำดับ หลักสูตรปริญญาตรี 455


อภน. 482 การประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน (3 หน่วยกิต) และมัณฑนศิลป์ INT 482 Professional Practice in Interior Architecture ศึกษาแนวทางในการประกอบวิชาชีพการออกแบบภายใน ความเป็นมาของวิชาชีพ หลักปฏิบัติวิชาชีพ การจัดการส�ำนักงาน ออกแบบ ความสัมพันธ์และความเกี่ยวข้องกับวิชาชีพอื่นๆ จรรยา บรรณ และพันธะกรณีของผูป้ ระกอบวิชาชีพ เงือ่ นไขในการประกอบ ธุรกิจ การขออนุญาตการปลูกสร้าง รวมทัง้ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ เป็นหลักในการน�ำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพต่อไป

กลุ่ม Hospitality Design

อภน. 391 การสร้างแนวความคิดและนวัตกรรม (3 หน่วยกิต) ในงานออกแบบพื้นที่การให้บริการ INT 391 Conceptual Thinking and Innovation in Hospitality Design ศึกษาแนวความคิดในการออกแบบและประเด็นร่วมสมัย ของพื้นที่ให้บริการในประเภทต่างๆ เช่น โรงแรม รีสอร์ท สปา ร้าน อาหาร ฯลฯ และนวัตกรรมในงานออกแบบประเภทของพืน้ ที่ให้บริการ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถรวบรวมและสร้างแนวความคิดส�ำหรับ งานออกแบบและสามารถถ่ายทอดแนวความคิดให้เป็นรูปธรรมและ สามารถพัฒนาสู่งานออกแบบต่อไป อภน. 392 การออกแบบรีสอร์ทและสปา (3 หน่วยกิต) INT 392 Resort and Spa Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบโครงการทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ ทางในด้านธุรกิจการบริการ (Hospitality Business) ประเภทรีสอร์ท และสปา โดยเฉพาะการให้บริการทีเ่ ป็นการบูรณาการควบคูก่ นั ระหว่าง การบริการด้านที่ พัก การท่องเที่ยว และการบริการด้านสุขภาพ รวม ถึงการบ�ำบัดต่างๆ ทัง้ แผนไทยและสากล การท�ำสปา และบริการด้าน บ�ำบัดอื่นๆ ทั้งกระบวนการและพฤติกรรมผู้ใช้ เพื่อออกแบบให้ตอบ 456 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สนองได้อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพในการใช้งานรวมถึงความ เข้าใจในเชิงธุรกิจการให้บริการ อภน. 393 สภาพแวดล้อมในการออกแบบอาคาร (3 หน่วยกิต) เพื่อการโรงแรม INT 393 Environments of Hospitality Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบสภาพแวดล้อมภายในของ ธุรกิจการบริการด้านการโรงแรม และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเริ่ม ตัง้ แต่การศึกษาพฤติกรรมผูใ้ ช้ การศึกษาและวิเคราะห์สถานทีต่ งั้ และ สิ่งแวดล้อม รวมไปถึงลักษณะทางธุรกิจ และการให้บริการและพื้นที่ ส่วนต่างๆ เพื่อรองรับกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากแนวโน้มของธุรกิจที่ ต้องการความแปลกใหม่ เพือ่ สร้างแนวความคิดในการออกแบบสภาพ แวดล้อมและสถาปัตยกรรมเพื่อธุรกิจการ โรงแรม เพื่อให้ผู้เรียนเกิด ความเข้าใจและสามารถออกแบบและวางโปรแกรมในการจัดสภาพ แวดล้อมภายในของพื้นที่เพื่อการโรงแรม อภน. 491 การออกแบบและวางผังพื้นที่บริการ (3 หน่วยกิต) อาหารและเครื่องดื่ม INT 491 Food and Beverage Space Planning and Design ศึกษาและปฏิบตั กิ ารออกแบบโครงการทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ ทางในด้านธุรกิจการบริการ ด้านอาหารและเครื่องดื่ม (Food and Beverage Business) ในลักษณะต่างๆ จากการศึกษากระบวนการใน การด�ำเนินธุรกิจที่มีการบูรณาการระหว่างการสร้างสรรค์ผลงาน ออกแบบทีแ่ ตกต่างและโดดเด่น และความเข้าใจในธุรกิจการให้บริการ ด้านอาหารและเครือ่ งดืม่ และพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้า ลักษณะ เฉพาะของอาหาร วัฒนธรรม และรูปแบบของการใช้พื้นที่และเครื่อง เรือนในแบบต่างๆ เพือ่ การสร้างความสัมพันธ์ของพืน้ ทีต่ า่ งๆ ในธุรกิจ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ตลอดจนสถานที่ด้านความบันเทิง ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง


อภน. 495 เอกสารงานก่อสร้างใน (3 หน่วยกิต) งานออกแบบภายใน INT 495 Construction Document in Interior Design ศึกษาและปฏิบัติการท�ำเอกสารในขั้นตอนงานก่อสร้าง ตั้ ง แต่ การเขี ย นแบบก่ อ สร้ า งและการประมาณราคาส�ำหรั บ งาน ออกแบบภายในจนถึ ง การสื่ อ สารระหว่ า งองค์ กรต่ า งๆ ตั้ ง แต่ กระบวนการออกแบบไปจนถึงขั้นตอนการก่อสร้างจนเสร็จสมบูรณ์

กลุ่ม Exhibition Design and Event Management

อภน. 394 การสร้างแนวความคิดและนวัตกรรม (3 หน่วยกิต) ในงานออกแบบนิทรรศการ INT 394 Conceptual Thinking and Innovation in Exhibition Design ศึกษาแนวความคิดในการออกแบบและประเด็นร่วมสมัย ของพื้ น ที่ จั ด นิ ท รรศการในลั ก ษณะต่ า งๆ และนวั ต กรรมในงาน ออกแบบนิทรรศการ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถรวบรวมและสร้าง แนวความคิดส�ำหรับงานออกแบบและสามารถถ่ายทอดแนวความคิด ให้เป็นรูปธรรมและสามารถพัฒนาสู่งานออกแบบต่อไป อภน. 395 การออกแบบนิทรรศการ (3 หน่วยกิต) INT 395 Exhibition Design ศึกษาและปฏิบัติถึงหลักการและกระบวนการของการ ออกแบบนิ ท รรศการตั้งแต่การออกแบบห้อ งจัดแสดงงานศิ ลปะ นิทรรศการเคลือ่ นที่ การจัดแสดงทางการค้าและเชิงพาณิชย์ ทัง้ แบบ ชัว่ คราวและถาวร โดยในกระบวนการเรียนรูต้ อ้ งค�ำนึงถึงองค์ประกอบ ต่างๆ ตั้งแต่การวางผัง การสร้างแนวความคิด เทคนิควิธีการน�ำ เสนอ นวัตกรรมในการจัดแสดง มาตรฐานและความปลอดภัยในการ จัดการพืน้ ทีส่ าธารณะ โดยค�ำนึงถึงความเข้าใจและการมีสว่ นร่วมของ ผู้เข้าชมนิทรรศการ

อภน. 396 การออกแบบและจัดการพิพิธภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) INT 396 Museum Design and Management ศึกษาถึงงานการออกแบบและบริหารทรัพยากรกายภาพ ที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมภายในของอาคารประเภทพิพิธภัณฑ์ และสถานที่จัดแสดงงานต่างๆ โดยค�ำนึงถึงการจัดการพิพิธภัณฑ์ใน แง่ของระบบการจัดการอาคาร สภาพแวดล้อมภายใน การจัดแสดง นิทรรศการ ความปลอดภัยของวัตถุจัดแสดง งานศิลปะ และผู้ใช้ อาคาร ทั้งในแง่ของผู้ออกแบบและในฐานะของผู้จัดการพิพิธภัณฑ์ อภน. 492 การบริหารการสร้างสรรค์กิจกรรม (3 หน่วยกิต) INT 492 Event Management ศึ ก ษาการบริ ห ารการสร้ า งสรรค์ กิ จ กรรมในระดั บ ผลิตภัณฑ์และระดับองค์กร โดยเรียนรู้เกี่ยวกับประเภทและรูปแบบ ของกิจกรรม การออกแบบ การวางแผน การก�ำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ การด�ำเนินงาน การประเมินผล และกระบวนการคิดกิจกรรมเชิง สร้างสรรค์ อภน. 495 เอกสารงานก่อสร้างใน (3 หน่วยกิต) งานออกแบบภายใน INT 495 Construction Document in Interior Design ศึกษาและปฏิบัติการท�ำเอกสารในขั้นตอนงานก่อสร้าง ตั้ ง แต่ การเขี ย นแบบก่ อ สร้ า งและการประมาณราคาส�ำหรั บ งาน ออกแบบภายในจนถึ ง การสื่ อ สารระหว่ า งองค์ กรต่ า งๆ ตั้ ง แต่ กระบวนการออกแบบไปจนถึงขั้นตอนการก่อสร้างจนเสร็จสมบูรณ์

หลักสูตรปริญญาตรี 457


กลุ่ม Retail Space Design

อภน. 397 การสร้างแนวความคิดและนวัตกรรม (3 หน่วยกิต) ในงานออกแบบพื้นที่ค้าปลีก INT 397 Conceptual Thinking and Innovation in Retail Space ศึกษาแนวความคิดในการออกแบบและประเด็นร่วมสมัย ของพื้นที่ค้าปลีก และนวัตกรรมในงานออกแบบประเภทของพื้นที่ค้า ปลีก โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถรวบรวมและสร้างแนวความคิด ส�ำหรับงานออกแบบและสามารถถ่ายทอดแนวความคิดให้เป็นรูป ธรรมและสามารถพัฒนาสู่งานออกแบบต่อไป อภน. 398 การออกแบบพื้นที่ค้าปลีก (3 หน่วยกิต) INT 398 Retail Space Design ศึกษาและปฏิบัติถึงแนวทางในการออกแบบพื้นที่เชิง พาณิชย์ประเภทค้าปลีกโดยครอบคลุมตั้งแต่พื้นที่ค้าปลีกใหม่ การ ขยายพื้นที่ และการปรับปรุงพื้นที่และภาพลักษณ์ โดยผู้เรียนต้อง ค�ำนึงถึงองค์ประกอบต่างๆ ในกระบวนการออกแบบตั้งแต่ในแง่ของ ความงาม มาตรฐานในเชิงสัดส่วนทีเ่ หมาะสม และในแง่ของการตลาด เช่น ลักษณะเฉพาะของสินค้า แผนการตลาด อัตลักษณ์ กลยุทธ์ และต้องสามารถสนับสนุนให้พื้นที่ค้าปลีกเหล่านั้นสามารถมุ่งไป สู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ อภน. 399 กลไกทางสังคมกับการออกแบบ (3 หน่วยกิต) พื้นที่ค้าปลีก INT 399 Social Mechanism and Retail Space Designing ศึกษาแนวคิดในการก�ำหนดรูปแบบและการออกแบบพืน้ ที่ เพื่อการค้า อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของการบริโภคในสังคมตะวันตกและสังคมตะวันออก รวมทั้งศึกษาพัฒนาการของการเป็นพื้นที่เพื่อการแลกเปลี่ยนสินค้า สูค่ วามเป็นกลไกของสังคม อันจะน�ำไปสูค่ วามเข้าใจในพัฒนาการของ 458 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

งานสถาปัตยกรรมและการออกแบบพืน้ ทีภ่ ายในของพืน้ ทีเ่ พื่อการค้า ในปัจจุบันมากขึ้น อภน. 493 อัตลักษณ์และเรขศิลปในสภาพแวดล้อม (3 หน่วยกิต) ในงานออกแบบภายใน INT 493 Corporate Identity and Environmental Graphic in Interior Design ศึกษาถึงองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ สภาพแวดล้อมภายในในส่วนของอัตลักษณ์และเรขศิลป์ ภายในอาคาร ซึง่ เป็นศาสตร์ทรี่ วมเอางานออกแบบกราฟฟิค สถาปัตยกรรม การจัด สภาพแวดล้อมและการสร้างพื้นที่ภายในเพื่อถ่ายทอดงานออกแบบ ให้สะท้อนถึงภาพลักษณ์ขององค์กร ผูเ้ รียนจะต้องค�ำนึงถึงมุมมองใน สภาพแวดล้อมที่สร้างขึ้นผ่านองค์ประกอบต่างๆ ในลักษณะของ เรขศิลป์ สัญลักษณ์สอื่ สาร ป้ายทางสัญจร และการปรับสภาพแวดล้อม ให้สื่อถึงสถานที่และองค์กร อภน. 495 เอกสารงานก่อสร้างใน (3 หน่วยกิต) งานออกแบบภายใน INT 495 Construction Document in Interior Design ศึกษาและปฏิบัติการท�ำเอกสารในขั้นตอนงานก่อสร้าง ตั้ ง แต่ การเขี ย นแบบก่ อ สร้ า งและการประมาณราคาส�ำหรั บ งาน ออกแบบภายใน จนถึ ง การสื่ อ สารระหว่ า งองค์ กรต่ า งๆ ตั้ ง แต่ กระบวนการออกแบบไปจนถึงขั้นตอนการก่อสร้างจนเสร็จสมบูรณ์


หมวด​วิชา​นิเทศศาสตร์ นทศ. 101 การสื่อสารเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) COM 101 Introduction to Communication ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีพนื้ ฐานทางการสือ่ สาร พร้อมทัง้ องค์ประกอบและปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อกระบวนการการสือ่ สารในบริบท ต่างๆ เช่น การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารองค์กร การสื่อสาร ระหว่างวัฒนธรรม การสือ่ สารมวลชน ฯลฯ รวมถึงการศึกษาบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และจริยธรรมจรรยาบรรณในการสื่อสารเพื่อ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ทั้งทางสังคมและธุรกิจ นทศ. 102 ความรู้เบื้องต้นทางกฎหมาย (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับนิเทศศาสตร์ COM 102 Introduction to Law for Communication Arts ศึก ษาความรู้ เ บื้ อ งต้ นเกี่ยวกับกฎหมาย ลักษณะของ กฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญา ตลอดจนลักษณะของความรับผิด ชอบทางแพ่งและทางอาญา ศึกษาสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิด เห็น ขอบเขตของการใช้สทิ ธิ และความรับผิดชอบทางกฎหมายของ สื่อม ว ล ช น ร ว ม ทั้ ง กา ร ปู พื้นฐานส�ำหรับการศึกษาประเด็นของ กฎหมายพิเศษอื่นที่เกี่ยวข้องกับสื่อมวลชน เช่น พระราชบัญญัติจด แจ้งการพิมพ์ พระราชบัญญัตขิ อ้ มูลข่าวสารของทางราชการ พระราช บัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และก�ำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และโทรคมนาคม พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น

นทศ. 103 วาทวิทยา (3 หน่วยกิต) COM 103 Speech ศึกษาหลักเกณฑ์และรูปแบบการพูดประเภทต่างๆ การ เตรียมข้อมูล การน�ำเสนอความคิดผ่านการพูด และการใช้สอื่ ประกอบ การฝึ ก ฝนการพูดตามวัตถุประสงค์และโอกาสที่แตกต่างกัน เพื่อให้ สามาร ถ น�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันและการประกอบอาชีพได้อย่างมี ประสิทธิภาพ นทศ. 104 การถ่ายภาพดิจิทัล (3 หน่วยกิต) COM 104 Digital Photography ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติการถ่ายภาพเบื้องต้นในระบบ ดิจทิ ลั เพือ่ ให้มคี วามรูแ้ ละความเข้าใจเกีย่ วกับกล้องและอุปกรณ์ตา่ งๆ ของกล้องดิจทิ ลั สะท้อนภาพเลนส์เดีย่ ว ( DSLR) วิธกี ารปรับปริมาณ แสง เทคนิคการถ่ายภาพพื้นฐาน การสือ่ สารผ่านภาพ โดยอาศัยองค์ ประกอ บ ภ า พที่สวยงาม และการตกแต่งภาพถ่ายโดยใช้โปรแกรม จัดการภาพถ่ายทีท่ นั สมัย เพือ่ ให้ได้ไฟล์ภาพทีม่ คี ณ ุ ภาพเหมาะสมกับ งานที่จะน�ำไปใช้ตามวัตถุประสงค์ของภาพถ่ายนั้นๆ นทศ. 105 การวิจัยการสื่อสารเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) COM 105 Introduction to Communication Research พื้นความรู้: เคยเรียน สถ. 203 ศึกษาความหมาย ประเภท แนวคิดพืน้ ฐาน และประโยชน์ ของการวิจยั ทางนิเทศศาสตร์ ขัน้ ตอน การด�ำเนินการวิจยั การก�ำหนด ปัญหา น�ำ วิ จัย การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย การทบทวนทฤษฎี แนวคิ ด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล การ วิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย และการน�ำเสนอ รวมถึงการน�ำ ความรู้เชิงทฤษฎีไปสู่การฝึกปฏิบัติที่สอดแทรกประเด็นจรรยาบรรณ ในการวิจัย

หลักสูตรปริญญาตรี 459


นทศ. 106 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (3 หน่วยกิต) COM 106 Integrated Marketing Communications ศึกษาความหมาย ความส�ำคัญ และองค์ประกอบของการ สือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ กระบวนการการสือ่ สารการตลาดแบบ บูรณา ก า ร ก ารสร้างความสัมพันธ์กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องผ่านการ สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ความส�ำคัญพฤติกรรมผู้บริโภคที่มี ต่อการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ และเครื่องมือการสื่อสารการ ตลาดแบบต่างๆ นทศ. 107 สื่อมวลชนกับสังคม (3 หน่วยกิต) COM 107 Mass Media and Society ศึกษาความเป็นมา ลักษณะและธรรมชาติของสือ่ มวลชน องค์ประกอบและกระบวนการการผลิตสาร บทบาท หน้าที่ จริยธรรม และความรั บ ผิดชอบของสื่อมวลชนที่มีต่อสังคม ผลกระทบต่อผู้รับ สาร อิ ท ธิ พ ลของสื่อมวลชนต่อการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม โดยเน้นการวิเคราะห์วจิ ารณ์ตามหลักทฤษฎีและแนวความ คิดทางด้านการสื่อสาร นทศ. 111 การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น (2 หน่วยกิต) COM 111 Introduction to Public Relations ศึกษาประวัตคิ วามเป็นมา วิวฒั นาการของการประชาสัมพันธ์ ความหมาย องค์ประกอบและกระบวนการด�ำเนินงาน เครือ่ งมือสือ่ สาร เพื่อ ง า น ป ร ะชาสัมพันธ์ ความส�ำคัญ บทบาทหน้าที่ของฝ่าย ประชาสั ม พั นธ์ในหน่วยงานประเภทต่างๆ และบริษัทที่ปรึกษาด้าน การประชาสั มพันธ์ บทบาทของการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อระบบ เศรษฐ กิ จ สังคม และการเมือง คุณสมบัติและจรรยาบรรณของ นักประชาสัมพันธ์ ตลอดจนแน้วโน้มและช่องทางในการประกอบอาชีพ นักประชาสัมพันธ์

460 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 112 วารสารศาสตร์เบื้องต้น (2 หน่วยกิต) COM 112 Introduction to Journalism ศึก ษ า วิ วัฒนาการ แนวคิด และปรัชญาพื้นฐานทาง วารสารศาสตร์ กระบวนการวารสารศาสตร์ในบริบทของการหลอม รวมสื่ อ ก ร ะบวนการของงานวารสารศาสตร์ ความหมายและองค์ ประกอบของข่าว บทบาท หน้าที่ สิทธิและเสรีภาพ ความรับผิดชอบ คุณสมบั ติ และจรรยาบรรณของนักวารสารศาสตร์ รวมทั้งศึกษาถึง อิทธิพลของงานวารสารศาสตร์ที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ตลอดจนการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ในงานวารสารศาสตร์ นทศ. 113 การโฆษณาเบื้องต้น (2 หน่วยกิต) COM 113 Introduction to Advertising ศึกษาความหมาย ประเภท บทบาท หน้าที่ แนวคิดและ หลักพื้ น ฐานของกระบวนการการโฆษณา ในระบบตลาด รูปแบบใน การด�ำ เ นิ น ธุ รกิจการโฆษณา หลักการวางแผนการรณรงค์โฆษณา ผลกระทบของการโฆษณาต่อสังคม ตลอดจนการโฆษณาข้ามชาติ นทศ. 114 ศิลปะการแสดงเบื้องต้น (2 หน่วยกิต) COM 114 Introduction to Performing Arts ศึกษาประวัตแิ ละวิวฒ ั นาการของการแสดง การน�ำศิลปะ การแสดงมาใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ทฤษฎีและความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกั บ โครงสร้าง องค์ประกอบ และรูปแบบต่างๆ ของการแสดง ลักษณะ แ ล ะ ค ว า มแตกต่างของการแสดงสดและการแสดงผ่าน สือ่ มวลชนแต่ละประเภท รวมถึงศึกษาความสัมพันธ์ของการแสดงกับ การเปลีย่ นแปลงทางสังคม ตลอดจนจรรยาบรรณในวิชาชีพศิลปะการ แสดง


นทศ. 115 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เบือ้ งต้น (2 หน่วยกิต) COM 115 Introduction to Broadcasting ศึกษาวิวฒ ั นาการด้านโครงสร้างของการกระจายเสียงและ แพร่ภาพ แนวคิดทฤษฎีพนื้ ฐาน บทบาท หน้าที่ และอิทธิพลของการ กระจายเสียงและแพร่ภาพในสังคมยุคข้อมูลข่าวสาร นทศ. 116 การภาพยนตร์เบื้องต้น (2 หน่วยกิต) COM 116 Introduction to Film ศึกษาคุณค่า บทบาท หน้าที่ และกระบวนการสร้างสรรค์ งานภาพยนตร์ ต�ำแหน่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ และคุณสมบัติของ บุคลากรในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการ ศึกษาภาพยนตร์ด้านการผลิตภาพยนตร์ การบริหารงานภาพยนตร์ ตลอดจนด้านภาพยนตร์ศึกษาและการผลิตภาพยนตร์ทางเลือก นทศ. 117 การสื่อสารตราเบื้องต้น (2 หน่วยกิต) COM 117 Introduction to Brand Communications ศึกษาขอบเขต ความหมาย องค์ประกอบของแบรนด์ บทบาทและความส�ำคัญของแบรนด์ในชีวติ ประจ�ำวัน ประเภทแบรนด์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแบรนด์ เข้าใจความแตกต่างระหว่างแบรนด์ ผลิตภัณฑ์ และเครื่องหมายการค้า ปัจจัยและกระบวนการที่ท�ำให้ แบรนด์ประสบความส�ำเร็จ โครงสร้างบริษัทที่ปรึกษา และบริษัท ตัวแทนด้านการสื่อสารตรา นทศ. 151 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจบันเทิง (3 หน่วยกิต) COM 151 Public Relations for Entertainment Business ศึกษาบทบาทและความส�ำคัญของการประชาสัมพันธ์ทมี่ ี ต่อธุรกิจบันเทิง การก�ำหนดแนวความคิด ขั้นตอน และกลยุทธ์ใน การวางแผนงานประชาสัมพันธ์ ในวงการธุรกิจบันเทิงต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ ละคร ดนตรี ฯลฯ ตลอดจนศึกษาปัญหาอุปสรรค แนวทาง การแก้ไข และจรรยาบรรณในการด�ำเนินงานประชาสัมพันธ์ธุรกิจ บันเทิง

นทศ. 152 การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อวิชาชีพ (3 หน่วยกิต) การประชาสัมพันธ์ COM 152 Personality Development for Public Relations Profession ศึกษาบทบาท และความส�ำคัญของบุคลิกภาพในวิชาชีพ การประชาสัมพันธ์ วิธกี ารพัฒนาบุคลิกภาพและลักษณะนิสยั มารยาท และการวางตัวให้เหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรม การปรากฏตัวและ การพูดในทีช่ มุ ชน ศึกษาเทคนิคการสร้างมนุษยสัมพันธ์กบั ประชาชน กลุ่มต่างๆ บุคลิกภาพของการเป็นผู้น�ำ นทศ. 153 การประชาสัมพันธ์เพื่อธุรกิจขนาดกลาง (3 หน่วยกิต) และขนาดย่อม COM 153 Public Relations for Small and Medium Business Enterprises ศึกษาทฤษฎี และแนวคิด เกี่ยวกับบทบาทและวิธีการ ด�ำเนินงานประชาสัมพันธ์สำ� หรับหน่วยงานธุรกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม การจัดรูปหน่วยงานประชาสัมพันธ์ การสร้างภาพลักษณ์และ การจัดกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง นทศ. 154 การประชาสัมพันธ์อุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) สร้างสรรค์ COM 154 Public Relations for Creative Industries ศึกษาความหมาย ความส�ำคัญ ยุทธศาสตร์ และแนวทาง การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ภาพรวมของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ในประเทศไทย คุณค่าและบทบาทของการประชาสัมพันธ์ในการขับ เคลือ่ นและสร้างโอกาสให้กบั ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ รวมทัง้ การน�ำกลยุทธ์และกลวิธดี า้ นการประชาสัมพันธ์มาพัฒนาทักษะ และความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทยให้มีความคิด สร้างสรรค์ และสามารถต่อยอดความได้เปรียบจากความหลากหลาย และเอกลั ก ษณ์ ข องวั ฒ นธรรมและภู มิ ป ั ญ ญาไทยไปสู ่ การสร้ า ง นวัตกรรมเพือ่ ตอบสนองความต้องการของตลาดและก้าวทันต่อกระแส การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก หลักสูตรปริญญาตรี 461


นทศ. 155 การเจรจาต่อรองและการแก้ปัญหา (3 หน่วยกิต) ความขัดแย้ง COM 155 Negotiation and Conflict Resolution ศึกษาศิลปะของนักประชาสัมพันธ์ ในการเจรจาต่อรอง ระหว่างองค์กรกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ทฤษฎีและกระบวนการเจรจาต่อรอง ที่น�ำมาใช้แก้ปัญหาที่ผู้บริหารองค์กรธุรกิจเผชิญอยู่เพื่อลดปัญหา ความขัดแย้ง ทัง้ ในระดับบุคคลและองค์กร ศึกษาทฤษฎีความขัดแย้ง และการแก้ไขความขัดแย้ง การสร้างเสริมความสามารถในการคิดเชิง วิเคราะห์ การตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ ทักษะการตัดสินใจ ทักษะการ แก้ปญั หา ทักษะการจัดการกับอารมณ์ การสร้างเสริมความมัน่ คงทาง อารมณ์ และความสามารถในการควบคุมตนเองตลอดจนการสร้าง ทักษะ การสื่อสารระหว่างบุคคล นทศ. 156 การประชาสัมพันธ์ทางการเมือง (3 หน่วยกิต) COM 156 Political Public Relations ศึกษาลักษณะ บทบาท และวิธีการด�ำเนินงานประชาสัมพันธ์เพื่อกิจกรรมทางการเมืองรูปแบบต่างๆ อาทิ การให้ความรู้ ทางการเมือง การสร้างความมีส่วนร่วมทางการเมือง การท�ำประชา พิจารณ์ การจัดกิจกรรมรณรงค์ทางการเมือง กลยุทธ์การสร้างภาพ ลักษณ์ให้กับนักการเมืองและพรรคการเมือง นทศ. 157 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจสันทนาการ (3 หน่วยกิต) COM 157 Public Relations for Recreation ศึกษาความส�ำคัญ บทบาท หลักการและแนวทางการ ด�ำเนินงานประชาสัมพันธ์ธุรกิจสันทนาการ การก�ำหนดกลยุทธ์ การ วางแผนประชาสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจให้กับองค์การที่ประกอบธุรกิจสันทนาการ เช่น ธุรกิจสปา และสุขภาพ สถานเสริมความงาม ธุรกิจด้านการพักผ่อนและท่องเทีย่ ว สถานบันเทิง 462 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 158 การสื่อสารเพื่อสุขภาพ (3 หน่วยกิต) COM 158 Health Communication ศึกษาการใช้กลยุทธ์การสือ่ สารการประชาสัมพันธ์ในการ ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารสุขภาพจากองค์กรทัง้ ภาครัฐและเอกชนไปยัง บุคคลและสังคม เพื่อช่วยให้บุคคลและสังคมได้ตระหนักถึงประเด็น การเสริมสร้างสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ สถานการณ์ สุขภาพในปัจจุบนั ภาวะเสีย่ งทางสุขภาพต่างๆ ได้รบั ข้อมูลสุขภาพที่ ถูกต้อง สม�ำ่ เสมอ และน่าเชือ่ ถือ รวมถึงการเปิดรับสือ่ ประชาสัมพันธ์ และการใช้ขอ้ มูลเกีย่ วกับสุขภาพเพือ่ ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาสุขภาพ นทศ. 159 การประชาสัมพันธ์บุคคลผู้มีชื่อเสียง (3 หน่วยกิต) COM 159 Public Relations for Celebrity ศึกษาถึงความหมาย ความส�ำคัญ และบทบาทของการ ด�ำเนินงานประชาสัมพันธ์ให้กบั บุคคลผูม้ ชี อื่ เสียง หรือผูป้ ระสบความ ส�ำเร็จในทุกสายอาชีพ เช่น ผู้บริหารองค์กร นักการเมือง ดารา นักแสดง นักร้อง นักกีฬา หรือพิธีกร การก�ำหนดกลยุทธ์การ ประชาสัมพันธ์ การวางแผนการประชาสัมพันธ์ วิธีการสร้างและ การเลือกใช้เครือ่ งมือประชาสัมพันธ์เพือ่ สร้างการรับรู้ การยอมรับ ชือ่ เสียงและมีภาพลักษณ์ที่ดี รวมทั้งศึกษาถึงประเภท อิทธิพล และวิธี การน�ำบุคคลผู้มีชื่อเสียงมาใช้ในการด�ำเนินงานประชาสัมพันธ์เพื่อ สร้างภาพลักษณ์แก่องค์การและสินค้า นทศ. 160 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ส�ำหรับ (3 หน่วยกิต) งานกิจกรรมและการน�ำเสนอ COM 160 Creative Writing for Event and Presentation ศึกษาถึงหลักการและเทคนิคการเขียนเชิงสร้างสรรค์เพือ่ งานกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น บทวีดิทัศน์เพื่อการน�ำเสนอ ก�ำหนดการ บทก�ำกับเวที บทพิธีกร บทสุนทรพจน์ ฯลฯ ที่เหมาะสม ส�ำหรับกิจกรรมประเภทต่างๆ เช่น กิจกรรมส่งเสริมการตลาด กิจกรรม สร้างเสริมภาพลักษณ์องค์กร กิจกรรมเพือ่ สังคม กิจกรรมเฉลิมฉลอง กิจกรรมบันเทิง เป็นต้น


นทศ. 161 การวางแผนและการบริหารกิจกรรม (3 หน่วยกิต) เชิงสร้างสรรค์ COM 161 Creative Event Planning and Management ศึกษาถึงหลักการสร้างสรรค์และการวางแผนการสื่อสาร ด้วยกิจกรรมประเภทต่างๆ ตัง้ แต่การท�ำความเข้าใจโจทย์ การวิเคราะห์ สภาพการณ์ การก�ำหนดเป้าหมาย การก�ำหนดกลยุทธ์ การสร้างสรรค์ รายละเอียดกิจกรรม การคาดการณ์ถึงปัจจัยต่อความส�ำเร็จและผล กระทบของกิจกรรม การบริหารจัดการกิจกรรมในมิติต่างๆ ตลอดจน วิธีการประเมินผลกิจกรรม เทคนิคการจัดท�ำและการเขียนแผนโครง งานกิจกรรมประเภทต่างๆ รวมทัง้ ฝึกทักษะโดยการน�ำแผนไปประยุกต์ ปฏิบัติจริง นทศ. 251 ทักษะการเป็นผู้ประกาศ (3 หน่วยกิต) COM 251 Newscaster Performance ศึกษาเกีย่ วกับเทคนิคในการเป็นผูบ้ รรยาย ผูป้ ระกาศข่าว รายงานข่าว และผู้ด�ำเนินรายการ โดยเน้นที่วิธีออกเสียงที่ถูกต้อง เหมาะสม การพูดออกอากาศ การลงเสียง (Voice Over) เรียนรู้และ ฝึกปฏิบัติการใช้เสียงที่เหมาะสมกับรูปแบบรายการต่างๆ นทศ. 252 ประวัติศาสตร์วารสารศาสตร์ (3 หน่วยกิต) COM 252 History of Journalism ศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการวารสารศาสตร์ ใน ประเทศไทยและต่างประเทศ ปัจจัย ทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ทีม่ ผี ลต่อการด�ำเนินงานทางด้านวารสารศาสตร์ ตลอด จนศึกษาประเด็นต่างๆ ทีน่ า่ สนใจ เช่น วิวฒ ั นาการของข่าว การหลอม รวมสื่อ เสรีภาพของสื่อมวลชน การเซ็นเซอร์ ความสัมพันธ์ของ วารสารศาสตร์กับประวัติศาสตร์สังคม เช่น บทบาทในการเรียกร้อง ประชาธิปไตย เป็นต้น

นทศ. 253 การรายงานข่าวกีฬา (3 หน่วยกิต) COM 253 Sport Reporting ศึกษาพัฒนาทักษะ และเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล การสัมภาษณ์ทงั้ ใน และนอกสนามแข่งขัน เพือ่ น�ำไปใช้ในการรายงาน ข่าวกีฬาแต่ละประเภท รวมไปถึงการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารในรูปแบบ อืน่ ๆ เช่น การเขียนสารคดีเชิงสัมภาษณ์ บทความ คอลัมน์ประจ�ำฯลฯ โดยสามารถน�ำเนื้อหาไปน�ำเสนอได้ในสื่อหลายประเภท นทศ. 254 การรายงานข่าวเทคโนโลยีสารสนเทศ (3 หน่วยกิต) COM 254 ICT Reporting ศึกษาพัฒนาทักษะ และเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล การสัมภาษณ์ เพื่อน�ำไปใช้ในการรายงานข่าวเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ละประเภท รวมไปถึงการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารในรูปแบบอื่นๆ เช่น การเขียนสารคดีเชิงสัมภาษณ์ บทความ คอลัมน์ประจ�ำฯลฯ โดย สามารถน�ำเนื้อหาไปน�ำเสนอได้ในสื่อหลายประเภท นทศ. 255 การแปลข่าว (3 หน่วยกิต) COM 255 News Translation ศึกษาหลักการและฝึกปฏิบัติแปลข่าวจากภาษาอังกฤษ เป็นภาษาไทยและจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษภายใต้ขอ้ จ�ำกัดเรือ่ ง เวลา ตลอดจนเทคนิคการรายงานข่าวต่างประเทศ ทั้งในประชาคม อาเซียน และภูมิภาคอื่นๆ โดยค�ำนึงถึงภาษา วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง นทศ. 256 ศิลปะและสุนทรียศาสตร์เพื่อ (3 หน่วยกิต) งานวารสารศาสตร์ COM 256 Arts and Aesthetics for Journalism ศึกษา วิเคราะห์ แนวคิดและความหมายของงานศิลปะ รวมถึงสุนทรียศาสตร์ เพื่อให้เข้าใจถึงธรรมชาติลักษณะและแก่นแท้ ของงานศิลปะในรูปแบบที่แตกต่างกันทั้งในโลกตะวันตก และตะวัน ออก เพื่อให้เกิดแรงบันดาลใจ และการริเริ่มสร้างสรรค์ศิลปะใน หลักสูตรปริญญาตรี 463


งานการผลิต และอุตสาหกรรมสือ่ วารสารศาสตร์ ทีเ่ หมาะสมกับบริบท ทางสังคมและวัฒนธรรม นทศ. 257 การผลิตสารคดีเชิงข่าว (3 หน่วยกิต) COM 257 News Documentary Production ศึกษาเทคนิค วิธกี าร และกระบวนการผลิตสารคดีเชิงข่าว ในสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ในแง่มุมข่าวเชิงสืบสวน สอบสวน เจาะลึกในเนือ้ หา การสอดแทรกข้อมูลทีบ่ อกถึงภูมหิ ลังทีม่ า ของเรื่อง การใช้ภาษาบรรยายภาพ และเสียงประกอบได้อย่าง สอดคล้องและกลมกลืน นทศ. 258 การสื่อข่าวเฉพาะทาง (3 หน่วยกิต) COM 258 Specialized Reporting ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติการสื่อข่าวเฉพาะทาง อาทิ ข่าวการเมือง เศรษฐกิจ กีฬา สิง่ แวดล้อม ต่างประเทศ ศิลปวัฒนธรรม โดยเน้นให้นกั ศึกษารูจ้ กั กระบวนการในการรวบรวมข้อมูล เทคนิคการ สื่อข่าวเฉพาะทาง นทศ. 351 การโฆษณาส�ำหรับผู้ประกอบการ (3 หน่วยกิต) ขนาดกลางและขนาดย่อม COM 351 Advertising for SMEs ศึกษาแนวคิด ประเภท บทบาทและความส�ำคัญของการ โฆษณาต่อการท�ำธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดย่อม พร้อมทั้งศึกษาถึงการพัฒนาแนวคิดและกลยุทธ์การ โฆษณาเพื่อสร้างสรรค์และออกแบบงานโฆษณาที่จะช่วยสร้างคุณค่า ตราสินค้าซึง่ ครอบคลุมถึงการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาดและ ตราสินค้า การแข่งขัน พฤติกรรมผูบ้ ริโภคทีส่ ง่ ผลต่อการท�ำธุรกิจและ การโฆษณา และศึกษาถึงการวางแผนกลยุทธ์และวิธีการสื่อสาร โฆษณาเพื่อสนับสนุนการท�ำธุรกิจ ตลอดจนการสร้างสรรค์ช่อง ทางการสื่อสารใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับธุรกิจและตราสินค้าเพื่อเข้าถึง ผู้บริโภคเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 464 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 352 แฟ้มผลงานสร้างสรรค์ (3 หน่วยกิต) COM 352 Creative Portfolio ศึกษาแนวคิดและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างแฟ้มสะสม ผลงานส่วนบุคคล เทคนิคในการเตรียม การออกแบบและสร้างสรรค์ แฟ้มสะสมผลงานให้มคี วามน่าสนใจ โดยการใช้โปรเเกรมคอมพิวเตอร์ ในการออกเเบบ รวมไปถึงการประยุกต์น�ำวัสดุอื่นๆ มาใช้สร้างสรรค์ ให้เกิดความหลากหลาย โดยให้นักศึกษารวบรวมผลงานของตนเอง มาสร้างแฟ้มสะสมผลงาน เพื่อน�ำไปใช้ประกอบการสมัครงานและ ศึกษาต่อในอนาคต นทศ. 353 การออกแบบเพื่อการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) COM 353 Communication Design ศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการใช้งานออกแบบกราฟิก ทัง้ 2 มิตแิ ละ 3 มิติ เพือ่ การสือ่ สารความหมายอย่างเป็นสากลในชีวติ ประจ�ำวัน และฝึกปฏิบัติการวางแผนการออกแบบเพื่อการสื่อสาร ส�ำหรับการจัดวางสินค้า (Merchandising) การตกแต่งร้านค้า (Shop Decoration) การจัดแสดงสินค้า (Display) งานนิทรรศการ (Exhibition) มหกรรมการแสดงสินค้า (Exposition) และกิจกรรมพิเศษเชิงการ ตลาด (Event Marketing) โดยเน้นกระบวนการพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ เพือ่ สือ่ สารอัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity) ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ นทศ. 354 การโฆษณาเพื่อการค้าสมัยใหม่ (3 หน่วยกิต) COM 354 Advertising for Modern Trade ศึกษาความหมาย บทบาท ความส�ำคัญของช่องทางการ จัดจ�ำหน่ายผ่านการค้าสมัยใหม่ที่มีผลจากการเปลี่ยนแปลงด้าน เศรษฐกิจ ข้อตกลงทางการค้า สังคมและวัฒนธรรม ทั้งในประเทศ และต่างประเทศทีส่ ง่ ผลต่อการวิเคราะห์ปจั จัยทีน่ ำ� ไปสูค่ วามส�ำเร็จใน การสื่อสารการตลาดเพื่อการวางแผนและการด�ำเนินงานโฆษณาเพื่อ ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าของกลุ่มเป้าหมาย


นทศ. 355 การถ่ายภาพในสตูดิโอ (3 หน่วยกิต) COM 355 Studio Photography ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติการในสตูดิโอถ่ายภาพ แนว ความคิด และการจัดวาง มุมภาพ การจัดแสงและฉาก อาทิ ภาพ สินค้า ภาพอาหาร ภาพบุคคล ภาพแฟชั่น ด้วยกล้องดิจิทัลสะท้อน ภาพเลนส์เดีย่ ว (DSLR) โดยใช้งานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์และ ไฟแฟลชอิเล็กทรอนิกส์แบบที่ใช้ในสตูดิโอได้อย่างถูกวิธี นทศ. 356 การสร้างภาพเคลื่อนไหวในงานโฆษณา (3 หน่วยกิต) COM 356 Motion Graphics in Advertising ศึกษาเชิงแนวคิดและการฝึกปฏิบตั ขิ นั้ พืน้ ฐานในการสร้าง ภาพเคลือ่ นไหวด้วยคอมพิวเตอร์เพือ่ น�ำไปใช้ในงานโฆษณาให้มคี วาม น่าสนใจ โดยศึกษากระบวนการการสร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ อาทิ การวาดภาพ การสร้างหุ่น การสร้างสื่อประสม และสร้างภาพ เคลื่อนไหวให้ตรงตามความมุ่งหมายของงานโฆษณา นทศ. 357 กิจกรรมพิเศษทางการตลาด (3 หน่วยกิต) COM 357 Event Marketing ศึกษาแนวคิด ความส�ำคัญ รูปแบบ กระบวนการจัด กิจกรรมพิเศษเพือ่ สนับสนุนการโฆษณา ทัง้ แนวคิดและฝึกปฏิบตั ิ โดย ครอบคลุมการวางแผน กระบวนการในการสร้างสรรค์ และด�ำเนินการ จัดกิจกรรมพิเศษ เพื่อสนับสนุนการโฆษณาให้ตรงกับความต้องการ ของลูกค้า ภายใต้งบประมาณและระยะเวลาที่จ�ำกัด เพื่อสร้าง ประสบการณ์และสร้างความสัมพันธ์กับผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายและผู้ สนับสนุน (Sponsorship) อย่างมีประสิทธิภาพ นทศ. 358 การฝึกงานโฆษณา (3 หน่วยกิต) COM 358 Advertising Internship ศึกษาและฝึกปฏิบัติในรูปแบบของการฝึกงานกับบริษัท ตัวแทนโฆษณา (Advertising Agency) บริษัทตัวแทนด้านสื่อโฆษณา (Media Agency) บริษัทผลิตภาพยนตร์โฆษณา (Production House)

หรื อ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การโฆษณา เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ประสบการณ์ในงานด้านต่างๆ อาทิ การบริหารงานลูกค้า การวางแผน กลยุทธ์โฆษณา การสร้างสรรค์โฆษณา การวางแผนสื่อโฆษณา การ ผลิตงานโฆษณา หรือกิจกรรมทางการตลาดเพื่อการโฆษณา โดย นักศึกษาจะต้องท�ำรายงานประกอบการฝึกงาน ซึง่ การประเมินผลการ ฝึกงานของนักศึกษาจะเป็นการพิจารณาร่วมกันระหว่างภาควิชาการ โฆษณาและหน่วยงานภายนอก หมายเหตุ *** ไม่เข้าร่วมกับสหกิจศึกษา นทศ. 359 ทักษะทางภาษาส�ำหรับผู้ประกอบ (3 หน่วยกิต) วิชาชีพโฆษณา COM 359 Language Skills for Advertising Practitioner ศึกษาและพัฒนาทักษะภาษาไทยและภาษาอังกฤษทัง้ ด้าน การพูด การฟัง การอ่าน และการเขียนที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้ประกอบ วิชาชีพโฆษณา ศึกษาส�ำนวนภาษาและศัพท์เฉพาะทางที่ใช้ในวงการ โฆษณา ตลอดจนศึกษาหลักการและฝึกฝนการน�ำเสนอแผนงาน โฆษณาและการเขียนรายงานรูปแบบต่างๆ ของสายงานบริการลูกค้า และสายงานสร้างสรรค์ เพื่อสามารถสื่อสารกับลูกค้าทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในบริบทต่างๆ นทศ. 360 ศึกษาเชิงประสบการณ์ธุรกิจโฆษณา (3 หน่วยกิต) ระหว่างประเทศ COM 360 International Field Study in Advertising ศึกษาและสร้างเสริมประสบการณ์ในวิชาชีพโฆษณาจาก การอบรม สัมมนา และดูงานกับองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับแวดวง โฆษณา ทัง้ ทีเ่ ป็นธุรกิจโฆษณาในประเทศและธุรกิจโฆษณาระดับข้าม ชาติ ให้สามารถน�ำหลักการหรือทฤษฎีเกีย่ วกับการโฆษณาทัง้ ศาสตร์ และศิลป์ในธุรกิจโฆษณามาประยุกต์ ใช้ให้เกิดการเรียนรู้การท�ำงาน ตามกระแสการแข่งขันทางการตลาดให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้ บริโภคในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก โดยผู้เรียนสามารถเลือกประเด็นหรือ ลักษณะหน้าทีท่ สี่ นใจและท�ำการศึกษาเจาะลึกท�ำเป็นรายงานประกอบ หลักสูตรปริญญาตรี 465


นทศ. 461 การแต่งหน้าส�ำหรับการแสดง (3 หน่วยกิต) COM 461 Theatre Make-up ศึกษาทฤษฎีและปฏิบัติเกี่ยวกับการแต่งหน้าส�ำหรับการ แสดง การเรียนรูโ้ ครงสร้าง จุดเด่นจุดด้อยของใบหน้าเพือ่ เลือกวิธกี าร แต่งหน้าทีเ่ หมาะสม ฝึกออกแบบการแต่งหน้าเพือ่ สือ่ ถึงบุคลิกลักษณะ ของตัวละคร

นทศ. 465 ละครหุ่น (3 หน่วยกิต) COM 465 Puppetry ศึกษาประวัตคิ วามเป็นมาและวิวฒ ั นาการการแสดงละคร หุน่ ทัง้ ในประเทศไทยและทวีปเอเชีย การสร้างหุน่ การทดลองเชิดหุน่ การน�ำละครหุ่นมาใช้ในการแสดงร่วมสมัยหรือใช้ร่วมกับมัลติมีเดีย ต่างๆ

นทศ. 462 การแต่งหน้าส�ำหรับการแสดงขั้นสูง (3 หน่วยกิต) COM 462 Advanced Theatrical Make-up ศึกษาทฤษฎีขั้นสูงของการแต่งหน้าเพื่อการแสดง โดย เน้นทีก่ ารแต่งหน้าเทคนิคพิเศษแบบต่างๆ โดยเรียนรูเ้ ครือ่ งมือเครือ่ ง ใช้ เทคนิค ตลอดจนการรูจ้ กั ประยุกต์วสั ดุอปุ กรณ์เพือ่ น�ำมาใช้ในการ แต่งหน้าเทคนิคพิเศษ

นทศ. 466 ละครใบ้ (3 หน่วยกิต) COM 466 Mime ศึกษาประวัตคิ วามเป็นมาของละครใบ้ วิธฝี กึ ร่างกายเพือ่ ใช้ในการสือ่ ความหมายตามวิธกี ารของละครใบ้ ฝึกแสดงละครใบ้เรือ่ ง สั้นๆ โดยนักศึกษาเป็นผู้ก�ำหนดโครงเรื่องและประเด็นความคิดที่ ต้องการสื่อสารกับผู้ชม

นทศ. 463 การออกแบบมัลติมีเดียส�ำหรับการแสดง (3 หน่วยกิต) บนเวที COM 463 Multimedia Design for Live Performance ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบภาพเคลื่อนไหว ส�ำหรับการแสดงบนเวทีประเภทต่างๆ เช่น ละครเวที ละครเพลง บัลเลต์ คอนเสิร์ต เรียนรู้วิธีใช้อุปกรณ์อิเลกโทรนิคที่เกี่ยวข้องขั้น พื้นฐาน รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จ�ำเป็นต่องานที่ผลิตออกมา

นทศ. 467 นาฏลีลาร่วมสมัย (3 หน่วยกิต) COM 467 Contemporary Dance ศึกษาประวัตแิ ละวิวฒ ั นาการของระบ�ำร่วมสมัย ฝึกทักษะ ขัน้ พืน้ ฐานของระบ�ำร่วมสมัย แนววิธกี ารฝึกฝน การน�ำเสนอของคณะ ระบ�ำร่วมสมัยทีม่ คี วามส�ำคัญ การวิจารณ์และตีความหมายระบ�ำร่วม สมัย

นทศ. 464 การสร้างอุปกรณ์ประกอบฉาก (3 หน่วยกิต) COM 464 Props Makins ศึกษากระบวนการขั้นตอนการท�ำอุปกรณ์ประกอบฉาก ตั้งแต่โครงสร้างและวัสดุพื้นฐานที่มักใช้กับการท�ำอุปกรณ์ประกอบ ฉาก รวมทั้งเทคนิคต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เทคนิคการหล่อ เป็นต้น

466 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 468 นาฏศิลป์ไทย (3 หน่วยกิต) COM 468 Thai Dance ศึ ก ษาขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี นิ ย ม สุ น ทรีย ะของ นาฏศิลป์ไทย วรรณกรรมการแสดง ลีลาความหมายของท่าร�ำ ดนตรี เครื่องแต่งกาย การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนนาฏศิลป์ ไทยใน ปัจจุบัน ตลอดจนศึกษาสถานภาพของนาฏศิลป์ไทยในสังคมปัจจุบัน เพื่อน�ำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางในการส่งเสริมนาฏศิลป์ ไทย


นทศ. 469 แนวโน้มศิลปะในละคร โทรทัศน์ (3 หน่วยกิต) และภาพยนตร์ COM 469 Art Trend in Theatre, Television and Film ศึกษาแนวโน้มของศิลปนิยม เทคนิควิธี และเทคโนโลยีที่ ใช้ในละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ในสมัยปัจจุบันของไทย และต่างประเทศ การน�ำศิลปะมาประยุกต์ ใช้ในแง่ของนักแสดง ผู้ ก�ำกับการแสดง และผู้ออกแบบฝ่ายต่างๆ

นทศ. 473 การออกแบบเครื่องแต่งกาย (3 หน่วยกิต) COM 473 Costume Design ศึกษาทฤษฎีการออกแบบเครื่องแต่งกาย ประเภทและ คุณสมบัตขิ องเนือ้ ผ้า ความหมายของสี เส้น ลาย การออกแบบเครือ่ ง แต่งกายส�ำหรับละครแนวต่างๆ โดยเน้นการสือ่ ความหมายถึงลักษณะ นิสัยของตัวละคร การเลือกใช้เครื่องประดับ และการออกแบบ โดย ค�ำนึงถึงความเป็นเอกภาพร่วมกับการออกแบบฉากและแสง

นทศ. 470 วาดสีฉาก (3 หน่วยกิต) COM 470 Scene Painting ศึกษาเทคนิคพืน้ ฐานและทดลองใช้วสั ดุพนื้ ผิวแบบต่างๆ ที่สามารถน�ำมาปรับใช้ในการวาดระบายสีฉากได้

นทศ. 474 ประวัติการละคร (3 หน่วยกิต) COM 474 History of Theatre ศึ ก ษาวิ วั ฒ นาการของการละครและบทละครตั้ ง แต่ จุดก�ำเนิดของละครตะวันตก กรีก โรมัน สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ จนถึงละครสมัยใหม่ ตลอดจนวิวัฒนาการของละครตะวันออก เช่น อินเดีย จีน ญี่ปุ่น และไทย โดยเปรียบเทียบค่านิยม ศาสนา สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลต่อความแตกต่างของการละคร

นทศ. 471 การออกแบบฉาก (3 หน่วยกิต) COM 471 Scenic Design ศึกษาหลักเกณฑ์และทฤษฎีเกีย่ วกับการออกแบบฉากและ เวทีเพื่อการแสดงประเภทต่างๆ เช่น ละครแนวสัจจนิยม ธรรมชาติ นิยม สัจจนิยมประยุกต์ และแนวต่อต้านสัจจนิยม คอนเสิร์ต บัลเล่ต์ ตลอดจนฉากส�ำหรับรายการโทรทัศน์ ฝึกทักษะการออกแบบโดยค�ำนึง ถึงวัตถุประสงค์ของการแสดง การจัดแสง การใช้เทคโนโลยีต่างๆ ข้อ จ�ำกัดด้านสถานที่ ตลอดจนการค�ำนวณงบประมาณ นทศ. 472 การออกแบบแสง (3 หน่วยกิต) COM 472 Lighting Design ศึ ก ษาทฤษฎี การออกแบบแสง เรี ย นรู ้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ประเภทและคุณสมบัติของโคมไฟ มุมและการติดตั้ง การออกแบบ แสงส�ำหรับการแสดงประเภทต่างๆ โดยค�ำนึงถึงความเป็นเอกภาพ ร่วมกับศิลปะแขนงอื่นๆ ในการแสดง

นทศ. 475 การศึกษาการแสดงสากล (3 หน่วยกิต) COM 475 World Performing Arts Studies ศึกษาการแสดงแบบประเพณีนยิ มของชาติตา่ งๆ ในเอเชีย ยุโรป อเมริกา แอฟริกา ในด้านวิวัฒนาการ รูปแบบ สุนทรียะและ อิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรมที่น�ำไปสู่รูปแบบการแสดงร่วมสมัย นทศ. 476 ละครตะวันออก (3 หน่วยกิต) COM 476 Oriental Drama ศึกษาประวัตแิ ละวิวฒ ั นาการของละครตะวันออก รูปแบบ การแสดง การน�ำเสนอ วรรณกรรมการละคร และนักการละครทีส่ ำ� คัญ ทั้งของไทย อินเดีย จีน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และประเทศใกล้เคียงใน เขตภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

หลักสูตรปริญญาตรี 467


นทศ. 477 โอเปรา (3 หน่วยกิต) COM 477 Opera ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของละครโอเปรา บทละคร ทีม่ คี วามส�ำคัญและเป็นทีน่ ยิ ม คีตกวี กลวิธกี ารประพันธ์ ลักษณะของ ท่วงท�ำนอง การฝึกฝนของนักแสดง วัฒนธรรมการชมละครโอเปรา และโรงละครโอเปรา นทศ. 478 ละครเบรคชท์ (3 หน่วยกิต) COM 478 Brechtian Theatre ศึกษาทฤษฎีและวรรณกรรมการละครของแบร์ทอลท์ เบรคชท์ (Bertolt Brecht) กลวิธีการสื่อสารเพื่อชี้ปัญหาและแนวทาง การแก้ปัญหาเรื่องสังคมและศีลธรรม ระบบวิธีการแสดง อิทธิพล ทฤษฎีการละครของเบรคชท์ที่มีต่อการละครร่วมสมัยของตะวันตก และของไทย นทศ. 479 ละครแอบเสิร์ด (3 หน่วยกิต) COM 479 Adsurd Theatre ศึกษาทฤษฎีและวรรณกรรมการละครแนวแอบเสิร์ดนัก เขียนบทละครแอบเสิร์ด ความสัมพันธ์ระหว่างละครแอบเสิร์ดกับ สังคมและศาสนา การน�ำเสนอละครแอบเสิร์ด และปฏิกิริยาผู้ชมใน ตะวันตกและในประเทศไทย นทศ. 480 ผู้หญิงในละคร (3 หน่วยกิต) COM 480 Women in Drama and Theatre ศึกษาบทบาทสถานภาพของผูห้ ญิงทีส่ ะท้อนออกมาทาง วรรณกรรมการละคร ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาความนิยม แนวคิดของนักเขียนบทละครหญิง ตลอดจนการท�ำงานของผู้หญิงที่ เกี่ยวข้องกับการแสดง

468 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 481 ละครในการศึกษา (3 หน่วยกิต) COM 481 Theatre in Education ศึกษาทฤษฎีของละครในการศึกษา หลักและแนวทาง ปฏิบัติของละครในการศึกษาในตะวันตก ขั้นตอนการส�ำรวจปัญหา การสร้างสรรค์ พัฒนาการการเรียนรู้ของผู้ร่วมงาน การสื่อสารและ วิเคราะห์ปฏิบัติกิริยาของผู้ชม รวมทั้งศึกษาผลงานของกลุ่มละครใน การศึกษาในประเทศไทย เพือ่ ให้ทราบถึงปัญหาในการสร้างสรรค์และ การด�ำเนินงาน นทศ. 482 การแสดงเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ (3 หน่วยกิต) COM 482 Acting for Personality Development ศึกษาและฝึกฝนทักษะพื้นฐานของการแสดง เน้นการ ส�ำรวจตนเองเพือ่ เรียนรูแ้ ละเข้าใจวัตถุดบิ พืน้ ฐานของนักแสดง ได้แก่ ร่างกาย เสียง ประสาทสัมผัส อารมณ์ความรู้สึก จิตนาการ เหตุผล และแรงจูงใจทีก่ อ่ ให้เกิดการกระท�ำ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจในศักยภาพ การแสดงออกของตนเอง และสามารถจะน�ำไปใช้ในการปรับปรุง บุคลิกภาพ ประยุกต์ใช้กับสายงานที่เกี่ยวข้องหรือในชีวิตประจ�ำวัน นทศ. 483 การอ่านเพื่อสื่อความหมาย (3 หน่วยกิต) COM 483 Oral Interpretation ศึกษาทฤษฎี เทคนิควิธี และฝึกฝนการอ่านออกเสียง เพือ่ สื่อความหมายการแสดงในสื่อต่างๆ โดยเน้นความถูกต้องทางภาษา ความหมายของบท ภาพพจน์ อารมณ์ และบรรยากาศที่แฝงอยู่ใน บท นทศ. 484 ละครส�ำหรับเด็ก (3 หน่วยกิต) COM 484 Theatre for Children ศึกษารูปแบบ เนื้อหา และฝึกปฏิบัติการน�ำเสนอละคร สั้นๆ โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักคือ เด็กและเยาวชน


นทศ. 485 ทฤษฎีการแสดงและการก�ำกับการแสดง (3 หน่วยกิต) COM 485 Theories of Acting and Directing ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการแสดงและการก�ำกับการแสดง ของนักการละครทีม่ คี วามส�ำคัญของการละครสมัยใหม่ วิธกี ารท�ำงาน ของนักแสดงและผู้ก�ำกับการแสดงที่ส�ำคัญ ความสัมพันธ์ระหว่าง ทฤษฎีการแสดงและการก�ำกับการแสดง

นทศ. 489 สุขนาฏกรรม (3 หน่วยกิต) COM 489 Comedy ศึกษาลักษณะ โครงสร้างและองค์ประกอบของบทละคร สุขนาฏกรรม ประเภทของละครสุขนาฏกรรม เปรียบเทียบละคร สุขนาฏกรรมทีมีความส�ำคัญในยุคสมัยต่างๆ

นทศ. 486 ละครแนวทดลอง (3 หน่วยกิต) COM 486 Experimental Theatre ศึกษาวิวัฒนาการของละครแนวทดลองในยุคของละคร สมัยใหม่มาจนถึงปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต การก�ำหนด วัตถุประสงค์และวิธีการทดลอง การประเมินผลส�ำเร็จของละครแนว ทดลอง

นทศ. 490 การศึกษาแนวโน้มศิลปะการแสดงร่วมสมัย (3 หน่วยกิต) COM 490 Contemporary Trend in Performing Arts ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิด และการน�ำเสนอศิลปะ การแสดงร่วมสมัย อันเป็นแนวโน้มหลักของการแสดงระดับสากล ผ่าน ทฤษฎีสงั คมในยุคต่างๆ อาทิ ปรัชญายุคคลาสสิค ปรัชญายุคสมัยใหม่ และปรัชญายุคหลังสมัยใหม่ อันน�ำไปสู่การวิเคราะห์ทฤษฎีวิพากษ์ ทางด้านศิลปะการแสดง

นทศ. 487 เชคสเปียร์ในสังคมร่วมสมัย (3 หน่วยกิต) COM 487 Shakespeare in Contemporary Society ศึกษาบทละครของวิลเลี่ยม เชคสเปียร์ โดยวิเคราะห์ถึง ความร่วมสมัยในประเด็นความคิดเกี่ยวกับสังคม การเมือง ศีลธรรม การตีความบทละครของเชคสเปียร์เพือ่ สือ่ สารกับผูช้ มร่วมสมัย ตลอด จนศึกษาประวัติและแนวคิดในการน�ำบทละครของเชคสเปียร์มาจัด แสดงในลักษณะละครร่วมสมัยทั้งในต่างประเทศและในประเทศไทย รวมทั้งปฏิกิริยาของผู้ชม

นทศ. 491 ละครไทยในสังคมร่วมสมัย (3 หน่วยกิต) COM 491 Thai Drama in Contemporary Society ศึกษาละครไทยปัจจุบัน ทั้งละครโทรทัศน์และละครเวที ในด้านเนื้อหา แนวคิด และคุณธรรมที่สะท้อนผ่านเรื่องราวและตัว ละคร เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนของสังคมไทยร่วมสมัยค่านิยมของ คนในสังคมตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างละครและสังคมร่วมสมัยที่ มีอิทธิพลต่อกัน

นทศ. 488 โศกนาฏกรรม (3 หน่วยกิต) COM 488 Tragedy ศึกษาลักษณะ โครงสร้างและองค์ประกอบของบทละคร โศกนาฏกรรม เปรียบเทียบละครโศกนาฏกรรมที่มีความส�ำคัญในยุค สมัยต่างๆ นับแต่โศกนาฏกรรมกรีกจนถึงโศกนาฏกรรมสมัยใหม่

นทศ. 551 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพือ่ สังคม (3 หน่วยกิต) COM 551 Social Broadcasting ศึ ก ษาความส� ำ คั ญ ของสื่ อวิ ท ยุ กระจายเสี ย งและวิ ท ยุ โทรทัศน์ตลอดจนสื่อสมัยใหม่ อาทิ โซเชียลเน็ตเวิร์คมาใช้เพื่อการ พัฒนาสังคม โดยมีเป้าหมายเพือ่ น�ำเทคโนโลยีทงั้ สองระบบมาเป็นสือ่ ในการพัฒนาชุมชน รณรงค์ให้เกิดความร่วมมือต่างๆ ในสังคม ตลอด จนเรียนรู้ถึงบทบาทของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์และสื่อ สมัยใหม่ที่มีผลต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศ หลักสูตรปริญญาตรี 469


นทศ. 552 การผลิตรายการสารคดี (3 หน่วยกิต) COM 552 Documentary Production ศึกษาเทคนิค วิธีการ การเล่าเรื่อง และกระบวนการผลิต สารคดีประเภทต่างๆ ทางสื่อวิทยุโทรทัศน์ การเขียนบทสารคดี การ สร้างสรรค์รูปแบบสารคดีใหม่ๆ ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ กลุ่มผู้ ชม และเวลาออกอากาศ นทศ. 553 การผลิตรายการกีฬา (3 หน่วยกิต) COM 553 Sports Production ศึกษาเทคนิค วิธีการ และกระบวนการผลิตรายการกีฬา ประเภทต่างๆ ทางวิทยุโทรทัศน์ การเขียนบทรายการกีฬา การ สร้างสรรค์รูปแบบรายการให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้า หมายตลอดจนเวลาในการออกอากาศ นทศ. 554 การออกแบบแสงส�ำหรับงานวิทยุโทรทัศน์ (3 หน่วยกิต) COM 554 Lighting Design For Television ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและฝึกปฏิบัติเพื่อการออกแบบแสง ส�ำหรับผลิตรายการโทรทัศน์ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในและนอกสถานที่ อาทิ รายการข่าว รายการวาไรตี้ รายการละคร โดยออกแบบแสงให้ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของรายการ และกลุ่มเป้าหมาย นทศ. 555 การใช้เสียงในงานวิทยุกระจายเสียงและ (3 หน่วยกิต) วิทยุโทรทัศน์ COM 555 Voice Work in Broadcasting ศึกษาเทคนิควิธีการใช้เสียง และการออกเสียงให้ถูก อักขรวิธเี พือ่ ใช้ในงานวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกาศรายการ การบรรยายเหตุการณ์ การสัมภาษณ์ การ ด�ำเนินรายการ การพากย์ ฯลฯ รวมทั้งฝึกฝนให้เกิดความช�ำนาญ

470 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 556 การผลิตงานวิดีทัศน์ระบบ 3 มิติ (3 หน่วยกิต) COM 556 3D Video Production ศึกษาแนวคิดทฤษฎี และฝึกปฏิบัติเพื่อการผลิตงาน วีดิทัศน์ในรูปแบบสามมิติ ศึกษามุมมองของงานวีดิทัศน์สามมิติใน รูปแบบต่างๆ ตลอดจนการสร้างสรรค์รูปแบบงานวีดิทัศน์สามมิติ ให้ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนเหมาะสมกับ สภาพเศรษฐกิจและสังคม นทศ. 557 การควบคุมการผลิตในงานวิทยุโทรทัศน์ (3 หน่วยกิต) และสื่อสมัยใหม่ COM 557 Producing for Television and New Media ศึกษาเทคนิคและวิธกี ารควบคุมการผลิตรายการโทรทัศน์ และสือ่ สมัยใหม่ การออกแบบรูปแบบรายการ การก�ำหนดงบประมาณ การหาแหล่งเงินทุนเพือ่ การผลิตรายการ เทคนิคการน�ำเสนองานและ การขาย ตลอดจนศึกษาด้านทรัพย์สินทางปัญญาส�ำหรับสื่อวิทยุ โทรทัศน์และสื่อสมัยใหม่ นทศ. 558 ระบบสื่อมวลชนโลก (3 หน่วยกิต) COM 558 Global Media System ศึกษาวิวัฒนาการ แนวคิด และปรัชญาของสื่อมวลชน และอุ ต สาหกรรมวิ ท ยุ กระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ ในประเทศ สหรัฐอเมริกา ยุโรป ละติน อเมริกา แอฟริกา และเอเชีย มีการ วิเคราะห์การออกแบบการผลิตรายการ วิธีการน�ำเสนอ เนื้อหา เพื่อ ให้เข้าใจถึงแนวทางการผลิตรายการในต่างประเทศ อันสะท้อนถึงวิถี ชีวิต และวิธีคิดของคนในชาตินั้นๆ


นทศ. 559 ดนตรีในงานสื่อสารมวลชนร่วมสมัย (3 หน่วยกิต) COM 559 Music in Contemporary Mass Media ศึ ก ษาแนวโน้ ม และบทบาทของดนตรี ใ นงานสื่ อ สาร มวลชนร่วมสมัย ศึกษาลักษณะ รูปแบบของดนตรีประเภทต่างๆ การ เลือกใช้ดนตรีประกอบเพื่อบริบททางการสื่อสารมวลชนต่างๆ อาทิ รายการวิทยุกระจายเสียง ภาพยนตร์ วีดทิ ศั น์เพือ่ การน�ำเสนอ สารคดี และรายการวิทยุโทรทัศน์ ประเภทต่างๆ เป็นต้น นทศ. 651 การแสดงส�ำหรับภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) COM 651 Acting for Film ศึกษาหลักการแสดงส�ำหรับงานภาพยนตร์เพื่อให้เข้าใจ ลักษณะการแสดงที่ถูกต้อง ฝึกการแสดงเบื้องต้นโดยมุ่งเน้นความ เข้าใจในตัวละคร ตลอดจนเข้าใจปัญหาทางการแสดงจากประสบการณ์ ตรงของตนเอง รวมทั้งการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเมื่ออยู่ในเหตุการณ์ ความเข้าใจในเรือ่ งมุมกล้อง และลักษณะเฉพาะของการแสดงเพือ่ งาน ภาพยนตร์ เพือ่ พัฒนาไปสูก่ ารก�ำกับนักแสดงหรือการแสดงขัน้ สูงต่อ ไป นทศ. 652 เทคนิคการแสดงขัน้ สูงส�ำหรับงานภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) COM 652 Acting for the Cameras: Advanced Techniques ศึ ก ษาศิ ล ปะการแสดงขั้ น สู ง ส� ำ หรั บ งานภาพยนตร์ ภาพยนตร์โฆษณา และละครโทรทัศน์ โดยใช้บทภาพยนตร์และบท ละครโทรทัศน์ ในการฝึกฝน เรียนรู้ลักษณะเฉพาะตัวของเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคนิคการถ่ายท�ำรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ ในการ แสดง นทศ. 653 ปฏิบัติการการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) COM 653 Film Narrative Workshop ศึกษาแนวคิดและเทคนิคการเล่าเรื่องในภาพยนตร์แบบ ต่างๆ เรียนรู้ขั้นตอนการพัฒนาจากบทภาพยนตร์ ไปสู่การสร้าง

ภาพยนตร์ ฝึกปฏิบัติการตีความบทภาพยนตร์ การหารูปแบบและ แนวทางภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับบทภาพยนตร์ นทศ. 654 ปฏิบัติการการสร้างดนตรีประกอบ (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับภาพยนตร์ COM 654 Scoring for Film Workshop ศึกษาทฤษฎีและหลักการท�ำดนตรีประกอบภาพยนตร์ ฝึก ปฏิบัติการการสร้างสรรค์ดนตรีประกอบภาพยนตร์ นทศ. 655 การตกแต่งฉากและเครื่องประกอบ (3 หน่วยกิต) การแสดง COM 655 Set Decoration and Props ฝึกออกแบบ สร้างฉาก จัดและตกแต่งฉาก เพื่อใช้ในการ ถ่ายท�ำภาพยนตร์ ตลอดจนการออกแบบ จัดหา และสร้างเครื่อง ประกอบการแสดง นทศ. 656 กราฟิกและภาพเคลื่อนไหว (3 หน่วยกิต) COM 656 Graphics and Animation ศึกษาหลักการออกแบบและสร้างสรรค์งานกราฟิกและ ภาพเคลื่อนไหวส�ำหรับภาพยนตร์ เทคนิควิธี การใช้เครื่องมือ และ ฝึกปฏิบัติจริง นทศ. 657 วิวัฒนาการภาพยนตร์เอเชีย (3 หน่วยกิต) COM 657 Surveys of Asian Films ศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของภาพยนตร์จาก ภูมิภาคเอเชีย แนวโน้มทางศิลปะและผลกระทบทางสังคมที่มีต่องาน ภาพยนตร์ เปรียบเทียบและวิเคราะห์ความแตกต่างทางความคิด ค่า นิยมของแต่ละชาติที่สะท้อนในงานภาพยนตร์ ศึกษาแนวความคิดผู้ ก�ำกับภาพยนตร์และผลงานที่ส�ำคัญ หลักสูตรปริญญาตรี 471


นทศ. 658 วิวัฒนาการภาพยนตร์ยุโรปและอเมริกา (3 หน่วยกิต) COM 658 Surveys of European and American Films ศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของภาพยนตร์จาก ทวีปยุโรปและอเมริกา แนวโน้มทางศิลปะและผลกระทบทางสังคมที่ มีตอ่ งานภาพยนตร์ เปรียบเทียบและวิเคราะห์ความแตกต่างทางความ คิด ค่านิยมของแต่ละชาติทสี่ ะท้อนในงานภาพยนตร์ ศึกษาแนวความ คิดผู้ก�ำกับภาพยนตร์และผลงานที่ส�ำคัญ นทศ. 659 วิวัฒนาการภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ COM 659 Surveys of South East Asian Films ศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของภาพยนตร์จาก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะภาพยนตร์ไทย แนวโน้ม ทางศิลปะและผลกระทบทางสังคมทีม่ ตี อ่ งานภาพยนตร์ เปรียบเทียบ และวิเคราะห์ความแตกต่างทางความคิด ค่านิยมของแต่ละชาติที่ สะท้อนในงานภาพยนตร์ ศึกษาแนวความคิดผู้ก�ำกับภาพยนตร์และ ผลงานที่ส�ำคัญ นทศ. 660 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตร์ทดลอง (3 หน่วยกิต) COM 660 Experimental Filmmaking Workshop ศึกษาประวัติศาสตร์ พัฒนาการทางความคิด รูปแบบ ผลงานของนักสร้างภาพยนตร์แนวทดลองคนส�ำคัญ ขัน้ ตอนการผลิต ภาพยนตร์ทดลอง โดยเริม่ ตัง้ แต่การหาแรงบันดาลใจ การพัฒนาความ คิด การถ่ายท�ำ เพื่อให้ส�ำเร็จเป็นภาพยนตร์ทดลองที่สมบูรณ์ นทศ. 661 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตร์สารคดี (3 หน่วยกิต) COM 661 Documentary Filmmaking Workshop ศึกษาขั้นตอนการผลิตภาพยนตร์สารคดี โดยเริ่มตั้งแต่ การหาประเด็น การค้นคว้าหาข้อมูล การคิดประเด็น การเขียนบท การวางแผนการถ่ายท�ำ การถ่ายท�ำ การสัมภาษณ์ การตัดต่อ และ 472 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กระบวนการหลังการถ่ายท�ำ เพื่อให้ส�ำเร็จเป็นภาพยนตร์สารคดีที่ สมบูรณ์ นทศ. 662 สัมมนากระบวนการท�ำงานของนักสร้าง (3 หน่วยกิต) ภาพยนตร์ไทย COM 662 Thai Filmmaker Master Class ศึ ก ษาวิ ธี คิ ด แรงบั น ดาลใจ ทั ศ นคติ ใ นการท� ำ งาน กระบวนการพัฒนาความคิดผลงาน ประสบการณ์การท�ำงาน เทคนิค เฉพาะตัวในการสร้างภาพยนตร์ของผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ไทย นทศ. 663 การควบคุมความต่อเนือ่ งในงานภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) COM 663 Continuity in Film หลักการ ความส�ำคัญของการควบคุมความต่อเนื่องใน งานภาพยนตร์ ขั้นตอน และวิธีการ ตลอดจนฝึกปฏิบัติ นทศ. 664 เทคนิคการตัดต่อภาพยนตร์ขั้นสูง (3 หน่วยกิต) COM 664 Advanced Digital Editing Techniques ศึกษาศิลปะและเทคนิคการตัดต่อภาพยนตร์ขนาดยาว กรณีศึกษารูปแบบและสไตล์การตัดต่อภาพยนตร์ในปัจจุบัน การจัด เตรียมและปฏิบตั งิ านการตัดต่อภาพยนตร์ขนาดยาว การแก้ไขปัญหา ทางเทคนิคในภาพและเสียง ฝึกปฏิบตั งิ านตัดต่อภาพยนตร์ขนาดยาว ตามที่ผู้สอนก�ำหนด นทศ. 665 เทคนิคพิเศษและการประกอบภาพ (3 หน่วยกิต) COM 665 Special Effects and Digital Compositing for Film ศึกษาเทคนิคและฝึกปฏิบัติกระบวนการประกอบภาพ ระหว่างภาพที่สร้างขึ้นจากคอมพิวเตอร์ (Computer-generated imagery) กับภาพวีดิทัศน์และภาพยนตร์ การถ่ายท�ำ Blue Screen และ Green Screen การปรับแต่งสี (Color Correction) การวิเคราะห์ และก�ำหนดกระบวนการท�ำงานตามแบบอุตสาหกรรมภาพยนตร์


นทศ. 666 งานเก็บภาพยนตร์และภาพเคลื่อนไหว (3 หน่วยกิต) COM 666 Film Archive Studies ศึกษาประวัติศาสตร์ แนวคิดและหลักปฏิบัติในการเก็บ รั ก ษาภาพเคลื่ อ นไหว เทคโนโลยี การเก็ บ รั ก ษาสื่ อ บั น ทึ ก ภาพ เคลื่อนไหวชนิดต่างๆ กรณีศึกษางานอนุรักษ์ภาพเคลื่อนไหวใน ประเทศไทยและต่างประเทศ นทศ. 751 สื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) COM 751 Digital Media for Brand Communications ศึกษาบทบาท ความส�ำคัญ ความหมายและประเภทของ สือ่ ดิจทิ ลั พัฒนาการของสือ่ ตัง้ แต่อดีตจนถึงยุคของสือ่ สมัยใหม่ (New Media Technology) พฤติกรรมผู้บริโภคที่เปิดรับสื่อดิจิทัล การ ก�ำหนดกลยุทธ์และเนื้อหาสารของตราผ่านสื่อดิจิทัลหรือช่องทาง ต่างๆ อาทิ สื่อสังคม (Social Media) เกมออนไลน์ แอพพลิเคชั่นบน โทรศัพท์เคลือ่ นที ่ เข้าใจถึงข้อดีและข้อด้อย ปัญหาและอุปสรรคของ การสือ่ สารผ่านสือ่ ดิจทิ ลั ในรูปแบบต่างๆ เพือ่ น�ำมาปรับประยุกต์ใช้ใน การสื่อสารตราได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นทศ. 752 การสร้างความสัมพันธ์ตราเชิงกลยุทธ์ (3 หน่วยกิต) COM 752 Strategic Brand Relationships ศึกษากลยุทธ์การสร้างและการจัดการความสัมพันธ์ ระหว่างตรากับผูบ้ ริโภคทัง้ ในส่วนของตราองค์การและตราผลิตภัณฑ์ ความสัมพันธ์ (Relations) และความเกี่ยวข้อง (Relevance) กับตรา ในเชิงปัจเจก (Self) ความสัมพันธ์ในเชิงกลุ่ม (Collective) การเป็น กลุ่มสังคมของตรา (Brand Community) การมีพันธสัญญาต่อตรา (Brand Commitment) โดยใช้กลยุทธ์การบริหารประสบการณ์และ ความสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่าเพิ่มร่วมกัน (Creating Shared Value) ระหว่างตรากับผู้บริโภค

นทศ. 753 สุนทรียภาพเพื่อการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) COM 753 Aesthetics in Brand Communications ศึ ก ษากลยุ ท ธ์ การสื่ อ สารตราในแง่ มุ ม ของการสร้ า ง เอกลักษณ์และภาพลักษณ์ โดยการน�ำแนวคิด สุนทรียภาพ (Aesthetics) และลีลา (Style) ซึ่งใช้ศิลปะของความงามเป็นเครื่องมือการ สื่อสารการตลาดสู่ความส�ำเร็จของการสร้างตรา การศึกษาความ งดงามด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และกราฟิก ที่ต้อง พิจารณาถึงการใช้งานและรูปแบบ รวมถึงการสื่อสารไปยังผู้บริโภค โดยก�ำหนดสาระของการสื่อสาร และการสร้างวิธีการสื่อสารเพื่อ สร้างสรรค์ตราให้มคี วามงดงามและการชืน่ ชม วิธกี ารใช้องค์ประกอบ ศิลป์ การวิเคราะห์เชิงสัญญะวิทยา การสร้างความหมาย ความงดงาม ในแง่มุมศิลปะ เพื่อความมีรสนิยมที่ดี นทศ. 754 การสร้างตราแฟชั่น (3 หน่วยกิต) COM 754 Fashion Branding ศึกษาความหมาย ประเภทหรือขอบเขตของธุรกิจแฟชัน่ ความแตกต่างระหว่างการสร้างตราสินค้าทัว่ ไปกับการสร้างตราสินค้า แฟชั่น แนวโน้มของธุรกิจแฟชั่น พฤติกรรมการบริโภคสินค้าแฟชั่น กระบวนการของการสร้างตราสินค้าแฟชั่น กลยุทธ์การตลาดและการ สร้างตราสินค้าแฟชัน่ องค์ประกอบและปัจจัยทีส่ ง่ เสริมคุณค่าตราสิน ค้าแฟชัน่ กรณีศกึ ษาของตราสินค้าแฟชัน่ ต่างๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ นทศ. 755 การสร้างตราผู้มีชื่อเสียง (3 หน่วยกิต) COM 755 Celebrity Branding กลยุทธ์ในการสร้างตราผู้มีชื่อเสียงโดยท�ำการศึกษาใน 2 มุมมอง คือ มุมมองของการสร้างบุคคลให้กลายเป็นผูม้ ชี อื่ เสียง การ ค้นหาคุณค่าในตัวตน การวิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแข็ง รวมถึงการพัฒนา ศักยภาพ เพื่อการน�ำตราบุคคลไปประยุกต์ ใช้ในวงการต่างๆ เช่น วงการกีฬา วงการบันเทิง วงการธุรกิจ การเมือง และมุมมองด้านการ ใช้ผู้มีชื่อเสียงมาท�ำการสร้างตรา โดยศึกษาถึงอิทธิพล หลักการ แนวทางการวางแผน และข้อจ�ำกัดในการใช้ผู้มีชื่อเสียงมาใช้เป็น เครื่องมือในการส่งเสริมภาพลักษณ์ตรา หลักสูตรปริญญาตรี 473


นทศ. 756 การสร้างตราในธุรกิจท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) COM 756 Tourism Branding ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการ ออกแบบกลยุทธ์ตราสินค้าและบริการทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมท่อง เที่ยว โรงแรม และสายการบิน รวมถึงกระบวนการการสื่อสารตรา แบบบูรณาการ การบริหารประสบการณ์ลูกค้าและการสร้างคุณค่าให้ กับตราสินค้าและบริการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว นทศ. 757 การสื่อสารตรากับสังคม (3 หน่วยกิต) COM 757 Brand Communications and Society ศึกษาผลกระทบของการสื่อสารตราในโลกยุคปัจจุบันทั้ง ผลกระทบทีส่ ง่ ผลต่อปัจเจกและผลกระทบกับสังคม เรียนรูก้ ารเป็นนัก สื่อสารตราที่มีจริยธรรม (Ethic) บทบาทของตราในเชิงสังคม การ ก�ำกับดูแลตนเอง (Self Regulation) ข้อควรระวังที่เกิดจากการสร้าง ตรา ข้อบังคับและกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารตรา รวมถึงการ พัฒนาตราองค์กรที่เป็นบรรษัทภิบาล (Corporate Enterprise) และ ธุรกิจเพือ่ สังคม (Social Enterprise) โดยมุง่ เน้นการเรียนการสอนและ ฝึกฝนให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดเชิงวิพากษ์ นทศ. 758 การสร้างตราธุรกิจบันเทิง (3 หน่วยกิต) COM 758 Entertainment Branding ศึกษาขอบเขตและประเภทของธุรกิจบันเทิง บทบาท ความส�ำคัญ แนวทางในการสร้างตราธุรกิจบันเทิง อาทิ ธุรกิจเพลง ภาพยนตร์ ศิลปะการแสดงและการละคร รวมถึงการก�ำหนดกลยุทธ์ ในการสื่อสาร การเลือกช่องทางที่เหมาะสมเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย นทศ. 759 เรื่องเฉพาะทางการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) COM 759 Selected Topics in Brand Communications ศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี และกลยุทธ์ที่ได้รับความสนใจ ในปัจจุบัน รวมถึงแนวโน้มในอนาคตในขอบเขตที่เกี่ยวกับกับการ สือ่ สารตรา โดยมุง่ เน้นให้ผเู้ รียนได้เข้าใจลึกซึง้ ในเรือ่ งเฉพาะดังกล่าว 474 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นทศ. 851 การค้นคว้าอิสระ (3 หน่วยกิต) COM 851 Independent Study ศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียด หรือวิจัยในหัวข้อ ประเด็น หรือปัญหาทางนิเทศศาสตร์ที่นักศึกษาให้ความสนใจเป็นพิเศษ โดย จัดท�ำรายงานภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา นทศ. 852 การสื่อสารมวลชนระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) COM 852 International Mass Communication ศึกษาระบบการสือ่ สารมวลชนของประเทศต่างๆ และการ สื่อสารมวลชนระหว่างชาติ เปรียบเทียบความเหมือนและความแตก ต่างโดยเน้นทางด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ วิเคราะห์ โครงสร้างของระบบในแต่ละประเทศที่มีความสัมพันธ์ต่อสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง นทศ. 853 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา (3 หน่วยกิต) COM 853 Development Communication ศึกษาบทบาทหน้าที่ของการสื่อสารที่มีต่อการพัฒนา บุคคล ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ปัญหาอุปสรรคในการสื่อสาร เพื่อพัฒนาและแนวทางแก้ไข ศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการสื่อสาร แห่งชาติกับการพัฒนาบุคคล ชุมชน สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง รวมทั้งค้นหาแนวทางการน�ำการสื่อสารไปใช้พัฒนาประเทศได้อย่าง มีประสิทธิผล นทศ. 854 สันติภาพศึกษา (3 หน่วยกิต) COM 854 Peace Studies ศึกษาแนวคิด วิธีการในการสร้างสรรค์และธ�ำรงไว้ซึ่ง สันติภาพในระดับบุคคล ชุมชน สังคม และประเทศ แนวทางการแก้ไข ข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี การเสริมสร้างสัมพันธภาพและการใช้การ สื่อสาร และสื่อมวลชนเพื่อส่งเสริมสันติภาพให้เกิดขึ้นในสังคม


นทศ. 855 การสื่อสารระหว่างบุคคล (3 หน่วยกิต) COM 855 Interpersonal Communication ศึกษาความหมาย ความส�ำคัญ และทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องกับ การสือ่ สารระหว่างบุคคล รวมทัง้ ศึกษาสาเหตุ และแนวทางแก้ไขความ ขัดแย้ง โดยอาศัยแนวความคิดของการสื่อสารระหว่างบุคคล ตลอด จนการน�ำเทคนิคการสือ่ สารระหว่างบุคคลมาสร้างความสัมพันธ์อนั ดี กับบุคคลอื่นๆ ในสังคม นทศ. 856 เพศในวัฒนธรรมนิยม (3 หน่วยกิต) COM 856 Sex in Popular Culture ศึกษาวิเคราะห์ประวัตศิ าสตร์ และวิวฒ ั นาการการน�ำเสนอ เรื่องเพศในสื่อประชานิยมประเภทต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ ละคร บทเพลง เสรีภาพในการน�ำเสนอ จริยธรรมและความรับผิดชอบ ตลอด จนความสัมพันธ์ระหว่างการน�ำเสนอเรือ่ งเพศกับสังคม โดยเน้นกรณี ศึกษา นทศ. 857 โครงการบริการวิชาการแก่สังคม (3 หน่วยกิต) แบบบูรณาการ COM 857 Integrated Academic Social Responsibility Project ศึกษา เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติการจัดโครงการบริการ วิชาการแก่ชุมชนและสังคมในรูปแบบต่างๆ เช่น การให้ค�ำปรึกษา การอบรม การจัดประชุม การจัดเวทีเสวนา และการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่มีการบูรณาการเชิงสหวิทยาการร่วมกับการเรียนการสอน การวิจัย และการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยมุ่งเน้นการสร้างความมีส่วน ร่วม และการประสานสัมพันธ์กับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนา กระบวนการมีส่วนร่วม เรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมสร้างสรรค์คุณ ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการและสอดคล้อง กับบริบทขององค์การภาครัฐและเอกชน องค์การอิสระ องค์การ สาธารณะชุมชน องค์การวิชาชีพ และสังคมโดยกว้างอย่างเป็น รูปธรรม

หมวด​วิชาการ​ประชาสัมพันธ์ ปชส. 201 การบริหารความสัมพันธ์ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (3 หน่วยกิต) PRT 201 Stakeholder Relationship Management ศึกษาทฤษฎี แนวคิด ความหมาย ความสำ�คัญของการ สร้าง รักษา และพัฒนาความสัมพันธ์อย่างยั่งยืน ระหว่างองค์กรกับ กลุ่ ม ผู้ มี ส่ว นได้ ส่ว นเสี ย กลุ่ ม ต่ า งๆ ทั้ งผู้ บ ริ ห ารองค์ กร ผู้ถือหุ้น พนักงาน สื่อมวลชน ผู้บริโภค รัฐบาล คู่แข่งขัน สาธารณะและสังคม บทบาทของนักประชาสัมพันธ์ ในการบริหารความสัมพันธ์ โดยการ วิเคราะห์ความต้องการ ความคาดหวัง อิทธิพลและผลประโยชน์ของ กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ ที่มีต่อการดำ�เนินงานขององค์กร เพื่อนำ�ข้อมูลมาเป็นแนวทางในการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่าง องค์กรกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในรูปแบบต่างๆ อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ อาทิ พนักงานสัมพันธ์ นักลงทุนสัมพันธ์ ลูกค้าสัมพันธ์ ชุมชนสัมพันธ์ สื่อมวลชนสัมพันธ์ วิสาหกิจสัมพันธ์ รัฐกิจสัมพันธ์ เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดระหว่างองค์กรและกลุม่ ผู้ มีส่วนได้ส่วนเสีย สะท้อนการสร้างสรรค์การสร้างคุณค่าเพิ่มร่วมกัน ให้กับสังคม และสร้างความผูกพันธ์ระหว่างองค์กรและกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียอย่างยั่งยืน ปชส. 202 การประชาสัมพันธ์เพื่อการประกอบการ (3 หน่วยกิต) ธุรกิจ PRT 202 Public Relations for Business Enterprises ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดทีเ่ กีย่ วกับการประชาสัมพันธ์เพือ่ การประกอบการธุรกิจ ที่นำ�หลักการประชาสัมพันธ์มาใช้สื่อสารเกี่ยว กับสินค้า บริการ หรือองค์กรเพือ่ มุง่ บรรลุเป้าหมายทางการตลาด โดย เรียนรู้ถึงความสำ�คัญ บทบาท หลักการและรูปแบบของการดำ�เนิน งานประชาสัมพันธ์การตลาด รวมทั้งการบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า กระบวนการการประชาสัมพันธ์การตลาด การวิเคราะห์สถานการณ์ และกลุ่มเป้าหมาย การกำ�หนดกลยุทธ์ เนื้อหาสาระ เทคนิคและ หลักสูตรปริญญาตรี 475


เครือ่ งมือการประชาสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์เพือ่ เข้าถึงกลุม่ เป้าหมาย และสร้างคุณค่าความเป็นข่าว การดำ�เนินงานและการประเมินผลการ ประชาสัมพันธ์การตลาด ประกอบตัวอย่างและกรณีศึกษาที่น่าสนใจ ปชส. 203 การประชาสัมพันธ์องค์กร (3 หน่วยกิต) PRT 203 Corporate Public Relations ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดเกีย่ วกับการประชาสัมพันธ์องค์กร บทบาทและความสำ�คัญของการประชาสัมพันธ์ต่อการสร้างภาพ ลักษณ์และชือ่ เสียงแก่องค์กร การวิเคราะห์ประชาชนผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง การสื่อสารองค์กรทั้งภายในและภายนอก การดำ�เนินงานเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบขององค์กรต่อสังคม อันเป็นหัวใจของการดำ�เนิน กิจการสำ�หรับทุกองค์กรที่จะนำ�ไปสู่ความเชื่อมั่นศรัทธา ความร่วม มือสนับสนุน และความสัมพันธ์อย่างยั่งยืน ปชส. 204 การวิจัยและการประเมินผล (3 หน่วยกิต) เพื่อการประชาสัมพันธ์ PRT 204 Public Relations Research and Evaluation พื้นความรู้: เคยเรียนวิชา นศท. 111 การประชาสัมพันธ์เบือ้ งต้น และ นศท. 105 การวิจัยการสื่อสารเบื้องต้น ศึกษาถึงบทบาท ความสำ�คัญและประโยชน์ของการวิจัย และการประเมินผลที่มีต่อการดำ�เนินงานประชาสัมพันธ์ ความหมาย ประเภทการวิจัย ขั้นตอนของการวิจัย การกำ�หนดปัญหานำ�การวิจัย การตั้ ง สมมุ ติ ฐ านการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อ มูล การกำ�หนด ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง การสร้างเครือ่ งมือในการวิจยั การวิเคราะห์ ข้อมูลสถิติและโปรแกรมเพื่อวิเคราะห์ผลการวิจัย การเขียนรายงาน การวิ จั ย จรรยาบรรณการวิ จั ย การประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านวิ จั ย ในการ ประชาสัมพันธ์

476 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ปชส. 205 การเขียนงานประชาสัมพันธ์ขั้นพื้นฐาน (3 หน่วยกิต) PRT 205 Fundamental Public Relations Writing พื้นความรู้: เคยเรียนวิชา การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น ศึกษาถึงหลักการและฝึกทักษะด้านการเขียนประเภทต่างๆ อั น เป็ น พื้ น ฐานของงานเขี ย นประชาสั ม พั น ธ์ ที่ มุ่ ง ตอบสนอง วัตถุประสงค์ในการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างภาพลักษณ์ สร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับประชาชนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น การ เขียนคำ�บรรยายภาพข่าวประชาสัมพันธ์ การเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ การแต่งคำ�ขวัญ ข้อความประชาสัมพันธ์ทางโปสเตอร์ ตลอดจนการ จัดทำ�เอกสารประกอบการแถลงข่าวโดยเน้นการคิดวิเคราะห์และ ฝึกฝนทักษะด้านการเขียน ปชส. 301 การออกแบบเนื้อหา (3 หน่วยกิต) และการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ PRT 301 Message Design and Public Relations Material Production พื้นความรู้: เคยเรียนวิชาการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น ผ่านการอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานเพื่อ การออกแบบ ศึกษาทฤษฎี หลักการ และฝึกปฏิบตั เิ กีย่ วกับการออกแบบ เนื้อหาสาร การสร้างสรรค์และกระบวนการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ การถ่ายภาพเพือ่ การประชาสัมพันธ์ และการนำ�ภาพถ่ายไปใช้งานร่วม กับสือ่ ประชาสัมพันธ์อนื่ ๆ การผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์เพือ่ การประชาสัมพันธ์ เช่น โปสเตอร์ แผ่นพับ ใบปลิว เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะ ในการออกแบบเนือ้ หา และการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์เพือ่ การประชาสัมพันธ์ ได้อย่างสร้างสรรค์


ปชส. 302 สื่อดิจิทัลและการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) PRT 302 Digital Media and Public Relations Production พื้นความรู้: เคยเรียนวิชา ปชส. 301 การออกแบบเนื้อหาและ การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ศึกษาทฤษฎี หลักการและฝึกปฏิบตั เิ กีย่ วกับสือ่ ดิจทิ ลั เพือ่ การประชาสัมพันธ์ เช่น สื่อวิทยุ สื่อวีดิทัศน์ สื่ออินเทอร์เน็ต สื่อ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ตลอดจนสื่อพิเศษต่างๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์ การผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการประชาสัมพันธ์ การวางแผนเและการ ประเมินผลสื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึงจริยธรรม จรรยาบรรณในการ สร้างสรรค์และการเผยแพร่สอื่ ประชาสัมพันธ์ เพือ่ ให้นกั ศึกษามีความ รู้ แ ละทั ก ษะในการผลิ ต สื่ อ ดิ จิ ทั ล เพื่ อ การประชาสั ม พั น ธ์ ไ ด้ อ ย่ า ง สร้างสรรค์ ปชส. 311 การเขียนเชิงกลยุทธ์เพือ่ การประชาสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) PRT 311 Strategic Public Relations Writing พื้นความรู้: เคยเรียนวิชา ปชส. 205 การเขียนงานประชาสัมพันธ์ ขั้นพื้นฐาน ศึกษาทฤษฎี หลักการ และฝึกฝนทักษะด้านการเขียน เชิงกลยุทธ์เพือ่ การประชาสัมพันธ์ ทีม่ งุ่ นำ�ไปประยุกต์ใช้กบั งานเขียน ประชาสัมพันธ์รูปแบบต่างๆ เช่น การเขียนเพื่อชี้แจงข้อเท็จจริงและ แก้ไขความเข้าใจผิด การเขียนสารคดีและบทความชิงวิเคราะห์ การ เขียนเพื่อส่งเสริมการตลาด การเขียนสารและสุนทรพจน์ ในโอกาส ต่างๆ การเขียนโครงการประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ปชส. 312 สื่อนวัตกรรมเพื่อการประชาสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) PRT 312 Innovative Media for Public Relations ศึ ก ษาทฤษฎี​ี แ ละแนวคิ ด ที่ เ กี่ ย วกั บ นวั ต กรรมด้ า น เทคโนโลยีการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสารสมัยใหม่ที่ส่งผลกระทบต่อ การเปลีย่ นแปลงของสังคมและกลุม่ ผูร้ บั สารทัง้ ในด้านการดำ�เนินชีวติ การรับรู้ และพฤติกรรมการสื่อสาร ตลอดจนรูปแบบการดำ�เนินงาน

ประชาสั ม พั น ธ์ ที่ เ ปลี่ ย นไป เรี ย นรู้ ถึ ง บทบาท ประโยชน์ และ แนวทางการประยุกต์ใช้นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ ให้เหมาะสมกับสภาพขององค์กร วัตถุประสงค์การ ดำ�เนินงาน กลุ่มผู้รับสารเป้าหมายและพื้นที่การสื่อสาร เกิด บูรณาการในการใช้เครื่องมือสื่อสาร และการสื่อสารสองทางแบบมี ปฏิสัมพันธ์ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสร้างความพึงพอใจและ ประโยชน์สูงสุดต่อทั้งองค์การและประชาชนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ปชส. 313 ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการประชาสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) PRT 313 Creativity for Public Relations ศึกษาทฤษฎี​ีและแนวคิดที่เกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์เพื่อ การประชาสัมพันธ์ ทั้งความหมาย ความสำ�คัญ ลักษณะของความ คิดสร้างสรรค์ วิธีการส่งเสริมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ขั้นตอนและ วิธกี ารในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และการนำ�ไปประยุกต์ปฏิบตั ิ จรรยาบรรณของการสร้างสรรค์ เทคนิควิธกี ารในการพัฒนาความคิด สร้ า งสรรค์ การพั ฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ การดำ�เนิ น งาน ประชาสัมพันธ์ โดยเน้นการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์และการฝึกฝน ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ ปชส. 314 การประชาสัมพันธ์ระดับสากล (3 หน่วยกิต) PRT 314 Global Public Relations ศึ ก ษาทฤษฎี แนวคิ ด ลั ก ษณะการดำ�เนิ น งาน ประชาสัมพันธ์ของประเทศต่างๆ ทัง้ ในระดับภูมภิ าค และระดับสากล ตลอดจนการประชาสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กระบวนการโลกาภิวัตน์ ปัจจัยแวดล้อมที่แตกต่างกันทางด้านการเมือง กฎหมาย ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของผูร้ บั สารทีม่ ผี ลต่อการ กำ�หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย นโยบาย และกลยุทธ์การดำ�เนิน การประชาสัมพันธ์ขององค์การต่างๆ โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประยุกต์ทฤษฎีเข้ากับกรณีศึกษาทางการประชาสัมพันธ์ ในต่าง ประเทศที่โดดเด่นและทันยุคสมัย หลักสูตรปริญญาตรี 477


ปชส. 315 การบริหารประเด็นและการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) ในภาวะวิกฤติ PRT 315 Issue Management and Crisis Communication ศึกษาถึงการบริหารประเด็นที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนิน งานขององค์กร และการจัดการกับภาวะวิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อชื่อ เสียง ภาพลักษณ์ขององค์กร ตั้งแต่การวิเคราะห์ประชาชนผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ถึงสาเหตุและผลกระทบของประเด็นปัญหา การบริหารประเด็นเพื่อสร้างโอกาสสำ�หรับการประชาสัมพันธ์เชิงรุก การจัดการกับภาวะวิกฤตเมื่อต้องประชาสัมพันธ์เชิงรับเพื่อกอบกู้ สถานการณ์ ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ขององค์กรให้กลับคืนมาโดยเน้น การประยุกต์ทฤษฎีเข้ากับกรณีศกึ ษาเพือ่ ให้เกิดการเรียนรูแ้ ละการคิด วิเคราะห์เชิงวิพากษ์ ปชส. 321 การสื่อสารด้วยกิจกรรมเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) PRT 321 Introduction to Event Communication ศึกษาทฤษฏีและแนวคิดด้านการสื่อสารด้วยกิจกรรม ความสำ�คัญและบทบาทหน้าที่ของการสื่อสารด้วยกิจกรรมที่มีต่อ องค์การ แบรนด์ และประชาชนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง องค์ประกอบ ประเภทและรูปแบบของกิจกรรม ปัจจัยที่มีผลต่อความสำ�เร็จของ กิจกรรม ตลอดจนผลกระทบทีเ่ กิดจากการจัดกิจกรรม เพือ่ ให้สามารถ วิเคราะห์และตัดสินใจเลือกใช้การสื่อสารด้วยกิจกรรมประเภทต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีความรับผิดชอบโดยเน้นกรณีศึกษาต่างๆ เพื่อ ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ปชส. 322 กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์กับการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) แบบบูรณาการ PRT 322 Creative Event and Integrated Communications ศึ ก ษาแนวความคิ ด และหลั ก การของการสื่อ สารแบบ บูรณาการขั้นสูง เครื่องมือการสื่อสารแบบบูรณาการประเภทต่างๆ ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ แนวทางในการบูรณาการกิจกรรมเข้ากับ 478 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

เครือ่ งมือในการสือ่ สารอืน่ ๆ อย่างสอดคล้อง ส่งเสริมซึง่ กันและกันได้ อย่ า งเหมาะสม รวมเป็ น แผนการสื่ อ สารแบบบู ร ณาการที่ มี ประสิทธิภาพเพื่อบรรลุเป้าหมายของแบรนด์หรือองค์กร ปชส. 323 หลักการสร้างสรรค์และเทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) สำ�หรับกิจกรรม PRT 323 Creative Direction and Event Technology ศึกษาแนวคิดและหลักการออกแบบกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ตัง้ แต่การทำ�ความเข้าใจต่อโจทย์ขององค์การหรือแบรนด์ ความเข้าใจ ต่อสถานการณ์และกลุม่ เป้าหมาย แนวคิดและกลยุทธ์ของการสือ่ สาร แล้วจึงสร้างสรรค์ ออกแบบส่วนประกอบต่างๆ ของกิจกรรม เช่น การ ออกแบบภาพลักษณ์สำ�หรับการสื่อสาร การออกแบบงานผลิต งาน ตกแต่ง การเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องและส่งเสริม เนื้อหาของการสื่อสารด้วยกิจกรรมให้ชัดเจนและโดดเด่น ปชส. 401 การวางแผนการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ (3 หน่วยกิต) PRT 401 Strategic Public Relations Planning พื้นความรู้: เคยเรียนวิชาการวิจัยการสื่อสารเบื้องต้น และวิชาการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น ศึกษาทฤษฎีแี ละแนวคิดทีเ่ กีย่ วกับ ความสำ�คัญ ประโยชน์ ของการวางแผนกลยุทธ์ และการวางแผนประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ เรียนรูก้ ระบวนการขัน้ ตอนการวางแผนการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์สถานการณ์ การกำ�หนดวัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย กลยุทธ์และกลวิธกี ารสือ่ สาร การดำ�เนินงาน การประเมินผล ตลอดจนประโยชน์และขั้นตอนการ วางแผนประชาสัมพันธ์ประเภทต่างๆ เช่น การวางแผนรณรงค์ การ วางแผนสร้างภาพลักษณ์ การวางแผนประชาสัมพันธ์การตลาด การ วางแผนเพือ่ การบริหารประเด็น การวางแผนภาวะวิกฤติ โดยเน้นการ คิดวิเคราะห์รว่ มกับการฝึกฝนทักษะการเขียนแผนประชาสัมพันธ์จาก กรณีศึกษา และการนำ�แผนไปประยุกต์ปฏิบัติจริง


ปชส. 402 สัมมนาวิชาชีพการประชาสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) PRT 402 Seminar in Public Relations พื้นความรู้: มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 108 หน่วยกิต สอบผ่านวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือกไม่น้อยกว่า 10 วิชา ศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ถึ ง แนวความคิ ด ประเด็ น ปั ญ หา จริยธรรมในการดำ�เนินงานประชาสัมพันธ์ รวมถึงประเด็นด้านการ ประชาสัมพันธ์ทนี่ า่ สนใจในปัจจุบนั โดยการศึกษาจากผูม้ ปี ระสบการณ์ ในสาขาวิชาชีพการประชาสัมพันธ์ร่วมกับการวิเคราะห์ประเด็นและ ประยุกต์นำ�เสนอแนวทางการดำ�เนินงานประชาสัมพันธ์ทเี่ หมาะสมกับ สถานการณ์ ทันยุคสมัย คำ�นึงถึงจริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ มี ความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ ปชส. 403 การฝึกงานวิชาชีพการประชาสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) PRT 403 Public Relations Professional Internship พื้นความรู้: มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 108 หน่วยกิต สอบผ่านวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือกไม่น้อยกว่า 10 วิชา และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 2.3 ขึ้นไป ฝึกงานด้านการประชาสัมพันธ์กบั หน่วยงานภายนอกเป็น ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 320 ชั่วโมง ให้ผู้เรียนได้นำ�ความรู้ไปประยุกต์ ปฏิบัติเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ ในวิชาชีพ โดยลักษณะของการ ฝึกงานจะต้องสอดคล้องกับการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพ เช่น การ ประชาสัมพันธ์การตลาด การสื่อสารองค์กร การประชาสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ ฯลฯ พร้อมทัง้ จัดทำ�รายงานประกอบการนำ�เสนอผล งาน ทั้งนี้ การศึกษาจะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมและการประเมินผล ของคณาจารย์ในภาควิชาร่วมกับหน่วยงานภายนอก

ปชส. 404 โครงการประชาสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) PRT 404 Public Relations Project พื้นความรู้: มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 108 หน่วยกิต สอบผ่านวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือกไม่นอ้ ยกว่า 10 วิชา บูรณาการความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ ใช้โดยนำ�บริบททาง สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ขององค์การ ชุมชน สังคม ประเทศ มาสร้างสรรค์เป็นโครงการประชาสัมพันธ์เพื่อ การส่งเสริมเผยแพร่ ให้เกิดการพัฒนา ความสำ�เร็จ ความเจริญ ก้าวหน้าอย่างยัง่ ยืน สร้างมูลค่าเพิม่ และความสามารถในการแข่งขัน ทางการตลาดแก่องค์การ ชุมชน สังคม ด้วยการศึกษาค้นคว้า คิด วิเคราะห์ แล้วจึงสร้างสรรค์วางแผนประชาสัมพันธ์ผ่านกระบวนการ และขัน้ ตอนของการวิจยั อย่างมีระบบ โดยจัดทำ�เป็นรายงานโครงการ ประชาสัมพันธ์ตามรูปแบบรายงานการวิจัย ตลอดจนสร้างสรรค์ ผลิตผลงานประชาสัมพันธ์จริงทีเ่ ป็นนวัตกรรมทางการประชาสัมพันธ์ ปชส. 405 สหกิจศึกษาสำ�หรับนักประชาสัมพันธ์ (6 หน่วยกิต) PRT 405 Cooperative Education for Public Relations สำ�หรับนักศึกษาที่เลือกเรียน แบบสหกิจศึกษา พื้นความรู้: สอบผ่านวิชา สค. 301 เตรียมสหกิจศึกษา มีหน่วยกิต สะสมไม่น้อยกว่า 99 หน่วยกิต และวิชาเอกบังคับ วิชาเอกเลือกไม่น้อยกว่า 9 วิชา มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ตั้งแต่ 2.3 ขึ้นไป ศึกษาถึงการทำ�งานประชาสัมพันธ์อย่างมีหลักการและ เป็นระบบ โดยการปฏิบตั งิ านด้านการประชาสัมพันธ์กบั สถานประกอบ การในฐานะพนั ก งานของสถานประกอบการ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งให้ นักศึกษามีความพร้อมสำ�หรับอาชีพนักประชาสัมพันธ์ นักศึกษาจะ ต้องมีชั่วโมงการปฏิบัติงานอย่างเต็มเวลาในสถานประกอบการรวม แล้วไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ หรือ 640 ชั่วโมง มีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานโดยเจ้าหน้าที่ของสถานประกอบการ และเมื่อสิ้นสุดการ ปฏิบตั งิ านนักศึกษาต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านนำ�เสนอ ภายใต้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา หลักสูตรปริญญาตรี 479


ปชส. 420 การสื่อสารด้วยกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ (3 หน่วยกิต) และโครงการสนับสนุน PRT 420 Creative Event and Sponsorship Communication ศึกษาทฤษฎี แนวคิดและฝึกทักษะประสบการณ์เกี่ยวกับ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ และการจัดกิจกรรมพิเศษ ต่างๆ เพือ่ สร้างเสริมภาพลักษณ์แก่องค์การหรือแบรนด์ เพือ่ ส่งเสริม การตลาดแก่สินค้าและบริการ ตลอดจนการสร้างเสริมความสัมพันธ์ กับพันธมิตรและผู้สนับสนุนกิจกรรม เพื่อร่วมกันบรรลุเป้าหมายที่ กำ�หนดไว้ โดยคำ�นึ ง ถึ ง จริ ย ธรรมและจรรยาบรรณแห่ ง วิ ช าชี พ ประชาสัมพันธ์ ปชส. 421 การสร้างสรรค์กิจกรรมส่งเสริมการตลาด (3 หน่วยกิต) PRT 421 Creative Direction for Marketing Events ศึกษาทฤษฎี แนวคิดและลักษณะเฉพาะของการสื่อสาร ด้วยกิจกรรมทางการตลาด การสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อการตลาด ประเภทต่างๆ ตัง้ แต่การวิเคราะห์สถานการณ์เพือ่ กำ�หนดวัตถุประสงค์ แนวคิดและกลยุทธ์ทางการสื่อสาร การออกแบบสร้างสรรค์องค์ ประกอบต่ า งๆ ของกิ จ กรรมให้ เ หมาะสมกั บ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร สอดคล้องกับความสนใจ ความต้องการกลุ่มผู้บริโภค และตอบสนอง เป้าหมายทางการตลาดที่วางไว้ ปชส. 422 การสร้างสรรค์กิจกรรมส่งเสริมองค์กร (3 หน่วยกิต) PRT 422 Creative Direction for Corporate Events ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดของการสือ่ สารด้วยกิจกรรมเพือ่ ประชาสัมพันธ์องค์กร หลักการการสร้างสรรค์กิจกรรมประเภทต่างๆ เพื่อส่งเสริมองค์กร ตั้งแต่การวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อกำ�หนด วัตถุประสงค์ แนวคิดและกลยุทธ์ทางการสื่อสาร การออกแบบ สร้างสรรค์องค์ประกอบต่างๆ ของกิจกรรมให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ขององค์กร เหมาะสมกับประชาชนผู้มีส่วนเกี่ยวของกลุ่มต่างๆ ตอบ สนองเป้าหมายขององค์การ นำ�มาซึง่ ภาพลักษณ์ ชือ่ เสียง และความ สัมพันธ์อย่างยั่งยืนระหว่างองค์กรกับประชาชนผู้เกี่ยวข้อง 480 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวด​วิชาวารสารศาสตร์ วสศ. 201 การหลอมรวมสื่อทางวารสารศาสตร์ (2 หน่วยกิต) CJR 201 Convergence Journalism พื้นความรู้: เคยเรียน นทศ. 112 ศึกษาพัฒนาการของเนือ้ หาและสือ่ ทางวารสารศาสตร์ใน ยุคการหลอมรวมสื่อ ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของนัก วารสารศาสตร์ ลักษณะเนือ้ หาทีจ่ ะต้องใช้ในการน�ำเสนอของสือ่ ว่าจะ มีการเปลีย่ นแปลงอย่างไรบ้าง การบริหารเนือ้ หาและรูปแบบในการน�ำ เสนอขององค์กรสือ่ รวมถึงศึกษาผลกระทบของข่าวทีม่ ตี อ่ สังคมและ ปัจเจกบุคคล และจริยธรรมของการน�ำเสนอข่าว วสศ. 202 การสื่อข่าวและการเขียนข่าว 1 (3 หน่วยกิต) CJR 202 News Reporting I ศึกษาและฝึกเขียนข่าว การสืบค้นข้อมูล ภูมหิ ลังของข่าว การสัมภาษณ์ การคิดประเด็น และการวางแผนการท�ำข่าว โครงสร้าง ข่าวในสื่อวารสารศาสตร์ทุกประเภท รวมถึงจริยธรรมในการรายงาน ข่าว วสศ. 203 การสื่อข่าวและการเขียนข่าว 2 (3 หน่วยกิต) CJR 203 News Reporting II พื้นความรู้: เคยเรียน วสศ. 202 ศึกษาและฝึกเขียนข่าว โดยเน้นไปทีก่ ลวิธกี ารรายงานข่าว เชิงลึก การรายงานข่าวเชิงตีความ การรายงานข่าวเชิงสืบสวน สอบสวน ผ่านกรณีศึกษาในประเด็นต่างๆ อาทิ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ฯลฯ รวมถึงจริยธรรมในการรายงานข่าว


วสศ. 204 การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน (2 หน่วยกิต) CJR 204 Current Affairs ศึกษาสภาวะ ภูมิหลัง ความสัมพันธ์ และอิทธิพลของ วิ ก ฤตการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ในและต่ า งประเทศอั น ส่ ง ผลกระทบต่ อ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมของโลกปัจจุบัน เพื่อน�ำมาใช้ในงาน วารสารศาสตร์ วสศ. 205 การบรรณาธิการวารสารศาสตร์สิ่งพิมพ์ (2 หน่วยกิต) CJR 205 Print Journalism Editing พื้นความรู้: เคยเรียน วสศ. 202 ศึ ก ษาหลั ก ทฤษฎี แ ละฝึ ก ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การผลิ ต สื่ อ วารสารศาสตร์ วิธีการคัดเลือกข่าว การพาดหัวข่าว การพิสูจน์อักษร การคัดเลือกภาพข่าวที่เป็นภาพนิ่ง การใช้ตัวอักษร เพื่อน�ำไปใช้ใน การผลิตงานวารสารศาสตร์สิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์

การสร้างสรรค์ภาพเชิงวารสารศาสตร์ คุณลักษณะของภาพข่าว วารสารศาสตร์ จรรยาบรรณและความรับผิดชอบของช่างภาพ วารสารศาสตร์ วสศ. 302 เทคนิคการผลิตรายการข่าว (2 หน่วยกิต) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CJR 302 Broadcast News Technique ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ในการ ผลิตข่าวของสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

วสศ. 303 การออกแบบ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และเว็บเพจ (3 หน่วยกิต) CJR 303 Publication and Web Design Production พื้นความรู้: ผ่านการอบรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานเพื่อการออกแบบ ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติออกแบบจัดหน้าสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสารและเว็บไซต์ องค์ประกอบศิลป์ การใช้ วสศ. 211 การเขียนเชิงวารสารศาสตร์ (3 หน่วยกิต) กราฟิกภาพประกอบ การเลือกใช้ตัวอักษร ขนาดตัวอักษร การใช้สี CJR 211 Journalistic Writing และอื่นๆ ในการออกแบบ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และเว็บไซต์ ศึกษาถึงหลักเกณฑ์และเทคนิคการเขียน วิธกี ารวางโครง เรื่อง วิธีการน�ำเสนอ การใช้ถ้อยค�ำ ภาษาและประโยคที่ถูกต้องของ วสศ. 304 การบริหารงานสื่อวารสารศาสตร์ (2 หน่วยกิต) บทความและสารคดีทปี่ รากฏในสือ่ วารสารศาสตร์ อาทิ บทบรรณาธิ เชิงหลอมรวม การ บทความแสดงความคิดเห็น บทวิเคราะห์ บทวิจารณ์ ตลอดจน CJR 304 Convergence Journalism Management จริยธรรมในการเขียน ศึกษาลักษณะการบริหารองค์กรทางวารสารศาสตร์ การ ก�ำหนดนโยบาย แผนการบริหารงานแต่ละหน่วยภายในองค์กร การ วสศ. 301 การถ่ายภาพวารสารศาสตร์ (3 หน่วยกิต) จัดการองค์กร การจัดหาบุคลากร ปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนิน CJR 301 Photojournalism ธุรกิจ การน�ำเอาเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในงานวารสารศาสตร์ ผลกระทบ พื้นความรู้: เคยเรียน นทศ. 104 ของสภาวะสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทีม่ ตี อ่ การการบริหารเนือ้ หา ศึกษาหลักการการสื่อสารด้วยภาพ และปฏิบัติเกี่ยวกับ และการปรับตัวขององค์กรทางวารสารศาสตร์ หลักการถ่ายภาพวารสารศาสตร์ ประเภทของภาพ และการน�ำภาพ ไปใช้ในงานวารสารศาสตร์สงิ่ พิมพ์ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และออนไลน์ การเล่ า เรื่ อ งด้ ว ยภาพนิ่ ง และภาพเคลื่ อ นไหว หลักสูตรปริญญาตรี 481


วสศ. 305 การบรรณาธิการวารสารศาสตร์ (2 หน่วยกิต) เพื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CJR 305 Broadcast Journalism Editing พื้นความรู้: เคยเรียน วสศ. 202 และ วสศ. 302 ศึ ก ษาหลั ก ทฤษฎี แ ละฝึ ก ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การผลิ ต สื่ อ วารสารศาสตร์ วิธกี ารคัดเลือกข่าว การพิสจู น์อกั ษร การคัดเลือกภาพ ข่าวที่เป็นภาพเคลื่อนไหว การใช้ตัวอักษร เพื่อน�ำไปใช้ในการผลิต งานวารสารศาสตร์เพื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และสื่อ ออนไลน์

วสศ. 401 ประเด็นในงานวารสารศาสตร์ (3 หน่วยกิต) เชิงหลอมรวม CJR 401 Special Topics in Convergence Journalism พื้นความรู้: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ขึ้นไป หรือมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อย กว่า 99 หน่วยกิต ศึกษาและวิเคราะห์แนวความคิด ประเด็น ปัญหา และ จริยธรรมในการด�ำเนินงานทางวารสารศาสตร์ โดยเน้นกรณีศึกษาที่ น่าสนใจ และมีคุณค่าจากผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในวิชาชีพ วารสารศาสตร์

วสศ. 311 การเขียนเชิงวารสารศาสตร์ผ่านสื่อ (3 หน่วยกิต) หลากหลายประเภท CJR 311 Journalistic Writing across Media พื้นความรู้: เคยเรียน วสศ. 202, วสศ. 203 และ วสศ. 211 ฝึกวิเคราะห์ประเด็น และเขียนเนื้อหาทางด้านวารสารศาสตร์ โดยค�ำนึงถึงวัตถุประสงค์ รูปแบบของตัวสาร และกลุ่ม เป้าหมาย เพื่อน�ำเสนอผ่านสื่อวารสารศาสตร์ประเภทต่างๆ

วสศ. 402 การฝึกงานวารสารศาสตร์ (3 หน่วยกิต) CJR 402 Journalism Internship พื้นความรู้: สอบผ่านวิชาเอกเลือกและเอกบังคับไม่น้อยกว่า 9 วิชา และมีเกรดเฉลี่ยนไม่ต�่ำกว่า 2.4 ฝึกงานทางด้านวารสารศาสตร์กบั หน่วยงานภายนอก เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้มโี อกาสทดลองใช้หลักวิชาการทีเ่ รียนมา ตลอดจนให้รถู้ งึ สภาพของการปฏิบตั งิ านทีแ่ ท้จริง และการหาทางแก้ปญั หาอันอาจจะ เกิดได้ โดยนักศึกษาจะต้องท�ำรายงานประกอบการฝึกงาน ทัง้ จะต้อง อยู่ภายใต้การควบคุมและประเมินผลของสาขาวิชาร่วมกับหน่วยงาน ภายนอก

วสศ. 312 วารสารศาสตร์เชิงวิจัย (3 หน่วยกิต) CJR 312 Precision and Data Journalism พื้นความรู้: เคยเรียน สถ. 203 ศึกษาความส�ำคัญของงานวิจัยต่องานวารสารศาสตร์ เรียนรูถ้ งึ การจัดการกับข้อมูลข่าวสารทีม่ คี วามหลากหลาย ทักษะใน การแสวงหา กลัน่ กรอง เลือกสรร จัดการและวิเคราะห์ขอ้ มูล เทคนิค ในการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสาร ตัวเลขสถิต ิ โดยประยุกต์วธิ วี จิ ยั มาเป็น เครือ่ งมือในการรวบรวม รวมทัง้ การน�ำเสนอผลการวิจยั ทีม่ อี ยูแ่ ล้วมา น�ำเสนอเป็นข่าว หรือการตั้งประเด็นการวิจัยแล้วด�ำเนินการวิจัยเอง จนสามารถน�ำเสนอผลวิจัยเป็นข่าวหรือบทความเพื่อน�ำไปใช้ในงาน วารสารศาสตร์ 482 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วสศ. 403 การศึกษาเฉพาะเรื่อง (3 หน่วยกิต) CJR 403 Individual Study พื้นความรู้: สอบผ่านวิชาเอกเลือกและเอกบังคับไม่น้อยกว่า 9 วิชา นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีความส�ำคัญ และเป็นประโยชน์ในเชิงวิชาการและ/หรือวิชาชีพวารสารศาสตร์ และ ท�ำรายงานอย่างละเอียด การศึกษาจะอยู่ภายใต้การควบคุมและการ ประเมินผลของอาจารย์ประจ�ำสาขาวิชา


วสศ. 411 การปฏิบัติการด้านหนังสือพิมพ์ (3 หน่วยกิต) CJR 411 Newspaper Workshop พื้นความรู้: เคยเรียน วสศ. 205, วสศ. 303 และ วสศ. 311 จัดท�ำหนังสือพิมพ์และหนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาคปฏิบัติ โดยมีการจัดโครงสร้างการด�ำเนินงานเป็นฝ่ายต่างๆ อาทิ ฝ่าย บรรณาธิการ ฝ่ายผลิต และฝ่ายจัดการ วสศ. 412 การปฏิบัติการด้านวารสารศาสตร์ (3 หน่วยกิต) ทางวิทยุกระจายเสียง CJR 412 Radio Journalism Workshop พื้นความรู้: เคยเรียน วสศ. 302, วสศ. 305 และ วสศ. 311 จัดท�ำสถานีข่าววิทยุกระจายเสียงภาคปฏิบัติ โดยมีการ จัดโครงสร้างการน�ำเสนองานเป็นฝ่ายต่างๆ อาทิ ฝ่ายบรรณาธิการ ฝ่ายผลิต และฝ่ายจัดการ

หมวด​วิชาการโฆษณา ฆษณ. 201 ความคิดเชิงวิพากษ์ (3 หน่วยกิต) และความคิดสร้างสรรค์ ADV 201 Critical and Creative Thinking ศึกษาความหมาย ทฤษฎี และแนวคิดเกี่ยวกับความคิด เชิงวิพากษ์และการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ องค์ประกอบของความ คิดสร้างสรรค์ ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนฝึกปฏิบตั แิ ละการสร้างประสบการณ์เพือ่ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

วสศ. 413 การปฏิบัติการด้านนิตยสาร (3 หน่วยกิต) CJR 413 Magazine Workshop พื้นความรู้: เคยเรียน วสศ. 205, วสศ. 303 และ วสศ. 311 จัดท�ำนิตยสารและนิตยสารออนไลน์ภาคปฏิบตั ิ โดยมีการ จัดโครงสร้างการด�ำเนินงานเป็นฝ่ายต่างๆ อาทิ ฝ่ายบรรณาธิการ ฝ่าย ผลิต และฝ่ายจัดการ

ฆษณ. 202 การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริโภค (3 หน่วยกิต) ADV 202 Advertising and Consumer Behavior ศึ ก ษาท� ำ ความเข้ า ใจแนวคิ ด ทฤษฎี ท างจิ ต วิ ท ยา สังคมวิทยาทีเ่ กีย่ วกับพฤติกรรมผูบ้ ริโภค ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อกระบวนการ ตัดสินใจซือ้ กระบวนการตัดสินใจซือ้ ของผูบ้ ริโภค พฤติกรรมผูบ้ ริโภค ประเภทต่างๆ และแนวทางการประยุกต์ใช้พฤติกรรมผูบ้ ริโภคเพือ่ การ โฆษณา เช่น การก�ำหนดวัตถุประสงค์การโฆษณา (Advertising Objec tive) การก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายส�ำหรับการสื่อสาร (Target Audience) การสร้างสรรค์งานโฆษณา (Advertising Creative) การ วางแผนช่องทางโฆษณา (Advertising Channel Planning)

วสศ. 414 การปฏิบัติการด้านวารสารศาสตร์ (3 หน่วยกิต) ทางวิทยุโทรทัศน์ CJR 414 Television Journalism Workshop พื้นความรู้: เคยเรียน วสศ. 302, วสศ. 305 และ วสศ. 311 จัดท�ำสถานีข่าววิทยุโทรทัศน์ภาคปฏิบัติ โดยมีการจัด โครงสร้างการน�ำเสนองานเป็นฝ่ายต่าง ๆ อาทิ ฝ่ายบรรณาธิการ ฝ่าย ผลิต และฝ่ายจัดการ

ฆษณ. 203 การโฆษณากับสังคม (3 หน่วยกิต) ADV 203 Advertising in Contemporary Society ศึกษางานโฆษณาร่วมสมัยและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่ างงานโฆษณากับบริบทต่างๆ ในสังคม รวมถึงผลกระทบของ งานโฆษณาต่อสังคม ศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา รวมทั้งศึกษาถึงข้อบังคับ กฎระเบียบ กฎหมาย และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับวิชาชีพด้านงานโฆษณา หลักสูตรปริญญาตรี 483


ฆษณ. 204 ความคิดสร้างสรรค์ในการโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 204 Creativity in Advertising ศึก ษาแนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์แล้วน�ำมา ประยุกต์ใช้ในการก�ำหนดกลยุทธ์ความคิดสร้างสรรค์งานโฆษณา อาทิ การก�ำหนดกลุม่ ผูร้ บั สารเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวความคิด กลยุทธ์ และกลวิธีด้านการสร้างสรรค์บนพื้นฐานของคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อเ ปิดโอกาสให้ฝึกปฏิบัติในการสร้างสรรค์งานโฆษณาผ่านสื่อ ประเภทต่างๆ โดยนักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจากกรณีศึกษา ฆษณ. 305 การวิจัยการโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 305 Advertising Research พื้นความรู้: เคยเรียน นทศ. 105 การวิจัยการสื่อสารเบื้องต้น ศึกษากระบวนการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทั้ง ทฤษฎีแ ละปฏิบัติ อาทิ การวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค การตลาด การ โฆษณา ตัง้ แต่การก�ำหนดปัญหาการวิจยั การทบทวนวรรณกรรม การ สร้างสมมติฐาน การออกแบบการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การ วิเคราะห์ขอ้ มูล และหลักการเขียนรายงานผลการวิจยั การโฆษณา เพือ่ น�ำผลกา รวิจัยมาใช้ประกอบการวางแผนการโฆษณา และประเมิน ประสิทธิผลการโฆษณา ฆษณ. 306 การสร้างตราเชิงกลยุทธ์ (3 หน่วยกิต) ADV 306 Strategic Branding ศึกษาถึงความหมาย บทบาท ความส�ำคัญของตราและ การสร้างตรา ประเภทของตรา การสร้างคุณค่าของตรา ความสัมพันธ์ ระหว่าง การโฆษณากับการสร้างตรา กระบวนการการสร้างตราเชิง กลยุทธ์ ปัญหาและอุปสรรคของการสร้างตรา รวมถึงกรณีศึกษาตรา ที่ประสบความส�ำเร็จและล้มเหลว

484 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ฆษณ. 311 การออกแบบกราฟิกและการผลิตโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 311 Graphic Design and Advertising Production พื้นความรู้: สอบผ่านวิชา ฆษณ. 204 ความคิดสร้างสรรค์ ในการโฆษณา และผ่านการอบรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เพื่อการออกแบบ ศึกษา หลักการออกแบบกราฟิก องค์ประกอบของการ ออกแบบกราฟิก และการประยุกต์ใช้หลักการออกแบบกราฟิกเพือ่ การ ผลิตงานโฆษณาทั้งที่เป็นงาน 2 มิติ และงาน 3 มิติ โดยมีการสมมติ กรณีศึก ษา เพื่อให้นักศึกษาได้น�ำเสนอความคิดและเทคนิคด้านการ ผลิตในรูปแบบของสื่อโฆษณาทางหนังสือพิมพ์ นิตยสาร สื่อโฆษณา กลางแจ้ง สื่อโฆษณาเคลื่อนที่ สื่อโฆษณา ณ จุดขาย และสื่อสมัย ใหม่ ฆษณ. 312 การผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 312 Digital Media Production for Advertising พื้นความรู้: สอบผ่านวิชา ฆษณ. 204 ความคิดสร้างสรรค์ ในการโฆษณา และผ่านการอบรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เพื่อการออกแบบ ศึกษาหลักเกณฑ์ กระบวนการผลิตงานโฆษณา การ ก�ำหนดเสียง ภาพ มุมกล้อง การตัดต่อภาพ การล�ำดับภาพ เทคนิค ในการเตรียม และผลิตสื่อจริง โดยมีการสมมติกรณีศึกษาเพื่อให้ นักศึกษาได้น�ำเสนอความคิดและเทคนิค รวมถึงการด�ำเนินการผลิต งานโฆษณาเพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ รวมถึงสื่อสมัยใหม่ ฆษณ. 313 การเขียนข้อความโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 313 Copywriting พื้นความรู้: สอบผ่าน ฆษณ. 204 ความคิดสร้างสรรค์ในการโฆษณา ศึกษาแนวคิดและฝึกปฏิบัติการเขียนข้อความโฆษณา อาทิ การเขียนพาดหัวเรื่อง (Headline) เนื้อเรื่อง (Body Copy) บท โฆษณา (Script) ข้อความส�ำคัญ (Key Message) และข้อความปิด


ท้าย (Tagline) เพื่อน�ำเสนอให้สอดคล้องตามแนวคิดหลักของการ โฆษณา (Advertising Concept) ในสื่อต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และท�ำงานร่วมกับผู้ก�ำกับศิลป์ในงานโฆษณาได้อย่างมืออาชีพ โดย ค�ำนึงถึงค่านิยม สังคม และวัฒนธรรมของไทยภายใต้กฎหมายและ กฎระเบียบของสังคม ฆษณ. 314 การสร้างสรรค์สื่อรูปแบบใหม่ (3 หน่วยกิต) ADV 314 Innovative Approach of New Media Landscapes ศึกษาความส�ำคัญของกลยุทธ์และกลวิธีในการสร้างสรรค์ สื่อนวัตกรรม (Innovative Media) สื่ออินเตอร์แอคทีฟ (Interactive Media) สื่อแฝงในบรรยากาศ (Ambient Media) และสื่อทางเลือก (Alternative Media) เพื่อให้สอดคล้องกับวิถีการด�ำเนินชีวิต และ พฤติกรรมในการเปิดรับสือ่ ของกลุม่ ผูบ้ ริโภคเป้าหมายทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไป รวมถึงศึกษาการใช้สื่อนวัตกรรมในบริบทการสื่อสารการตลาด ต่างๆ อาทิ การตลาดแบบบอกต่อ (Buzz Marketing) การตลาดแบบ กองโจร (Guerrilla Marketing) เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

ฆษณ. 316 การบริหารงานลูกค้า (3 หน่วยกิต) ADV 316 Client Management การศึกษา ท�ำความเข้าใจบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และคุณสมบัติของฝ่ายบริหารงานลูกค้า (Account Executive) ใน บริษัทตัวแทนโฆษณา (Advertising Agency) เรียนรู้องค์ประกอบที่ ส�ำคัญของทักษะต่างๆ (Skills) ของผูท้ จี่ ะท�ำงานฝ่ายบริหารงานลูกค้า อาทิ การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการตลาดเพื่อการโฆษณา (Marketing Snapshot for Advertising) การพัฒนาบุคลิกภาพ (Personal Development) การพัฒนาทักษะทางด้านการสื่อสารทั้งด้านการพูด และการเขียน (Communication Skill Development) เช่น การพูด คุยกับลูกค้า การเจรจาต่อรอง การน�ำเสนองาน การเขียนรายงานการ ประชุม (Call Report) การจัดท�ำรายงานรายละเอียดของการตราสิน ค้าเพื่อการโฆษณา (Advertising Brief) การจัดท�ำแผนการโฆษณา (Advertising Plan) รวมถึงการสร้างกลยุทธ์การบริหารจัดการเวลา (Time Schedule) งบประมาณ (Budget Allocated) และการท�ำงาน โฆษณาของบริษัทตัวแทนโฆษณาให้สอดคล้องกับความต้องการของ ลูกค้า

ฆษณ. 315 การวิเคราะห์การตลาดเพื่อการโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 315 Marketing Analysis for Advertising การค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ส่วนประสมทางด้านการ ตลาด เพือ่ น�ำข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบการก�ำหนดกลยุทธ์การโฆษณา ได้แก่ การวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกองค์การธุรกิจ การ วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของตราสินค้าผู้ท�ำ โฆษณา (Self-Analysis) ตราสินค้าคู่แข่ง (Competitors Analysis) การวิเคราะห์ผู้บริโภค (Consumer Analysis) และการจัดท�ำรายงาน รายละเอียดของการตราสินค้าเพื่อการโฆษณา (Advertising Brief) ส�ำหรับเป็นข้อมูลในการวางแผนโฆษณา

ฆษณ. 407 การวางแผนช่องทางการโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 407 Advertising Channel Planning ศึกษาหลักการและแนวทางการวางแผนสื่อโฆษณา การ วิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด ผูบ้ ริโภค แบรนด์ ผลิตภัณฑ์ รวม ถึงการวิเคราะห์สื่อและจุดสัมผัสแบรนด์ (Brand Touch Point) ทั้งใน เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ตลอดจนปัจจัยที่ส่งผลต่อการก�ำหนด กลยุทธ์และกลวิธีเชิงสร้างสรรค์ ในการวางแผนสื่อโฆษณาและการ สือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ (Integrated Marketing Communication) โดยผ่านการฝึกปฏิบัติการวางแผนช่องทางการโฆษณาอย่าง เป็นกระบวนการ เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิผลทางการสื่อสาร

หลักสูตรปริญญาตรี 485


ฆษณ. 408 การจัดการโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 408 Advertising Management ศึกษาการก�ำหนดกลยุทธ์และการด�ำเนินงานของบริษัท ตัวแทนโฆษณา อาทิ ลักษณะโครงสร้างของบริษทั ตัวแทนโฆษณาและ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องในแวดวงโฆษณา การบริหารความสัมพันธ์ระหว่าง บริษัทตัวแทนโฆษณากับผู้โฆษณา รวมถึงแนวโน้มการจัดการธุรกิจ โฆษณาข้ามชาติ และผลกระทบของสภาวะแวดล้อมทางการตลาดที่ มีอิทธิพลต่อการจัดการโฆษณา เพื่อน�ำข้อมูลไปประกอบการจัดการ ธุรกิจของบริษัทตัวแทนโฆษณา ฆษณ. 409 แผนรณรงค์โฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 409 Advertising Campaign พื้นความรู้: สอบผ่านวิชา ฆษณ. 204 ความคิดสร้างสรรค์ ในการโฆษณา วิชา ฆษณ. 305 การวิจัยการโฆษณา และวิชา ฆษณ. 407 การวางแผนช่องทางการโฆษณา ศึกษาหลักการและวิธีการ รวมถึงกระบวนการวางแผน รณรงค์โฆษณา ตัง้ แต่การรับข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์ทางการ ตลาด การวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค วัตถุประสงค์ของแผน โฆษณา กลยุทธ์และกลวิธีการวางแผนสื่อ กลยุทธ์และกลวิธีการ สร้างสรรค์งานโฆษณา และการสือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ (Integrated Marketing Communication) ตลอดจนการน�ำเสนอและแนวทาง การประเมินผล โดยนักศึกษาจะได้ฝกึ ปฏิบตั จิ ากกรณีศกึ ษาจริง ฆษณ. 410 สัมมนาการโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 410 Seminar in Advertising พื้นความรู้: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หรือ มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 99 หน่วยกิต ศึกษาและจัดสัมมนาเพือ่ ให้นกั ศึกษามีความรูใ้ นประเด็น ต่างๆ ของสาขาวิชาชีพโฆษณาหรือทีเ่ กีย่ วข้อง แนวโน้ม ทิศทางและ จริยธรรม จากวิทยากรทีม่ คี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญและประสบการณ์ใน 486 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วิชาชีพโฆษณาและสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ น�ำความรูท้ ี่ได้จากกรณีศกึ ษา และประสบการณ์ของวิทยากรมาฝึกวิเคราะห์และเตรียมความพร้อม สู่การท�ำงาน ฆษณ. 417 การก�ำกับศิลป์ในงานโฆษณา (3 หน่วยกิต) ADV 417 Art Directions in Advertising เรียนรู้ความคิดสร้างสรรค์งานโฆษณา เพื่อออกแบบภาพ ประกอบ (Illustrate) ออกแบบหรือเลือกใช้แบบตัวอักษร (Typography) ภาษาของพื้นที่ (Language of Space) ทฤษฎีสี (Principle of Color) แสงและเงา การก�ำหนดภาพและองค์ประกอบภาพ-ฉาก เครื่องแต่งกาย โดยมีหลักการทางศิลปะ เพื่อการก�ำกับศิลป์และ สร้างสรรค์งานโฆษณาผ่านสือ่ ต่างๆ โดยสามารถสือ่ สารและสร้างการ จดจ�ำตราสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนท�ำงานร่วมกับ นักเขียนบทโฆษณาได้อย่างมืออาชีพ ฆษณ. 418 การโฆษณาระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) ADV 418 International Advertising เพื่ อ ศึ ก ษาบทบาทและความส� ำ คั ญ ของการโฆษณา ระหว่างประเทศต่อธุรกิจข้ามชาติ กลยุทธ์ และการวางแผนงาน โฆษณาระหว่างประเทศ การบริหารงานภายในองค์กรของบริษัท ตัวแทนโฆษณาข้ามชาติ โดยฝึกวิเคราะห์สถานการณ์ของงานโฆษณา ระหว่างประเทศ ภายใต้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะเศรษฐกิจ โลก กระแสโลกาภิวัตน์ ตลอดจนปัจจัยและเงื่อนไขทางการเมือง เศรษฐกิจ กฎหมาย ศาสนา สังคม วัฒนธรรม การตลาด และ พฤติกรรมผูบ้ ริโภค ทีม่ ผี ลต่อการสร้างสรรค์งานโฆษณา การวางแผน สื่อ และการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม


หมวด​วิชาศิลปะการแสดง ศปส. 100 ปริทัศน์งานสร้างละคร (1 หน่วยกิต) PFA 100 Introduction to Theatre Production ฝึก ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ขั้นพื้นฐานในหน่วยงานการแสดง ของโครงการการแสดงทีจ่ ดั ขึน้ โดยภาควิชา ผูล้ งทะเบียนจะต้องเลือก หน่วยงานที่ตนสนใจ เช่น ฝ่ายฉาก ฝ่ายแสง ฝ่ายเครื่องแต่งกายและ แต่งห น้า ฝ่ายเครื่องประกอบการแสดง ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่าย สถานที่และต้อนรับ โดยอยู่ภายใต้การดูแลและการประเมินผลของ อาจารย์ผู้ควบคุมวิชา ศปส. 101 งานสร้างละคร 1 (1 หน่วยกิต) PFA 101 Theatre Production I (บุรพวิชา ศปส. 100) ฝึกปฏิบตั แิ ละรับผิดชอบหน้าทีต่ า่ งๆ ในโครงการ Degree Project Festival อันเป็นการปฏิบัติการเพื่อสร้างงานศิลปะการแสดง นิพนธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 (สาขาการแสดง/การก�ำกับการแสดง) เพือ่ จบการศึกษา นักศึกษาทีล่ งทะเบียนจักต้องฝึกปฏิบตั ติ ามสายงาน ที่ตนสนใจ ภายใต้การดูแลประเมินผลของอาจารย์ผู้ควบคุมรายวิชา ตามสายที่ตนเองศึกษา ศปส. 102 งานสร้างละคร 2 (1 หน่วยกิต) PFA 102 Theatre Production II (บุรพวิชา ศปส. 101) ฝึกปฏิบตั แิ ละรับผิดชอบหน้าทีต่ า่ งๆ ในการปฏิบตั กิ ารขัน้ สูง ในโครงการละครเวทีประจ�ำปีของภาควิชานักศึกษาที่ลงทะเบียน จักต้องฝึกปฏิบัติงานในขั้นสูงตามสายงานที่ตนเองศึกษา ภายใต้การ ดูแลและประเมินผลของอาจารย์ผู้ควบคุมรายวิชา

ศปส. 103 งานสร้างละคร 3 (1 หน่วยกิต) PFA 103 Theatre Production III (บุรพวิชา ศปส. 102) ฝึกปฏิบตั แิ ละรับผิดชอบหน้าทีต่ า่ งๆ ในการปฏิบตั กิ ารขัน้ สูง ในโครงการ Degree Project Festival นักศึกษาที่ลงทะเบียนจัก ต้องฝึกปฏิบตั งิ านในขัน้ สูงตามสายงานทีต่ นเองศึกษา ภายใต้การดูแล และประเมินผลของอาจารย์ผู้ควบคุมรายวิชา ศปส. 104 งานสร้างละคร 4 (1 หน่วยกิต) PFA 104 Theatre Production IV (บุรพวิชา ศปส. 103) ฝึก ปฏิบัติและรับผิดชอบหน้าที่ต่างๆ ในการจัดโครงการ ละครเ วทีประจ�ำปีของภาควิชาตามสายเฉพาะที่ตนเลือกศึกษา โดย ปฏิบั ติงานในขั้นการควบคุมปฏิบัติงาน ภายใต้การดูแลและประเมิน ผลของอาจารย์ผู้ควบคุมรายวิชา ศปส. 105 งานสร้างละคร 5 (1 หน่วยกิต) PFA 105 Theatre Production V (บุรพวิชา ศปส. 104) ฝึก ปฏิบัติและรับผิดชอบหน้าที่ต่างๆ ในการจัดโครงการ Degree Project Festival ตามสายเฉพาะทีต่ นเลือกศึกษา โดยปฏิบตั ิ งานในขั้นการควบคุมปฏิบัติงาน ภายใต้การดูแลและประเมินผลของ อาจารย์ผู้ควบคุมรายวิชา ศปส. 106 ศิลปะการแสดงนิทรรศน์ (2 หน่วยกิต) PFA 106 Aspects of Performing Arts ศึกษาศิลปะการแสดงในมิติ แง่มมุ ต่างๆ ไม่เพียงแต่เฉพาะ ในฐานะงานศิลปะ แต่รวมถึงปัจจัยและองค์ประกอบของการแสดงที่ มีอยู่ในชีวิตประจ�ำวันหรือประเพณี ศึกษาบทบาทและประโยชน์ของ ศิลปะการแสดงทีม่ ตี อ่ มิตทิ างสังคมวิทยา มนุษยศาสตร์ มานุษยวิทยา การศึ กษา และวิทยาศาสตร์ ความส�ำคัญของศิลปะการแสดงในการ พัฒนามนุษย์และสังคม หลักสูตรปริญญาตรี 487


ศปส. 107 งานฉากและเวที (2 หน่วยกิต) PFA 107 Stagecraft ศึก ษาหลักเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับงานด้านฉากและเวที การเลือกและการใช้วัสดุในการสร้างฉากและเวทีโดยค�ำนึงถึงองค์ ประกอบด้านการจัดแสงเพือ่ ให้สอดคล้องกับบรรยากาศทางการแสดง ประเภ ทต่างๆ การจัดเตรียมอุปกรณ์ประกอบฉาก และอุปกรณ์ ประกอบการแสดงส�ำหรับการแสดงบนเวที การแสดงทางวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ศปส. 110 พื้นฐานการแสดง (2 หน่วยกิต) PFA 110 Fundamental Acting ศึกษาทฤษฎีการแสดง และสร้างความเข้าใจเกีย่ วกับศิลปะ การแส ดงที่ถูกต้องโดยมุ่งเน้นแนวคิดเกี่ยวกับความจริงในการแสดง ความจริงใจของนักแสดง ฝึกปฏิบัติการแสดงขั้นพื้นฐาน คือ การ ใช้ร่ างกายของนักแสดง การผ่อนคลาย การหายใจ การเคลื่อนไหว การใช้เสียงในการแสดงอย่างถูกวิธี และการฝึกประสาทสัมผัส ศปส. 111 การเตรียมความพร้อมของนักแสดง 1 (1 หน่วยกิต) PFA 111 Actor’s Tools Preparation I วินัยและความรับผิดชอบของนักแสดง การเตรียมความ พร้อม ร่างกายและเสียงซึ่งถือเป็นเครื่องมือส�ำคัญของนักแสดง การ หายใจ การผลิตเสียงที่ถูกวิธี แบบฝึกหัดอุ่นเครื่องร่างกายที่ใช้ในการ แสดง นักศึกษาต้องสร้างวินัยในตนเองด้วยการฝึกพัฒนาเครื่องมือ ทุกวั น วันละอย่างน้อย 1 ชั่วโมงก่อนเริ่มเรียนวิชาการแสดงอื่นๆ จนเป็นกิจวัตรของนักแสดง

488 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 112 การเตรียมความพร้อมของนักแสดง 2 (1 หน่วยกิต) PFA 112 Actor’s Tools Preparation II (บุรพวิชา ศปส. 111) วินัยและความรับผิดชอบของนักแสดง การเตรียมความ พร้อมร่างกายและเสียงซึ่งถือเป็นเครื่องมือส�ำคัญของนักแสดง แบบ ฝึกหั ดทางการแสดงแบบต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาทางกายภาพ รวมทั้ง ปัญหาด้านการพูด การออกเสียง การฝึกส�ำเนียงและการลดส�ำเนียง นักศึกษาต้องสร้างวินยั ในตนเองด้วยการฝึกพัฒนาเครือ่ งมือทุกวัน วัน ละอย่างน้อย 1 ชัว่ โมงก่อนเริม่ เรียนวิชาการแสดงอืน่ ๆ จนเป็นกิจวัตร ของนักแสดง ศปส. 113 การเตรียมความพร้อมของนักแสดง 3 (1 หน่วยกิต) PFA 113 Actor’s Tools Preparation III (บุรพวิชา ศปส. 112) วินัยและความรับผิดชอบของนักแสดง การเตรียมความ พร้อม ร่างกายและเสียงซึ่งถือเป็นเครื่องมือส�ำคัญของนักแสดง การ หายใจ การผลิตเสียงที่ถูกวิธี แบบฝึกหัดขั้นสูงทางการแสดง การ วิเคราะห์ปญั หาเฉพาะบุคคลและการแก้ปญั หา การฝึกสอนและการน�ำ แบบฝึกหัดทางการแสดง นักศึกษาต้องสร้างวินยั ในตนเองด้วยการฝึก พัฒนาเครือ่ งมือทุกวัน วันละอย่างน้อย 1 ชัว่ โมงก่อนเริม่ เรียนวิชาการ แสดงอื่นๆ จนเป็นกิจวัตรของนักแสดง ศปส. 120 พื้นฐานการเขียนบทละคร (2 หน่วยกิต) PFA 120 Fundamental Dramatic Writing ศึก ษาองค์ประกอบ รูปแบบ และหลักการเขียนบทเพื่อ การแสดง ทั้งบทละครเวที บทละครโทรทัศน์ บทภาพยนตร์ ข้อแตก ต่างในวิธกี ารสือ่ สารของบททีผ่ า่ นสือ่ ต่างชนิด ตลอดจนฝึกทักษะการ เขียนเพื่อการแสดงส�ำหรับผ่านสื่อประเภทต่างๆ


ศปส. 130 ปริทัศน์งานออกแบบเพื่อการแสดง (2 หน่วยกิต) PFA 130 Introduction to Scenography ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเบือ้ งต้นส�ำหรับงานออกแบบเพือ่ การแสดง องค์ประกอบทางศิลปะ ความหมายและอิทธิพลของเส้น สี แสง เงา เอกภาพในงานออกแบบเพื่อการแสดง โดยเรียนรู้หลักการ พิจารณาภาพรวมของการออกแบบทัง้ ฉาก แสง เสียง เครือ่ งแต่งกาย และการแต่งหน้า ศปส. 140 ปริทัศน์การละครเพื่อการพัฒนา (2 หน่วยกิต) PFA 140 Introduction to Theatre for Development ศึก ษาความเป็นมา ระบบวิธีการแสดง พัฒนาการของ ละครทีเ่ ป็นเครือ่ งมือสือ่ สารกับชุมชน กลวิธชี ปี้ ญั หาสังคมโดยใช้ศลิ ปะ การละ คร แนวทางในการท�ำงานระหว่างละครกับสังคม ตลอดจน ตัวอย่างรูปแบบของละครที่มีบูรณาการอันหลากหลาย เช่น ละคร สร้างสรรค์ (Creative Drama) ละครในการศึกษา (DIE) ละครชุมชน (Community Theatre) ละครเบรคชท์ (Brechtian Theatre) ละคร ของผู้ถูกกดขี่ (Theatre of the oppressed) และละครบ�ำบัด (Dramatherapy) ศปส. 150 ปริทัศน์ประวัติศาสตร์การละครสากล (3 หน่วยกิต) PFA 150 Introduction to Historiography of World Theatre ศึก ษาวิวัฒนาการของการละครและบทละครตั้งแต่จุด ก�ำเนิดของละครตะวันตก กรีก โรมัน สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ จนถึง ละครสมัยใหม่ ตลอดจนวิวัฒนาการของละครตะวันออก เช่น อินเดีย จีน ญี่ปุ่น และไทย โดยเปรียบเทียบค่านิยม ศาสนา สังคม และ วัฒนธรรมที่มีผลต่อความแตกต่างของการละคร

ศปส. 151 วรรณกรรมการละครสากล 1 (3 หน่วยกิต) PFA 151 World Dramatic Literature I ศึกษาวรรณกรรมการละครเอกของโลก โดยเลือกจากบท ละครส�ำคัญของตะวันตกและตะวันออกทีเ่ ป็นแบบอย่างในด้านรูปแบบ การประพันธ์ แนวคิด ค่านิยมแห่งยุคสมัย และคุณค่าทางสังคม ศปส. 152 วรรณกรรมการละครสากล 2 (3 หน่วยกิต) PFA 152 World Dramatic Literature II (บุรพวิชา: ศปส. 151) ศึกษาวรรณกรรมการละครเอกของโลก โดยเลือกจากบท ละครส�ำคัญของตะวันตกและตะวันออกทีเ่ ป็นแบบอย่างในด้านรูปแบบ การประพั นธ์ แนวคิด ค่านิยมแห่งยุคสมัย และคุณค่าทางสังคม ตลอดจนวิ เคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยด้านศาสนา สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างระหว่างวรรณกรรมตะวันตก และตะวัน ออก รวมทั้งอิทธิพลความคิดที่วรรณกรรมทั้งสองประเภท มีต่อกัน ศปส. 153 ทฤษฎีและการวิจารณ์การแสดง (3 หน่วยกิต) PFA 153 Performance Theory and Criticism ศึกษาท ฤษฎีการละครและทฤษฎีวิจารณ์เพื่อน�ำมาใช้ใน การวิจารณ์ศิลปะการแสดง ศึกษาตัวอย่างบทวิจารณ์ที่มีคุณค่า การ เขียนบทวิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ ศปส. 211 การแสดง 1: แก่นมนุษย์และงานแสดง (2 หน่วยกิต) PFA 211 Acting I: Human Essence and the Craft of Acting (บุรพวิชา ศปส. 110) การส� ำ ร วจวั ต ถุ ดิ บ ภายในของนั ก แสดง เพื่ อ ค้ น พบ ประสบการณ์ สัญชาตญาณ อารมณ์ความรู้สึก ความต้องการ และ ยอมรับตนเองในฐานะมนุษย์ เรียนรู้ “ความจริง” และ “ความจริงใจ” ในการแสดง และความงดงามในจิตใจของนักแสดงตระหนักถึงความ ส�ำคัญและพันธกิจของตนในฐานะนักแสดงและมนุษย์ทพี่ งึ มีตอ่ สังคม หลักสูตรปริญญาตรี 489


ศปส. 212 การแสดง 2: วิถีเพื่อการแสดงละคร (2 หน่วยกิต) สัจนิยมและธรรมชาตินิยม PFA 212 Acting II: Approach for Realism and Naturalism (บุรพวิชา ศปส. 211) เรียนรู้ และฝึกการแสดงละครแนวสัจนิยมและธรรมชาติ นิยม ศึกษามรดกทฤษฎีการแสดงของคอนสแตนติน สตานิสลาฟสกี้ ทฤษฎีและแน วการฝึกการแสดงของนักการละครรุ่นหลังที่ได้รับอิทธิ พลจากสตานิ สลาฟสกี้ ความเหมาะสมและวิธีการใช้เทคนิคของสตา นิสลาฟสกี้ ปัญหาทางการแสดงเฉพาะบุคคล วิธีการแก้ปัญหา เพื่อ การสร้างตัวละครอย่างสมจริง ศปส. 213 การอ่านออกเสียงเพื่อตีความหมาย (2 หน่วยกิต) PFA 213 Oral Interpretation (บุรพวิชา ศปส. 212) ศึกษาทฤษฎี เทคนิควิธี และฝึกฝนการอ่านออกเสียง เพือ่ สื่อความหมายการแสดงในสื่อต่างๆ โดยเน้นความถูกต้องทางภาษา ความหมายของบท ภาพพจน์ อารมณ์ และบรรยากาศที่แฝงอยู่ใน บท ศปส. 214 ประเภทและแนวละคร: จากบทสูก่ ารแสดง (2 หน่วยกิต) PFA 214 Genres and Styles of Plays: From Text to Performance (บุรพวิชา ศปส. 212) ฝึกการแสดงละครประเภทต่างๆ โดยศึกษาจากวรรณกรรม การละครต่างประเภททัง้ โศกนาฏกรรม สุขนาฏกรรม ละครในยุคสมัย ต่างๆ เช่น ละครเชคสเปียร์

490 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 220 วัตถุดิบ แรงบันดาลใจ และความคิด (2 หน่วยกิต) สร้างสรรค์ในการเขียนบทเพื่อการแสดง PFA 220 The Art of Dramatic Writing ฝึกการเขียนบทเพือ่ การแสดงโดยใช้วตั ถุดบิ จากแหล่งทีม่ า ต่างๆ รวมทั้งแรงบันดาลใจและความคิดสร้างสรรค์ ศปส. 221 การเขียนองค์ประกอบส�ำคัญของบทละคร (2 หน่วยกิต) PFA 221 Writing Workshop on Elements of a Play ศึกษาและฝึกเขียนองค์ประกอบส�ำคัญของบทละคร โดย สังเกตจากวรรณกรรมการละครส�ำคัญเป็นแบบอย่าง ศิลปะของการ เขียนโครงเรือ่ ง การสร้างลักษณะนิสยั ตัวละคร การน�ำเสนอแก่นความ คิดหลักของเรื่อง และการเขียนบทสนทนา ศปส. 222 การเขียนบทละคร 1 (2 หน่วยกิต) PFA 222 Playwriting I ศึกษาองค์ประกอบของบทละคร การก�ำหนดแก่นความ คิดของเรื่อง การวางโครงเรื่อง การสร้างลักษณะนิสัยของตัวละคร การสร้างบทสนทนา ฝึกเขียนบทละครเวทีองก์เดียว (One-Act Play) ศปส. 223 วรรณคดีสุนทรียนิยม (3 หน่วยกิต) PFA 223 Aesthetic Appreciation of Literature ทฤษฎีวรรณคดีเบื้องต้น ศึกษาสุนทรียภาพในวรรณคดี เปรียบเทียบลักษณะเหมือนและแตกต่างระหว่างวรรณคดีแต่ละ ประเภท ทั้งร้อยแก้ว ร้อยกรอง บทละคร การวิเคราะห์นาฏการใน วรรณคดี ศึกษาวรรณกรรมร่วมสมัยที่มีความส�ำคัญทั้งของไทยและ ต่างประเทศ


ศปส. 224 นักเขียนบทละครและการสร้างสรรค์งาน (2 หน่วยกิต) PFA 224 Playwrights on Playwriting ศึกษาประวัตแิ ละผลงานของนักเขียนบทละครส�ำคัญ แรง บันดาลใจของนักเขียนในการสร้างผลงาน เอกลักษณ์และแนวการ เขียน เพื่อน�ำมาสู่การวิเคราะห์การเขียนบทของตนเอง และฝึกสร้าง ผลงานที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ศปส. 225 ละคร ภาพยนตร์ นวนิยาย: (2 หน่วยกิต) ศิลปะเปรียบเทียบ PFA 225 Theatre, Film, Narrative: Transformation of Style ศึกษาความแตกต่างในวิธีการน�ำเสนอเรื่องราวเดียวกัน ผ่านทางละครเวที ภาพยนตร์ และนวนิยาย การแปรรูปจากสื่อหนึ่ง ไปสู่สื่อต่างชนิด วิเคราะห์วิธีการก�ำหนดโครงสร้าง การด�ำเนินเรื่อง การปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม หรือลดทอน เพื่อให้เหมาะสมกับธรรมชาติ ของสื่อที่มีข้อดีและข้อจ�ำกัดที่แตกต่างกัน โดยคงนัยส�ำคัญและแก่น ความคิดหลักของเรื่องไว้ได้อย่างครบถ้วน ศปส. 226 ละครกับสังคม (2 หน่วยกิต) PFA 226 Drama and Society ความสัมพันธ์ระหว่างละครและสังคม ศึกษาบทละคร บท ภาพยนตร์ ทัง้ ของไทยและต่างประเทศในทุกยุคสมัยทีแ่ สดงให้เห็นถึง อิทธิพลที่มีต่อกันของละครกับสังคม ศปส. 230 ประวัติศาสตร์ศิลป์ (2 หน่วยกิต) PFA 230 History of Art ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตกและไทยในภาพรวม ตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั ทัง้ ทางด้านทัศนศิลป์ สถาปัตยกรรม และศิลปะ การแสดง

ศปส. 231 วาดภาพระบายสี (2 หน่วยกิต) PFA 231 Drawing and Painting ฝึกทักษะวาดรูปขั้นพื้นฐาน การวาดรูปทัศนียภาพ การ วาดรูปคน และฝึกทักษะการระบายสี ศปส. 232 ผัสสะแห่งแสงสี (2 หน่วยกิต) PFA 232 Perception of Light and Colour ศึกษาทฤษฎีการออกแบบแสง ประเภทและคุณสมบัตขิ อง โคมไฟ เรียนรู้ความแตกต่างระหว่างสีของวัตถุและสีของแสง ฝึก ทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ถูกต้องและปลอดภัย ศปส. 233 อารมณ์ของผิวสัมผัสและสี (2 หน่วยกิต) PFA 233 Feeling of Texture and Colour ศึกษาลักษณะพื้นผิว สี ลวดลายของวัสดุที่มีอยู่รอบตัว ประเภทและคุณสมบัตขิ องเนือ้ ผ้า การสร้างลวดลายบนเนือ้ ผ้าเพือ่ น�ำ มาสร้างรูปแบบเสื้อผ้าที่สื่อความหมายลักษณะนิสัยของตัวละครได้ อย่างสร้างสรรค์ ศปส. 234 พื้นที่และการสร้างภาพบนเวที (2 หน่วยกิต) PFA 234 Sense of Space and Stage Picturing ศึกษาโรงละครแบบต่างๆ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับองค์ ประกอบในโรงละคร ฝึกการจัดองค์ประกอบภาพบนเวที และฝึกทักษะ การสร้างหุ่นจ�ำลอง

หลักสูตรปริญญาตรี 491


ศปส. 235 เทคนิคระบายสีและจ�ำลองภาพ (2 หน่วยกิต) ในการออกแบบเพื่อการแสดง PFA 235 Painting and Rendering Techniques in Scenography ศึกษาเทคนิคการระบายสีและสร้างพื้นผิวฉากแบบต่างๆ การจ�ำลองภาพหรือลายที่ต้องการลงบนงานออกแบบ ตลอดจนการ ดัดแปลงภาพหรือลายดัง้ เดิมให้เกิดความแตกต่าง น่าสนใจ สอดคล้อง กับแนวทางของศิลปะที่ก�ำหนดในละครแต่ละเรื่อง โดยยังคงความ หมายหรือนัยประหวัดของภาพและลายดั้งเดิมอยู่ ศปส. 240 ละครสร้างสรรค์ (2 หน่วยกิต) PFA 240 Creative Drama ฝึกฝนทักษะและเรียนรูก้ ลวิธขี องกิจกรรมละครสร้างสรรค์ เช่น การแสดงละครสด การเล่านิทาน ละครหุ่น ละครเงา การใช้ลีลา ท่าใบ้ และการใช้จนิ ตนาการ ผูเ้ รียนวิชานีจ้ ะต้องฝึกฝนการท�ำกิจกรรม ละครสร้างสรรค์จนสามารถลงปฏิบตั ภิ าคสนามจริงกับกลุม่ เด็กทีเ่ ป็น เป้าหมาย โดยน�ำกลวิธีเหล่านี้มาพัฒนาเด็กให้เป็นผู้รู้จักคิด รู้จัก ตนเอง กล้าแสดงออก รู้จักการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น รับฟังผู้อื่น มี เหตุผล และพัฒนาการเรียนรู้ในด้านต่างๆ ได้ ศปส. 241 ละครบ�ำบัดเบื้องต้น (2 หน่วยกิต) PFA 241 Fundamental of Dramatherapy ศึกษาหลัก กระบวนการ และทฤษฎีในการน�ำศิลปะการ ละครมาพัฒนาและประยุกต์ ใช้เพื่อประโยชน์ทางด้านการฟื้นฟูและ บ�ำบัดรักษา นักศึกษาจะมีโอกาสท�ำงานกับกระบวนการส่วนบุคคล ผ่านเทคนิคของละครบ�ำบัดในการเรียนรูแ้ ละส�ำรวจตนเอง รวมทัง้ ได้ ศึกษาหลักการเบื้องต้น เทคนิค และโครงสร้างของละครบ�ำบัด ทฤษฎีทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง และหลักการของความสัมพันธ์ในรูป แบบการบ�ำบัดรักษา

492 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 242 ระบบการศึกษาเปรียบเทียบ (3 หน่วยกิต) PFA 242 Comparative Education System ศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหว่างระบบการศึกษาของไทย อังกฤษ อเมริกา ประเทศในกลุ่มอาเซียน และประเทศอื่นๆ ในเอเชีย วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย ปัญหา และแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา ศปส. 243 ละครและการศึกษา: บูรณาการ (2 หน่วยกิต) เพื่อการพัฒนามนุษย์ PFA 243 Drama and Education: The Integration for Human Development ศึกษาความส�ำคัญของละครที่มีต่อการพัฒนาการศึกษา ของชาติ กระบวนการบูรณาการทางการละครเข้ากับโครงสร้างและ สาระของหลักสูตรการศึกษาในประเทศไทย ฝึกออกแบบหลักสูตร การ เรียนการสอน การประเมินผล และปฏิบัติการจริงในชั้นเรียนของ โรงเรียนในพื้นที่จริง ศปส. 251 การละครชาติพันธ์ุและ (3 หน่วยกิต) ประวัติศาสตร์ศึกษา: ประเด็นและกระบวนวิธี PFA 251 Theatre Ethno-Historiography Studies: Issues and Methods การศึกษาประวัติศาสตร์การละครโดยพิเคราะห์ถึงปัจจัย ด้านชาติพันธ์ุวรรณนา การก�ำหนดประเด็นศึกษาวิจัยและกระบวนวิธี ในการศึกษาวิจัย ฝึกปฏิบัติการศึกษาวิจัยในพื้นที่จริง


ศปส. 252 ภูมิหลังและวิวัฒนาการการละครไทย (3 หน่วยกิต) PFA 252 Background and Development of Thai Theatre ศึกษาประวัติศาสตร์ วิวัฒนาการ และภูมิหลังการละคร ไทยนับแต่ยุคก่อนอารยธรรมลายลักษณ์มาจนถึงปัจจุบัน การศึกษา ละครไทยผ่านข้อมูลทางประวัติศาสตร์ วรรณคดี ศึกษารูปแบบการ แสดง และการน�ำเสนอรวมทั้งวรรณกรรมการละครไทยทั้งแบบราช ส�ำนักและแบบพืน้ ถิน่ รวมทัง้ แบบประเพณีนยิ ม และแบบประชานิยม อันน�ำไปสูค่ วามเข้าใจทางสุนทรียศาสตร์นาฏศิลป์และศิลปะการแสดง ของไทย ที่น�ำไปสู่ความเข้าใจในสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงรูปแบบ การแสดงร่วมสมัย ศปส. 253 การละครเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (3 หน่วยกิต) PFA 253 Sotheast Asian Theatre Studies ศึกษาประวัติ วิวฒ ั นาการ รูปแบบการแสดง การน�ำเสนอ และวรรณกรรมการละครรวมทัง้ นักการละครทีส่ ำ� คัญในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อความเข้าใจถ่องแท้ในรากเหง้าแห่งประชาคม อาเซียน รวมทัง้ การฝึกปฏิบตั ภิ าคสนามของศิลปะการแสดงในภูมภิ าค ศปส. 312 การแสดง 3: ศิลปะการแสดงละครเวที (2 หน่วยกิต) PFA 312 Acting III: The Art of Stage Acting (บุรพวิชา ศปส. 212) ฝึกแสดงละครเวที ขั้นตอนการตีความหมายบทละคร วิเคราะห์ตวั ละคร และวิเคราะห์ปญั หาทางการแสดงและการแก้ปญั หา ศปส. 322 การเขียนบทละคร 2 (2 หน่วยกิต) PFA 322 Playwriting II (บุรพวิชา ศปส. 321) ฝึกการเขียนบทละครเวที โดยก�ำหนดองค์ประกอบส่วน ต่างๆ ของละครให้มีความลึกซึ้งมากขึ้น ศึกษาแนวทางการเขียนบท ละครแนวต่างๆ เช่น แนวสัจนิยม แนวต่อต้านสัจจนิยม โดยเขียนเป็น บทละครเวทีขนาดยาว

ศปส. 331 ออกแบบฉาก 1 (2 หน่วยกิต) PFA 331 Set Design I ศึกษาพืน้ ฐานในการออกแบบฉากส�ำหรับละครเวที เรียน รู้กระบวนการออกแบบตั้งแต่การตีความบทละคร การหาข้อมูล การ เขียนแบบ การสร้างหุ่นจ�ำลอง การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามมิติ โดยมุ่งเน้นที่การออกแบบส�ำหรับละครฉากเดียว ศปส. 332 ออกแบบฉาก 2 (2 หน่วยกิต) PFA 332 Set Design II พัฒนาแนวคิดในการออกแบบโดยมุ่งเน้นที่การออกแบบ ส�ำหรับละครหลายฉาก เช่น ละครเพลง โอเปร่า ฝึกออกแบบฉาก ละครที่มีการใช้สื่อผสมหรือบูรณาการความรู้น�ำเอาศิลปะไทยมา ประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์และทันสมัย ศปส. 341 ปฏิบัติการละครประเด็นศึกษา 1 (2 หน่วยกิต) PFA 341 Theatre in Education Practicum I ศึกษาทฤษฎีและกลวิธีของละครประเด็นศึกษาหลักและ แนวทางในการท�ำงานเบือ้ งต้น ฝึกฝนเครือ่ งมือทางการแสดงส�ำหรับ งานละครประเด็นศึกษาและละครชุมชน เช่น ละครใบ้ การเล่านิทาน ละครเงา ดนตรี ร้องเพลง ระบ�ำ งานศิลปะเด็ก การออกแบบค่าย ตลอดจนเกมส์ละคร (Theatre Games) อันจ�ำเป็นต่อการท�ำงานใน ชุมชน และปฏิบัติการจริงในพื้นที่จริง ศปส. 342 ปฏิบัติการละครประเด็นศึกษา 2 (2 หน่วยกิต) PFA 342 Theatre in Education Practicum II ฝึกการวางแผนโครงการ การศึกษาพื้นที่ การก�ำหนด ประเด็น การเตรียมงานสร้างสรรค์ รูปแบบวิธกี ารน�ำเสนอ การลงพืน้ ที่จริง การควบคุม แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การสรุปและประเมินผล ละครประเด็นศึกษา หลักสูตรปริญญาตรี 493


ศปส. 343 ปฏิบัติการละครชุมชน (2 หน่วยกิต) PFA 343 Community Theatre Practicum ศึกษาลักษณะ แนวทาง และกระบวนการของละครชุมชน ฝึกฝนการท�ำงานละครเพื่อพัฒนาชุมชน หรือการละครเพื่อการ แสดงออกเชิงสร้างสรรค์ของชุมชน ละครกับการพัฒนามิติรอบด้าน ของชุมชน การสร้างความเข้าใจและสัมพันธภาพอันดีต่อสมาชิก ชุมชน การสร้างคุณค่าให้กบั ศิลปินของชุมชน และการปลูกฝังกิจกรรม ทางการละครให้ยั่งยืนในชุมชน ศปส. 351 การละครและการเมือง (3 หน่วยกิต) PFA 351 Theatre and Politics ความส� ำ คั ญ และความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการละครและ การเมือง ศึกษาตัวอย่างจากนักเขียนบทละคร กลุม่ เคลือ่ นไหวทางการ ละคร และบทละครของประเทศต่างๆ ที่เกิดขึ้นในฐานะปฏิกิริยาทาง สังคมที่มีต่อการเมือง หรือการละครที่ใช้เป็นสื่อทางการเมืองทั้งของ ประเทศต่างๆ และของไทย ศปส. 352 การละครตะวันออกและอาฟริกัน (3 หน่วยกิต) PFA 352 Oriental and African Theatre ศึกษาประวัติ วิวฒ ั นาการ รูปแบบการแสดง การน�ำเสนอ และวรรณกรรมการละครรวมทัง้ นักการละครทีส่ ำ� คัญ ทัง้ ในทวีปเอเชีย ตะวันออก และอาฟริกา โดยมุ่งเน้นประเทศที่มีอิทธิพลทางด้านศิลป วัฒนธรรมต่างๆ ในโลก อาทิ อินเดีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เคนยา ศิลปะ การแสดงของชนเผ่าต่างๆ และการแสดงที่ได้รับอิทธิพลจากคริสต์ ศาสนาในอาฟริกา ศปส. 353 ภูมิหลังและวิวัฒนาการการละครอเมริกัน (3 หน่วยกิต) PFA 353 Background and Development of American Theatre ศึกษาภูมหิ ลังทางประวัตศิ าสตร์ และวิวฒ ั นาการของละคร ในประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา วรรณกรรมการ ละคร และสุนทรียศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์ 494 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 354 ความบันเทิงวัฒนธรรมกระแสนิยม (3 หน่วยกิต) PFA 354 Popular Entertainment ศึกษาหลักการ ทฤษฎีและแนวคิดของความบันเทิงที่ได้ รับความนิยมในแต่ละยุคสมัยและในแต่ละภูมิภาคของโลก อาทิ การ แสดงในงานวัด คาร์นิวัล ขบวนพาเหรด สุนทรียศาสตร์ วัฒนธรรม การเมือง-การปกครอง ความเชื่อศาสนาจักเป็นองค์ประกอบและ อิทธิพลหลักทีน่ ำ� มาวิเคราะห์ประกอบการท�ำความเข้าใจทฤษฎีประชา นิยม อันน�ำไปสูค่ วามเข้าใจในตัวตนของผูค้ นในภูมภิ าคต่างๆ ในระดับ สากล ศปส. 355 อุตสาหกรรมบันเทิงสากล (3 หน่วยกิต) PFA 355 Survey of World Entertainment Industry ส�ำรวจลักษณะและความแตกต่างของระบบอุตสาหกรรม บันเทิงในแต่ละภูมภิ าคของโลก อิทธิพลในโลกยุคไร้พรมแดน ปัญหา ในอุตสาหกรรมบันเทิง ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ศปส. 356 ประเด็นคัดสรรทางมานุษยวิทยา (3 หน่วยกิต) ศิลปะการละคร PFA 356 Selected Issues in Theatre Anthropology (บุรพวิชา ศปส. 450) ศึ ก ษาตั ว อย่ า งงานวิ จั ย และประเด็ น ที่ มี คุ ณ ค่ า ทาง มานุษยวิทยาศิลปะการละคร เพื่อน�ำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และ การต่อยอดการศึกษาวิจัย


ศปส. 357 สัมมนาอัตวิสัยจริงแท้ในงานวิจัย (3 หน่วยกิต) ศิลปะการแสดง PFA 357 Authentic Subjectivity in Performing Arts Research: Seminar (บุรพวิชา ศปส. 450) สัมมนาเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์ งานศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ด้านศิลปะการแสดงทีแ่ สดงให้เห็นถึงอัตวิสยั จริงแท้อย่างประจักษ์ชดั ความถูกเที่ยง เชื่อถือได้ของอัตวิสัยจริงแท้ ตลอดจนคุณค่า คุณ ประโยชน์ของงานวิจยั ด้านศิลปะการแสดงทีม่ อี ตั วิสยั จริงแท้ตอ่ ความ เข้าใจมนุษย์และสังคม ศปส. 358 โครงการศิลปะการแสดงสากล (4 หน่วยกิต) PFA 358 World Performance Project ฝึกปฏิบัติการในการสร้างความเข้าใจในศิลปะการแสดง ในซีกโลกต่างๆ ทั้งการท�ำวิจัยข้อมูล การออกแบบภาคสนาม และจัด ท�ำโครงการละครย่อย หรือการอบรมย่อยสูส่ าธารณะ ภายใต้การดูแล ควบคุมและให้ค�ำปรึกษาของอาจารย์ที่ดูแลรายวิชา ศปส. 359 สร้างเสริมประสบการณ์ศิลปะ (4 หน่วยกิต) การแสดงนานาชาติ PFA 359 International Performing Arts Internship การศึกษา ดูงาน ฝึกฝนเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์และ ความรู้ด้านศิลปะการแสดงนานาชาติในสถาบันการศึกษา หรือคณะ ละครต่ า งประเทศที่ มี ค วามร่ ว มมื อ กั บ ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง นักศึกษาต้องได้รบั อนุมตั จิ ากภาควิชาศิลปะการแสดงก่อนลงทะเบียน

ศปส. 411 การแสดง 4: ศิลปะการแสดงส�ำหรับ (2 หน่วยกิต) ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ PFA 411 Acting IV: The Art of Acting for Television and Film (บุรพวิชา ศปส. 212) เรียนรูค้ วามแตกต่างของสือ่ ภาพยนตร์ วิทยุโทรทัศน์ กับ ละครเวที เรียนรู้เทคนิคและฝึกการแสดงส�ำหรับภาพยนตร์และละคร โทรทัศน์ โดยยังคงไว้ซึ่ง “ความจริง” และ “ความจริงใจ” ในการแสดง ศปส. 412 การแสดง 5: ละครสมัยใหม่หลังจาก (2 หน่วยกิต) แนวสัจนิยม และธรรมชาตินิยม PFA 412 Acting V: Departure from Realism and Naturalism (บุรพวิชา ศปส. 212) ศึกษาและฝึกแสดงละครแนวต่อต้านสัจนิยมและธรรมชาติ นิยม ตัง้ แต่ สัญลักษณ์นยิ ม เอ็กสเปรสชัน่ นิสม์ ละครเอพิคหรือ ละคร วิภาษวิธี ละครแอบเสิร์ด จนถึงเทคนิคและแนวการแสดงแบบไบโอ แมคานิคของมายาโฮลด์ และเธียเตอร์ ออฟ ครูเอลตี้ ของอาร์โทด์ และพัวร์ เธียเตอร์ ของโกรโทวสกี้ ศปส. 421 การเขียนละครเพลง (2 หน่วยกิต) PFA 421 Musical Theatre Writing (บุรพวิชา ศปส. 322) ศึกษาลักษณะของละครเพลง หน้าที่ของเพลงในละคร เพลง การเขียนเนือ้ เรือ่ ง การเขียนค�ำร้อง เขียนบทละครเพลง 1 เรือ่ ง

หลักสูตรปริญญาตรี 495


ศปส. 422 การดัดแปลงบทส�ำหรับเวที โทรทัศน์ (2 หน่วยกิต) และภาพยนตร์ PFA 422 Script Adaptation for Stage, TV and Screen (บุรพวิชา ศปส. 322) ศึกษาวิธกี ารและฝึกเขียนบทดัดแปลง โดยใช้วตั ถุดบิ จาก นวนิยาย เรื่องสั้น หรือเรื่องที่มาจากแหล่งอื่นๆ เพื่อดัดแปลงเป็นบท ละครเวที บทละครโทรทัศน์ หรือบทภาพยนตร์ ตลอดจนการดัดแปลง บทละครเวทีไปเป็นบทโทรทัศน์ และบทภาพยนตร์ ศปส. 423 การเขียนบทภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) PFA 423 Screenwriting (บุรพวิชา ศปส. 322) ศึกษารูปแบบและโครงสร้างของบทภาพยนตร์ การสร้าง โครงเรือ่ ง การก�ำหนดลักษณะตัวละคร การเขียนบทสนทนา เน้นความ ส�ำคัญของการสือ่ ความหมายและการด�ำเนินเรือ่ งด้วยภาพและบท โดย ค� ำ นึ ง ถึ ง ปั จ จั ย ที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบของการผลิ ต และการถ่ า ยท� ำ ภาพยนตร์ ฝึกทักษะการเขียนบทภาพยนตร์ที่สร้างโครงเรื่องและตัว ละครขึ้นเอง ศปส. 424 การเขียนบทละครโทรทัศน์ (2 หน่วยกิต) PFA 424 Television Drama Writing (บุรพวิชา ศปส. 322) ศึกษารูปแบบ และโครงสร้างของบทละครโทรทัศน์ การ สร้างโครงเรือ่ งโดยค�ำนึงถึงกลุม่ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ แก่นของเรือ่ ง ความยาวและระยะเวลาในการออกอากาศ อุปกรณ์ทจี่ ะใช้ประกอบการ ผลิตรายการและการถ่ายท�ำ ฝึกทักษะการเขียนบทละครที่สร้างโครง เรื่องและตัวละครขึ้นเอง

496 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 431 ออกแบบเครื่องแต่งกาย 1 (2 หน่วยกิต) PFA 431 Costume Design I ศึ ก ษาพื้ น ฐานการออกแบบเครื่ อ งแต่ ง กาย เรี ย นรู ้ กระบวนการขั้นตอนในการออกแบบ ฝึกการหาข้อมูล ฝึกทักษะการ วาดรูประบายสี วิเคราะห์ตัวละครจากบริบทแวดล้อม มุ่งเน้นการสื่อ ความหมายถึงลักษณะนิสัยของตัวละครเป็นส�ำคัญ ศปส. 432 ออกแบบเครื่องแต่งกาย 2 (2 หน่วยกิต) PFA 432 Costume Design II ศึกษาการออกแบบเครือ่ งแต่งกายเพือ่ การแสดงแบบต่างๆ ฝึกการออกแบบเสื้อผ้าแนวจินตนิมิต มีการบูรณาการความรู้น�ำเอา ศิลปะไทยมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์และทันสมัย ศปส. 433 การออกแบบภาพรวมเพื่อสื่อบันทึกภาพ (3 หน่วยกิต) PFA 433 Scenography for Recorded Media ศึกษาหน้าที่ของสื่อบันทึกภาพ คุณสมบัติของกล้องถ่าย ท�ำ และการท�ำเอฟเฟ็คพิเศษในกระบวนการหลังถ่ายท�ำ โดยเน้นไป ที่แนวคิดในการออกแบบเพื่อสื่อบันทึกภาพแบบต่างๆ เช่น โทรทัศน์ ภาพยนตร์ มิวสิควิดีโอ ศปส. 440 สื่อพื้นบ้านของไทย (2 หน่วยกิต) PFA 440 Thai Traditional Media ฝึกฝนทักษะการแสดงสือ่ พืน้ บ้านของผูเ้ รียนอันเป็นเครือ่ ง มือส�ำคัญในการท�ำกิจกรรมต่างๆ กับชุมชน เรียนรู้ขนบธรรมเนียม ประเพณีนิยม สุนทรียะของสื่อพื้นบ้าน ฝึกการแสดงขั้นพื้นฐาน วิธี การแสดงสื่อพื้นบ้านประเภทต่างๆ กับศิลปินพื้นบ้าน เช่น หนังตะลุง ฉ่อย ล�ำตัด ลิเก เพลงพืน้ บ้านต่างๆ รวมถึงการละเล่นพืน้ บ้าน ตลอด จนสามารถเรียนรูว้ ธิ คี ดิ และประยุกต์ศลิ ปะการแสดงของไทยมาใช้เป็น เครื่องมือสื่อสารกับผู้ชมและสังคมร่วมสมัย


ศปส. 441 สื่อพื้นบ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (2 หน่วยกิต) PFA 441 Southeast Asian’s Traditional Media ศึกษารูปแบบของการแสดงพืน้ บ้านของประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ การก่อเกิด การด�ำรงอยู่ การสืบสาน การผสมผสาน และการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของสื่อพื้นบ้าน เทคนิคการแสดง ทักษะเฉพาะ ฝึกการแสดงสื่อพื้นบ้านของประเทศต่างๆ และการน�ำ มาใช้ หรือประยุกต์ใช้ในละครเพื่อการพัฒนา ศปส. 450 มานุษยวิทยาศิลปะการละคร (3 หน่วยกิต) PFA 450 Theatre Anthropology การสร้างความเข้าใจ ตีความ และวิเคราะห์ศลิ ปะการแสดง ผ่านทฤษฎีทางมานุษยวิทยาทั้งในแง่ชาติพันธ์ุวิทยา และวัฒนธรรม ศึกษา ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาจะเป็นแนวคิดหลักในการวิเคราะห์การ ละเล่น พิธีกรรม การกีฬา และศิลปะการแสดง ศปส. 451 วิจัยดนตรีชาติพันธ์ุ (4 หน่วยกิต) PFA 451 Ethnomusicology Research (บุรพวิชา ศปส. 450) การปฏิบัติงานในพื้นที่จริงเพื่อศึกษาวิจัยดนตรีชาติพันธ์ุ ตามกระบวนการมานุษยวิทยาศิลปะการละคร ศปส. 452 วิจัยละครชาติพันธ์ุ (4 หน่วยกิต) PFA 452 Ethnotheatre Research (บุรพวิชา ศปส. 450) การปฏิบัติงานในพื้นที่จริงเพื่อศึกษาวิจัยละครชาติพันธ์ุ ตามกระบวนการมานุษยวิทยาศิลปะการละคร

ศปส. 453 พิธีกรรม ละคร และการแสดง (4 หน่วยกิต) PFA 453 Ritual, Theatre and Performance ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพิธีกรรม ความเชื่อ ที่เกี่ยว เนือ่ งผูกพันกับละครและการแสดง ความหมายและนัยยะทีม่ ตี อ่ สังคม ปฏิบัติงานในพื้นที่จริงเพื่อศึกษาวิจัยพิธีกรรม ละคร และการแสดง ศปส. 457 ศิลปะการแสดงของไทย: โครงการ (4 หน่วยกิต) อนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม PFA 457 Thai Performing Arts: Cultural Heritage Conservation Project การศึกษาเชิงส�ำรวจศิลปะการแสดงของไทยที่ ใกล้สูญ สลายหรือแปรเปลี่ยนไปจากขนบเดิม การวิเคราะห์ สาเหตุและ แนวทางในการอนุรกั ษ์อย่างยัง่ ยืน จัดท�ำโครงการเพือ่ การอนุรกั ษ์โดย การเผยแพร่ความรู้ การสร้างกระบวนการสืบสานอย่างยั่งยืน ศปส. 510 พื้นฐานการก�ำกับการแสดง (2 หน่วยกิต) PFA 510 Fundamental Directing (บุรพวิชา ศปส. 212) ฝึกก�ำกับการแสดงละครสัจนิยมและธรรมชาตินิยมฉาก สั้นๆ ศึกษาทฤษฎีและฝึกการสอนการแสดง การสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพระหว่างผู้ก�ำกับการแสดงกับนักแสดง ศปส. 511 การก�ำกับการแสดง 1: ละครสัจนิยม (2 หน่วยกิต) และธรรมชาตินิยม PFA 511 Directing I: Realism and Naturalism (บุรพวิชา ศปส. 510) ก�ำกับการแสดงละครแนวสัจนิยมและธรรมชาตินยิ ม หรือ สัจนิยมประยุกต์ 1 เรือ่ ง โดยมุง่ ให้ความส�ำคัญทัง้ กระบวนการค้นคว้า วิจัย การเตรียมตัวก่อนการก�ำกับการแสดง การวิเคราะห์และตีความ บทละคร การออกแบบ กระบวนการซ้อม การก�ำกับการแสดง และ การแก้ปัญหาการแสดงให้กับนักแสดง หลักสูตรปริญญาตรี 497


ศปส. 512 การก�ำกับการแสดง 2: ละครสมัยใหม่หลัง (2 หน่วยกิต) จากแนวสัจนิยมและธรรมชาตินิยม PFA 512 Directing II: Departure from Realism and Naturalism (บุรพวิชา ศปส. 511) ศึกษาและฝึกก�ำกับการแสดงละครแนวต่อต้านสัจนิยมและ ธรรมชาตินิยม เช่น สัญลักษณ์นิยม เอ็กสเปรสชั่นนิสม์ ละครเอพิค หรือละครวิภาษวิธี ละครแอ็บเสิร์ด ตลอดจนแนวโน้มทางการก�ำกับ การแสดงละครสมัยใหม่ และหลังสมัยใหม่ ศปส. 531 ออกแบบแสง 1 (2 หน่วยกิต) PFA 531 Lighting Design I ศึกษากระบวนการออกแบบแสง ตัง้ แต่การหาข้อมูลเกีย่ ว กับอุปกรณ์แสงที่มีในโรงละครนั้นๆ การแบ่งพื้นที่บนเวทีเพื่อค�ำนวณ จ�ำนวนโคมไฟที่ใช้ การเขียนแบบ การสร้างคิวไฟ ฝึกวิเคราะห์บท ละคร ใช้อุปกรณ์ ไฟพื้นฐานในการออกแบบ และฝึกใช้ Lighting Console ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ศปส. 532 ออกแบบแสง 2 (2 หน่วยกิต) PFA 532 Lighting Design II ศึกษาการออกแบบแสงเพื่อการแสดงแบบต่างๆ เช่น บัลเล่ต์ ละครเพลง การเต้นร�ำแบบร่วมสมัย ศึกษาอุปกรณ์ไฟแบบ Moving light ในแง่คณ ุ สมบัติ สีของแสง วิธกี ารควบคุม ฝึกทักษะการ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบแสง ศปส. 550 วรรณคดีเปรียบเทียบเพื่อนาฏกรรมพินิจ (3 หน่วยกิต) PFA 550 Comparative Literature for Dramaturgy นาฏกรรมพินจิ โดยใช้วธิ กี ารทางวรรณคดีเปรียบเทียบ การ ศึกษาเชิงเปรียบเทียบบทละครที่จะใช้ในการพินิจกับวรรณกรรมการ ละครและวรรณกรรมประเภทอื่นๆ เพื่อน�ำไปสู่ความเข้าใจรอบด้าน และลุ่มลึกทั้งในมิติด้านสังคม การเมือง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ศาสนา 498 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 551 ทฤษฎีและวรรณกรรมการละครสมัยใหม่ (3 หน่วยกิต) PFA 551 Modern Dramatic Theory and Literature ศึกษาทฤษฎีการละครสมัยใหม่ และวรรณกรรมการละคร สมัยใหม่ ทั้งด้านรูปแบบ เนื้อหา ปรัชญา และแนวคิด ตลอดจนมุม มองในการน�ำเสนอต่อสังคม ศปส. 552 จิตวิทยาในวรรณกรรมการละคร (3 หน่วยกิต) PFA 552 Psychology in Dramatic Literature ศึกษาจิตวิทยาในงานวรรณกรรมการละคร ศึกษาบท วิเคราะห์หรือการใช้จติ วิเคราะห์กบั ตัวละครส�ำคัญทีม่ บี คุ ลิกภาพหรือ สภาวะทางจิตไม่ปกติ เพื่อน�ำไปสู่ความเข้าใจตัวละครที่มีความซับ ซ้อนได้อย่างลุ่มลึก ศปส. 553 วรรณกรรมการละครตะวันออก (3 หน่วยกิต) PFA 553 Eastern Dramatic Literature ศึกษาวรรณกรรมการละครตะวันออกตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบนั โดยเฉพาะอย่างยิง่ วรรณกรรมการละครของจีน ญีป่ นุ่ อินเดีย ศปส. 554 วรรณกรรมการละครไทย (3 หน่วยกิต) PFA 554 Thai Dramatic Literature ศึกษาวรรณกรรมการละครของไทยตั้งแต่สมัยอยุธยา รัตนโกสินทร์ตอนต้น พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และบทละครสมัยปัจจุบัน ศปส. 555 ปฏิบัติการวิจารณ์การละครขั้นสูง (2 หน่วยกิต) PFA 555 Advanced Drama and Theatre Criticism Workshop หลักและทฤษฎีการวิจารณ์การละครขั้นสูง ทั้งในทฤษฎี เชิงวรรณกรรมวิจารณ์ และการละคร ฝึกเขียนบทวิจารณ์การละครที่ มีคุณค่าและสาระทางวิชาการ


ศปส. 556 ปฏิบัติการนาฏกรรมพินิจ (2 หน่วยกิต) PFA 556 Dramaturgy Workshop ฝึกปฏิบตั กิ ารนาฏกรรมพินจิ ให้กบั ละครในโครงการศิลปะ การแสดงนิพนธ์

ศปส. 713 นาฏลีลา 3 (2 หน่วยกิต) PFA 713 Dance Technique III (บุรพวิชา ศปส. 711, 712) ศึกษาเทคนิคนาฏศิลป์สากลประเภทต่างๆ

ศปส. 611 ขับร้องและดนตรี 1 (2 หน่วยกิต) PFA 611 Musical Performance I ศึกษาเทคนิคการขับร้องและดนตรีแนวต่างๆ

ศปส. 714 นาฏลีลา 4 (2 หน่วยกิต) PFA 714 Dance Technique IV (บุรพวิชา ศปส. 711, 712) ศึกษาเทคนิคนาฏศิลป์สากลประเภทต่างๆ

ศปส. 612 ขับร้องและดนตรี 2 (2 หน่วยกิต) PFA 612 Musical Performance II ศึกษาเทคนิคการขับร้องและดนตรีแนวต่างๆ ศปส. 613 ขับร้องและดนตรี 3 (2 หน่วยกิต) PFA 613 Musical Performance III (บุรพวิชา ศปส. 611, 612) ศึกษาเทคนิคการขับร้องและดนตรีแนวต่างๆ ศปส. 614 ขับร้องและดนตรี 4 (2 หน่วยกิต) PFA 614 Musical Performance VI (บุรพวิชา ศปส. 611, 612) ศึกษาเทคนิคการขับร้องและดนตรีแนวต่างๆ ศปส. 711 นาฏลีลา 1 (2 หน่วยกิต) PFA 711 Dance Technique I ศึกษาเทคนิคนาฏศิลป์สากลประเภทต่างๆ

ศปส. 811 การก�ำกับเวที 1 (2 หน่วยกิต) PFA 811 Stage Management I ศึกษาหลักและฝึกปฏิบตั ิในต�ำแหน่งผูก้ ำ� กับเวทีละครของ คณะละครมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ศปส. 812 การก�ำกับเวที 2 (2 หน่วยกิต) PFA 812 Stage Management II ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งผู้ก�ำกับเวทีหลักในละครของคณะ ละครมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ศปส. 813 การควบคุมและล�ำดับการแสดง (2 หน่วยกิต) PFA 813 Show Mastering (บุรพวิชา ศปส. 811, 812) ปฏิบตั งิ านในหน้าทีผ่ คู้ วบคุมล�ำดับการแสดง และบริหาร งานการก�ำกับเวทีให้กับคณะละครมหาวิทยาลัยกรุงเทพ นักศึกษาลง ทะเบียนได้เมื่อได้รับอนุญาตจากภาควิชาเท่านั้น

ศปส. 712 นาฎลีลา 2 (2 หน่วยกิต) PFA 712 Dance Technique II ศึกษาเทคนิคนาฏศิลป์สากลประเภทต่างๆ หลักสูตรปริญญาตรี 499


ศปส. 814 การอ�ำนวยการสร้างและการบริหารจัดการ (2 หน่วยกิต) ศิลปะการแสดง PFA 814 Performing Arts Producing and Administration (บุรพวิชา ศปส. 811, 812) ปฏิบัติงานในหน้าที่อ�ำนวยการแสดงในละครของคณะ ละครมหาวิทยาลัยกรุงเทพ นักศึกษาลงทะเบียนเมือ่ ได้รบั อนุญาตจาก ภาควิชาเท่านั้น ศปส. 911 การเตรียมโครงการศิลปะการแสดงนิพนธ์ (3 หน่วยกิต) PFA 911 Degree Project in Performing Arts Preparatory การเตรียมโครงการศิลปะการแสดงนิพนธ์ด้านการแสดง การก�ำกับการแสดง การขับร้องและดนตรี นาฏลีลา การออกแบบเพือ่ การแสดง การบริหารจัดการศิลปะการแสดง ศิลปะการละครเพื่อการ พัฒนา เพื่อน�ำเสนอต่อสาธารณชน ตามระเบียบปฏิบัติที่ภาควิชา ศิลปะการแสดงก�ำหนด โดยผ่านความเห็นชอบและการควบคุม คุณภาพจากภาควิชาศิลปะการแสดง นักศึกษาจะลงทะเบียนได้ต่อ เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยภาควิชาศิลปะการ แสดงแล้วเท่านั้น ศปส. 912 ศิลปะการแสดงนิพนธ์ (4 หน่วยกิต) PFA 912 Degree Project in Performing Arts (บุรพวิชา ศปส. 911) การพัฒนาโครงการศิลปะการแสดงนิพนธ์ด้านการแสดง การก�ำกับการแสดง การขับร้องและดนตรี นาฏลีลา การออกแบบเพือ่ การแสดง การบริหารจัดการศิลปะการแสดง ศิลปะการละครเพื่อการ พั ฒ นา ไปสู ่ ค วามสมบู ร ณ์ พ ร้ อ มและเปิ ด แสดงต่ อ สาธารณชน นักศึกษาจะลงทะเบียนได้ตอ่ เมือ่ ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการทีแ่ ต่ง ตั้งโดยภาควิชาศิลปะการแสดง และได้แสดงผลความก้าวหน้าจาก การเตรียมการโครงการในระดับมาตรฐานตามที่ภาควิชาศิลปะการ แสดงก�ำหนดแล้วเท่านั้น 500 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศปส. 950 การศึกษาและวิจัยเอกเทศศิลปะ (2 หน่วยกิต) การแสดงนานาชาติ PFA 950 Individual Study and Research in International Performing Arts (บุรพวิชา ศปส. 358 หรือ 359 หรือ 451 หรือ 452 หรือ 453 หรือ 457) การศึกษาและวิจยั เอกเทศในประเด็นทีผ่ ศู้ กึ ษาสนใจเกีย่ ว กับศิลปะการแสดงในระดับลึกซึ้งขึ้นจากที่เคยได้เริ่มงานไว้แล้วใน รายวิชาบุรพวิชาและมีความก้าวหน้าเป็นที่น่าพอใจ และได้รับอนุมัติ จากภาควิชาศิลปะการแสดง

หมวด​วิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ วสท. 201 การเป็นผู้ประกาศรายการทาง (3 หน่วยกิต) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ BRC 201 Broadcast Announcing ศึกษาและฝึกทักษะการออกเสียง การผลิตเสียง และการ ใช้เสียงอย่างถูกต้องตามอักขรวิธี การแก้ไขข้อบกพร่องในการออก เสียง โดยมุ่งเน้นการฝึกเป็นผู้ประกาศ และเทคนิคการเป็นผู้ประกาศ ทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์เพือ่ รายการประเภทต่างๆ ทัง้ รายการสาระความรู้ รายการบันเทิง และรายการข่าว วสท. 202 การเขียนบทรายการข่าวและสารคดี (2 หน่วยกิต) BRC 202 Non Fictional Writing for Broadcasting ศึกษาและฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนบทรายการวิทยุกระจายเสียง และวิ ทยุโทรทัศน์โดยเน้นแนวคิดพื้นฐาน รูปแบบ โครงสร้าง และ เนือ้ หาของรายการข่าวและรายการสารคดี ตลอดจนค้นคว้าหาข้อมูล การถ่ายทอดเรื่องราว กระบวนการคิดสร้างสรรค์ และการใช้ภาษาใน การถ่ายทอดเรื่องราวทางด้านภาพและเสียงที่เหมาะสม


วสท. 203 การออกแบบสร้างสรรค์งานผลิตรายการ (3 หน่วยกิต) BRC 203 Broadcast Production Design ศึก ษาแนวคิดพื้นฐานด้านออกแบบสร้างสรรค์งานผลิต รายกา รโทรทัศน์ ทั้งในเชิงสุนทรียศาสตร์ และในเชิงเทคนิคภายใต้ เงื่อนไขสภาวการณ์ทางสังคม และตลาดกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย เพื่อ สร้าง ความหมายด้านการเล่าเรื่องโดยการถ่ายทอดแนวความคิดการ ผลิตรายการ ผ่านการตีความ การสร้างทิศทางการก�ำกับศิลป์ น�ำไป สู่การออกแบบองค์ประกอบด้านการผลิตรายการ อาทิ การออกแบบ เทคนิคด้านภาพ ด้านเสียง การออกแบบเพื่อการจัดฉาก และการจัด แสง รวมถึงการออกแบบการล�ำดับภาพ และการสร้างผลพิเศษทาง ภาพในการผลิตรายการ วสท. 204 การเขียนบทรายการสาระบันเทิงและละคร (2 หน่วยกิต) BRC 204 Fictional Writing for Broadcasting ศึกษาและฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนบทรายการวิทยุกระจายเสียง และวิ ทยุโทรทัศน์ในกลุ่มสาระบันเทิงและละคร โดยเน้นการค้นคว้า ข้อมู ล กระบวนการคิดสร้างสรรค์ การใช้จินตนาการ ศิลปะในการ ถ่ายท อดเรื่องราว การใช้ภาษาที่เหมาะสม และสอดคล้องกับกลุ่ม เป้าหมาย วสท. 205 เทคนิคการผลิตงานในสื่อดิจิทัล (3 หน่วยกิต) BRC 205 Digital Media Production Techniques ศึกษาทฤษฎี ฝึกปฏิบตั แิ ละศึกษาดูงานด้านเทคนิคขัน้ พืน้ ฐานกา รผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ การใช้ อุปกรณ์ดิจิทัลสมัยใหม่ เพื่อให้ก้าวทันต่อเทคโนโลยีการผลิตรายการ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ศึกษาประเภทและรูปแบบของเครื่อง มือ อุปกรณ์ต่างๆ ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อลักษณะการผลิต รายการให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรม

วสท. 301 การสร้างสรรค์ภาพเพื่อการเล่าเรื่อง (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับงานวิทยุโทรทัศน์ BRC 301 Creating the Visual Story for Television ศึกษาและฝึกทักษะในกระบวนการสร้างแนวความคิดด้าน ภาพ การพัฒนาและการถ่ายทอดมโนทัศน์ทางความคิด จินตนาการ การเล่ าเรื่อง และการน�ำเสนอด้วยภาพผ่านเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อ เป็นทักษะพื้นฐานการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ วสท. 302 การประยุกต์งานวิจัยในงาน (2 หน่วยกิต) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ BRC 302 Applied Research in Broadcasting พื้นความรู้: สอบผ่าน นทศ. 105 ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการ วิจยั การวิเคราะห์ผรู้ บั สาร เพือ่ ใช้ในการวางแผนการผลิตรายการ การ พัฒนาและปรับปรุงรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ภาย ใต้กรอบของจริยธรรมและวิชาชีพ วสท. 303 การวิพากษ์รายการวิทยุกระจายเสียง (3 หน่วยกิต) และวิทยุโทรทัศน์ BRC 303 Broadcast Criticism ศึกษาทฤษฎี หลักเกณฑ์ และแนวทางการวิพากษ์รายการ วิทยุก ระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รูปแบบต่างๆ ตลอดจนจรรยา บรรณขอ งนักวิพากษ์ รวมทั้งผลกระทบของสื่อใหม่ที่มีต่อสื่อวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

หลักสูตรปริญญาตรี 501


วสท. 311 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง (2 หน่วยกิต) BRC 311 Radio Production พื้นความรู้: สอบผ่าน วสท. 205 ศึกษากระบวนการ เทคนิค และวิธีการผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียงขั้นพื้นฐาน ศึกษาประเภท รูปแบบรายการ เทคนิคการ ควบคุม การตัดต่อ และการผสมเสียง ตลอดจนฝึกผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียงประเภทต่างๆ ที่มีเนื้อหาอันเป็นประโยชน์แก่ผู้รับสาร วสท. 312 ฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการ (2 หน่วยกิต) สถานีวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิทัล 1 BRC 312 Digital Radio Station Operations I พื้นความรู้: สอบผ่าน วสท. 205 และ วสท. 311 ฝึกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงในสภาพการณ์ จริง โ ดยนักศึกษาจะได้รับมอบหมายหน้าที่การผลิตรายการวิทยุ กระจาย เสียงตลอดจนการควบคุมการผลิตรายการที่เหมาะสมต่อ สถานีวทิ ยุกระจายเสียงในระบบดิจทิ ลั ทีท่ นั สมัย ออกอากาศผ่านคลืน่ ความถีข่ องสถานีวทิ ยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยกรุงเทพ 107.25 MHz และออกอากาศผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ตลอดภาคการศึกษาที่ 1 วสท. 313 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ (2 หน่วยกิต) ความคมชัดสูง 1 BRC 313 High Definition Television Production I พื้นความรู้: สอบผ่าน วสท. 205 และผ่านการอบรมคอมพิวเตอร์ พื้นฐาน ศึกษาและฝึกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ในระบบ ความคมชัดสูง ขั้นตอนการผลิตรายการ การใช้เทคนิคการถ่ายทอด เรื่อง ราวที่เหมาะสมกับรูปแบบรายการและเทคโนโลยีโทรทัศน์ความ คมชัดสูง ทัง้ รายการเชิงพาณิชย์ และรายการเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ ที่ มี คุ ณ ค่ า และเป็ น ประโยชน์ กั บ ผู ้ รั บ สารสอดรั บ กั บ สภาพสั ง คม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม 502 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วสท. 321 การประยุกต์งานเสียงและดนตรีเพื่อ (2 หน่วยกิต) สื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ BRC 321 Sound and Music Application in Broadcasting ศึกษ าและฝึกปฏิบัติการประยุกต์ศาสตร์และศิลป์ในงาน เสียงและงานดนตรีเพือ่ การถ่ายทอดเรือ่ งราวผ่านสือ่ วิทยุกระจายเสียง และวิท ยุโทรทัศน์ โดยมุ่งเน้นการน�ำเสนอเสียงผ่านการผลิตจิงเกิ้ล รายการ ไตเติ้ลรายการ การน�ำเข้ารายการ การผลิตสปอตโฆษณา การผสม เสียงเพื่องานพากย์ การใช้เสียงและดนตรีเพื่อความเหมาะ สมต่อผูร้ บั สาร รวมถึงการประยุกต์ใช้งานเสียงและดนตรีให้สอดคล้อง ต่อสภาพการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม วสท. 322 การผลิตรายการโทรทัศน์ (2 หน่วยกิต) ในระบบเสมือนจริง BRC 322 Virtual Studio System for Television Production ศึกษ าและฝึกปฏิบัติการผลิตรายการโทรทัศน์ ในระบบ เสมือนจริง โดยเน้นศึกษาถึงหลักการพื้นฐานของโปรแกรมการผลิต รายการโทรทัศน์เสมือนจริง การสร้างภาพกราฟฟิกเสมือนจริง 2 มิติ และ 3 มิติ การสร้างภาพเคลื่อนไหว การซ้อนภาพในระบบโครม่าคีย์ การจัด แสงและการจัดองค์ประกอบภาพในงานโทรทัศน์เสมือนจริง ตลอดจนฝึกปฏิบตั ผิ ลิตรายการโทรทัศน์ในระบบเสมือนจริงทีม่ คี วาม คมชัดสูง (High Definition) ในรายการโทรทัศน์ประเภทต่างๆ โดย ค�ำนึงถึงความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายของ รายการ


วสท. 323 การสร้างภาพเคลื่อนไหวส�ำหรับ (2 หน่วยกิต) งานโทรทัศน์และสื่อสมัยใหม่ BRC 323 Motion Graphic for Television and New Media พื้นความรู้: ผ่านการอบรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ศึกษากระบวนการของการออกแบบกราฟิกภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหว ส�ำหรับน�ำไปใช้ในงานโทรทัศน์ โดยศึกษาการสร้าง ภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ การสร้างภาพเคลื่อนไหวและการตัดต่อภาพ ด้วยคอมพิวเตอร์ ตลอดจนศึกษากระบวนการเปลีย่ นรูปแบบงานภาพ เคลื่อนไหวให้เหมาะสมกับการน�ำเสนอผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น สถานี โทรทัศน์ดาวเทียม เว็บไซต์และโทรศัพท์มือถือ วสท. 401 การบริหารและการเป็น (3 หน่วยกิต) เจ้าของธุรกิจในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ BRC 401 Electronic Media Management and Entrepreneurship ศึกษาความหมาย บทบาทของการเป็นผูป้ ระกอบการทาง ด้านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ซงึ่ ครอบคลุมทัง้ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และสือ่ สมัยใหม่ ตลอดจนศึกษาโครงสร้างการบริหาร และการด�ำเนิน งานขององค์กรผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในส่วนต่างๆ เช่น การบริหาร งานนโยบายองค์กร การจัดระบบการจัดรายการ การวิเคราะห์กลุ่ม ผูร้ บั สารเป้าหมาย การจัดการด้านธุรกิจ การตลาด โดยเน้นให้ทกุ ส่วน สอดคล้องกับปรัชญาการด�ำเนินงานขององค์กร วสท. 402 สัมมนาในงานวิทยุกระจายเสียง (3 หน่วยกิต) และวิทยุโทรทัศน์ BRC 402 Seminar in Broadcasting พื้นความรู้: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ขึ้นไป และมีหน่วยกิตสะสม ไม่น้อยกว่า 99 หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์ถึงประเด็นปัญหา แนวคิด รวมถึงผล กระทบด้านพัฒนาการและความเปลี่ยนแปลง ตลอดจนแนวโน้มด้าน สื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ในประเด็นที่น่าสนใจ มีคุณค่า

และเป็นประโยชน์ในเชิงประสบการณ์ทางวิชาชีพจากผู้มีความรู้และ ประสบการณ์ในวิชาชีพ โดยเน้นการศึกษาวิเคราะห์เป็นกรณีศึกษา วสท. 403 การฝึกงานวิทยุกระจายเสียง (3 หน่วยกิต) และวิทยุโทรทัศน์ BRC 403 Broadcast Internship พื้นความรู้: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ขึ้นไป สอบผ่านวิชาเอกเลือก และเอกบังคับไม่น้อยกว่า 9 วิชา และเกรดเฉลี่ย ไม่ต�่ำกว่า 2.3 การฝึกงานกับสถานีวทิ ยุกระจายเสียง สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์กรผลิตรายการ เพื่อให้นักศึกษามี ประสบการณ์ในงานด้านต่างๆ เช่น การด�ำเนินงานผลิตรายการ การ จัดรายการ การก�ำกับรายการ การถ่ายท�ำ การผลิต การเขียนบท เป็นต้น โดยนักศึกษาจะต้องท�ำรายงานประกอบการฝึกงาน ทั้งนี้จะ ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมและการประเมินผลของภาควิชาร่วมกับ หน่วยงานภายนอก วสท. 404 โครงการเฉพาะด้านวิทยุกระจายเสียง (3 หน่วยกิต) และวิทยุโทรทัศน์ BRC 404 Broadcasting Project พื้นความรู้: นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ขึ้นไป สอบผ่านวิชาเอกเลือก และเอกบังคับไม่น้อยกว่า 9 วิชา การน�ำทฤษฎีและหลักการทีเ่ รียนมาเพือ่ ผลิตชิน้ งาน โดย การศึกษาค้นคว้า น�ำเสนอโครงการและผลิตชิ้นงานที่มีลักษณะริเริ่ม สร้างสรรค์โดยจะอยูภ่ ายใต้การควบคุมและการประเมินผลของอาจารย์ ผู้ควบคุมวิชา

หลักสูตรปริญญาตรี 503


วสท. 411 ฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการ (2 หน่วยกิต) สถานีวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิทัล 2 BRC 411 Digital Radio Station Operations II พื้นความรู้: สอบผ่าน วสท. 205, วสท. 311 และ วสท. 312 ฝึกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงในสภาพการณ์ จริง โดยนักศึกษาจะได้รับมอบหมายหน้าที่การผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียงตลอดจนการควบคุมการผลิตรายการที่เหมาะสมต่อ สถานีวทิ ยุกระจายเสียงในระบบดิจทิ ลั ทีท่ นั สมัย ออกอากาศผ่านคลืน่ ความถีข่ องสถานีวทิ ยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยกรุงเทพ 107.25 MHz และออกอากาศผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ตลอดภาคการศึกษาที่ 2 วสท. 412 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ (3 หน่วยกิต) ความคมชัดสูง 2 BRC 412 High Definition Television Production II พื้นความรู้: สอบผ่าน วสท. 205 และ วสท. 313 ศึกษาและฝึกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ในระบบ ความคมชัดสูงทั้งรายการเชิงพาณิชย์ และรายการเพื่อประโยชน์ สาธารณะ การวางแผนการน�ำเสนอโครงการ ขัน้ ตอนการผลิตรายการ เทคนิคและศิลปะการถ่ายทอดเรื่องราว เน้นการคิดและการพัฒนา รายการที่สร้างสรรค์ แปลกใหม่ มีคุณค่า และมีประโยชน์ต่อผู้รับสาร และสั ง คมโดยรวม โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ปั จ จั ย แวดล้ อ มการผลิ ต อาทิ โครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม วัตถุดิบในการผลิต ตลาด ฯลฯ วสท. 421 การบรรยายเหตุการณ์พิเศษ (2 หน่วยกิต) BRC 421 Special Events Announcing and Commentary พื้นความรู้: สอบผ่าน วสท. 205 ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการรายงานเหตุการณ์พิเศษ การรายงานเหตุการณ์นอกสถานที่ โดยเน้นเทคนิควิธีการค้นคว้า ข้อมูลจากแหล่งข้อมูล การพัฒนาแนวความคิดในการน�ำเสนอ ตลอด จนเทคนิควิธีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 504 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

วสท. 422 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์นอกสถานที่ ( 2 หน่วยกิต) BRC 422 Broadcast Field Production พื้นความรู้: สอบผ่าน วสท. 205 ศึกษาแนวคิดทฤษฎี และฝึกปฏิบัติเพื่อการวางแผนการ ถ่ายท�ำนอกสถานที่ และเทคนิควิธีการถ่ายท�ำนอกสถานที่ เทคนิควิธี การถ่ายท�ำกล้องเดีย่ ว เทคนิควิธกี ารถ่ายท�ำหลายกล้อง ตลอดจนองค์ ประกอบพื้นฐานในการถ่ายท�ำรายการวิทยุโทรทัศน์นอกสถานที่ วสท. 423 การผลิตรายการข่าววิทยุกระจายเสียง (2 หน่วยกิต) และวิทยุโทรทัศน์ในยุคใหม่ BRC 423 Newscast Production in New Age พื้นความรู้: สอบผ่าน วสท. 205 ศึกษาและฝึกปฏิบตั กิ ารผลิตรายการข่าววิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ โดยศึกษาถึงเทคนิควิธกี ารสือ่ ข่าวโดยใช้เทคโนโลยี สมัยใหม่ กระบวนการรายงานข่าวประเภทต่างๆ เช่น ข่าวการเมือง ข่าวสังคม และข่าวเศรษฐกิจ ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา ผ่านการน�ำเสนอ ทางรายการข่าววิทยุกระจายเสียง และรายการวิทยุโทรทัศน์ และสื่อ ใหม่ เช่น โซเชียลเน็ตเวิร์ค รวมถึงศึกษารูปแบบรายการข่าวต่างๆ อาทิ รายการข่าว รายการวิเคราะห์ข่าว รายการอภิปราย รวมถึงรูป แบบรายการที่มีคุณค่าต่อสังคม


หมวด​วิชาภาพยนตร์ ภพย. 101 สุนทรียศาสตร์แห่งภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 101 Film Aesthetics ศึก ษาภาพยนตร์ในฐานะที่เป็นสื่อสารมวลชนและศิลปะ โดยพิ จารณาภาพกว้ า งทางประวั ติ ศ าสตร์ แ ละวิ วั ฒ นาการของ ภาพยน ตร์ จากแนวโน้มทางศิลปะและผลกระทบทางสังคมตามยุค สมัย ตลอดทัง้ ศึกษาองค์ประกอบภาพยนตร์ในแง่สนุ ทรียะ ภาพ เสียง การเคลือ่ นไหว มุมกล้อง ทีป่ ระกอบสร้างขึน้ เป็นภาษาภาพยนตร์เพือ่ ให้ผู้เรียนเข้าใจภาพยนตร์ในระดับลึกซึ้งขึ้น ภพย. 102 เทคนิคภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) FLM 102 Film Techniques ศึก ษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในการผลิต ภาพยนตร์ ขัน้ ตอนการผลิตภาพยนตร์ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบในสาย งานกา รผลิตภาพยนตร์ ตลอดจนฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ถ่ายท�ำ ภาพยนตร์เบื้องต้น

เรื่องราว ความส�ำคัญของนาฏการ (Dramatic Action) กลวิธีการเล่า เรื่องในลักษณะต่างๆ ศึกษาตัวอย่างจากบทภาพยนตร์ บทประพันธ์ และงานสร้างสรรค์รูปแบบต่างๆ ภพย. 205 ปฏิบัติการงานเขียนบทภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) FLM 205 Screenwriting Workshop พื้นความรู้: ภพย. 204 ศึ ก ษ าหลั ก การเขี ย นบทภาพยนตร์ ทั้ ง ด้ า นรู ป แบบ โครงสร้างและองค์ประกอบของบทภาพยนตร์ การสื่อสารความคิด อารมณ์ ความรู้สึกผ่านภาพ และองค์ประกอบอื่นๆ ของภาพยนตร์ ฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนบทภาพยนตร์ โดยเริม่ จากการเขียนโครงร่าง โครง เรื่องขยาย การสร้างลักษณะนิสัยตัวละคร และการพัฒนาเรื่องราวไป สู่บทภาพยนตร์ขนาดสั้นที่สมบูรณ์

ภพย. 206 ปฏิบัติการงานออกแบบและภาพรวม (2 หน่วยกิต) ในงานภาพยนตร์ FLM 206 Design and Visualization Workshop for Film ศึกษ าทฤษฎีเบื้องต้นทางศิลปะเพื่อการออกแบบในงาน ภาพยนตร์ เส้น สี แสง เงา องค์ประกอบ การจัดวาง ตลอดจนความ ภพย. 203 ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) มีเอกภ าพทางศิลปะ ศึกษาผลงานภาพยนตร์ที่มีความโดดเด่นด้าน FLM 203 Film History องค์ประกอบศิลป์ ฝึกปฏิบัติการเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ ศึก ษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของภาพยนตร์จาก ของภาพ ยนตร์ (Storyboard) การถ่ายภาพเคลื่อนไหวด้วยภาพนิ่ง จุดก�ำเนิดจนถึงปัจจุบัน แนวโน้มทางศิลปะ และผลกระทบทางสังคม (Still Cinematography) การออกแบบใบปิดภาพยนตร์ (Poster) ที่มีต่องานภาพยนตร์ เปรียบเทียบและวิเคราะห์ความแตกต่างทาง ความคิด ค่านิยมของแต่ละชาติทสี่ ะท้อนในงานภาพยนตร์ ศึกษาแนว ภพย. 207 การถ่ายภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) ความคิดผู้ก�ำกับภาพยนตร์และผลงานที่ส�ำคัญในแต่ละยุคสมัย FLM 207 Cinematography ศึกษ าทฤษฎีและหลักปฏิบัติในการถ่ายภาพยนตร์ด้วย ภพย. 204 ศิลปะการเล่าเรื่อง (2 หน่วยกิต) กล้องป ระเภทต่างๆ การจัดแสงเบื้องต้น การจัดองค์ประกอบภาพ FLM 204 Arts of Storytelling การใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกล้องถ่ายภาพยนตร์ ฝึกปฏิบัติการถ่าย ศึกษ าคุณลักษณะของเรื่องราวที่น�ำมาถ่ายทอดในงาน ท�ำภาพยนตร์ขั้นพื้นฐาน ศิลปะและวรรณกรรมประเภทต่างๆ โครงสร้างและองค์ประกอบของ หลักสูตรปริญญาตรี 505


ภพย. 208 อุตสาหกรรมภาพยนตร์นานาชาติ (3 หน่วยกิต) FLM 208 International Film Industry ศึกษาภาพกว้างของระบบ รูปแบบ โครงสร้าง และภาพ รวมการบริหารงานของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย และนานาชาติที่ ส�ำคัญ บทบาทขององค์กรทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภาครัฐและเอกชน กฎหมาย ควบคุมและส่งเสริมต่างๆ พระราชบัญญัติภาพยนตร์ รวมถึงจรรยา บรรณที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ภพย. 300 การก�ำกับภาพ (2 หน่วยกิต) FLM 300 Directing for the Screen ศึกษาห ลักการการเล่าเรื่องผ่านองค์ประกอบภาพ การ ก�ำหนดมุม ภาพ ความส�ำคัญของการจัดองค์ประกอบภาพ ทิศทาง และการเคลือ่ นไหวของกล้อง เพือ่ สือ่ สารความคิด อารมณ์ ความรูส้ กึ ฝึกตีความบทภาพยนตร์เพื่อถ่ายทอดความหมายให้เป็นภาพ ภพย. 309 การวิเคราะห์วิจารณ์ภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 309 Film Analysis and Criticism ศึกษาทฤษฎีภาพยนตร์ และทฤษฎีการวิจารณ์ภาพยนตร์ การเขียนบ ทวิจารณ์ภาพยนตร์ จรรยาบรรณของนักวิจารณ์ ฝึก วิเคราะห์วิจารณ์ภาพยนตร์ ภพย. 310 การก�ำกับศิลป์ (2 หน่วยกิต) FLM 310 Art Direction ศึกษาทฤษฎีและหลักการก�ำกับศิลป์ หน้าที่ทีมงาน ฝึก ปฏิบตั กิ ารออกแบบ การเลือกวัสดุ การจัดฉาก การท�ำอุปกรณ์ประกอบ ฉาก การแต่งหน้าและการออกแบบทรงผม การออกแบบเครื่องแต่ง กาย การสร้างเทคนิคพิเศษ ตลอดจนการจัดองค์ประกอบในฉากให้ สอดคล้องกับเรื่องราว

506 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ภพย. 311 ศิลปะนิยมเพื่องานภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 311 Art Appreciation for Film ศึกษาสุ นทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เนื้อหาและรูปแบบ ของศิลปะยุคต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนการสร้าง ประสบการณ์ทางด้านสุนทรียะในการเสพศิลปะ เพื่อเป็นพื้นฐานการ สร้างสรรค์การเล่าเรื่อง และสื่อความหมายในภาพยนตร์ ภพย. 312 ปฏิบัติการการออกแบบภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) FLM 312 Production Design Workshop พื้นความรู้: ภพย. 310 ศึ ก ษาทฤ ษฎี แ ละฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารออกแบบงานสร้ า ง ภาพยนตร์ การประดิษฐ์อุปกรณ์จ�ำลองเฉพาะฉาก การค้นคว้าหา ข้อมูล การควบคุมภาพรวมในสายงานออกแบบงานสร้าง การท�ำงาน ร่วมกับผู้ก�ำกับและผู้ก�ำกับภาพเพื่อก�ำหนดทิศทางการเล่าเรื่อง สื่อ ความหมายและอารมณ์ ผ่านองค์ประกอบต่างๆ อาทิ ฉาก อุปกรณ์ ประกอบฉาก สถานที่ เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย ภพย. 320 การบันทึกเสียงส�ำหรับงานภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) FLM 320 Sound Recording for Film ศึกษาทฤ ษฎีและหลักการบันทึกเสียงในงานภาพยนตร์ ขั้นตอนการท�ำงานด้านการบันทึกเสียงในการถ่ายท�ำภาพยนตร์ การ เลือกใช้อปุ กรณ์บนั ทึกเสียงในรูปแบบต่างๆ ฝึกปฏิบตั กิ ารบันทึกเสียง เพื่อใช้ในงานภาพยนตร์ ภพย. 321 ดนตรีวิจักษ์เพื่องานภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 321 Music Appreciation For Film ศึกษาสุ นทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เนื้อหาและรูปแบบ ของดนตรีส ไตล์ต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนการสร้าง ประสบการณ์ทางด้านสุนทรียะในการรับฟังดนตรี เพือ่ เป็นพืน้ ฐานการ สร้างสรรค์ การเล่าเรื่อง และสื่อความหมายในภาพยนตร์


ภพย. 322 ปฏิบัติการการผลิตเสียง (2 หน่วยกิต) ในงานภาพยนตร์ FLM 322 Audio Post Production Workshop พื้นความรู้: ภพย. 320 ศึ ก ษาขั้ น ตอน และกระบวนการผลิ ต เสี ย งในงาน ภาพยนตร์ การบันทึกเสียงหลังการถ่ายท�ำ การตัดต่อเสียง On-line และ Off-l ine เสียงประกอบในภาพยนตร์ (Foley) การท�ำ ADR (Automated Dialogue Replacement) การออกแบบเสียง (Sound Design) ภพย. 330 การถ่ายภาพยนตร์ขั้นสูง (2 หน่วยกิต) FLM 330 Advanced Cinematography ศึกษาทฤษฎีและการถ่ายภาพยนตร์ขั้นสูง การเลือกใช้ อุปกรณ์ถา่ ยท�ำภาพยนตร์ทมี่ คี วามซับซ้อนมากขึน้ การจัดแสง ศึกษา คุณสมบัติ ศักยภาพ ตลอดจนสามารถเปรียบเทียบผล และความแตก ต่างของอุปกรณ์ที่ใช้ในการถ่ายท�ำภาพยนตร์ได้ ภพย. 332 การจัดแสงส�ำหรับงานภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) FLM 332 Lighting for Film ศึกษาจิตวิทยาการจัดแสง การเลือกใช้อุปกรณ์ด้านแสง ฝึกจัดแสง และใช้เทคนิคพิเศษ เพื่อให้เกิดแสงและบรรยากาศที่ ต้องการ ฝึกปฏิบัติการจัดแสงเพื่อเล่าเรื่องและสื่อความหมาย ภพย. 340 การก�ำกับนักแสดงส�ำหรับ (2 หน่วยกิต) งานภาพยนตร์ FLM 340 Directing Actors for Film ศึกษาหลักการก�ำกับการแสดง การตีความบทภาพยนตร์ การประเมินศักยภาพนักแสดง การแก้ไขปัญหาของนักแสดงเพื่อใช้ ในการถ่ายท�ำภาพยนตร์ ฝึกปฏิบตั กิ ารท�ำงานร่วมกับนักแสดงในการ ก�ำกับภาพยนตร์

ภพย. 341 ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ในฐานะประพันธกร (3 หน่วยกิต) FLM 341 Film Authorship ศึกษาผลงานของผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ จากการมองผูก้ ำ� กับฯ ในฐานะประพันธกรผูม้ อี ทิ ธิพลส�ำคัญทีส่ ดุ ในการสร้างสรรค์อตั ลักษณ์ เฉพาะตัวที่ปรากฏในงานภาพยนตร์ โดยศึกษาชีวิตของผู้ก�ำกับฯ แต่ละคนควบคู่ไปกับปัจจัยรายรอบที่ก่อให้เกิดจุดเริ่มต้นและพัฒนา การของความคิดสร้างสรรค์และรูปแบบเฉพาะตัวดังกล่าว ภพย. 342 ปฏิบัติการงานเขียนบทภาพยนตร์ขั้นสูง (2 หน่วยกิต) FLM 342 Advanced Screenwriting Workshop ศึ ก ษาหลั ก การและเทคนิ ค การปฏิ บั ติ ก ารเขี ย นบท ภาพยนตร์ขนาดยาว ปฏิบัติการเขียนบทภาพยนตร์ ทั้งด้านรูปแบบ โครงสร้าง และองค์ประกอบอื่นๆ ของภาพยนตร์ ฝึกปฏิบัติการเขียน บทภาพยนตร์โดยเน้นการพัฒนาเอกลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งผสมผสาน อย่างลงตัวทั้งด้านเนื้อหา สไตล์และรูปแบบ โดยเริ่มจากการเขียน โครงร่าง โครงเรื่องขยาย การสร้างลักษณะนิสัยตัวละคร การพัฒนา เรื่องราวไปสู่บทภาพยนตร์ขนาดยาวที่สมบูรณ์ ภพย. 350 การตัดต่อภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 350 Film Editing ศึกษาศิลปะและหลักการตัดต่อภาพยนตร์ พัฒนาการทาง ความคิดด้านการล�ำดับภาพเพื่อเล่าเรื่องและสื่อความหมาย ศึกษา งานของนักตัดต่อคนส�ำคัญ ขั้นตอนการท�ำงานและเทคนิควิธีการใช้ งานอุปกรณ์เพื่อการตัดต่อ ฝึกตัดต่อภาพยนตร์

หลักสูตรปริญญาตรี 507


ภพย. 351 การสร้างผลพิเศษทางภาพส�ำหรับ (2 หน่วยกิต) งานภาพยนตร์ FLM 351 Visual Effects for Film ฝึกปฏิบัติการสร้างเทคนิคพิเศษทางภาพ การสร้างภาพ 3 มิติ การเคลื่อนไหว การสร้างพื้นผิว การจัดแสง เทคนิคการซ้อน ภาพ การท�ำโรโตสโคปปิง (Rotoscoping) โมชันแคปเจอร์เบื้องต้น (Motion Capture)

ภพย. 362 การบริหารงานเทศกาลภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 362 Film Curating and Exhibition ศึกษากระบวนการจัดงานนิทรรศการภาพยนตร์ แนวทาง การสร้างเครือข่าย การวิเคราะห์แนวคิด รวบยอดของงาน การติดต่อ ประสานงาน การเลือกภาพยนตร์เข้าฉาย รวมถึงการศึกษาตลาด ภาพยนตร์ทั้งในและต่างประเทศ การท�ำโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์ การจัดงานเทศกาลภาพยนตร์

ภพย. 352 ปฏิบัติการกระบวนการหลังการผลิต (2 หน่วยกิต) FLM 352 Post Production Workshop ศึกษาขั้นตอนและกระบวนการหลังการผลิต รวมทั้งฝึก ปฏิบตั งิ านจริงในห้องปฏิบตั กิ ารทางภาพยนตร์ เพือ่ ฝึกการตัดต่อ การ บันทึกเสียง การสร้างเทคนิคพิเศษขั้นพื้นฐาน

ภพย. 370 แนวคิดร่วมสมัยในภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) และทฤษฎีภาพยนตร์ FLM 370 Contemporary Themes in Film: Theory and Practice ศึกษาแนวคิดต่างๆ ที่น่าสนใจในภาพยนตร์ร่วมสมัย ซึ่ง เป็ น ผลมาจากกระแสความตื่ น ตั ว สถานการณ์ ท างสั ง คม และ พัฒนาการหรือความเปลีย่ นแปลงของทฤษฎีภาพยนตร์ทอี่ ยูเ่ บือ้ งหลัง และมีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ ศึกษาวิเคราะห์ความนิยม และ การตอบรับภาพยนตร์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เช่น ความรุนแรงใน ภาพยนตร์ (Violence) ภาพยนตร์ของเพศที่สาม (Queer Film) ภาพยนตร์โลกที่สาม (Third World Cinema) เป็นต้น

ภพย. 360 การบริหารและการจัดจ�ำหน่ายภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 360 Film Administration and Distribution ศึกษาหลักในการบริหารงานด้านภาพยนตร์ โครงสร้าง อุตสาหกรรมภาพยนตร์ กระบวนการพัฒนาโครงการภาพยนตร์ ศึกษา แผนและความเป็นไปได้ของโครงการ การก�ำหนดและควบคุมงบ ประมาณ การวางแผนการผลิต การควบคุมการผลิต การประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์ การส่งเสริมการขาย การจัดจ�ำหน่ายภาพยนตร์ ภพย. 361 การวางแผนการผลิตภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) FLM 361 Production Planning for Film ศึกษาหลักและขัน้ ตอนในการวางแผนการผลิตภาพยนตร์ ต�ำแหน่งหน้าที่ต่างๆ ในกองถ่ายภาพยนตร์ การจัดการและบริหาร งานภายในกองถ่ายภาพยนตร์ การประสานงาน ธุรกิจ การจัดเตรียม บท และการวางแผนเพื่อการถ่ายท�ำ ทั้งในด้านเวลาและงบประมาณ โดยจะฝึกปฏิบัติร่วมกับกับรายวิชาการผลิตภาพยนตร์ 508 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ภพย. 371 สุนทรียศาสตร์ขั้นสูงในงานภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 371 Advanced Film Aesthetics พื้นความรู้: ภพย. 101 ศึกษาพัฒนาการทางศิลปะและสุนทรียศาสตร์แบบใหม่ (New Aesthetics) ของภาพยนตร์ศิลปะ ภาพยนตร์ทดลอง ภาพยนตร์คัลท์ (Cult Film) หรือภาพยนตร์ที่มีความสุดขอบ (Cuttingedge) ทางศิลปะ และสุนทรียะ วิเคราะห์ผลงานของผูส้ ร้างภาพยนตร์ ที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดหลังสมัยใหม่ (Post-modernism) และ สถานการณ์ทางสังคมปัจจุบัน


ภพย. 372 พื้นที่ เวลา เสียงและภาพเคลื่อนไหว (2 หน่วยกิต) FLM 372 Space, Time, Sound, and Moving Images ศึกษาความส�ำคัญของการใช้พื้นที่ เวลา เสียงและภาพ เคลื่อนไหวในงานภาพยนตร์รูปแบบต่างๆ พัฒนาการทางความคิด และผลงานของนักสร้างภาพยนตร์คนส�ำคัญ ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีทมี่ ตี อ่ การขยายขอบเขตของศิลปะภาพยนตร์ไปสูค่ วามเป็น สือ่ ใหม่ (New Media) ฝึกปฏิบตั กิ ารสร้างผลงานจากประสบการณ์การ ฟังและการเห็น (Listening & Seeing) และการท�ำงานในรูปแบบศิลปะ เฉพาะพื้นที่ (Site-Specific Art)

การ การติดต่อเจรจา การน�ำเสนอโครงการ การมองหาตลาด การจัด ตัง้ และด�ำเนินงานธุรกิจ การสร้างเครือข่าย การบริหารความเสีย่ ง และ กฎหมายลิขสิทธิ์ทางปัญญา ตลอดจนจรรยาบรรณในวิชาชีพ ฝึก ปฏิบัติการสร้างแผนธุรกิจด้านภาพยนตร์ และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ภพย. 433 การผลิตภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) FLM 433 Film Production ศึกษาเทคนิคการเล่าเรือ่ งและสือ่ ความหมายด้วยภาพ ขัน้ ตอนการผลิตภาพยนตร์ และฝึกก�ำกับภาพยนตร์ขนาดสัน้ ด้วยอุปกรณ์ ระดับพืน้ ฐาน โดยเริม่ ตัง้ แต่การเขียนบท การวางแผนการถ่ายท�ำ การ ภพย. 373 ภาพยนตร์และคนดู (3 หน่วยกิต) ถ่ายท�ำ การตัดต่อ และกระบวนการหลังการถ่ายท�ำ เพือ่ ให้สำ� เร็จเป็น FLM 373 Film and Spectatorship ภาพยนตร์ขนาดสั้นที่สมบูรณ์ ศึกษาตัวบท การตีความและการสร้างความหมายร่วมกัน ระหว่างผู้สร้างภาพยนตร์และผู้ชม โดยพิจารณาจากปัจจัยด้านความ ภพย. 434 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตร์ดิจิทัล (2 หน่วยกิต) แตกต่างระหว่างเพศ วัย เชื้อชาติ ผ่านแนวคิดจิตวิเคราะห์ (PsychoFLM 434 Digital Film Production Workshop analysis) และหลังโครงสร้างนิยม (Post-structuralism) พื้นความรู้: ภพย. 433 ฝึกปฏิบัติการการสร้างภาพยนตร์ดิจิทัลด้วยอุปกรณ์ที่มี ภพย. 400 สัมมนาภาพยนตร์เชิงวิชาชีพและสังคม (3 หน่วยกิต) ความซับซ้อนมากขึ้น การเล่าเรื่องและสื่อความหมายด้วยภาพ ขั้น FLM 400 Seminar in Film and Society ตอนการผลิตภาพยนตร์ในรูปแบบดิจิทัล โดยเริ่มตั้งแต่การเขียนบท สัมมนาความเคลื่อนไหวของวงการภาพยนตร์ วิเคราะห์ การวางแผนการถ่ายท�ำ การถ่ายท�ำ การตัดต่อ และกระบวนการหลัง ปัญหาและหนทางแก้ไข แนวโน้มของภาพยนตร์ในอนาคต เนื้อหา การถ่ายท�ำอื่นๆ เพื่อให้ส�ำเร็จเป็นภาพยนตร์ดิจิทัลที่สมบูรณ์ และแนวคิ ด ที่ เ ป็ น ผลสะท้ อ นมาจากสั ง คม ตลอดจนวิ เ คราะห์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างภาพยนตร์กับสังคม ภพย. 435 ปฏิบัติการการเตรียมการ (2 หน่วยกิต) โครงการสารนิพนธ์ ภพย. 431 กลยุทธ์สร้างสรรค์เพื่อความเป็น (2 หน่วยกิต) FLM 435 Degree Project Preparation Workshop ผู้ประกอบการในธุรกิจบันเทิง น�ำเสนอหัวข้อโครงการสารนิพนธ์ที่สนใจ เพื่อศึกษา FLM 431 Creative Strategies for Entrepreneurship วิเคราะห์ วางแผน หาข้อมูล และงบประมาณ เตรียมการส�ำหรับการ in Entertainment Business ผลิตโครงการสารนิพนธ์ การวัดผลวิชานี้ให้ถือเกณฑ์ S และ U เป็น ศึกษาแนวคิดและกลยุทธ์การสร้างสรรค์โอกาสในธุรกิจ เกณฑ์ผ่านและไม่ผ่านตามล�ำดับโครงการสารนิพนธ์ภาพยนตร์ บันเทิง อันประกอบไปด้วยช่องทางอันหลากหลาย การเป็นผูป้ ระกอบ (Degree Project in Film) หลักสูตรปริญญาตรี 509


ภพย. 436 โครงการสารนิพนธ์ภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 436 Degree Project in Film ด�ำเนินการผลิตโครงการสารนิพนธ์ที่ผ่านเกณฑ์ โดย ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดในการท�ำโครงการผลิตสารนิพนธ์ภาพยนตร์ ดังนี้ 1. นักศึกษาที่จะลงทะเบียน ต้องผ่านวิชาพื้นฐานวิชาชีพ และวิชาเอกบังคับครบทุกวิชา และวิชาเอกเลือกไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 2. ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.75 ขึ้นไป 3. การวัดผลถือระดับคะแนนตั้งแต่ 2.00 (เกรด C) ขึ้น ไปเป็นเกณฑ์ผ่าน 4. มีการน�ำเสนอผลงานสู่สาธารณะ ภพย. 437 การฝึกงานภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) FLM 437 Film Internship พื้นความรู้: เกรดเฉลี่ยสะสมปี 3 เทอม 1 ไม่ต�่ำกว่า 2.5 สอบผ่านวิชาเอกเลือกและเอกบังคับไม่น้อยกว่า 9 วิชา การฝึกงานกับบริษัทผลิตภาพยนตร์ สตูดิโอภาพยนตร์ บริษทั ให้เช่าอุปกรณ์ (Equipment Rental Company) โปรดักชัน่ เฮ้าส์ ที่ผลิตภาพยนตร์ โฆษณา หรือสถานีโทรทัศน์ เพื่อให้นักศึกษามี ประสบการณ์ ในงานด้านต่างๆ เช่น การผลิตภาพยนตร์ การผลิต สารคดี การผลิตภาพยนตร์โฆษณา การเขียนบท เป็นต้น โดยนักศึกษา จะต้องท�ำรายงานประกอบการฝึกงาน ทั้งนี้จะต้องอยู่ภายใต้การ ควบคุมและการประเมินผลของภาควิชาร่วมกับหน่วยงานภายนอก ภพย. 441 การอ�ำนวยการสร้างภาพยนตร์ (2 หน่วยกิต) FLM 441 Producing for Film ศึกษาบทบาทของผูอ้ ำ� นวยการสร้าง หลักการบริหารงาน การจัดการเพื่อการอ�ำนวยการผลิตภาพยนตร์อย่างสร้างสรรค์และมี ประสิทธิภาพ จรรยาบรรณของผู้ผลิตภาพยนตร์ การจัดการการเงิน การจัดหาเงินทุน การก�ำหนดและควบคุมงบประมาณ การวางแผน 510 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กลยุทธ์ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย ฝึกปฏิบัติการอ�ำนวยการ สร้างภาพยนตร์ร่วมกับรายวิชาการผลิตภาพยนตร์ดิจิทัล ภพย. 471 ปฏิบัติการการผลิตภาพยนตร์ทางเลือก (2 หน่วยกิต) FLM 471 Alternative Filmmaking Workshop ศึกษารูปแบบการเล่าเรื่องและประเภทของภาพยนตร์ที่ หลากหลาย ศึกษาขั้นตอนการผลิตภาพยนตร์ในรูปแบบและประเภท ดังกล่าว โดยเริ่มตั้งแต่การเขียนบท การวางแผนการถ่ายท�ำ การตัด ต่อ และกระบวนการหลังการถ่ายท�ำ เพื่อให้ส�ำเร็จเป็นภาพยนตร์ทาง เลือกที่สมบูรณ์

หมวดวิชาการสื่อสารตรา สสต. 201 การพัฒนากลยุทธ์ตรา (3 หน่วยกิต) BDC 201 Brand Strategy Development ศึกษาหลักการและแนวคิดของกลยุทธ์การสือ่ สารตราแบบ องค์รวม เข้าใจถึงองค์ประกอบของการสือ่ สารตราในภาพรวมทัง้ หมด ตั้งแต่การก�ำหนดวิสัยทัศน์ของตรา (Brand Vision) แก่นแท้ของตรา (Brand Essence) การก�ำหนดต�ำแหน่งตรา (Brand Positioning) คุณค่าตรา (Brand Value) ข้อสัญญาของตรา (Brand Promise) บุคลิกภาพตรา (Brand Personality) คุณลักษณะของตรา (Brand Attribute) เอกลักษณ์และภาพลักษณ์ของตรา (Brand Identity & Image) สสต. 202 ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) BDC 202 Creativity for Brand Communications ศึกษาความหมายของความคิดสร้างสรรค์ ธรรมชาติและ ที่มาของความคิดสร้างสรรค์ เทคนิคและวิธีการคิดแบบต่างๆ ระบบ และกลวิธีในการคิดเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์เพื่อน�ำไปสร้าง


แนวคิดและกลยุทธ์ในการวางแผนงานต่างๆ ศึกษาและฝึกฝนการคิด เชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) การคิดเพื่อแก้ปัญ หา ตั้งแต่ กระบวนการ แนวคิด และเทคนิคต่างๆเพือ่ น�ำมาปรับใช้กบั สถานการณ์ ทางการสื่อสารตราต่างๆ เพื่อถ่ายทอดออกมาทั้งในรูปแบบภาพ เนื้อหาสาร โดยการเรียนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติทั้งรูปแบบกลุ่มและราย บุคคล สสต. 203 การจัดการคุณค่าตรา (3 หน่วยกิต) BDC 203 Brand Equity Management ศึกษาความหมายคุณค่าตรา ความส�ำคัญของการจัดการ คุณค่าตรา ทฤษฎีคณุ ค่าตราโดยประเมินจากลูกค้า (Customer-based Brand Equity) ปัจจัยหรือองค์ประกอบต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการ สร้างคุณค่าตรา แนวทางการวัดคุณค่าตรา วิธีการบริหารจัดการเพื่อ สร้างคุณค่าตราผ่านเกณฑ์หรือองค์ประกอบของคุณค่าตราต่างๆ สสต. 204 กลยุทธ์ช่องทางการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) และสัมผัสแห่งตรา BDC 204 Brand Channels and Sense Strategy ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี รูปแบบ คุณลักษณะของเครื่องมือ หรือช่องทางการสือ่ สารตราทุกรูปแบบเพือ่ สร้างจุดสัมผัสตรา (Brand Touchpoints) ให้สอดคล้องกับบุคลิกภาพและเอกลักษณ์ของตราและ สือ่ สารไปยังกลุม่ เป้าหมายผ่านประสาทสัมผัสของผูบ้ ริโภค ทัง้ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสรวมถึงการสร้างประสบการณ์ ในตราให้เกิดความ ประทับใจ ครอบคลุมถึงช่องทางการสื่อสารตราก่อนการตัดสินใจซื้อ ช่องทางการสื่อสารตราขณะการตัดสินใจซื้อ (Moment of Truth) และ ช่องทางการสือ่ สารตราหลังการซือ้ รวมถึงช่องทางการสือ่ สารรูปแบบ ใหม่ อาทิ สื่อแฝงในบรรยากาศ (Ambient Media) โดยมุ่งเน้นฝึก ปฏิบตั ิในการสร้างสรรค์ชอ่ งทางการสือ่ สารตราอย่างมีประสิทธิผลและ มีประสิทธิภาพกับลูกค้าเป้าหมาย

สสต. 301 การวิจัยการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) BDC 301 Brand Communications Research พื้นความรู้: สอบผ่าน COM 105 ศึกษาถึงบทบาท ความส�ำคัญ รูปแบบ ประเภทของการ วิจยั เพือ่ การสือ่ สารตรา รวมถึงเรียนรูแ้ ละเข้าใจถึงระเบียบวิธกี ารวิจยั วิธกี ารวิเคราะห์ สรุปผลและการจัดท�ำโครงการวิจยั การสือ่ สารตราทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ไม่ว่าจะเป็นการวิจัยผู้บริโภค การวิจัย เพือ่ ตรวจสอบสุขภาพตรา การวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับองค์การ ผลิตภัณฑ์ และบริการต่างๆ จากนัน้ จึงด�ำเนินการวิจยั ภาคสนามและการน�ำเสนอ ผลการวิจัยเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อไป สสต. 302 การออกแบบเอกลักษณ์ตรา (3 หน่วยกิต) BDC 302 Brand Identity Design พื้นความรู้: สอบผ่านคอมพิวเตอร์พื้นฐานเพื่อการออกแบบ ศึ ก ษาความหมาย ความส� ำ คั ญ และบทบาทของการ ออกแบบตราที่มีต่อการสร้างเอกลักษณ์ ให้กับตราทั้งด้านแก่นของ เอกลักษณ์ (Core Identity) และส่วนขยายเอกลักษณ์ (Extended Identity) ได้แก่ องค์ประกอบของค�ำ ภาพลักษณ์ ความคิดและรูป แบบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้บริโภคได้รับจากตราสินค้า โดยสามารถ สร้างสรรค์ อธิบาย และปฏิบัติการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อ สื่อสารถึงองค์ประกอบที่จับต้องได้ และจับต้องไม่ได้ของเอกลักษณ์ ตราสินค้าตามขั้นตอนการออกแบบซึ่งรวมถึง จินตนาการ นวัตกรรม การน�ำไปปฏิบัติ การปรับปรุงเอกลักษณ์ตราสินค้า และการน�ำไปใช้ สสต. 303 การผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) BDC 303 Media Production for Brand Communications พื้นความรู้: สอบผ่านคอมพิวเตอร์พื้นฐานเพื่อการออกแบบ ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและฝึกปฏิบัติในการสร้างสรรค์และ ผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารตราทั้งสื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุ กระจายเสียง วีดทิ ศั น์ สือ่ อืน่ ๆ ที่ใช้เพือ่ ในการสือ่ สารตรา ศึกษาเทคนิค หลักสูตรปริญญาตรี 511


การผลิต การสื่อความหมายทางด้านภาพผ่านมุมกล้อง การก�ำหนด องค์ประกอบศิลป์ การควบคุมการล�ำดับภาพหรือตัดต่อ และการผสม เสียงโดยค�ำนึงถึงความสอดคล้องกับเนื้อหาและเอกลักษณ์ของตรา สสต. 311 การวิเคราะห์และท�ำความเข้าใจเชิงลึก (3 หน่วยกิต) ผู้ที่เกี่ยวข้อง BDC 311 Stakeholder Insight and Analysis ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องกับการวิเคราะห์และศึกษา ผู้ที่เกี่ยวข้องกับตราและองค์การ ได้แก่ กระบวนการเรียนรู้และ ประมวลข้อมูล ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการรับ รู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม เทคนิคการวิจยั เชิงคุณภาพเพือ่ น�ำไปสูก่ าร ท�ำความเข้าใจเชิงลึก การวิเคราะห์ผทู้ เี่ กีย่ วข้องเพือ่ ใช้ในการออกแบบ กลยุทธ์ตรารวมถึงการบริหารประสบการณ์และความสัมพันธ์ สสต. 312 ทักษะการน�ำเสนองาน (3 หน่วยกิต) และการเจรจาต่อรอง BDC 312 Negotiation and Presentation Skills ศึกษาความส�ำคัญของการน�ำเสนองานและการเจรจาต่อ รอง ประเภทการน�ำเสนองานทั้งในรูปแบบวาจาและเอกสาร องค์ ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อการน�ำเสนองาน การใช้อุปกรณ์ประกอบ การน�ำเสนองาน อุปสรรคในการน�ำเสนองานและฝึกปฏิบัติการน�ำ เสนองาน ศึกษาถึงหลักการ แนวคิด และฝึกฝนทักษะในการเจรจาต่อ รองในหลากหลายรูปแบบ ลักษณะและธรรมชาติของการเจรจาต่อรอง การโน้ ม น้ า วใจ การสร้ า งอ� ำ นาจในการเจรจาต่ อ รอง ขั้ น ตอน กระบวนการ และการด�ำเนินงานบริหารจัดการ การก�ำหนดกลยุทธ์ กลวิธีการเจรจาต่อรอง ปัญหาและอุปสรรคในการเจรจาต่อรอง

512 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สสต. 313 การสื่อสารตราองค์การ (3 หน่วยกิต) BDC 313 Corporate Brand Communications ศึกษาความหมาย ความส�ำคัญ รูปแบบ และกระบวนการ สื่อสารเพื่อการสร้างตราองค์การ กลยุทธ์การสื่อสารทั้งภายในและ ภายนอก (Internal and External Communication Strategy) เพื่อ การสร้างและรักษาชื่อเสียงขององค์การ เช่น การก�ำหนดจุดยืนตราที่ สอดคล้องกับกลยุทธ์ธุรกิจขององค์การ (Business Strategy) การ สร้ า งตราโดยใช้ ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั งคม (Corporate Social Responsibility) การสร้างตราผ่านพนักงาน (Employee Branding) การสร้างตราผ่านผู้บริหาร (CEO Branding) และกรณีศึกษาของตรา องค์การที่มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ตรา (Re-Branding) ทั้งตรา องค์การของไทยและต่างประเทศ สสต. 401 การวางแผนรณรงค์การสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) BDC 401 Brand Communications Campaign Planning ศึกษาความหมายการรณรงค์ บทบาทการรณรงค์ในการ สื่อสารตรา แนวคิดการบูรณาการที่จะถูกน�ำมาประยุกต์ ใช้กับแผน รณรงค์การสือ่ สารตรา เรียนรูท้ งั้ ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิในการวางแผน รณรงค์ การสื่อสารตราแบบบูรณาการจากกรณีศึกษาจริง ตั้งแต่การ วิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการวางแผน การตรวจ สุขภาพตรา (Brand Health Check) การก�ำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target Group Identification) การออกแบบตราและเอกลักษณ์ของ ตรา (Brand Design and Identity) การก�ำหนดกลยุทธ์เนือ้ หาสารของ ตรา (Brand Message Strategy) การสร้างสรรค์จดุ สัมผัสตรา (Brand Touch Points) เพือ่ สือ่ สารไปยังกลุม่ เป้าหมาย แนวทางในการประเมิน ผลตรา (Brand Evaluation)


สสต. 402 การฝึกงานวิชาชีพด้านการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) BDC 402 Brand Communications Professional Internship พื้นความรู้และเงื่อนไข: สอบผ่านวิชาเอกไม่น้อยกว่า 9 วิชา และ ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต�่ำกว่า 2.30 ศึกษาประสบการณ์วชิ าชีพด้วยการฝึกงานในหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับการสื่อสารตรา ผู้เรียนต้องน�ำสาระประโยชน์ ความรู้ที่ ได้จากการฝึกงานมาศึกษา วิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและอภิปรายกับ แนวคิด ทฤษฎีที่เรียนมาโดยมุ่งเน้นการประมวลสาระความรู้ ผู้เรียน จะต้องสะท้อนหรือถ่ายทอดคุณค่าที่ได้จากการฝึกงานไม่ว่าจะเป็น ภาระหน้าที่ขณะฝึกงาน ประโยชน์ที่ได้รับ ปัญหา อุปสรรคและ แนวทางแก้ไขปัญหา จัดท�ำอยู่ในรูปแบบรายงานการฝึกงานภายใต้ การควบคุมดูแลและการประเมินผลของผู้สอนร่วมกับตัวแทนของ หน่วยงานที่ผู้เรียนฝึกงาน สสต. 403 โครงการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) BDC 403 Brand Communications Project พื้นความรู้และเงื่อนไข: สอบผ่านวิชาเอกเลือกและเอกบังคับ ไม่น้อยกว่า 9 วิชา การน�ำหลักการ แนวคิดและทฤษฎีดา้ นการสือ่ สารตรามา ใช้เป็นกรอบในการด�ำเนินการโครงงาน และ/หรือ การวางแผนและ ก�ำหนดแนวทางด�ำเนินงานการสื่อสารตราให้กับหน่วยงานภายนอก หรือโครงงานทีผ่ สู้ อนก�ำหนดขึน้ ตัง้ แต่กระบวนการคิดเชิงกลยุทธ์ การ สร้างสรรค์ผลงานและถ่ายทอดผลงานจนเป็นรูปธรรม โดยน�ำเสนอ ผลงานพร้อมทัง้ จัดท�ำรายงานประกอบการน�ำเสนอผลงาน การศึกษา จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมและการประเมินผลของผู้สอน และ/หรือ กรรมการภายนอก

สสต. 404 สัมมนาการสื่อสารตรา (3 หน่วยกิต) BDC 404 Seminar in Brand Communications ศึ ก ษาถึ ง บทบาท ความส� ำ คั ญ ของการสั ม มนา การ วิเคราะห์สภาพปัญหาต่างๆ ทางด้านการสื่อสารตราทั้งในระดับ ประเทศและระดับนานาชาติ ศึกษาค้นคว้าแนวคิด ประเด็นต่างๆ ที่ อยู่ในความสนใจในแวดวงการสือ่ สารตรา เพือ่ น�ำมาจัดการสัมมนาใน หั ว ข้ อ ต่ า งๆ โดยเชิ ญ วิ ท ยากรผู ้ ท รงคุ ณวุ ฒิ แ ละมี ค วามรู ้ ค วาม เชีย่ วชาญทางด้านการสือ่ สารตราหรือขอบเขตทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความ รู้ มุมมองและถ่ายทอดประสบการณ์ กรณีศึกษาต่างๆ และให้ผู้เรียน อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ระหว่างผู้ เรียนด้วยกันเอง สสต. 411 การจัดการการสื่อสารตราเชิงกลยุทธ์ (3 หน่วยกิต) BDC 411 Strategic Brand Communications Management ศึกษาการวางแผนการจัดการกลยุทธ์ ในการสื่อสารตรา รวมถึงกระบวนการและขั้นตอนในการวางแผนกลยุทธ์ การปรับ กลยุทธ์ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปตามวงจรชีวิตตรา (Brand Life Cycle) มีการฝึกพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ข้อมูลเพือ่ ประเมิน สถานการณ์ การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย ก�ำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อ ออกแบบและตัดสินใจเลือกใช้กลยุทธ์การสื่อสารตราที่เหมาะสม เช่น กลยุทธ์สร้างคุณค่า (Value Creation) กลยุทธ์เชิงนวัตกรรม (Value Innovation) กลยุทธ์เชิงยุทธวิธี และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการ สื่อสารตราแต่ละประเภท เช่น ตราผลิตภัณฑ์ ตราบริการ ตราบุคคล และตราองค์การ เพื่อสร้างความได้เปรียบในการสื่อสาร สสต. 412 การสื่อสารตราระดับโลก (3 หน่วยกิต) BDC 412 Global Brand Communications ศึกษาทฤษฎีและกลยุทธ์การสร้างตราและการสื่อสารการ ตลาดระดับโลกตลอดจนปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่ส่งผลต่อความส�ำเร็จ ของตรา การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม การสร้างสาร (Message) ที่มี ความเป็นสากล และเรียนรู้กรณีศึกษาของตราระดับโลก หลักสูตรปริญญาตรี 513


หมวด​วิชา​ภาษา​ต่าง​ประเทศ กล. 101 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​เกาหลี 1 (3 หน่วยกิต) KR 101 Korean Language and Culture I ความ​รู้​เบื้อง​ต้นเ​กี่ยว​กับภ​ าษา​และ​วัฒนธรรม​เกาหลี โดย​ เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน กล. 102 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​เกาหลี 2 (3 หน่วยกิต) KR 102 Korean Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: กล. 101 ศึก ษา​โครงสร้ า ง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์​ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ ศึกษา​ใน​ขั้น​สูง​ต่อ​ไป กล. 311 ภาษา​เกาหลี​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจ​ท่อง​เที่ยว KR 311 Communicative Korean for Tourism Business พื้น​ความ​รู้: กล. 102 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​ การ​ท่ อง​เที่ ย ว โดย​เน้ น​ทักษะ​การ​ฟัง การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ กล. 312 ภาษา​เกาหลี​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจ​โรงแรม KR 312 Communicative Korean for Hotel Business พื้น​ความ​รู้: กล. 102 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​ โรงแรม โดย​เน้นท​ กั ษะ​การ​ฟงั การ​พดู เพือ่ ก​ าร​สอื่ สาร​ท​มี่ ป​ี ระสิทธิภาพ

514 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กล. 313 ภาษา​เกาหลี​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ใน​ธุรกิจ​สาย​การ​บิน KR 313 Communicative Korean for Airline Business พื้น​ความ​รู้: กล. 102 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​ สาย​ก าร​บิ น โดย​เน้น​ทั กษะ​การ​ฟัง การ​พูด เพื่อ​ก าร​สื่อสาร​ที่​ม​ี ประสิทธิภาพ ภอล. 201 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 1 (3 หน่วยกิต) ELK 201 Korean and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีในชีวิตประจ�ำวัน ภอล. 202 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 2 (3 หน่วยกิต) ELK 202 Korean and Culture II ศึ ก ษ าภ า ษ า และวัฒนธรรมเกาหลีในการค้นคว้าทาง วิชาการ ภอล. 301 ภาษาเกาหลีเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน (3 หน่วยกิต) ELK 301 Korean for Office Work ศึกษาการใช้ภาษาเกาหลี เพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ภอล. 302 ภาษาเกาหลีเพื่องานบริการ (3 หน่วยกิต) ELK 302 Korean for Service Careers ศึกษาการใช้ภาษาเกาหลีในงานบริการด้านต่างๆ ภอล. 401 เกาหลีศึกษา (3 หน่วยกิต) ELK 401 Korean Studies ศึ ก ษ า ค้นคว้า ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของประเทศเกาหลี


ญป. 101 ภาษา​ญี่ปุ่น 1 (3 หน่วยกิต) JP 101 Japanese I ศึ ก ษา​โ ครงสร้าง​พื้น​ฐาน​และ​ศัพท์​ที่​ใช้​กัน​ทั่วๆ ไป ฝึก​ ทักษะ​ใน​ดา้ น​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน เพือ่ ​เป็นพ​ นื้ ​ฐาน​ใน​การ​ศกึ ษา​ ขั้น​สูง​ต่อ​ไป ญป. 102 ภาษา​ญี่ปุ่น 2 (3 หน่วยกิต) JP 102 Japanese II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ญป. 101 ศึกษา​โครงสร้าง​และ​ศัพท์​ที่​ใช้​กัน​อย่าง​กว้าง​ขวาง​ใน​ชีวิต​ ประจ�ำ​วัน ฝึก​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน ใน​ระดับ​ทสี่​ ูง​ขึ้น ญป. 111 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ญี่ปุ่น 1 (3 หน่วยกิต) JP 111 Japanese Language and Culture I ศึกษา​ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ญี่ปุ่น โดย​เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน ญป. 112 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ญี่ปุ่น 2 (3 หน่วยกิต) JP 112 Japanese Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: ญป. 111 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน​และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ ศึกษา​ใน​ขั้น​สูง​ต่อ​ไป ญป. 201 ภาษา​ญี่ปุ่น 3 (3 หน่วยกิต) JP 201 Japanese III พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ญป. 102 ศึ ก ษา​โ ครงสร้ า ง​ข อง​ภาษา หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน เพื่อ​สื่อสาร​และ​การ​ฝึก​ใช้​อย่าง​ ถูก​ต้อง

ญป. 202 ภาษา​ญี่ปุ่น 4 (3 หน่วยกิต) JP 202 Japanese IV พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ญป. 201 ศึ ก ษา​โครงสร้าง​ข อง​ภาษา หลัก​ไว​ยา​ภรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน การ​ฟัง พูด อ่าน เขียน ที่​ซับ​ซ้อน​ขึ้น ฝึก​แปล​ข้อ​ความ​สั้น​ๆ จาก​ภาษา​ไทย​เป็น​ภาษา​ญี่ปุ่น และ​จาก​ภาษา​ญี่ปุ่น​เป็น​ภาษา​ไทย ญป. 301 ภาษา​ญี่ปุ่นเ​พื่อ​การ​ท่อง​เที่ยว (3 หน่วยกิต) JP 301 Japanese Tourism พื้น​ความ​รู้: ญป. 201 ศึกษา​การ​ใช้​ภาษา​ญี่ปุ่น และ​ฝึก​ทักษะ​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียนที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​ท่อง​เที่ยว มี​การ​ฝึก​นอก​สถาน​ที่ ญป. 311 ภาษา​ญี่ปุ่นเ​พื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต)​ ใน​ธุรกิจท​ ่อง​เที่ยว JP 311 Communicative Japanese for Tourism Business พื้น​ความ​รู้: ญป. 112 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​การ​ท่อง​เที่ยว โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง​และ​การ​พูด​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ ที่​มี​ประสิทธิภาพ ญป. 312 ภาษา​ญี่ปุ่นเ​พื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ใน​ธุรกิจโ​รงแรม JP 312 Communicative Japanese for Hotel Business พื้น​ความ​รู้: ญป. 112 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​โรงแรม โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง​และ​การ​พูด​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ

หลักสูตรปริญญาตรี 515


ญป. 313 ภาษา​ญี่ปุ่น​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ ใน​ธุรกิจส​ าย​การ​บิน JP 313 Communicative Japanese for Airline Business พื้น​ความ​รู้: ญป. 112 ศึ ก ษา​ส�ำ นวน โครงสร้ าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​สาย​การ​บิน โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง​และ​การ​พูด​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​ มี​ประสิทธิภาพ ภอญ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 1 (3 หน่วยกิต) ELJ 201 Japanese Language and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นในชีวิตประจ�ำวัน ภอญ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 2 (3 หน่วยกิต) ELJ 202 Japanese Language and Culture II ศึ ก ษ า ภ า ษ า แ ละวัฒนธรรมญี่ปุ่นในการค้นคว้าทาง วิชาการ ภอญ. 301 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน (3 หน่วยกิต) ELJ 301 Japanese for Office Work ศึกษาการใช้ภาษาญี่ปุ่น เพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ภอญ. 302 ภาษาญี่ปุ่นเพื่องานบริการ (3 หน่วยกิต) ELJ 302 Japanese for Service Careers ศึกษาการใช้ภาษาญี่ปุ่นในงานบริการด้านต่างๆ ภอญ. 401 ญี่ปุ่นศึกษา (3 หน่วยกิต) ELJ 401 Japanese Studies ศึ ก ษ า ค้นคว้า ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของประเทศญี่ปุ่น 516 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

นว. 101 ภาษา​และ​วัฒน​ธรรม​นอร์เว​ย์ 1 (3 หน่วยกิต) NW 101 Norwegian Language and Culture I ความ​รเ​ู้ บือ้ ง​ตน้ เ​กีย่ ว​กบั ภ​ าษา​และ​วฒ ั น​ธรรม​นอร์เว​ย์ โดย​ เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน นว. 102 ภาษา​และ​วัฒน​ธรรม​นอร์เว​ย์ 2 (3 หน่วยกิต) NW 102 Norwegian Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: นว. 101 ศึ ก ษา​โครงสร้า ง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ ศึกษา​ใน​ขั้น​สูงต​ ่อ​ไป บธ. 121 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 (3 หน่วยกิต) BA 121 English Foundation I ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร โดยผ่านการ ทำ�กิจกรรมที่เสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองหลากหลายรูปแบบทั้ง ในและนอกห้องเรียน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกอ่าน พร้อมฝึก เขียนย่อความของบทอ่านที่ใช้จริงในชีวิตประจำ�วันตามที่ตนสนใจ บธ. 122 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 (3 หน่วยกิต) BA 122 English Foundation II พื้นความรู้: สอบได้ บธ. 121 ฝึ ก ทั ก ษะการใช้ ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารและทำ� กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเองทั้งในและนอกห้องเรียนใน ระดับที่ซับซ้อนขึ้น ฝึกเขียนโต้ตอบในบันทึกประจำ�วันแบบออนไลน์ และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกอ่านหนังสือนอกเวลาที่ตนสนใจพร้อม ทั้งฝึกเขียนแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่อ่าน


บธ. 221 ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโลก (3 หน่วยกิต) BA 221 English for Global Perspectives ฝึกฝนเพื่อเพิ่มความสามารถในการเรียนรู้และสำ�รวจ ความเป็นไปของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว เช่น เรื่องของนวัตกรรมของ โลก ความแตกต่างกันของคนในโลกนี้ ทั้งในด้านวัฒนธรรมและแนว ความคิด โดยผ่านทางการใช้ภาษาอังกฤษในทักษะต่างๆ ทั้งในและ นอกห้องเรียน บธ. 301 ภาษาอังกฤษสำ�หรับผู้ประกอบการ 1 (3 หน่วยกิต) BA 301 English for Entrepreneurs I ศึกษาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่ใช้ในแวดวงธุรกิจเพื่อ เตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ การนำ�เสนอแผนธุรกิจ การฝึกฟังและ พูดภาษาอังกฤษกับบุคคลที่อยู่ในวงการธุรกิจต่างๆ การฝึกฝนการ เขียนโต้ตอบทางธุรกิจ และการฝึกอ่านบทความต่างๆ จากสิ่งพิมพ์ ทางธุรกิจ เป็นต้น บธ. 302 ภาษาอังกฤษสำ�หรับผู้ประกอบการ 2 (3 หน่วยกิต) BA 302 English for Entrepreneurs II วิชาต่อเนื่องจากวิชา บธ. 301 ภาษาอังกฤษสำ�หรับผู้ ประกอบการ 1 ในรายวิชานี้นักศึกษาจะได้ฝึกการสื่อสารเป็นภาษา อังกฤษในสถานการณ์ที่ใกล้เคียงกับความจริงมากที่สุดอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการนำ�เสนอรายงานทางธุรกิจที่จำ�เป็นสำ�หรับผู้ประกอบ การธุรกิจในยุคปัจจุบัน ฝศ. 101 ภาษา​ฝรั่งเศส 1 (3 หน่วยกิต) FR 101 French I ศึกษา​โครงสร้าง​พนื้ ฐ​ าน​ท​ใี่ ช้ก​ นั ท​ วั่ ๆ ไป ฝึก​ทกั ษะ​ใน​ดา้ น​ การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ศึกษา​ขั้น​สูง​ต่อ​ไป

ฝศ. 102 ภาษา​ฝรั่งเศส 2 (3 หน่วยกิต) FR 102 French II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ฝศ. 101 ศึกษา​โครงสร้าง​และ​ศัพท์​ที่​ใช้​กัน​อย่าง​กว้าง​ขวาง​ใน​ชีวิต​ ประจ�ำ​วัน ฝึก​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน​ใน​ระดับ​ที่​สูง​ขึ้น ฝศ. 111 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ฝรั่งเศส 1 (3 หน่วยกิต) FR 111 French Language and Culture I ความ​ร​เู้ บือ้ ง​ตน้ ​เกีย่ ว​กบั ​ภาษา​และ​วฒ ั นธรรม​ฝรัง่ เศส โดย​ เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน ฝศ. 112 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ฝรั่งเศส 2 (3 หน่วยกิต) FR 112 French Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: ฝศ. 111 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลักไ​วยากรณ์ ค�ำ​ ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน​และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ศึกษา​ ใน​ขั้น​สูงต​ ่อ​ไป ฝศ. 201 การ​ใช้​ภาษา​ฝรั่งเศส (3 หน่วยกิต) FR 201 French Usage ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศพั ท์​สำ� นวน เพือ่ ​ใช้​ใน​การ​ฟงั พูด อ่าน เขียน ใน​ระดับ​ทส​ี่ งู ​ขนึ้ ฝึก​การ​แปล​ขอ้ ความ​ จาก​ภาษา​ฝรั่งเศส​เป็นภาษา​ไทย และ​ภาษา​ไทย​เป็น​ภาษา​ฝรั่งเศส ฝศ. 202 ภาษา​ฝรั่งเศส​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน (3 หน่วยกิต) FR 202 French for Daily Life ศึกษา​ภาษา​ฝรัง่ เศส​ท​ใี่ ช้​ใน​สถานการณ์​ตา่ งๆ ใน​ชวี ติ ​ประจ�ำ​ วัน เพือ่ ​ฝกึ ก​ าร​ฟงั พูด อ่าน เขียน​ใน​การ​สอื่ สาร​ประจ�ำ​วนั ไ​ด้​อย่าง​ถกู ต​ อ้ ง

หลักสูตรปริญญาตรี 517


ฝศ. 301 ภาษา​ฝรั่งเศส​เพื่อ​การ​ใช้​งาน (3 หน่วยกิต) ​ ใน​ส�ำนักงาน FR 301 French for Office Work ฝึ ก ​ทั ก ษะ​การ​อ่าน เขียน และ​พูด​ภาษา​ฝรั่งเศส​ที่​ใช้​ใน​ ส�ำนักงาน เช่น การ​อ่าน​จับใจ​ความ​และ​การ​เขียน​ตอบ​จดหมาย โทร-​ สาร บัตร​เชิญ การ​โต้ตอบ​บท​สนทนา​และ​จด​บันทึก​ทาง​โทรศัพท์ ฝศ. 302 ภาษา​ฝรั่งเศส​เพื่อ​งาน​บริการ (3 หน่วยกิต) FR 302 French for Service Careers ฝึกท​ กั ษะ​การ​ฟงั พูด อ่าน เขียน​ภาษา​ฝรัง่ เศส​ท​ใี่ ช้​ใน​ธรุ กิจ​ บ​ริ​การ เช่น งาน​บริการ​บน​เครื่อง​บิน งาน​โรงแรม​ภัตตาคาร และ​งาน​ ธุรกิจ​ท่อง​เที่ยว​เป็นต้น ฝศ. 311 ภาษา​ฝรั่งเศส​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจท​ ่อง​เที่ยว FR 311 Communicative French for Tourism Business พื้น​ความ​รู้: ฝศ. 112 หรือไ​ด้​รับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​คนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจก​ าร​ทอ่ ง​เทีย่ ว โดย​เน้นท​ กั ษะ การ​ฟงั และ​การ​พดู เพือ่ ​การ​สอื่ สาร​ ที่​มี​ประสิทธิภาพ ฝศ. 312 ภาษา​ฝรั่งเศส​เพื่อ​การ​สื่อสาร​​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจโรงแรม FR 312 Communicative French for Hotel Business พื้น​ความ​รู้: ฝศ. 112 หรือไ​ด้​รับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​คนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​โรงแรม โดย​เน้น​ทักษะ การ​ฟัง และ​การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ

518 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ฝศ. 313 ภาษา​ฝรั่งเศส​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจสาย​การ​บิน FR 313 Communicative French for Airline Business พื้น​ความ​รู้: ฝศ. 112 หรือ​ได้​รับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี ศึ ก ษา​ส�ำ นวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​ค นิคที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​สาย​การ​บิน โดย​เน้น​ทักษะ การ​ฟัง และ​การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ ที่​มี​ประสิทธิภาพ ฝศ. 401 ภาษา​ฝรั่งเศส​และ​การ​ศึกษา​วัฒนธรรม (3 หน่วยกิต) FR 401 French Language and Culture Studies ศึ ก ษา​ป ระวั ติ ​ความ​เ ป็น​มา​ข อง​ประเทศ​ฝรั่งเศส แนว​ ความ​คิด​วัฒนธรรม ประเพณี ศิลปะ และ​วิถี​ชีวิต​ความ​เป็น​อยู่​ของ​ ชาว​ฝรัง่ เศส​เพือ่ ป​ ระโยชน์ใ​น​การ​สอื่ สาร​และ​สร้าง​ความ​สมั พันธ์ก​ บั ช​ าว​ ฝรั่งเศส​ใน​อนาคต ฟน. 101 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ฟินแลนด์ 1 (3 หน่วยกิต) FN 101 Finnish Language and Culture I ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ฟินแลนด์ โดย​เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน ฟน. 102 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ฟินแลนด์ 2 (3 หน่วยกิต) FN 102 Finnish Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: ฟน. 101 ศึ ก ษา​โครงสร้ า ง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ ศึกษา​ใน​ขั้น​สูงต​ ่อ​ไป


ภจ. 101 ภาษา​จีน​กลาง 1 (3 หน่วยกิต) CN 101 Chinese I ศึกษา​ภาษา​จีน​ขั้น​พื้น​ฐาน สัท​อักษร​ระบบ Pinyin ระบบ​ เสียง​ภาษา​จนี ก​ ลาง ศัพท์เ​กีย่ ว​กบั ก​ าร​นบั จ​ ำ� นวน​เลข การ​ทกั ทาย การ​ เดิน​ทาง การ​แลก​เปลี่ยน​เงิน​ตรา โครงสร้าง​และ​รูป​ประโยค​พื้น​ฐาน ความ​รู้​อักษร​จีนร​ ะดับ 500 ตัว

ภจ. 303 การ​อ่าน​ภาษา​จีน​เบื้อง​ต้น (3 หน่วยกิต) CN 303 Fundamental Chinese Reading พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ภจ. 102 ภาษา​จีน​กลาง 2 ฝึก​การ​อ่าน​บทความ​ภาษา​จีน โดย​เน้น​ทักษะ​การ​อ่าน​จับ​ ประเด็นแ​ ละ​สามารถ​อา่ น​บทความ​ท​มี่ ​คี วาม​ยาว​ประมาณ 200-300 ตัว​ อักษร

ภจ. 102 ภาษา​จีน​กลาง 2 (3 หน่วยกิต) CN 102 Chinese II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ภจ. 101 ภาษา​จีน​กลาง 1 ศึกษา​ศัพท์​เกี่ยว​กับ​การ​โต้ตอบ​สนทนา​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน ศัพท์​เกี่ยว​กับ​เครื่อง​แต่ง​กาย เครื่อง​ใช้สอย เครื่อง​เรือน โครงสร้าง​ และ​รูป​ประโยค​ที่​ส�ำคัญ ความ​รู้​อักษร​จีนเ​พิ่มข​ ึ้น 500 ตัว

ภจ. 304 ภาษา​จีนส​ �ำหรับ​การ​ท่อง​เที่ยว (3 หน่วยกิต) CN 304 Chinese for Tourism พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ภจ. 102 ภาษา​จีน​กลาง 2 ศึกษา​ค�ำ​ศัพท์​ขั้น​พื้น​ฐาน และ​ส�ำนวน​ภาษา​จีน​เกี่ยว​กับ​ การ​ท่อง​เที่ยว ศึกษา​แหล่ง​ท่อง​เที่ยว โบราณ​สถาน​ที่​ส�ำคัญ​ของ​ไทย และ​แหล่ง​ทัศนาจร​ที่​ส�ำคัญ​ของ​จีน โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง​และ​การ​พูด

ภจ. 111 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​จีน 1 (3 หน่วยกิต) CN 111 Chinese Language and Culture I ความ​ร​เู้ บือ้ ง​ตน้ ​เกีย่ ว​กบั ​ภาษา​และ​วฒ ั นธรรม​จนี โดย​เน้น​ เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน ภจ. 112 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​จีน 2 (3 หน่วยกิต) CN 112 Chinese Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: ภจ. 111 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ ศึกษา​ใน​ขั้น​สูง​ต่อ​ไป ภจ. 301 ภาษา​จีน​กลาง​เพื่อ​การ​สื่อสาร​เชิง​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) CN 301 Chinese for Business Communication พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ภจ. 102 ภาษา​จีน​กลาง 2 ศึกษา​ศัพท์​และ​ส�ำนวน​ที่​ใช้​ใน​วงการ​ธุรกิจ การ​เจรจา​ต่อ​ รอง การน�ำ​เสนอ​สินค้า การ​เป็น​ตัวแทน​จ�ำหน่าย​สินค้า การ​ต้อนรับ​ ลูกค้า ความ​รู้​ศัพท์ท​ าง​ด้าน​ธุรกิจ 500 ค�ำ

ภจ. 311 ภาษา​จีนเ​พื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ ใน​ธุรกิจท​ ่อง​เที่ยว CN 311 Communicative Chinese for Tourism Business พื้น​ความ​รู้: ภจ. 112 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​ การ​ท่ อง​เที่ ย ว โดย​เน้ น​ทักษะ​การ​ฟัง การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ ภจ. 312 ภาษา​จีนเ​พื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจโ​รงแรม CN 312 Communicative Chinese for Hotel Business พื้น​ความ​รู้: ภจ. 112 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​ โรงแรม โดย​เน้นท​ กั ษะ​การ​ฟงั การ​พดู เพือ่ ก​ าร​สอื่ สาร​ท​มี่ ​ปี ระสิทธิภาพ

หลักสูตรปริญญาตรี 519


ภจ. 313 ภาษา​จีน​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจส​ าย​การ​บิน CN 313 Communicative Chinese for Airline Business พื้น​ความ​รู้: ภจ. 112 ศึ ก ษา​ส�ำ นวน โครงสร้า ง และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน ธุรกิจ​สาย​การ​บิน โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ

ยม. 201 ภาษา​เยอรมัน 3 (3 หน่วยกิต) GR 201 German III พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ยม. 102 ศึก ษา​โ ครงสร้ า ง​ข อง​ภาษา หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน เพื่อ​เป็นการ​สื่อสาร และ​การ​ฝึก​ ใช้​อย่าง​ถูก​ต้อง

ยม. 101 ภาษา​เยอรมัน 1 (3 หน่วยกิต) GR 101 German I ศึ ก ษา​โ ครงสร้าง​พื้น​ฐาน​และ​ศัพท์​ที่​ใช้​กัน​ทั่วๆ ไป ฝึก​ ทักษะ​ใน​ดา้ น​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน เพือ่ ​เป็นพ​ นื้ ​ฐาน​ใน​การ​ศกึ ษา​ ขั้น​สูง​ต่อ​ไป

ยม. 202 ภาษา​เยอรมัน 4 (3 หน่วยกิต) GR 202 German IV พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ยม. 201 ศึ ก ษา​โ ครงสร้ า ง​ข อง​ภาษา หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน ที่​ซับ​ซ้อน​ขึ้น ฝึก​แปล​ข้อความ​ สั้นๆ จาก​ภาษา​ไทย​เป็น​ภาษา​เยอรมัน และ​จาก​ภาษา​เยอรมัน​เป็น​ ภาษา​ไทย

ยม. 102 ภาษา​เยอรมัน 2 (3 หน่วยกิต) GR 102 German II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ยม. 101 ศึกษา​โครงสร้าง​และ​ศัพท์​ที่​ใช้​กัน​อย่าง​กว้าง​ขวาง​ใน​ชีวิต​ ประจ�ำ​วัน ฝึก​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน​ใน​ระดับ​ทสี่​ ูง​ขึ้น

ยม. 301 ภาษา​เยอรมันเ​พื่อ​การ​ท่อง​เที่ยว (3 หน่วยกิต) GR 301 German for Tourism พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน ยม. 201 ศึกษา​การ​ใช้ภ​ าษา​เยอรมันแ​ ละ​ฝกึ ท​ กั ษะ​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน​ที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​การ​ท่อง​เที่ยว มี​การ​ฝึก​นอก​สถาน​ที่

ยม. 111 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​เยอรมัน 1 (3 หน่วยกิต) GR 111 German Language and Culture I ศึกษา​ค วาม​รู้​เบื้อง​ต้ น​เ กี่ย ว​กับ​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​ เยอรมัน โดย​เน้นเ​รื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน

ยม. 311 ภาษา​เยอรมันเ​พื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ใน​ธุรกิจท​ ่อง​เที่ยว GR 311 Communicative German for Tourism Business พื้น​ความ​รู้: ยม. 112 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​การ​ท่อง​เที่ยว โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง​และ​การ​พูด​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ ที่​มี​ประสิทธิภาพ

ยม. 112 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​เยอรมัน 2 (3 หน่วยกิต) GR 112 German Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: ยม. 111 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน​และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ศึกษา​ ใน​ขั้นส​ ูง​ต่อ​ไป 520 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ยม. 312 ภาษา​เยอรมัน​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ ใน​ธุรกิจโ​รงแรม GR 312 Communicative German for Hotel Business พื้น​ความ​รู้: ยม. 112 ศึ ก ษา​ส�ำ นวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​โรงแรม โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง​และ​การ​พูด​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ

รซ. 311 ภาษา​รัสเ​ซีย​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ใน​ธุรกิจท​ ่อง​เที่ยว RS 311 Communicative Russian for Tourism Business พื้น​ความ​รู้: รซ. 102 หรือ​ได้ร​ ับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​คนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​การ​ท่อง​เที่ยว โดย​เน้น​ทักษะการ​ฟังและ​การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ ที่​มี​ประสิทธิภาพ

ยม. 313 ภาษา​เยอรมัน​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจส​ าย​การ​บิน GR 313 Communicative German for Airline Business พื้น​ความ​รู้: ยม. 112 ศึ ก ษา​ส�ำ นวน โครงสร้ าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​สาย​การ​บิน โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง​และ​การ​พูด​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​ มี​ประสิทธิภาพ

รซ. 312 ภาษา​รัสเ​ซีย​เพื่อ​การ​สื่อสาร ​(3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจโรงแรม RS 312 Communicative Russian for Hotel Business พื้น​ความ​รู้: รซ. 102 หรือ​ได้ร​ ับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​คนิคที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​โรงแรม โดย​เน้น​ทักษะการ​ฟังและ​การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ

รซ. 101 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​รัส​เซีย 1 (3 หน่วยกิต) RS 101 Russian Language and Culture I ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​รัส​เซีย โดย​ เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน รซ. 102 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​รัส​เซีย 2 (3 หน่วยกิต) RS 102 Russian Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: รซ. 101 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน เพือ่ ​เป็น​พนื้ ฐ​ าน​ใน​การ​ศกึ ษา​ ใน​ขั้นส​ ูง​ต่อ​ไป

รซ. 313 ภาษา​รัสเ​ซีย​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจส​ าย​การ​บิน RS 313 Communicative Russian for Airline Business พื้น​ความ​รู้: รซ. 102 หรือ​ได้ร​ ับ​อนุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​คนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​สาย​การ​บิน โดย​เน้น​ทักษะการ​ฟังและ​การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​ มี​ประสิทธิภาพ วน. 101 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​เวียดนาม 1 (3 หน่วยกิต) VN 101 Vietnamese Language and Culture I ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​เวียดนาม โดย​เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน

หลักสูตรปริญญาตรี 521


วน. 102 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​เวียดนาม 2 (3 หน่วยกิต) VN 102 Vietnamese Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: วน. 101 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน เพือ่ ​เป็น​พนื้ ฐ​ าน​ใน​การ​ศกึ ษา​ ใน​ขั้นส​ ูง​ต่อ​ไป ภอว. 201 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 1 (3 หน่วยกิต) ELV 201 Vietnamese Language and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมเวียดนามในชีวิตประจ�ำวัน ภอว. 202 ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนาม 2 (3 หน่วยกิต) ELV 202 Vietnamese Language and Culture II ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมเวียดนามในการค้นคว้าทาง วิชาการ ภอว. 301 ภาษาเวียดนามเพื่อการใช้งาน (3 หน่วยกิต) ในส�ำนักงาน ELV 301 Vietnamese for Office Work ศึกษาการใช้ภาษาเวียดนาม เพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ภอว. 302 ภาษาเวียดนามเพื่องานบริการ (3 หน่วยกิต) ELV 302 Vietnamese for Service Careers ศึกษาการใช้ภาษาเวียดนามในงานบริการด้านต่าง ๆ ภอว. 401 เวียดนามศึกษา (3 หน่วยกิต) ELV 401 Vietnamese Studies ศึ ก ษ า ค้นคว้า ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของประเทศเวียดนาม 522 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สด. 101 ภาษา​และ​วัฒน​ธรรม​สวีเดน 1 (3 หน่วยกิต) SD 101 Swedish Language and Culture I ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​สวีเดน โดย​ เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน สด. 102 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​สวีเดน 2 (3 หน่วยกิต) SD 102 Swedish Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: สด. 101 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน เพือ่ ​เป็นพ​ นื้ ​ฐาน​ใน​การ​ศกึ ษา​ ใน​ขั้น​สูงต​ ่อ​ไป สป. 101 ภาษา​สเปน 1 (3 หน่วยกิต) SP 101 Spanish I ศึ ก ษา​โ ครงสร้า ง​พื้น​ฐาน​และ​ศัพท์​ที่​ใช้​กัน​ทั่วๆ ไป ฝึก​ ทักษะ​ใน​ดา้ น​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน เพือ่ เ​ป็นพ​ นื้ ​ฐาน​ใน​การ​ศกึ ษา​ ขั้น​สูงต​ ่อ​ไป สป. 102 ภาษา​สเปน 2 (3 หน่วยกิต) SP 102 Spanish II พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน สป. 101 ศึกษา​โครงสร้าง​และ​ศัพท์​ที่​ใช้​กัน​อย่าง​กว้าง​ขวาง​ใน​ชีวิต​ ประจ�ำ​วัน ฝึก​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน ใน​ระดับ​ที่​สูง​ขึ้น สป. 111 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​สเปน 1 (3 หน่วยกิต) SP 111 Spanish Language and Culture I ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​ภาษา​และ​วัฒนธรรม​สเปน โดย​ เน้น​เรื่อง​​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน


สป. 112 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​สเปน 2 (3 หน่วยกิต) SP 112 Spanish Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: สป. 111 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟัง พูด อ่าน​และ​เขียน เพื่อ​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ศึกษา​ ใน​ขั้นส​ ูง​ต่อ​ไป สป. 201 ภาษา​สเปน 3 (3 หน่วยกิต) SP 201 Spanish III พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน สป. 102 ศึ ก ษา​โ ครงสร้ า ง​ข อง​ภาษา หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน เพื่อ​สื่อสาร​และ​การ​ฝึก​ใช้​อย่าง​ ถูก​ต้อง สป. 202 ภาษา​สเปน 4 (3 หน่วยกิต) SP 202 Spanish IV พื้น​ความ​รู้: สอบ​ผ่าน สป. 201 ศึ ก ษา​โครงสร้าง​ข อง​ภาษา หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ศัพท์ ส�ำนวน การ​ฟัง พูด อ่าน เขียน ที่​ซับ​ซ้อน​ขึ้น ฝึก​แปล​ข้อความ​สั้นๆ จาก​ภาษา​ไทย​เป็น​ภาษา​สเปน และ​จาก​ภาษา​สเปน​เป็น​ภาษา​ไทย สป. 301 ภาษา​สเปน​เพื่อ​การ​ท่อง​เที่ยว (3 หน่วยกิต) SP 301 Spanish for Tourism พื้น​ความ​รู้: สป. 201 ศึกษา​การ​ใช้​ภาษา​สเปน และ​ฝึก​ทักษะ​การ​ฟัง พูด อ่าน และ​เขียน​ทใี่​ช้​ใน​ธุรกิจ​การ​ท่อง​เที่ยว มี​การ​ฝึก​นอก​สถาน​ที่

สป. 311 ภาษา​สเปน​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจท​ ่อง​เที่ยว SP 311 Communicative Spanish for Tourism Business พื้น​ความ​รู้: สป. 112 หรือ​ได้​รับอ​ นุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​คนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​การ​ท่อง​เที่ยว โดย​เน้น​ทักษะการ​ฟังและ​การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ ที่​มี​ประสิทธิภาพ สป. 312 ภาษา​สเปน​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจโ​รงแรม SP 312 Communicative Spanish for Hotel Business พื้น​ความ​รู้: สป. 112 หรือ​ได้​รับอ​ นุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​คนิคที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​โรงแรม โดย​เน้น​ทักษะการ​ฟังและ​การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ สป. 313 ภาษา​สเปน​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจส​ าย​การ​บิน SP 313 Communicative Spanish for Airline Business พื้น​ความ​รู้: สป. 112 หรือ​ได้​รับอ​ นุมัติ​จาก​คณบดี ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง​ภาษา​และ​ศัพท์​เท​คนิคที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​สาย​การ​บิน โดย​เน้น​ทักษะการ​ฟังและ​การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ ที่​มี​ประสิทธิภาพ

หลักสูตรปริญญาตรี 523


อก. 011 ภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ (3 หน่วยกิต) EN 011 English in Action เรี ย นรู้ ภ าษาอัง กฤษผ่านการท�ำกิจกรรมหลากหลายรูป แบบที่ ฝึ ก ฝนทั ก ษะด้านการอ่านจับใจความ การเขียนย่อความ การ เขียนถ่ายทอดความคิดแบบอิสระ และการใช้ค�ำศัพท์และไวยากรณ์ พื้นฐาน พร้อมทั้งการฝึกฝนทักษะด้านการฟัง การพูด และการออก เสียงโดยใช้โปรแกรมการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษด้วยตนเองในห้องปฏิบตั ิ การทางภาษา

อก. 014 ภาษาอังกฤษส�ำหรับการเรียนรู้โลก (3 หน่วยกิต) EN 014 English for Exploring the World พัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ และส�ำรวจความเป็น ไปของโลก เช่น ด้านนวัตกรรม ด้านวัฒนธรรมและแนวความคิด โดย การอ่านและเขียนภาษาอังกฤษและการใช้เทคโนโลยีประกอบการเรียน รู้ทั้ ง ในและนอกห้องเรียน รวมทั้งฝึกทักษะด้านการฟังและพูดใน สถานการณ์ที่หลากหลายจากการเรียนรู้ด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการ ทางภาษา

อก. 012 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจ�ำวัน (3 หน่วยกิต) EN 012 English for Daily Life พั ฒ นาความรูด้ า้ นค�ำศัพท์และไวยากรณ์ทสี่ ามารถน�ำไป ใช้ได้จริง ฝึกฝนทักษะด้านการอ่านและเขียนแสดงความคิดเห็นโต้ตอบ ต่อเรือ่ งทีอ่ า่ นอย่างมีเหตุผล พร้อมทัง้ ฝึกฝนทักษะด้านการฟัง การออก เสียงและการพูดโต้ตอบเรือ่ งทัว่ ไปในชีวติ ประจ�ำวันโดยใช้โปรแกรมการ เรียนรูภ้ าษาอังกฤษด้วยตนเองในห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา

อก. 101 ทักษะพื้นฐานในการเรียน (3 หน่วยกิต) วิชาภาษาอังกฤษ EN 101 English Study Skills ศึกษาและฝึกทักษะพื้นฐานในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ เช่น ลักษณะภาษาที่ใช้ในชั้นเรียน การใช้พจนานุกรม การจดบันทึก ข้อมูล การย่อความ การใช้ห้องสมุด การศึกษาด้วยตนเอง ตลอดจน การใ ช้ สื่อออนไลน์ของมหาวิทยาลัย และเน้นคุณธรรมจริยธรรมใน การเรียน

อก. 013 ภาษาอังกฤษเพื่อการถ่ายทอดความคิด (3 หน่วยกิต) EN 013 English for Expressing Ideas ฝึ ก ฝ น ทั ก ษะด้านการอ่านและเขียนเรียงความสั้นเพื่อ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลต่อเรือ่ งทีอ่ ยู่ในความสนใจในปัจจุบนั เรียนรู้หลักการและฝึกทักษะด้านการน�ำเสนอ รวมทั้งท�ำกิจกรรมการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษด้านการฟังและการพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในสังคม โดยใช้โปรแกรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการ ทางภาษา

524 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อก. 111 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 (3 หน่วยกิต) EN 111 Fundamental English l การฟังและการพูด ศึกษาและฝึกฝนทักษะการฟังและการ พูดภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวันรวมทั้งเกณฑ์ในการออกเสียง การอ่ าน ศึกษาการอ่านเบื้องต้น การอ่านอย่างคร่าวๆ และการเดาความหมายของค�ำศัพท์จากประโยค ไว ย า กรณ์ ศึกษาและฝึกฝนกฎไวยากรณ์พื้นฐาน เช่น โครง ส ร้ างของประโยคและกาล รวมทั้งการเขียนพื้นฐานโดยใช้ ไวยากรณ์ที่เรียน


อก. 112 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 (3 หน่วยกิต) EN 112 Fundamental English ll พื้นความรู้: สอบได้ อก. 111 การฟั งและการพูด ศึกษาและฝึกฝนทักษะการฟัง เช่น การฟังเพือ่ จับความคิดหลัก และรายละเอียดการจดบันทึก และทักษะ โดยการพูดในหัวข้อประจ�ำวัน การอ่ าน ศึกษาทักษะการอ่าน เช่น การอ้างถึง การใช้ อุปสรรคและปัจจัย ไวยากรณ์ ศึกษากฎไวยากรณ์ เช่น ประเภทต่าง ๆ ของ ประโยค รวมทั้งการเขียนไวยากรณ์ที่เรียน

อก. 211 ภาษาอังกฤษระดับกลาง (3 หน่วยกิต) EN 211 Intermediate English พื้นความรู้: สอบได้ อก. 112 การ ฟั ง แ ละการพูด ศึกษาและฝึกฝนทักษะการฟังบท สนทนาและบทพูดคนเดียวที่ยาวขึ้น และทักษะการพูดโดยใช้หัวข้อ สนทนาที่ซับซ้อนมากขึ้น การอ่าน ศึกษาการอ่าน เช่น การหาประโยคหัวข้อประโยค สนับสนุนและความคิดหลัก ไวยากรณ์ ศึกษากฎไวยากรณ์ เช่น วลี ประโยคเงื่อนไข รวมทั้งการเขียนโดยใช้ไวยากรณ์ที่เรียน

อก. 131 ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 1 (3 หน่วยกิต) EN 131 English Grammar I ศึ ก ษาไวยากรณ์ภาษาอังกฤษระดับพื้นฐานโดยเน้นเรื่อง ชนิดของค�ำ และโครงสร้างประโยค

อก. 212 ภาษาอังกฤษระดับสูง (3 หน่วยกิต) EN 212 Advanced English พื้นความรู้: สอบได้ อก. 211 การฟังและการพูด การศึกษาและฝึกฝนทักษะการฟังและ การพูด เกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันและหัวข้อที่น่าสนใจ การอ่าน ศึกษาทักษะการอ่านทีซ่ บั ซ้อนมากขึน้ บทความ เกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันและหัวข้อที่น่าสนใจ ไวยากรณ์ ศึกษาไวยากรณ์ที่ซับซ้อนมากขึ้น รวมทั้งการ เขียนโดยไวยากรณ์ที่เรียน

อก. 132 ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 2 (3 หน่วยกิต) EN 132 English Grammar II พื้นความรู้: อก. 131 ศึกษาไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยเน้นโครงสร้างทีม่ คี วาม ซับซ้อน อก. 140 พื้นฐานการเขียน (3 หน่วยกิต) EN 140 Essentials of Writing ศึกษาทักษะการเขียนเบือ้ งต้น การเขียนประโยคใจความ ส�ำคัญ การเรียบเรียงข้อความ โดยเน้นความเป็นเอกภาพและความ ต่อเนื่องของเนื้อความ ตลอดจนการใช้ค�ำเชื่อมต่างๆ

อก. 223 วรรณกรรมเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) EN 223 Introduction to Literature ศึกษาองค์ประกอบและลักษณะทั่วไปของงานเขียนร้อย แก้วและร้อยกรอง

หลักสูตรปริญญาตรี 525


อก. 242 การเขียนย่อหน้า (3 หน่วยกิต) EN 242 Paragraph Writing พื้นความรู้: อก. 140 ศึกษาองค์ประกอบและรูปแบบของการเขียนย่อหน้า ประเภทต่างๆ เช่น การพรรณนาโวหาร การเล่าเรื่อง การบรรยาย ตามล�ำดับเหตุการณ์ การเขียนเชิงเหตุและผล และการเปรียบเทียบ อก. 244 การเขียนเรียงความ (3 หน่วยกิต) EN 244 Essay Writing พื้นความรู้: อก. 242 ศึกษาหลักและกระบวนการเขียนเรียงความ และลักษณะ ของเรียงความประเภทต่างๆ รวมถึงเสริมสร้างความมัน่ ใจในการแสดง ความคิด และค้นหาวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ อก. 253 การฟังและการพูด (3 หน่วยกิต) EN 253 Listening and Speaking ฝึกทักษะการฟังและการพูด โดยเน้นการสนทนาแบบที่ มิได้เตรียมการล่วงหน้า การอภิปราย และทักษะการน�ำเสนอเบือ้ งต้น อก. 261 ภาษาทัศนา (3 หน่วยกิต) EN 261 Introduction to Language ศึกษาลักษณะของภาษา และภาษาศาสตร์สาขาต่างๆ รวม ถึงวิวัฒนาการของภาษา อก. 262 สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) EN 262 English Phonetics ศึกษาฐานส�ำคัญที่ใช้ในการออกเสียง ฝึกออกเสียงและฟัง เพื่อแยกแยะเสียงต่างๆ ในค�ำ รวมถึงฝึกการใช้สัทอักษรแทนเสียงใน ภาษาอังกฤษ

526 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อก. 281 กลยุทธ์การอ่าน (3 หน่วยกิต) EN 281 Reading Strategies ศึกษากลยุทธ์การอ่าน เช่น การใช้บริบท การจับใจความ หลัก การสรุปความ และการถ่ายทอดความเข้าใจจากการอ่าน อก. 282 การพัฒนาการอ่าน (3 หน่วยกิต) EN 282 Reading Development พื้นความรู้: อก. 281 ศึกษากลยุทธ์การอ่านในระดับสูง เช่น การวิเคราะห์ โครงสร้าง การแยกข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น การตีความ และการ แสดงความคิดเห็นในเรื่องที่อ่าน อก. 310 ภาษาอังกฤษทางเทคนิค (3 หน่วยกิต) EN 310 Technical English ศึกษาการสื่อสารภาษาอังกฤษทางเทคนิคและอาชีพ ทั้ง การพูดและการเขียน ฝึกการเขียนจดหมายสมัครงาน ประวัติย่อ จดหมายธุรกิจ บันทึกภายใน รายงานขนาดสั้น และเขียนข้อเสนอ รวมทัง้ ฝึกทักษะการพูดทางเทคนิค เช่น การสัมภาษณ์ การเสนองาน และการติดต่องาน อก. 311 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 (3 หน่วยกิต) EN 311 English for Business Purposes l การสนทนา ศึกษาเพื่อการใช้ติดต่อสื่อสารทางธุรกิจใน หัวข้อต่างๆ ได้แก่ การแนะน�ำตัว การรับโทรศัพท์ บทสนทนาทาง สังคม การอธิบายลักษณะผลิตภัณฑ์ บทสนทนาที่เกี่ยวกับการเดิน ทางเพื่อติดต่อธุรกิจ ฯลฯ การอ่าน ศึกษาศัพท์ที่ ใช้ในวงการธุรกิจ และฝึกอ่าน บทความธุรกิจขนาดสั้นๆ การเขียน ศึกษาและฝึกเขียนจดหมายธุรกิจชนิดต่างๆ เช่น การเขียนจดหมายหาข้อมูล จดหมายสัง่ ซือ้ สินค้า จดหมายสมัคร งาน และการเขียนประวัติส่วนตัวเพื่อสมัครงาน


อก. 312 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 (3 หน่วยกิต) EN 312 English for Business Purposes ll พื้นความรู้: สอบได้ อก. 311 การสนทนา ศึกษาเพื่อการใช้ติดต่อสื่อสารทางธุรกิจใน ระดับสูง ได้แก่ การอธิบายเกี่ยวกับลักษณะกิจการ การรายงาน ต่างๆ การประชุม การอ่าน ศึกษาค�ำศัพท์ที่ใช้ในวงการธุรกิจ และฝึกอ่าน บทความทางธุรกิจขนาดยาว การเขียน ศึกษาและฝึกเขียนจดหมายธุรกิจชนิดต่างๆ เช่น การเขียนจดหมายร้องเรียน จดหมายตอบรับการร้องเรียนของ ลูกค้า การเขียนบันทึกภายใน วาระการประชุม และรายงานการประชุม อก. 313 การอ่านและเขียนภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับนักวิชาชีพนิเทศศาสตร์ EN 313 English Reading & Writing for Communication Arts Professionals พื้นความรู้: สอบได้ อก. 112 การเรียนภาษาอังกฤษโดยเน้นทักษะด้านการอ่านและการ เขียนที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพนิเทศศาสตร์ เช่น การศึกษาศัพท์เทคนิค และส�ำนวนต่างๆ การตีความหมายจากข่าว บทโฆษณา บทความ ข้อมูลที่มาจากการวิจัย การจับใจความ การสรุปย่อ การแปลข่าว ตลอดจนการเรียนรู้พื้นฐาน การเขียนข่าว บทความ สารคดี อก. 314 การพูดภาษาอังกฤษส�ำหรับ (3 หน่วยกิต) นักวิชาชีพนิเทศศาสตร์ EN 314 English Speaking for Communication Arts Professionals พื้นความรู้: สอบได้ อก. 112 การเรียนภาษาอังกฤษโดยเน้นทักษะด้านการพูดอัน เกี่ยวข้องกับวิชาชีพนิเทศศาสตร์ เช่น การน�ำเสนองานด้านการพูด

การพูดในทีส่ าธารณะ การพูดในโอกาสต่างๆ การสัมภาษณ์ การแถลง ข่าว เป็นต้น อก. 323 ภูมิหลังทางวรรณคดีอังกฤษ (3 หน่วยกิต) EN 323 Background of English Literature ศึกษาอิทธิพลของเหตุการณ์ประวัตศิ าสตร์ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม และแนวความคิดทีม่ ตี อ่ วรรณคดีองั กฤษในสมัยต่าง ๆ และ เรียนรูถ้ งึ ลักษณะทีส่ ำ� คัญของวรรณคดีในแต่ละสมัยรวมทัง้ กวีนพิ นธ์ อังกฤษที่ส�ำคัญ อก. 324 ภูมิหลังทางวรรณคดีอเมริกัน (3 หน่วยกิต) EN 324 Background of American Literature ศึกษาวรรณคดีอเมริกันตั้งแต่สมัยอาณานิคมจนถึงสมัย ปัจจุบัน ศึกษาลักษณะและแนวความคิดที่ส�ำคัญในแต่ละสมัย รวม ทั้งงานของกวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย และนักเขียนบท ละครอเมริกันที่ส�ำคัญ อก. 325 การอ่านวรรณกรรม (3 หน่วยกิต) EN 325 Reading Literature ฝึกวิเคราะห์และตีความงานเขียนประเภทร้อยแก้วและ ร้อยกรอง อก. 326 การอ่านวรรณกรรมข้ามวัฒนธรรม (3 หน่วยกิต) EN 326 Reading across Cultures ศึกษาวรรณกรรมและเรื่องสั้นจากประเทศต่างๆ ที่เขียน หรือแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยเน้นที่เนื้อหาด้านวัฒนธรรมและการ ใช้ภาษา

หลักสูตรปริญญาตรี 527


อก. 331 ภาษาอังกฤษธุรกิจเชิงปฏิบัติ (3 หน่วยกิต) EN 331 Practical Business English เรียนรู้และฝึกใช้ภาษาอังกฤษธุรกิจเพื่อติดต่อสื่อสารให้ ได้ผลตามที่ต้องการ เช่น การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการขอข้อมูล การ สัง่ ซือ้ สินค้าทางจดหมายหรืออินเทอร์เน็ต และการใช้ภาษาอังกฤษใน การสื่อสารภายในองค์กร เป็นต้น อก. 332 ภาษาอังกฤษธุรกิจมืออาชีพ (3 หน่วยกิต) EN 332 Professional Business English เรียนรูแ้ ละฝึกการใช้ภาษาอังกฤษธุรกิจได้อย่างมืออาชีพ เพื่อน�ำไปใช้ติดต่อสื่อสารทางธุรกิจในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการเจรจาต่อรองทางการค้า การใช้ภาษาอังกฤษใน การน�ำเสนอสินค้าและบริการ เป็นต้น อก. 335 ภาษาอังกฤษส�ำหรับการจัดการ (3 หน่วยกิต) ในส�ำนักงาน EN 335 English for Office Management ศึกษาภาษาที่ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ในส�ำนักงาน รวม ทั้งฝึกใช้ภาษาเพื่อการปฏิบัติงาน เช่น การต้อนรับลูกค้า การติดต่อ สื่อสารทางโทรศัพท์ การนัดหมาย การจดบันทึก และการเขียน ก�ำหนดการ อก. 336 ภาษาอังกฤษส�ำหรับธุรกิจการบิน (3 หน่วยกิต) EN 336 English for Airline Industry ศึกษาศัพท์ ส�ำนวน และเนื้อหาที่เกี่ยวกับธุรกิจการบิน รวมทั้งฝึกใช้ภาษาเพื่อการปฏิบัติงาน ส�ำหรับพนักงานต้อนรับบน เครื่องบินและพนักงานภาคพื้นดิน

528 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อก. 337 การพัฒนาทักษะการอภิปราย (3 หน่วยกิต) EN 337 Discussion Skills Development ศึกษาและฝึกฝนการน�ำเสนอ การอภิปราย รวมทั้งการ แสดงความคิดเห็น ต่อสถานการณ์ปัจจุบันหรือประเด็นที่น่าสนใจ อก. 340 ภาษาอังกฤษส�ำหรับนิเทศศาสตร์มอื อาชีพ 1 (3 หน่วยกิต) EN 340 English for Professional Communication Arts I เรียนรู้และฝึกการใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ นิเทศศาสตร์โดยผ่านสื่อที่เป็นจริง ในสาขาวารสารศาสตร์ สาขาการ โฆษณา และสาขาการประชาสัมพันธ์ อก. 341 ภาษาอังกฤษส�ำหรับนิเทศศาสตร์มอื อาชีพ 2 (3 หน่วยกิต) EN 341 English for Professional Communication Arts II เรียนรู้และฝึกการใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ นิเทศศาสตร์โดยผ่านสื่อที่เป็นจริง ในสาขาการสื่อสารแบรนด์ สาขา วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ สาขาศิลปะการแสดง และสาขา ภาพยนตร์ อก. 344 การเขียนเรียงความระดับสูง (3 หน่วยกิต) EN 344 Advanced Writing ฝึกทักษะการเขียนระดับสูง ได้แก่ การเขียนเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงวิจารณ์และการเขียนเชิงสาธก ฝึกการเขียนย่อความและ ถอดความ อก. 358 การพัฒนาทักษะการฟัง (3 หน่วยกิต) EN 358 Listening Skills Development ศึกษาและฝึกฝนทักษะการฟัง รวมทัง้ กลวิธีในการฟัง เช่น การฟังเพือ่ จับความหมายหลัก จับสาระส�ำคัญ และการฟังแบบตีความ โดยเน้นการฟังจากสถานการณ์จริง


อก. 359 การสนทนาเชิงธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EN 359 Business Speech Communication ฝึกการพูดเชิงธุรกิจเพือ่ ใช้ในสถานการณ์ตา่ งๆ ทัง้ ภายใน และภายนอกส�ำนักงาน อก. 362 โครงสร้างภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) EN 362 Structure of English ศึ ก ษาหลั ก และฝึ กวิ เ คราะห์ โ ครงสร้ า งประโยคภาษา อังกฤษระดับสูง เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน อก. 369 การออกเสียงภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) EN 369 English Pronunciation ศึกษาและฝึกการออกเสียงภาษาอังกฤษ โดยเน้นที่การ เน้นเสียงในค�ำและประโยค จังหวะ และท�ำนองประโยค อก. 371 การแปลอังกฤษเป็นไทย (3 หน่วยกิต) EN 371 English-Thai Translation ศึกษาหลักเบื้องต้นของการแปล ปัญหาและการแก้ไข ปั ญ หาในการแปล รวมถึ ง ความแตกต่ า งในด้ า นโครงสร้ า งและ วัฒนธรรม พัฒนาทักษะการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดยเน้น การแปลงานเขียน เช่น ข่าว เพลง สารคดี และบันเทิงคดี อก. 372 การแปลไทยเป็นอังกฤษ (3 หน่วยกิต) EN 372 Thai-English Translation ศึกษาหลักเบื้องต้นของการแปลภาษาไทยเป็นภาษา อังกฤษ ปัญหาและการแก้ไขปัญหาในการแปล รวมถึงความแตกต่าง ในด้านโครงสร้างและวัฒนธรรม ฝึกแปลในระดับประโยคพืน้ ฐานจนถึง ข้อความที่ยาวขึ้น โดยเน้นการแปลงานเขียน เช่น ข่าว เพลง สารคดี และบันเทิงคดี

อก. 390 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจาก (3 หน่วยกิต) ประสบการณ์ในต่างประเทศ EN 390 Communicative English through Overseas Experiences ฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษและศึกษาวัฒนธรรมในประเทศ เจ้าของภาษา เพือ่ พัฒนาการสือ่ สารด้านการฟัง การพูด การอ่านและ การเขียนที่นักศึกษาจ�ำเป็นต้องใช้ในการสื่อสารจริงในชีวิตประจ�ำวัน เพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษได้อย่างลึกซึ้ง อก. 392 การสื่อสารภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) กับเทคโนโลยีสารสนเทศ EN 392 English Communication and IT ศึกษาทักษะภาษาและรูปแบบการน�ำเสนองานต่างๆ ใน สื่อสารสนเทศ และฝึกเขียน อก. 400 สหกิจศึกษา (3 หน่วยกิต) EN 400 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง กับลักษณะวิชาเอก โดยได้รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา และต้อง มีชั่วโมงปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ทั้งนี้ผู้ศึกษาต้องเสนอ รายงานการฝึกปฏิบัติงานตามที่สาขาวิชาก�ำหนด อก. 401 ภาษาอังกฤษในโลกไซเบอร์ (3 หน่วยกิต) EN 401 English in Cyber Space ฝึกการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต โดยผ่านโปรแกรมการสนทนาต่างๆ เรียนรูค้ ำ� ศัพท์ภาษาอังกฤษในโลก ของชาวไซเบอร์ พร้อมทั้งเขียนน�ำเสนอความคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรปริญญาตรี 529


อก. 402 ภาษาอังกฤษจากเพลงและภาพยนตร์ (3 หน่วยกิต) EN 402 English in Music and Movies เรียนรู้และซาบซึ้งกับส�ำนวนภาษา สนุกกับการตีความ หมายพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเพลงและภาพยนตร์ อก. 403 การสนทนาภาษาอังกฤษในสถานทีท่ ำ� งาน (3 หน่วยกิต) EN 403 English Speaking at Work ฝึกทักษะการฟังและพูดเพื่อการท�ำงานในสถานการณ์ที่ หลากหลาย เช่น การสื่อสารทางโทรศัพท์ การต้อนรับ การนัดหมาย และการแก้ไขปัญหาผ่านกิจกรรมการเรียนรู้และสถานการณ์จ�ำลอง อก. 404 การอ่านภาษาอังกฤษเพือ่ ความเพลิดเพลิน (3 หน่วยกิต) EN 404 English Reading for Pleasure เพลิดเพลินกับการอ่านนวนิยาย เรื่องสั้น การ์ตูนภาษา อังกฤษทีผ่ เู้ รียนสนใจ แลกเปลีย่ นและน�ำเสนอความคิดเห็นต่อเรือ่ งที่ อ่านได้ อก. 405 สนุกกับค�ำภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) EN 405 Fun with English Words สนุกสนานกับค�ำศัพท์ ค�ำแสลง และส�ำนวนภาษาอังกฤษ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคใหม่ๆ ในการจ�ำค�ำศัพท์ตามบริบทผ่าน กิจกรรมและเกมการแข่งขัน อก. 406 ภาษาอังกฤษส�ำหรับการน�ำเสนออย่าง (3 หน่วยกิต) สร้างสรรค์ EN 406 Creative English Presentations เรียนรูเ้ ทคนิคการน�ำเสนออย่างสร้างสรรค์และสามารถใช้ ภาษาอังกฤษในการน�ำเสนอได้อย่างมั่นใจ

530 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อก. 407 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการชุมชน (3 หน่วยกิต) EN 407 English for Community Service มุ่งเน้นให้ผู้เรียนน�ำความรู้ภาษาอังกฤษไปท�ำประโยชน์ ให้แก่ชมุ ชนต่างๆ โดยผ่านกิจกรรมตามความถนัดของนักศึกษา เช่น การสอนหนังสือให้กับเด็กด้อยโอกาสในชุมชน การอ่านหนังสือเสียง ให้กับคนตาบอด แล้วน�ำประสบการณ์ที่ได้มาน�ำเสนอในรูปแบบของ รายงานและการน�ำเสนอหน้าชั้นเรียน อก. 408 ภาษาอังกฤษเพื่อวิถีไทย (3 หน่วยกิต) EN 408 English for Thai Life เรียนรู้และฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษต่างๆ เพื่อสื่อสาร เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย อก. 409 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) ระหว่างประเทศ EN 409 English for International Communication เรียนรูแ้ ละฝึกฝนภาษาอังกฤษเพือ่ การน�ำเสนอผลงานใน งานประชุมสัมมนาทางวิชาการในระดับนานาชาติ อก. 410 การฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) เพื่อการสื่อสาร EN 410 Training for Communicative English Teaching ฝึกอบรมด้านเทคนิคการสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร การสร้างสื่อการสอนที่ทันสมัยและการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ ความสนใจของผู้เรียน อก. 411 การสนทนาภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) EN 411 Business Conversation ศึกษาและฝึกการพูดในสถานการณ์ทางธุรกิจต่างๆ ฝึก การสอบสัมภาษณ์เพื่อให้ได้งาน การโต้วาที การพูดสุนทรพจน์ และ การน�ำเสนอรูปแบบต่างๆ


อก. 412 การสนทนาเพื่อการติดต่อทั่วไปในสังคม (3 หน่วยกิต) EN 412 Conversation for Social Interaction ศึกษาและฝึกการแสดงความคิดเห็น การอภิปรายใน หัวข้อต่างๆ ที่คัดเลือกจากเรื่องราวและสถานการณ์ปัจจุบันที่ก�ำลัง เป็นที่สนใจ

อก. 456 กลยุทธ์การน�ำเสนอ (3 หน่วยกิต) EN 456 Presentation Strategies ศึกษาหลักการและกลยุทธ์ในการน�ำเสนองาน พร้อมด้วย การฝึกฝนการประมวลความคิด การเตรียมการน�ำเสนอและการน�ำ เสนอผลงานสู่สาธารณะเพื่อสื่อสารกับผู้ฟัง

อก. 425 วรรณกรรมเยาวชน (3 หน่วยกิต) EN 425 Children’s Literature ศึกษาวรรณกรรมเยาวชน เช่น นิทาน นิยาย หนังสือเด็ก รวมทั้งวรรณกรรมของนักเขียนร่วมสมัย

อก. 468 ภาษาและสังคม (3 หน่วยกิต) EN 468 Language and Society ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและสังคม โดยศึกษา ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อการใช้ภาษา เช่น ชนชั้น เพศ วัย เป็นต้น

อก. 442 การเขียนเชิงวิชาการ (3 หน่วยกิต) EN 442 Academic Writing พื้นความรู้: สอบได้ อก. 344 ศึกษาหลักและฝึกการเขียนเชิงวิชาการตั้งแต่เริ่มต้นจน สิ้นสุดกระบวนการ เช่น การสืบค้นข้อมูล การน�ำเสนองาน การเขียน อธิบายความ และท�ำรายงาน

อก. 471 การแปลภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EN 471 Business English Translation ฝึกแปลเอกสารต่างๆที่ใช้ในธุรกิจ เช่น โฆษณา แผ่นพับ จดหมาย บทความ จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทย เป็นภาษาอังกฤษ

อก. 446 การเขียนเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EN 446 Business Writing ศึกษาหลักและฝึกการเขียนเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจรูป แบบต่างๆ เช่น จดหมายธุรกิจประเภทต่างๆ บันทึกภายใน รายงาน การประชุม และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์

อก. 472 การแปลขั้นสูง (3 หน่วยกิต) EN 472 Advanced Translation ศึกษาและฝึกการแปลในระดับสูง วิเคราะห์ข้อผิดพลาด และแก้ปัญหาในการแปล โดยเน้นการแปลงานประเภทต่างๆ เช่น บทความจากหนังสือพิมพ์และนิตยสาร บทภาพยนตร์ และงาน วรรณกรรม

อก. 451 การฟังเชิงวิชาการ (3 หน่วยกิต) EN 451 Academic Listening Skills ศึกษาและฝึกทักษะการฟังเชิงวิชาการ เช่น การฟัง บรรยายในชั้นเรียน การฟังเพื่อจับใจความส�ำคัญ รวมถึงฝึกหัดการ จดบันทึกในชั้นเรียน

อก. 481 สัมมนาประเด็นปัจจุบัน (3 หน่วยกิต) EN 481 Seminar in Contemporary Issues ฝึกคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุมีผล ต่อประเด็นที่เป็นที่น่าสนใจในปัจจุบัน จากสาขาวิชา ต่างๆ เช่น ภาษา ภาษาศาสตร์ วรรณคดี การเมือง หลักสูตรปริญญาตรี 531


อก. 484 การสอนภาษาอังกฤษแก่นักเรียนไทย (3 หน่วยกิต) EN 484 Teaching English to Thai Students ศึกษาปัญหาต่าง ๆ ของการสอนภาษาอังกฤษแก่นกั เรียน ไทย ทั้งทางด้านทฤษฎีการสอนและวิธีสอน ฝึกเลือกแบบเรียนและ อุปกรณ์การเรียนการสอนที่เหมาะสม ฝึกท�ำโครงการสอนบันทึกการ สอนและการประเมินผล เพื่อใช้ในการสาธิตการสอน อก. 486 การอ่านเชิงธุรกิจ (3 หน่วยกิต) EN 486 Reading in Business ฝึกทักษะการอ่านและวิเคราะห์บทความเชิงธุรกิจจากสื่อ สิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือสื่อสารสนเทศ อก. 491 วัฒนธรรมกับการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) EN 491 Intercultural Communication ศึกษาความหลากหลายของวัฒนธรรมต่างๆ เพื่อความ เข้าใจและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ อก. 492 ภาพยนตร์วิจักษณ์ (3 หน่วยกิต) EN 492 Movie Appreciation ศึกษาเนื้อเรื่อง การใช้ภาษา และความหมายที่ถ่ายทอด ผ่านภาพยนตร์ อร. 111 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​อาหรับ 1 (3 หน่วยกิต) AR 111 Arabic Language and Culture I ความ​ร​เู้ บือ้ ง​ตน้ ​เกีย่ ว​กบั ​ภาษา​และ​วฒ ั นธรรม​อาหรับ โดย​ เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน อร. 112 ภาษา​และ​วัฒนธรรม​อาหรับ 2 (3 หน่วยกิต) AR 112 Arabic Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: อร. 111 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน เพือ่ ​เป็น​พนื้ ฐ​ าน​ใน​การ​ศกึ ษา​ ใน​ขั้นส​ ูง​ต่อ​ไป 532 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อร. 311 ภาษา​อาหรับ​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ใน​ธุรกิจ​ท่อง​เที่ยว AR 311 Communicative Arabic for Tourism Business พื้น​ความ​รู้: อร. 112 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​ การ​ท่ อง​เที่ ย ว โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ อร. 312 ภาษา​อาหรับ​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) ​ใน​ธุรกิจ​โรงแรม AR 312 Communicative Arabic for Hotel Business พื้น​ความ​รู้: อร. 112 ศึกษา​ส�ำนวน โครงสร้าง และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ธุรกิจ​ การ​โ รงแรม โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง การ​พูด เพื่ อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ อร. 313 ภาษา​อาหรับ​เพื่อ​การ​สื่อสาร​ (3 หน่วยกิต) ใน​ธุรกิจ​สาย​การ​บิน AR 313 Communicative Arabic for Airline Business พื้น​ความ​รู้: อร. 112 ศึ ก ษา​ส�ำ นวน โครงสร้ า ง และ​ศั พ ท์ ​เทคนิ ค ​ที่​ใ ช้​ใ น​ ธุรกิจ​สาย​การ​บิน โดย​เน้น​ทักษะ​การ​ฟัง การ​พูด เพื่อ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ อล. 101 ภาษา​และ​วัฒน​ธรรม​อิ​ตา​เลียน 1 (3 หน่วยกิต) IL 101 Italian Language and Culture I ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​ภาษา​และ​วัฒน​ธรรม​อิ​ตา​เลียน โดย​เน้น​เรื่อง​การ​สื่อสาร​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน


อล. 102 ภาษา​และวัฒ​ธรรม​อิ​ตาเลียน 2 (3 หน่วยกิต) IL 102 Italian Language and Culture II พื้น​ความ​รู้: อล. 101 ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​ภาษา วัฒนธรรม หลัก​ไวยากรณ์ ค�ำ​ ศัพท์ ส�ำนวน​การ​ฟงั พูด อ่าน และ​เขียน เพือ่ ​เป็น​พนื้ ฐ​ าน​ใน​การ​ศกึ ษา​ ใน​ขั้นส​ ูง​ต่อ​ไป ภอม. 201 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 1 (3 หน่วยกิต) ELM 201 Malay Language and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมมลายูในชีวิตประจ�ำวัน ภอม. 202 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 2 (3 หน่วยกิต) ELM 202 Malay Language and Culture II ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมมลายูในการค้นคว้าทางวิชาการ ภอม. 301 ภาษามลายูเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน (3 หน่วยกิต) ELM 301 Malay for Office Work ศึกษาการใช้ภาษามลายู เพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน ภอม. 302 ภาษามลายูเพื่องานบริการ (3 หน่วยกิต) ELM 302 Malay for Service Careers ศึกษาการใช้ภาษามลายูในงานบริการด้านต่างๆ ภอม. 401 มลายูศึกษา (3 หน่วยกิต) ELM 401 Malay Studies ศึ ก ษา ค้ น คว้ า ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของประเทศมาเลเซีย

ภอศ. 202 ศิลปะเอเชียร่วมสมัย (3 หน่วยกิต) EAS 202 Asian Contemporary Arts ศึกษาศิลปะเอเชียร่วมสมัยแขนงต่างๆ ทีน่ า่ สนใจและก่อ ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เพือ่ กระตุน้ ให้ผเู้ รียนคิดสร้างนวัตกรรมทาง ศิลปะได้ ภอศ. 301 เอเชียยุคใหม่ในสังคมโลก (3 หน่วยกิต) EAS 301 Modern Asia in the World ศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีในเอเชีย เพือ่ ให้ผเู้ รียนมีความรูค้ วามเข้าใจในอัตลักษณ์ ของภูมิภาคเอเชียยุคใหม่ ภอศ. 302 ความร่วมมือทางธุรกิจในอาเซียน (3 หน่วยกิต) EAS 302 Business Cooperation in ASEAN ศึกษาลักษณะของธุรกิจทีเ่ กิดจากความร่วมมือกันระหว่าง ชาติต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงความ ส�ำคัญของการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ความสามัคคี ความคิดสร้างสรรค์และ การมีจิตวิญญาณของผู้ประกอบการ ภอศ. 401 ปรัชญาตะวันออก (3 หน่วยกิต) EAS 401 Eastern Philosophy ศึ ก ษ า แ ก่นความคิดที่ส�ำคัญ และเป็นแบบฉบับของ ปรัชญาตะวันออก เพือ่ ให้ผเู้ รียนเข้าใจ และซาบซึง้ ในความเป็นเอเชีย รวมถึ ง สามารถน�ำหลักความคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์

ภอศ. 201 วัฒนธรรมเอเชียตะวันออก (3 หน่วยกิต) EAS 201 Eastern Asia Culture ศึกษาอารยธรรมตะวันออกที่โดดเด่นในเอเชียตัง้ แต่อดีต จนถึงปัจจุบนั เน้นเนือ้ หาทีก่ อ่ ให้เกิดความภูมิใจ สร้างความเป็นสากล และเอกภาพระหว่างชนชาติต่างๆ ในเอเชีย หลักสูตรปริญญาตรี 533


หมวดวิชาภาษาไทย ทย. 102 กลยุทธ์การเรียน (3 หน่วยกิต) TH 102 Learning Strategies การวางแผนการเรียน การท�ำงานกลุ่ม การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และการเขียนรายงานวิชาการ ทย. 103 การพัฒนาทักษะการอ่าน (3 หน่วยกิต) TH 103 Reading Skills Development หลักการอ่าน กลวิธกี ารอ่านทีด่ ี การพัฒนาทักษะการอ่าน อย่างมีประสิทธิภาพ ทย. 141 อัตลักษณ์วรรณกรรมไทย (3 หน่วยกิต) TH 141 Identity of Thai Literature อั ต ลั ก ษ ณ์ของวรรณกรรมไทยแต่ละสมัย ด้านรูปแบบ ภาษา แนวความคิด และเนื้อหา ทย. 204 การสรุปความ (3 หน่วยกิต) TH 204 Summary Writing การอ่านสรุปความ และฝึกเขียนสรุปความจากแหล่งความ รู้ต่างๆ ทย. 205 การอ่านทางธุรกิจ (3 หน่วยกิต) TH 205 Business Reading การอ่านและวิเคราะห์งานเขียนทางธุรกิจประเภทต่างๆ ทย. 206 การอ่านเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต (3 หน่วยกิต) TH 206 Reading for Better Living หลักการอ่านเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม 534 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทย. 221 ภาษากับวัฒนธรรม (3 หน่วยกิต) TH 221 Language and Culture ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาซึง่ สะท้อนวัฒนธรรมไทย และ วัฒนธรรมไทยซึ่งก�ำหนดการใช้ภาษา ทย. 242 วรรณกรรมไทยสมัยปัจจุบัน (3 หน่วยกิต) TH 242 Modern Thai Literature วรรณกรรมไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถึงสมัยปัจจุบัน ใน แง่ข องประเภท รูปแบบ แนวคิด เนื้อหา คุณค่า และแนวโน้มของ วรรณกรรมไทย ทย. 243 ลีลาภาษาในงานเขียน (3 หน่วยกิต) TH 243 Styles in Literary Works ลี ล าภาษาในงานเขียน และวิเคราะห์ลีลาภาษาของนัก เขียน ทย. 261 ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว (3 หน่วยกิต) TH 261 The Art of Prose Writing หลั กและศิลปะการเขียน กลวิธีการสร้างสรรค์งานเขียน ร้อยแก้วประเภทต่างๆ ทย. 262 การใช้ภาษาไทยในสื่อมวลชน (3 หน่วยกิต) TH 262 Thai Usage in Mass Media ลักษณะการใช้ภาษาไทยในสื่อมวลชนประเภทต่างๆ ใน เชิงสารคดีและบันเทิงคดี ทย. 263 การเขียนเพื่อธุรกิจ (3 หน่วยกิต) TH 263 Writing for Business หลั กการเขียนทางธุรกิจประเภทต่างๆ ฝึกเขียนและ วิเคราะห์ให้มีประสิทธิภาพ


ทย. 283 สุนทรียภาพในศิลปะไทย (3 หน่วยกิต) TH 283 Thai Art Appreciation กา ร รับรู้ทางสุนทรียศาสตร์ และตระหนักถึงคุณค่าของ ศิลปะไทย

ทย. 364 การเขียนทางวารสารศาสตร์ (3 หน่วยกิต) TH 364 Journalistic Writing กล วิธีการเขียน ลักษณะภาษาที่ปรากฏในหน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสาร

ทย. 306 ศิลปะการพูด (3 หน่วยกิต) TH 306 The Art of Speaking หลักการพูด องค์ประกอบของการพูด การวิเคราะห์ผู้ฟัง การพูดแบบต่างๆ และการประเมินผลการพูด

ทย. 365 สื่อสิ่งพิมพ์ (3 หน่วยกิต) TH 365 Publications กระบวนการจัดท�ำสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ การคัดเลือก และการตรวจแก้ไขต้นฉบับ ศัพท์เฉพาะเกี่ยวกับเทคนิคการพิมพ์

ทย. 307 กลยุทธ์การน�ำเสนอ (3 หน่วยกิต) TH 307 Presentation Strategies หลักการและกลยุทธ์การน�ำเสนอผลงานสูส่ าธารณะในรูป แบบต่างๆ การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีประกอบการน�ำเสนอ

ทย. 366 การเขียนบทความและสารคดี (3 หน่วยกิต) TH 366 Article and Feature Writing ลั ก ษณะ รูปแบบ วิธีการวางโครงเรื่อง กลวิธีการเขียน บทความและสารคดี ฝึกเขียนบทความและสารคดีประเภทต่างๆ

ทย. 322 ภาษาศาสตร์ภาษาไทย (3 หน่วยกิต) TH 322 Thai Linguistics ลักษณะทัว่ ไปของระบบเสียง ระบบค�ำ ประโยค และความ หมายในภาษาไทย

ทย. 367 การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ (3 หน่วยกิต) TH 367 Writing for Public Relations หลักการเขียนเพือ่ การประชาสัมพันธ์และการโฆษณาทาง สื่อมวลชนประเภทต่างๆ

ทย. 324 ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย (3 หน่วยกิต) TH 324 Foreign Languages in Thai ค�ำ ล�ำดับของค�ำในประโยค ส�ำนวนในภาษาไทยที่รับมา จากภาษาต่างประเทศ การบัญญัตศิ พั ท์ ส�ำนวน และการเปลีย่ นแปลง ทั้งด้านความหมายและเสียง

ทย. 368 ศิลปะการเขียนร้อยกรอง (3 หน่วยกิต) TH 368 The Art of Poetry Writing หลั กและศิลปะการเขียน กลวิธีการสร้างสรรค์งานเขียน ร้อยกรองประเภทต่างๆ

ทย. 344 ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมจาก (3 หน่วยกิต) วรรณกรรมไทย TH 344 Cultural Reflection on Thai Literary Works ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับสังคม วิถชี วี ติ และค่า นิยมของสังคมในวรรณกรรม

ทย. 370 การวิจัยเบื้องต้นทางภาษา (3 หน่วยกิต) และวรรณกรรมไทย TH 370 Basic Research Methodology in Thai Language and Literature ระเบียบวิธีวิจัยโดยสังเขป ขั้นตอนการวิจัยทางภาษาและ วรรณกรรมไทย หลักสูตรปริญญาตรี 535


ทย. 400 สหกิจศึกษา (ส�ำหรับแผนสหกิจศึกษา) (6 หน่วยกิต) TH 400 Cooperative Education การฝึ ก ปฏิบัติงานในหน่วยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ ลักษณ ะ วิ ชาเอก โดยได้รับความเห็นชอบจากสาขาวิชาและต้องมี ชั่วโ ม ง ป ฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ทั้งนี้ผู้ศึกษาต้องเสนอ รายงานการฝึกปฏิบัติงาน ทย. 408 ศิลปะการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจ�ำวัน (3 หน่วยกิต) TH 408 The Art of Thai Usage in Daily Life ศิลปะการใช้ภาษาไทยด้านการเขียนและการพูดเพือ่ น�ำไป ใช้ในชี วิตประจ�ำวันให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสามารถประยุกต์ใช้ ในการประกอบอาชีพในอนาคต ทย. 425 ความรู้พื้นฐานทางภาษาบาลีและสันสกฤต (3 หน่วยกิต) TH 425 Introduction to Pali and Sanskrit ศึก ษ า ห ลักไวยากรณ์ภาษาบาลีและสันสกฤตเบื้องต้น ตลอดจนการใช้ค�ำภาษาบาลี และสันสกฤตในภาษาไทย ทย. 426 ส�ำนวนในภาษาไทยปัจจุบัน (3 หน่วยกิต) TH 426 Modern Thai Expressions ศึ ก ษ า ลั ก ษณะส� ำ นวนในภาษาไทยปั จ จุ บั น และองค์ ประกอบส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดส�ำนวนลักษณะต่างๆ ทย. 427 การแปลภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย (3 หน่วยกิต) TH 427 Translation from a Foreign Language into Thai หลักการแปลเบือ้ งต้น วิเคราะห์ขอ้ ความภาษาต่างประเทศ ในด้านศัพท์ ส�ำนวน การตีความและเรียบเรียงเป็นภาษาไทย

536 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทย. 445 มรดกวรรณกรรมไทย (3 หน่วยกิต) TH 445 Thai Literary Heritage คุณค่า กลวิธีการสร้างสรรค์วรรณกรรมไทยที่เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมของชาติในแต่ละสมัย ทย. 447 ศิลปะการวิจารณ์ (3 หน่วยกิต) TH 447 The Art of Criticism ทฤษฎีและศิลปะการวิจารณ์วรรณกรรม งานวิจารณ์ของ นักวิจารณ์ ไทย และฝึกวิจารณ์วรรณกรรม ทย. 448 วรรณกรรมประวัติศาสตร์ (3 หน่วยกิต) TH 448 Thai Historical Literature วรรณกรรมส�ำคัญที่สะท้อนภาพทางประวัติศาสตร์ของ ไทย คุณค่าแห่งวรรณกรรมในด้านศิลปะ ภาษาและเหตุการณ์ ใน ประวัติศาสตร์ ทย. 449 วรรณกรรมศาสนา (3 หน่วยกิต) TH 449 Religious Literature ลักษณะเฉพาะและวิวฒ ั นาการของวรรณกรรมทางศาสนา อิทธิพลของวรรณกรรมศาสนาที่มีต่อสังคมไทย ทย. 450 วรรณกรรมประเพณี (3 หน่วยกิต) TH 450 Literature Related to Thai Customs and Traditions วรรณกรรมที่ มี เ นื้ อ หาเกี่ ย วกั บ ขนบธรรมเนี ย มและ ประเพณีไทย ในด้านสาระ ภาษา ส�ำนวน และรสวรรณคดี


ทย. 451 วรรณกรรมนิราศ (3 หน่วยกิต) TH 451 Niras ลักษณะและประเภทของนิราศ วิวัฒนาการของนิราศ วิเคราะห์ค�ำประพันธ์และส�ำนวนที่นิยมใช้ในการเขียนนิราศ ทย. 452 วรรณกรรมการแสดง (3 หน่วยกิต) TH 452 Thai Dramatic Literature ประเภทและลักษณะของวรรณกรรมที่เกี่ยวกับการแสดง ในด้านเนื้อเรื่อง ส�ำนวนภาษา วิธีการด�ำเนินเรื่อง ทย. 453 วรรณกรรมท้องถิ่น (3 หน่วยกิต) TH 453 Local Literary Works ลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่นของไทย ทั้งวรรณกรรม มุขปาฐะ และวรรณกรรมลายลักษณ์ ทย. 455 วรรณกรรมส�ำหรับเด็ก (3 หน่วยกิต) TH 455 Children Literature วรรณกรรมส�ำหรับเด็กประเภทต่างๆ หลักเกณฑ์การสร้าง วรรณกรรมส�ำหรับเด็ก ทย. 456 วรรณกรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) TH 456 Thai Literature for Tourism ประวัติความเป็นมา เนื้อหาของวรรณกรรมมุขปาฐะและ วรรณกรรมลายลักษณ์ เพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจการท่องเที่ยว ทย. 457 พัฒนาการเพลงไทย (3 หน่วยกิต) TH 457 Development of Thai Song ประเภท รูปแบบ ภาษา แนวคิด เนื้อหาของเพลงไทยใน อดีตจนถึงปัจจุบัน

ทย. 458 วรรณศิลป์ในเพลง (3 หน่วยกิต) TH 458 Literary Arts in Song ความงามทางภาษาและโลกทัศน์จากเพลงไทย ทย. 459 วรรณกรรมข้ามวัฒนธรรม (3 หน่วยกิต) TH 459 Cross-cultural Literature ประวัติ เนื้อหา ภาษา และวัฒนธรรม ในวรรณกรรมไทย ที่แปลหรือมีเค้าเรื่องมาจากวรรณกรรมต่างชาติ ทย. 469 สัมมนาการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน (3 หน่วยกิต) TH 469 Seminar in Thai Usage การสัมมนาและอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ ทัศนะเกี่ยว กับการใช้ภาษาไทยปัจจุบัน ทย. 470 ศิลปะการอ่านออกเสียง (3 หน่วยกิต) TH 470 The Art of Oral Reading องค์ประกอบและศิลปะการอ่านออกเสียงทีเ่ ป็นธรรมชาติ การใช้น�้ำเสียงให้สอดคล้องกับชนิดของสาร ทย. 471 การเขียนบันเทิงคดี (3 หน่วยกิต) TH 471 Fiction Writing หลักและกลวิธีการเขียนบันเทิงคดีประเภทต่างๆ ทย. 472 การจัดการประชุม (3 หน่วยกิต) TH 472 Conference Organizing หลักการ และวิธีการจัดการประชุมประเภทต่างๆ อย่างมี ประสิทธิภาพ

หลักสูตรปริญญาตรี 537


ทย. 473 วาทศิลป์ (3 หน่วยกิต) TH 473 Rhetoric ศิลปะการพูดอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เขียน บทพูดและฝึกพูด เพื่อการประกอบอาชีพ ทย. 481 การศึกษาเฉพาะเรื่อง (3 หน่วยกิต) TH 481 Study in Special Topics ค้นคว้าเรือ่ งทีน่ กั ศึกษาสนใจเป็นพิเศษทางด้านภาษาหรือ วรรณกรรมไทย และท�ำรายงานน�ำเสนอ ทย. 482 ภูมิปัญญาไทยกับวรรณกรรม (3 หน่วยกิต) TH 482 Thai Wisdom and Literature ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยแขนงต่างๆ ความสัมพันธ์ ระหว่างภูมิปัญญาไทยกับวรรณกรรมไทย ทย. 483 อิทธิพลของสังคมโลกที่มีต่อภาษา (3 หน่วยกิต) และวรรณกรรมไทย TH 483 Impact of Globalization on Thai Language and Literature ลักษณะภาษาและวรรณกรรมไทยทีเ่ ปลีย่ นไปตามอิทธิพล ของสังคมโลก

หมวดวิชาภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม หมวดวิชาภาษาจีนเพื่อธุรกิจระหว่างประเทศ ภอจ. 110 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 (3 หน่วยกิต) ELC 110 Chinese for Communication I ศึกษาความรูพ้ นื้ ฐานการใช้ภาษาจีน หลักการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อน�ำไปใช้ติดต่อสื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน ภอจ. 111 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 (3 หน่วยกิต) ELC 111 Chinese for Communication II ศึกษาการใช้ภาษาจีน หลักการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อยกระดับความสามารถในการติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ ภอจ. 120 การออกเสียงภาษาจีน (3 หน่วยกิต) ELC 120 Chinese Phonetics ศึกษาการออกเสียงในภาษาจีน เน้นสาระส�ำคัญในการ ออกเสียง ลักษณะพิเศษของเสียงในภาษาจีนเป็นหลัก ภอจ. 121 การฟังและการพูดภาษาจีน 1 (3 หน่วยกิต) ELC 121 Chinese Listening and Speaking I ฝึกทักษะการฟังและการพูดโดยเน้นทีก่ ารฝึกทักษะสนทนา ภาษาจีนเบื้องต้นในชีวิตประจ�ำวัน ภอจ. 130 การอ่านภาษาจีน 1 (3 หน่วยกิต) ELC 130 Chinese Reading I ศึกษาและฝึกทักษะในการอ่าน โดยเน้นการเลือกข้อมูล การอ่านที่น่าสนใจและหลากหลาย เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่าน บทความภาษาจีนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

538 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ภอจ. 140 การเขียนภาษาจีน (3 หน่วยกิต) ELC 140 Chinese Writing ศึกษาโครงสร้างและฝึกทักษะการเขียนอักษรจีน ค�ำ วลี และประโยค

ภอจ. 241 ไวยากรณ์ภาษาจีน 1 (3 หน่วยกิต) ELC 241 Chinese Grammar I ศึกษาไวยากรณ์ภาษาจีนขั้นพื้นฐาน เพื่อให้นักศึกษา เข้าใจกฎไวยากรณ์ของภาษาจีนในเบื้องต้นได้

ภอจ. 201 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 1 (3 หน่วยกิต) ELC 201 Chinese Language and Culture I ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนในชีวิตประจ�ำวัน

ภอจ. 242 ไวยากรณ์ภาษาจีน 2 (3 หน่วยกิต) ELC 242 Chinese Grammar II ศึกษาไวยากรณ์ภาษาจีน ทีเ่ น้นประโยคภาษาจีนทีซ่ บั ซ้อน ขึน้ เพือ่ ให้นกั ศึกษาสามารถใช้ความรูท้ างไวยากรณ์ไปแก้ไขปัญหาที่ พบในการสื่อสารทางภาษาทั้งด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน ได้ดี ยิ่งขึ้น

ภอจ. 202 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 (3 หน่วยกิต) ELC 202 Chinese Language and Culture II ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนในการค้นคว้าทางวิชาการ ภอจ. 222 การฟังและการพูดภาษาจีน 2 (3 หน่วยกิต) ELC 222 Chinese Listening and Speaking II ฝึกทักษะการฟังและการพูดเพือ่ ยกระดับความสามารถใน การสื่อสารภาษาจีนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ภอจ. 250 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ (3 หน่วยกิต) ELC 250 Chinese for Business Communication ฝึกทักษะการสื่อสารเชิงธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ ด้วยรูป แบบและเนื้อหาที่หลากหลาย

ภอจ. 231 การอ่านภาษาจีน 2 (3 หน่วยกิต) ELC 231 Chinese Reading II ศึกษาและฝึกทักษะการอ่านภาษาจีน โดยเน้นการฝึก ปฏิบตั ิในการอ่านภาษาจีนอย่างมีขนั้ ตอน เพือ่ ให้นกั ศึกษารูเ้ ทคนิคใน การอ่านภาษาจีนอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ภอจ. 260 วัฒนธรรมจีน (3 หน่วยกิต) ELC 260 Chinese Culture ศึกษาสภาพความเป็นอยู่ ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่มีการปฏิบัติต่อๆ กันมา รวมถึงทัศนคติของชาวจีนที่มีต่อ ข่าวสาร หรือเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในวัฒนธรรมของ ชาวจีน

ภอจ. 232 การอ่านข่าว (3 หน่วยกิต) ELC 232 News Reading ศึกษาความเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผ่านการติดตามข่าวสารจากสื่อต่างๆ

ภอจ. 301 ภาษาจีนเพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน (3 หน่วยกิต) ELC 301 Chinese for Office Work ศึกษาการใช้ภาษาจีน เพื่อการใช้งานในส�ำนักงาน

หลักสูตรปริญญาตรี 539


ภอจ. 302 ภาษาจีนเพื่องานบริการ (3 หน่วยกิต) ELC 302 Chinese for Service Careers ศึกษาการใช้ภาษาจีนในงานบริการด้านต่างๆ ภอจ. 401 จีนศึกษา (3 หน่วยกิต) ELC 401 Chinese Studies ศึกษา ค้นคว้า ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของสาธารณรัฐประชาชนจีน ภอจ. 467 ศึกษาดูงาน (3 หน่วยกิต) ELC 467 Field Trip ศึกษาภาษาและศิลปวัฒนธรรมจีนผ่านการทัศนศึกษาใน ประเทศไทยหรือในสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อให้นักศึกษามีแรง กระตุ้นในการน�ำภาษาจีนไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ภจธ. 350 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจจีนเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) ECB 350 Chinese for Business Introduction ศึกษาธุรกิจจีนเบื้องต้น เน้นค�ำศัพท์และส�ำนวนในภาษา จีนทีเ่ กีย่ วข้องกับวัตถุประสงค์และความรับผิดชอบของหน่วยงานทาง ธุรกิจ ภจธ. 351 ภาษาจีนเพื่อหลักการจัดการ (3 หน่วยกิต) ECB 351 Chinese for Management Principles ศึกษาภาษาจีนที่ใช้ในหลักการจัดการทีส่ ำ� คัญ ซึง่ ประกอบ ด้วยนโยบาย การจัดการองค์กร และการจัดการด้านทรัพยากรบุคคล ภจธ. 352 ภาษาจีนเพื่อหลักการตลาด (3 หน่วยกิต) ECB 352 Chinese for Marketing Principles ศึกษาภาษาจีนที่ใช้ในหลักการตลาด ปัญหาที่เกี่ยวข้อง กับการขนส่งสินค้าและการบริการจากผู้ผลิตถึงผู้บริโภค แรงจูงใจใน 540 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

การซือ้ สินค้า นโยบายการผลิต การจัดจ�ำหน่าย และการตัง้ ราคาสินค้า รวมถึงการพัฒนาการตลาดให้มีประสิทธิภาพ ภจธ. 353 ภาษาจีนเพื่อการจัดการผลิตภัณฑ์ (3 หน่วยกิต) และราคาระหว่างประเทศ ECB 353 Chinese for International Product and Price Management ศึกษาภาษาจีนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการผลิตภัณฑ์และ ราคาระหว่างประเทศให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าต่าง ประเทศ ภจธ. 354 ภาษาจีนเพื่อเศรษฐกิจและการค้าของจีน (3 หน่วยกิต) ECB 354 Chinese for Chinese Economy and Trade ศึกษาภาษาจีนที่เกี่ยวข้องกับทิศทางและนโยบายทาง เศรษฐกิจและการค้าของจีนในปัจจุบัน เน้นการใช้กรณีศึกษาเพื่อฝึก ให้นักศึกษามีทักษะในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อปูพื้นฐาน นักศึกษาให้มีความสามารถในการท�ำธุรกิจกับชาวจีนได้อย่างมี ประสิทธิภาพในอนาคต ภจธ. 355 ภาษาจีนเพือ่ ธุรกิจการเงินและการธนาคาร (3 หน่วยกิต) ECB 355 Chinese for Finance and Banking ศึกษาภาษาจีนที่ใช้ในธุรกิจการเงินและการธนาคาร ภจธ. 360 บุคลิกภาพของนักธุรกิจยุคใหม่ (3 หน่วยกิต) ECB 360 Personality of Businessman in New Era ศึกษาทฤษฎีการพัฒนาบุคลิกภาพของนักธุรกิจในยุค ปัจจุบัน


ภจธ. 361 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในส�ำนักงาน (3 หน่วยกิต) ECB 361 Chinese for Office Communication ศึกษาภาษาจีนที่ใช้ในส�ำนักงาน เพื่อให้สื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ภจธ. 456 ภาษาจีนเพื่อโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) ECB 456 Chinese for International Logistics ศึกษาภาษาจีนส�ำหรับการบริหารงานของฝ่ายจัดซื้อที่ เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แหล่งที่จะซื้อสินค้าและการขนส่ง

ภจธ. 362 ภาษาจีนเพื่อการน�ำเสนอ (3 หน่วยกิต) และการเจรจาต่อรองทางธุรกิจ ECB 362 Chinese for Business Presentation and Negotiation ศึกษาทักษะการน�ำเสนอและการเจรจาต่อรองทางการค้า ด้วยภาษาจีนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ภจธ. 457 ภาษาจีนเพื่อการจัดการธุรกิจน�ำเข้า (3 หน่วยกิต) และส่งออก ECB 457 Chinese for Import-Export Management ศึกษาภาษาจีนที่สัมพันธ์กับหลักการและแนวปฏิบัติที่ถูก ต้องของธุรกิจส่งออกและน�ำเข้าของบริษัทใหญ่ๆ ในสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ซึ่งประกอบไปด้วยกฎหมาย และกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง

ภจธ. 363 ภาษาจีนเพื่อการโฆษณา (3 หน่วยกิต) และการประชาสัมพันธ์ ECB 363 Chinese for Advertising and Public Relations ศึกษาภาษาจีนที่ใช้ในการโฆษณา และการประชาสัมพันธ์ ภจธ. 400 สหกิจศึกษา (ส�ำหรับแผนสหกิจศึกษา) (6 หน่วยกิต) ECB 400 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ ลักษณะวิชาเอก โดยได้รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา และต้องมี ชั่วโมงปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ทั้งนี้ผู้ศึกษาต้องเสนอ รายงานการฝึกปฏิบัติงานตามที่สาขาวิชาก�ำหนด ภจธ. 412 การแปลล่ามภาษาจีนเชิงธุรกิจ (3 หน่วยกิต) ECB 412 Chinese Interpretation for Business ศึกษาหลักการแปลภาษาจีนแบบล่าม เพื่อให้ผู้เรียน สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ

ภจธ. 458 ภาษาจีนเพื่อการจัดการธุรกิจ (3 หน่วยกิต) ระหว่างประเทศในสถานการณ์ปัจจุบัน ECB 458 Chinese for International Business Management in Current Issues ศึกษาภาษาจีนที่สัมพันธ์กับข่าวสารต่างๆ ทางด้านการ จัดการธุรกิจระหว่างประเทศที่น่าสนใจในสถานการณ์ปัจจุบัน ภจธ. 464 ภาษาจีนเพื่อพฤติกรรมผู้บริโภคชาวจีน (3 หน่วยกิต) ECB 464 Chinese for Chinese Consumer Behavior ศึกษาภาษาจีนที่เกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภคชาวจีน เน้น ทีก่ ลุม่ ของผูบ้ ริโภคทีม่ คี วามแตกต่างกันทางด้านสังคม ถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย วัฒนธรรม และทัศนคติ ภจธ. 465 สัมมนาธุรกิจระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) ECB 465 Seminar in international Business ศึกษาปัญหา แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดในด้านธุรกิจ ระหว่างประเทศ หลักสูตรปริญญาตรี 541


ภจธ. 466 การค้นคว้าอิสระ (3 หน่วยกิต) ECB 466 Independent Studies ศึกษาค้นคว้าหรือท�ำวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ระหว่างประเทศ โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษา ภจร. 333 การอ่านภาษาจีนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) และการโรงแรม ECH 333 Chinese Reading for Tourism and Hospitality ฝึ ก ทั ก ษะการอ่ า นภาษาจี น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ การ ท่องเที่ยวและการโรงแรม ภจร. 343 การเขียนภาษาจีนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) และการโรงแรม ECH 343 Chinese Writing for Tourism and Hospitality ฝึกทักษะการเขียนภาษาจีนที่ใช้ในธุรกิจการท่องเทีย่ วและ การโรงแรม ภจร. 351 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจท่องเที่ยว 1 (3 หน่วยกิต) ECH 351 Chinese for Tourism I ศึกษาภาษาจีนที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว ค�ำศัพท์เฉพาะทางวิชาชีพ ตลอดจนรูปแบบของภาษาจีนที่ใช้ในธุรกิจ การท่องเทีย่ ว ท�ำให้นกั ศึกษามีความรูค้ วามสามารถทางภาษาจีนที่ใช้ ในธุรกิจนี้ได้เป็นอย่างดี ภจร. 352 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว 2 (3 หน่วยกิต) ECH 352 Chinese for Tourism II ศึกษาและฝึกทักษะการสื่อสารภาษาจีนในเชิงธุรกิจการ ท่องเที่ยว รูปแบบของบทสนทนาในวิชานี้ จ�ำลองมาจากสถานการณ์ จริง ท�ำให้นักศึกษาค่อยๆ ซึมซับและจับหลักความเข้าใจ เทคนิค ต่างๆ จากบทสนทนาได้ 542 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ภจร. 353 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการโรงแรม 1 (3 หน่วยกิต) ECH 353 Chinese for Hospitality I ศึกษาภาษาจีนที่ใช้ในด้านการจัดการในธุรกิจการโรงแรม ค�ำศัพท์เฉพาะทางวิชาชีพ ตลอดจนรูปแบบของภาษาจีนที่ใช้ในธุรกิจ การโรงแรม เพือ่ ให้นกั ศึกษามีความรูค้ วามสามารถทางภาษาจีนที่ใช้ ในธุรกิจนี้ได้เป็นอย่างดี ภจร. 354 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการโรงแรม 2 (3 หน่วยกิต) ECH 354 Chinese for Hospitality II ศึกษาและฝึกทักษะการสื่อสารภาษาจีนในเชิงธุรกิจการ โรงแรม รวมถึงทักษะการใช้ภาษาจีนในการติดต่อบุคคลต่างๆ ลูกค้า ระหว่างองค์กรและพนักงาน เป็นต้น โดยรูปแบบของบทสนทนาใน วิชานี้ จ�ำลองมาจากสถานการณ์จริง ภจร. 355 ภาษาจีนเพื่อการโฆษณา (3 หน่วยกิต) และการประชาสัมพันธ์ ECH 355 Chinese for Advertising and Public Relations ศึกษาภาษาจีนที่ใช้ในการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ ภจร. 356 ภาษาจีนเพื่อการปฏิบัติงานฝ่ายห้องพัก (3 หน่วยกิต) ECH 356 Chinese for Room Division Operation ศึกษาภาษาจีนเพื่อการปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของ โรงแรม เช่น แผนกต้อนรับ แผนกแม่บ้าน รวมไปถึงการใช้ภาษาจีน เพื่อติดต่อสื่อสารกับลูกค้าและประสานงานกับแผนกอื่นที่เกี่ยวข้อง ภจร. 361 ภาษาจีนเพือ่ การบริการอาหารและเครือ่ งดืม่ (3 หน่วยกิต) ECH 361 Chinese for Food and Beverage Service ศึกษาการใช้ศัพท์เฉพาะและส�ำนวนภาษาจีน เพื่อการ บริการอาหารและเครื่องดื่ม โดยมุ่งพัฒนาการพูดและการฟังเพื่อให้ นักศึกษามีทักษะในการสนทนาสามารถฟังและโต้ตอบได้


ภจร. 362 ภาษาจีนเพื่อการบริการในธุรกิจ (3 หน่วยกิต) สถานพยาบาล ECH 362 Chinese for Health Services ศึกษาการใช้ศพั ท์เฉพาะทางและส�ำนวนภาษาจีน เพือ่ การ ปฏิบตั งิ านและการให้บริการในสถานพยาบาล โดยมุง่ พัฒนาทักษะการ พูดและการฟังเพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการสนทนาสามารถฟังและ โต้ตอบได้

ภจร. 459 ภาษาจีนเพื่อการบริการในธุรกิจ (3 หน่วยกิต) การท่องเที่ยวและการโรงแรม ECH 459 Chinese for Services in Tourism and Hospitality Business ศึกษาภาษาจีนเพือ่ การให้บริการตามหลักมาตรฐานสากล ด้วยการจ�ำลองสถานการณ์ และฟังการบรรยายจากผู้มีประสบการณ์ ตรงในธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรม

ภจร. 400 สหกิจศึกษา (ส�ำหรับแผนสหกิจศึกษา) (6 หน่วยกิต) ECH 400 Cooperative Education พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานหรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ ลักษณะวิชาเอก โดยได้รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา และต้องมี ชั่วโมงปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ทั้งนี้ผู้ศึกษาต้องเสนอ รายงานการฝึกปฏิบัติงานตามที่สาขาวิชาก�ำหนด

ภจร. 463 ทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทยและจีน (3 หน่วยกิต) ECH 463 Tourism Resources in Thailand and China ศึกษาความส�ำคัญ และลักษณะของทรัพยากรการท่อง เที่ยวของไทยและจีน คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ โบราณสถาน ศาสนสถาน และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

ภจร. 412 การแปลล่ามภาษาจีนเพื่อธุรกิจการบริการ (3 หน่วยกิต) ECH 412 Chinese Interpretation for Service Businesses ศึกษาหลักการแปลภาษาจีนแบบล่าม เพื่อให้ผู้เรียน สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจการบริการ ภจร. 457 ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการบิน (3 หน่วยกิต) ECH 457 Chinese for Airline Industry ศึกษาค�ำศัพท์ที่เกี่ยวกับธุรกิจการบิน รวมทั้งฝึกใช้ภาษา เพือ่ การปฏิบตั งิ านส�ำหรับพนักงานต้อนรับบนเครือ่ งบิน และพนักงาน ภาคพื้นดิน

ภจร. 464 จีนศึกษาเพื่อการน�ำเที่ยว (3 หน่วยกิต) ECH 464 Chinese Studies for Tour Guide ศึกษาสภาพการเมือง การปกครอง สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนงานประเพณีและมรดกทางภูมิปัญญาของจีน เพื่อน�ำไป ประยุกต์ใช้ในธุรกิจการท่องเที่ยว ภจร. 465 วรรณกรรมจีนเพื่อการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) ECH 465 Chinese Literature for Tourism ศึกษาวรรณกรรมจีนในด้านประวัติศาสตร์ความเป็นมา และเนื้อหา เพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจการท่องเที่ยว

ภจร. 458 ภาษาจีนส�ำหรับมัคคุเทศก์ (3 หน่วยกิต) ECH 458 Chinese for Tour Guide ศึกษาการใช้ภาษาจีนเพื่องานมัคคุเทศก์ หลักสูตรปริญญาตรี 543


ภจร. 466 สัมมนาการใช้ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) และการโรงแรม ECH 466 Seminar in Chinese Usage for Tourism and Hospitality ศึกษาการใช้ภาษาจีนทั้งภาษาแบบแผนและไม่แบบแผน ทีป่ รากฏในธุรกิจการท่องเทีย่ วและการโรงแรม โดยนักศึกษาจะได้รบั ฟังปัญหาการใช้ภาษาจีนจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ เพื่อน�ำ ความรู้และทฤษฎีที่เรียนมาประยุกต์ใช้กับกรณีศึกษา

หมวด​วิชา​การ​จัดการ​การ​โรงแรม กร. 211 การจัดการงานส่วนหน้า (3 หน่วยกิต) HM 211 Front Office Operations and Management ศึกษาระบบการจัดการงานส่วนหน้า โดยศึกษาโครงสร้าง ของการบริหารงานส่วนหน้าของโรงแรม ตำ�แหน่งและหน้าทีข่ องแต่ละ แผนกในงานส่วนหน้า จรรยาบรรณของพนักงาน รู้จักและใช้อุปกรณ์ ต่างๆ เรียนรู้ขั้นตอนการรับจอง การต้อนรับ การลงทะเบียนเข้าพัก การจัดหาห้องพัก การรับโทรศัพท์ การบริการด้านข้อมูลข่าวสาร การ ติดต่อสื่อสารกับลูกค้า และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ตลอดจนการ ประสานงานกับแผนกอื่นที่เกี่ยวข้อง กร. 212 การจัดการงานแม่บ้าน (3 หน่วยกิต) HM 212 Housekeeping Operations and Management ศึกษาระบบการจัดการงานแม่บ้าน โดยศึกษาโครงสร้าง ของการบริหารงานแผนกแม่บ้าน ตำ�แหน่งและหน้าที่ของแต่ละส่วน ในงานแม่บ้าน จรรยาบรรณของพนักงาน รู้จักและใช้อุปกรณ์ต่างๆ เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องในงานแม่บา้ น ขัน้ ตอนในการปฏิบตั งิ านของแต่ละ แผนก ฝึกปฏิบตั กิ ารทำ�ความสะอาดห้องพักและพืน้ ทีส่ าธารณะทัว่ ไป การจัดดอกไม้ ความรูเ้ กีย่ วกับห้องผ้า การติดต่อสือ่ สารกับลูกค้า และ 544 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ตลอดจนการประสานงานกับแผนกอื่นที่ เกี่ยวข้อง กร. 222 การบริการอาหารและเครื่องดื่ม (3 หน่วยกิต) HM 222 Food and Beverage Services ศึกษาโครงสร้าง หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่าย บริการอาหารและเครือ่ งดืม่ ประเภทของอาหารและเครือ่ งดืม่ รูปแบบ การจัดเลี้ยง ฝึกทักษะการให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม การจัดโต๊ะ อาหาร การเสิร์ฟอาหารและเครื่องดื่มประเภทต่างๆ การเก็บและ ทำ�ความสะอาดโต๊ะ ตลอดจนการทำ�ความสะอาดและจัดเก็บอุปกรณ์ ที่ใช้ในการบริการอาหารและเครื่องดื่ม กร. 224 การประกอบอาหารเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) HM 224 Introduction to Culinary Operations ศึกษาหลักการพื้นฐานของงานครัว อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ ในครัว รู้จักชนิดและประเภทของวัตถุดิบต่างๆ รวมถึงหลักการคัด เลือกวัตถุดิบที่จะนำ�มาใช้ในการประกอบอาหารให้ถูกต้องตามหลัก โภชนาการและสุขอนามัยในการประกอบอาหาร โดยเน้นการฝึกปฏิบตั ิ จริง กร. 231 การจัดการการโรงแรม (3 หน่วยกิต) HM 231 Hotel Management ศึกษาโครงสร้าง รูปแบบการจัดองค์การและการดำ�เนิน งานของธุรกิจโรงแรม ประเภท ลักษณะของโรงแรมและที่พักแรม หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของแผนกต่างๆ ในโรงแรม รวมถึงจรรยา บรรณในแต่ละตำ�แหน่งงาน ระบบการบริหารจัดการการโรงแรม กลยุทธ์ การวางแผน ศาสตร์และศิลป์ในการบริหารจัดการ ศิลปะการ เป็นผู้นำ� จรรยาบรรณของผู้บริหาร กฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจโรงแรม รวมถึงการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหา และแนวทางแก้ปัญหาในการบริหารงานโรงแรม ตลอดจนแนวโน้ม ของธุรกิจโรงแรมในอนาคต


กร. 234 เทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) การโรงแรม HM 234 Information Technology in Hotel Industry ศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการ โรงแรม โดยเฉพาะการใช้โปรแกรมสำ�เร็จรูปต่างๆ ระบบการสำ�รอง ห้องพัก ระบบการสั่งอาหารในภัตตาคาร จัดการเรียนการสอนใน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ กร. 241 การจัดการธุรกิจสปา (3 หน่วยกิต) HM 241 Spa Operations and Management ศึกษาประวัตคิ วามเป็นมา ประเภท การจัดการธุรกิจสปา วิธีการบำ�บัดและเครื่องมือ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในธุรกิจสปา การผสมผสานธุ ร กิ จ สปากับการรักษาสุข ภาพและการท่อ งเที่ ย ว กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสปา กร. 321 การจัดการการจัดเลี้ยง (3 หน่วยกิต) HM 321 Banquet and Catering Management ศึกษารูปแบบ หลักการบริหาร กระบวนการจัดงาน และ การวางแผนการจัดเลี้ยงทั้งในและนอกสถานที่ การติดต่อลูกค้า การ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการจัดงาน ตลอดจนแนวโน้มของธุรกิจ การจัดเลี้ยง กร. 322 การจัดการภัตตาคาร (3 หน่วยกิต) HM 322 Restaurant Management พื้นความรู้: กร. 224 ศึกษาความเป็นมา วิวัฒนาการ โครงสร้าง รูปแบบการ จัดองค์การ ประเภทของภัตตาคาร กฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจภัตตาคาร จรรยาบรรณและหน้าที่ของบุคลากรใน ภัตตาคาร หลักการวางแผนและควบคุมรายการอาหาร การจัดซื้อ การตรวจรับสินค้า การจัดเก็บและการเบิกจ่ายวัตถุดบิ การผลิตอาหาร

และการบริการ หลักการคำ�นวณที่เกี่ยวข้องกับกิจการภัตตาคาร ฝึก ปฏิบัติจริงในภัตตาคารจำ�ลอง กร. 333 กลยุทธ์ทางการตลาดสำ�หรับธุรกิจโรงแรม (3 หน่วยกิต) HM 333 Strategic Hotel Sales and Marketing พื้นความรู้: ทร. 293 ศึกษาหลักการและการวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อการขาย และการตลาดสำ�หรับธุรกิจโรงแรม การกำ�หนดนโยบาย การเลือก กลยุทธ์ การตลาดที่เกี่ยวกับการขาย โครงสร้างธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การตลาดผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน กร. 336 พฤติกรรมองค์การในอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) บริการ HM 336 Organization Behavior in Hospitality Industry ศึกษาการจัดโครงสร้างและพัฒนาองค์การในโรงแรม ภัตตาคาร เรือสำ�ราญ สถานพยาบาล และสถานบริการสุขภาพ พฤติกรรมของบุคคล กลุ่มและองค์การ วัฒนธรรมองค์การ รวมถึง การติดต่อสื่อสาร ภาวะผู้นำ� การตัดสินใจ สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพล ต่อองค์การ การเปลี่ยนแปลงและการจัดการกับความขัดแย้งใน องค์การ เพื่อให้สามารถทำ�งานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ กร. 342 กายวิภาคศาสตร์สำ�หรับ (3 หน่วยกิต) การนวดแผนไทย HM 342 Anatomy for Thai Massage ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสรีระร่างกายมนุษย์ ข้อต่อ จุดต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งบ่งบอกถึงสุขภาพ และศึกษาความปลอดภัย ในการนวดแผนไทยสำ�หรับการผ่อนคลายและรักษาสุขภาพ ข้อห้าม และข้อควรระวังในการนวด ฝึกปฏิบัติการนวดแผนไทย หลักสูตรปริญญาตรี 545


กร. 362 การผสมเครื่องดื่ม (3 หน่วยกิต) HM 362 Bartending ศึ ก ษาเครื่ อ งดื่ ม และส่ ว นผสมประเภทต่ า งๆ ทั้ ง ที่ มี แอลกอฮอล์และไม่มีแอลกอฮอล์ การเลือกใช้อุปกรณ์ ลีลาการผสม เครื่องดื่ม และการเสิร์ฟ การคำ�นวณส่วนผสมของเครื่องดื่ม เน้นการ เรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติควบคู่กันไปเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำ� ความรู้ที่เรียนมาไปสร้างสรรค์เครื่องดื่มชนิดใหม่ๆ ได้ กร. 363 การแกะสลัก (3 หน่วยกิต) HM 363 Food Carving ศึกษาเทคนิคและรูปแบบการแกะสลักผักและผลไม้ การ เลือกและเตรียมวัตถุดบิ การใช้อปุ กรณ์และการดูแลรักษา การนำ�หลัก ศิลปะมาประยุกต์ใช้ในการแกะสลัก โดยเน้นการเรียนภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติควบคู่กันไปเพื่อใช้ในการประดับตกแต่งอาหาร และภาชนะใส่ อาหารให้ดูสวยงาม กร. 364 ศิลปะการตกแต่งอาหาร (3 หน่วยกิต) HM 364 Food Styling ศึกษาเทคนิคและวิธีการตกแต่งอาหารในรูปแบบและ วัฒนธรรมต่างๆ การประยุกต์ ใช้วัตถุดิบและวัสดุต่างๆ มาจัดแต่ง อาหารและโต๊ะอาหาร เน้นการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั คิ วบคู่ กันไปเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำ�ความรู้ที่เรียนมาไปสร้างสรรค์ศิลปะ การตกแต่งอาหารและการจัดโต๊ะอาหารได้ กร. 366 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไวน์ (3 หน่วยกิต) HM 366 Introduction to Wine ศึกษาประวัติความเป็นมา ถิ่นกำ�เนิด ประเภทและชนิด ของไวน์ ขั้นตอนการผลิต การเก็บรักษา การอ่านฉลากและการเลือก ซื้อ รวมถึงการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะกับไวน์แต่ละชนิด รสชาติของไวน์ การเก็บรักษาไวน์ การเปิดและเสิรฟ์ ไวน์ ความรูเ้ รือ่ ง ไวน์กับสุขภาพ มีการศึกษานอกสถานที่ 546 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กร. 369 ศิลปะในการชงกาแฟ (3 หน่วยกิต) HM 369 The Arts of Coffee Making ศึกษารูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การ ประเภท ลักษณะ ของธุรกิจร้านกาแฟ ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับกาแฟ ประเภท และชนิด ของกาแฟ การเลือกเมล็ดกาแฟ การเลือกอุปกรณ์และการดูแลรักษา เทคนิคการชงกาแฟรูปแบบต่างๆ โดยเน้นการเรียนภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติควบคู่กันไปเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำ�ความรู้ไปประยุกต์ ใช้กับ ธุรกิจกาแฟได้ มีการศึกษานอกสถานที่ กร. 371 การจัดดอกไม้เบื้องต้น (3 หน่วยกิต) HM 371 Basic Flower Arrangement ศึกษาทฤษฎีและองค์ประกอบต่างๆ หลักการและความ รู้เบื้องต้นในการจัดดอกไม้ ลักษณะและการดูแลรักษาดอกไม้ชนิด ต่างๆ อุปกรณ์ ในการจัดดอกไม้ การเลือกรูปทรงของแจกันเพื่อให้ สอดคล้องกับรูปแบบการจัดดอกไม้ทั้งแบบตะวันออกและตะวันตก เน้นการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติควบคู่กันไปเพื่อให้ผู้เรียน สามารถนำ�ความรู้ที่เรียนมาไปสร้างสรรค์การจัดดอกไม้ในรูปแบบ ต่างๆ ได้ กร. 372 การจัดดอกไม้ขั้นสูง (3 หน่วยกิต) HM 372 Advanced Flower Arrangement พื้นความรู้: กร. 371 หรือได้รับอนุมัติจากคณบดี ศึกษาทฤษฎีและองค์ประกอบต่างๆ หลักการในการจัด ดอกไม้ขั้นสูง การจัดดอกไม้ให้เหมาะสมกับเทศกาลต่างๆ การนำ� วัสดุอื่นๆ มาประยุกต์ในการจัดแต่งดอกไม้ การคำ�นวณต้นทุนค่าใช้ จ่ายในแต่ละแจกัน ฝึกปฏิบตั กิ ารจัดดอกไม้รปู แบบต่างๆ เน้นการเรียน ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั คิ วบคูก่ นั ไปเพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถนำ�ความ รู้ที่เรียนมาไปสร้างสรรค์การจัดดอกไม้ในรูปแบบต่างๆ ในขั้นสูงได้


กร. 385 การศึกษาเฉพาะเรื่องในอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) การโรงแรม HM 385 Independent Studies in Hotel Industry พื้นความรู้: กร. 231 การศึกษาค้นคว้าในหัวข้อหรือประเด็นทีน่ า่ สนใจและเป็น ประโยชน์ ในเชิงวิชาการและหรือวิชาชีพในธุรกิจโรงแรมและธุรกิจที่ เกี่ยวข้อง และทำ�รายงานอย่างละเอียด นักศึกษาสามารถจะศึกษา ค้นคว้าได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การศึกษาจะอยู่ภายใต้การ ควบคุมและการประเมินของอาจารย์ประจำ�สาขาวิชา กร. 391 ภาษาอังกฤษสำ�หรับการปฏิบัติงาน (3 หน่วยกิต) ฝ่ายห้องพัก HM 391 English for Room Division Operations ศึกษาการใช้สำ�นวนภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติงานใน แผนกต่างๆ ของโรงแรม โดยมุ่งศึกษาสำ�นวนภาษาอังกฤษที่จำ�เป็น สำ�หรับการปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของโรงแรม ในแผนกต้อนรับ แม่บ้าน โดยเน้นให้ผู้เรียนรู้จักสำ�นวนต่างๆ และฝึกทักษะการอ่าน เขียนจากเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับงานในแผนกต่างๆ และฝึกทักษะการ ฟัง พูด จากสถานการณ์จำ�ลอง รวมทั้งฝึกให้นักศึกษามีทักษะในการ สนทนา สามารถฟังและโต้ตอบได้ กร. 392 ภาษาอังกฤษสำ�หรับการโรงแรม (3 หน่วยกิต) HM 392 English for Hotel ศึกษาการใช้สำ�นวนภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติงานใน แผนกต่างๆ ของโรงแรม โดยมุ่งศึกษาสำ�นวนภาษาอังกฤษที่จำ�เป็น สำ�หรับการปฏิบัติงานในแผนกอาหารและเครื่องดื่ม การขายและการ ตลาด ประชาสัมพันธ์ ฝึกทักษะการอ่าน เขียน โดยเน้นทักษะการ เขียนเพือ่ ติดต่อธุรกิจ ฝึกการอ่านและเขีนจดหมายโต้ตอบและบันทึก ติดต่อภายใน การเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ และฝึกทักษะการฟัง พูด จากสถานการณ์จำ�ลอง

กร. 435 การเป็นผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) โรงแรม HM 435 Entrepreneurship in Hotel Industry ศึกษาบทบาท ประเภทและคุณลักษณะของการเป็น เจ้าของธุรกิจ การวางแผนธุรกิจ การวิเคราะห์และประเมินสภาพ แวดล้อมต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ รวมถึงแนวทางและ โอกาสในการเป็นเจ้าของธุรกิจในอุตสาหกรรมการโรงแรม กร. 441 การนวดแผนไทย (3 หน่วยกิต) HM 441 Thai Massage พื้นความรู้: กร. 342 ศึกษาความเป็นมาของการนวดแผนไทย ความปลอดภัย เทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ในการนวดแผนไทยเพือ่ สุขภาพและการผ่อนคลาย รวมทั้งข้อห้าม ข้อควรระวังในการนวด มารยาทและจรรยาบรรณใน การนวด ฝึกปฏิบตั กิ ารนวดแผนไทยเพือ่ ผ่อนคลาย การคลายเส้น การ ดัด การยืด การประคบและการอบสมุนไพร กร. 465 การฝึกงาน (6 หน่วยกิต) HM 465 Internship พื้นความรู้: กร. 211 หรือ กร. 212 หรือ กร. 222 นักศึกษาสามารถฝึกงานได้ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ การฝึกงานเป็นการศึกษาภาคปฏิบัติเพื่อให้โอกาสนักศึกษาได้นำ�เอา ความรู้ ความเข้าใจที่ได้เรียนไปใช้ในสถานการณ์จริงในการปฏิบตั งิ าน โรงแรม ภัตตาคาร เรือสำ�ราญ สปา สมาคมโรงแรมไทย สภา หอการค้าไทย รวมทั้งหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และจะจบหลักสูตร ได้ต่อเมื่อมีชั่วโมงฝึกงานไม่น้อยกว่า 400 ชั่วโมง การศึกษานี้จะอยู่ ภายใต้การควบคุมดูแลและประเมินผลของสาขาวิชาร่วมกับหน่วยงาน ที่รับนักศึกษาเข้าฝึกงาน

หลักสูตรปริญญาตรี 547


กร. 466 สหกิจศึกษาในอุตสาหกรรมโรงแรม (6 หน่วยกิต) HM 466 Cooperative Education in Hotel Industry พื้นความรู้: สอบได้ CO 301 ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพ จากการปฏิบตั งิ านพืน้ ฐาน อย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ทำ�งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน กร. 468 สัมมนาในอุตสาหกรรมโรงแรม (3 หน่วยกิต) HM 468 Seminar in Hotel Industry พื้นความรู้: กร. 465 หรือ กร. 466 ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม บริการ รวมทั้งแนวโน้มของธุรกิจโรงแรม ภัตตาคาร เรือสำ�ราญ สปา และธุรกิจบริการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยนักศึกษาจะได้รบั ฟังการบรรยาย จากผูท้ รงคุณวุฒแิ ละมีประสบการณ์ ในสาขาวิชาชีพต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง และหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ เพื่อนำ�ความรู้ที่ได้จากวิทยากร ตลอดจน ทฤษฎีที่ได้เรียนมาประยุกต์ใช้กับกรณีศึกษา กร. 470 อาหารไทย (3 หน่วยกิต) HM 470 Thai Cuisine ศึกษาลักษณะของอาหารไทย วัตถุดิบต่างๆ ในการ ประกอบอาหารไทย รวมถึงเทคนิคในการประกอบอาหารไทย โดย เน้นการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไป 548 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

กร. 472 ขนมหวานไทย (3 หน่วยกิต) HM 472 Thai Dessert ศึกษาลักษณะของขนมหวานไทย วัตถุดิบต่างๆ ในการ ประกอบขนมหวานไทย รวมถึงเทคนิคในการประกอบขนมหวานไทย โดยเน้นการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไป กร. 473 ขนมหวานแบบจัดใส่ถ้วยและจาน (3 หน่วยกิต) HM 473 Verrines and Plated Dessert ศึกษาเทคนิคการจัดขนมหวานใส่ถ้วยและจาน ซอส ประเภทต่างๆ สำ�หรับแต่งจาน การวาดลายสำ�หรับตกแต่งจาน การ ทำ�ของตกแต่ง โดยเน้นการเรียนทัง้ ภาคทฤษฎีและปฏิบตั คิ วบคูก่ นั ไป กร. 474 ขนมอบขั้นพื้นฐาน (3 หน่วยกิต) HM 474 Basic Patisserie ศึกษาความรูพ้ นื้ ฐานในการทำ�ขนมอบ รูจ้ กั ส่วนผสมและ อุปกรณ์ต่างๆ ที่จำ�เป็นในการทำ�ขนม ลักษณะของขนมอบประเภท ต่างๆ หลักการพื้นฐาน และเทคนิคต่างๆ ในการทำ�ขนม โดยเน้นการ เรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไปเพื่อให้ผู้เรียนสามารถทำ� ขนมอบแบบง่ายได้ กร. 475 อาหารฟิวชั่น (3 หน่วยกิต) HM 475 Fusion Food ศึกษาจุดเด่นของอาหารจากวัฒนธรรมทีห่ ลากหลายเพือ่ ให้ผู้เรียนรู้จักนำ�อาหารจากวัฒนธรรมต่างๆ มาประยุกต์เป็นอาหาร ฟิวชั่นได้โดยเน้นการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไป


กร. 491 ภาษาอังกฤษสำ�หรับอุตสาหกรรมบริการ (3 หน่วยกิต) HM 491 English for Hospitality Industry ศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษที่ใช้ในอุตสาหกรรมการบริการ ในระดับที่เน้นให้ผู้เรียนรู้จักคำ�ศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมการ บริการ โรงแรม เรือสำ�ราญ ภัตตาคาร สปา ฝึกทักษะการอ่าน เขียน จากบทความที่เกี่ยวข้อง และฝึกทักษะการฟัง พูด จากสถานการณ์ จำ�ลอง รวมทั้งฝึกให้นักศึกษามีทักษะในการสนทนา สามารถฟังและ โต้ตอบได้

หมวด​วิชา​การ​จัดการ​การ​ท่อง​เที่ยว

กร. 492 ภาษาอังกฤษสำ�หรับเชฟ (3 หน่วยกิต) HM 492 English for Chef ศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษที่ใช้ในครัวเพื่อให้ผู้เรียนรู้จัก คำ�ศัพท์ต่างๆ โดยเน้นทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน

ทท. 204 การท่องเที่ยวเฉพาะทาง (3 หน่วยกิต) TM 204 Niche Tourism ศึกษาลักษณะเฉพาะและการจัดการการท่องเทีย่ วเฉพาะ ทางในรูปแบบของการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ การท่องเที่ยวเพื่อกีฬา การท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม การท่องเทีย่ วเชิง ผจญภัย การท่องเทีย่ วเพือ่ การศึกษา และการท่องเทีย่ วเฉพาะทางใน รูปแบบอื่นๆ ที่อยู่ในความสนใจของนักท่องเที่ยว

กร. 493 ภาษาอังกฤษสำ�หรับพนักงานสปา (3 หน่วยกิต) HM 493 English for Spa Personnel ศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษที่ใช้สปาเพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคำ� ศัพท์ต่างๆ โดยเน้นทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน

ทท. 203 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (3 หน่วยกิต) TM 203 Creative Tourism ศึกษาหลักเบื้องต้นของการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว ลักษณะเฉพาะในรูปแบบต่างๆ และการท่องเทีย่ วแนวใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบัน ตลอดจนการนำ�เสนอนวัตกรรมทางการท่องเที่ยวรูปแบบ ใหม่อย่างสร้างสรรค์

ทท. 211 การจัดการธุรกิจนำ�เที่ยว (3 หน่วยกิต) และธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว TM 211 Tour Operator and Travel Agency Management ศึกษาประเภท หลักการบริหารจัดการ การวางแผน และ การดำ�เนินงานของธุรกิจนำ�เที่ยวและธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว ตลอด จนความแตกต่างระหว่างธุรกิจทั้งสองประเภท

หลักสูตรปริญญาตรี 549


ทท. 221 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ (3 หน่วยกิต) การจัดการการประชุม การจัดนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล TM 221 Introduction to MICE Management ศึกษาความหมาย ความสำ�คัญ ลักษณะ รูปแบบ และ ความแตกต่างของธุรกิจการจัดประชุม ธุรกิจการจัดนิทรรศการ ธุรกิจ การท่องเทีย่ วเพือ่ เป็นรางวัล หน่วยงานและองค์กรทีส่ นับสนุนการจัด ประชุม การจัดนิทรรศการ และการท่องเทีย่ วเพือ่ เป็นรางวัล และแนว โน้มของการเจริญเติบโตของแต่ละธุรกิจ ทท. 231 อารยธรรมโลกเพื่อการนำ�เที่ยว (3 หน่วยกิต) TM 231 World Civilization for Tour Guiding ศึกษาพัฒนาการของอารยธรรมตะวันตก อารยธรรม ตะวันออก และอารยธรรมไทย ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความเชื่อ วรรณคดี และศิลปะ ทท. 232 ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อการนำ�เที่ยว (3 หน่วยกิต) TM 232 Arts and Cultures for Tour Guiding ศึ ก ษาลั ก ษณะและรู ป แบบของศิ ล ปกรรมตะวั น ตก ศิลปกรรมตะวันออก และศิลปกรรมไทยในแต่ละยุคสมัย โดยมุ่งเน้น ทีค่ วามเชือ่ ความศรัทธาทางศาสนา วิถชี วี ติ ในแต่ละแหล่งวัฒนธรรม ซึ่งมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมทุกแขนง ทท. 241 การจัดการธุรกิจเพื่อการพักผ่อน (3 หน่วยกิต) และบันเทิง TM 241 Leisure and Entertainment Business Management ศึกษารูปแบบ ประเภท และลักษณะการประกอบธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อการใช้เวลาว่าง และการ พักผ่อน และแนวโน้มของธุรกิจแหล่งท่องเที่ยวแบบครบวงจร 550 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทท. 242 การจัดการธุรกิจรีสอร์ทและสปา (3 หน่วยกิต) TM 242 Resort and Spa Business Management ศึกษาแนวคิด ประเภท และลักษณะการประกอบธุรกิจ รีสอร์ทและสปา การวางแผน การดำ�เนินงาน การประชาสัมพันธ์ การ ตลาด และการพัฒนาบุคลากร รวมทั้งหลักการควบคุมคุณภาพ แนว โน้มของตลาดรีสอร์ทและสปา ทท. 306 การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (3 หน่วยกิต) TM 306 Sustainable Tourism Planning ศึกษารูปแบบการจัดการ แนวคิดการพัฒนา การวางแผน การวางเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการท่องเทีย่ วทีน่ ำ�ไปสูแ่ นวคิด เกี่ยวกับการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยคำ�นึงถึงผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นรวมถึงบทบาท ของภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทท. 314 เทคนิคการขายและการตลาด (3 หน่วยกิต) สำ�หรับสินค้าทางการท่องเที่ยว TM 314 Selling and Marketing Techniques for Tourism Products ศึกษาบทบาทหน้าทีข่ องพนักงานขาย ขัน้ ตอนการดำ�เนิน งาน การทำ�การตลาด และเทคนิคการขายอย่างเป็นระบบและมี ประสิทธิภาพ กลยุทธ์ในการบริหารจัดการลูกค้า และการสร้างความ ประทับใจให้แก่ลูกค้า


ทท. 324 การจัดการงานอีเวนท์ (3 หน่วยกิต) TM 324 Event Management ศึ ก ษารู ป แบบและหลั ก การบริ ห ารการจั ด งาน และ กระบวนการการจัดงานรูปแบบต่างๆ การจัดงานประชุม สัมมนา นิทรรศการ งานแสดงสินค้า การดำ�เนินการจัดเลีย้ งทัง้ ในสถานทีแ่ ละ นอกสถานที่ การติดต่อลูกค้า การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการจัด งาน ตลอดจนแนวโน้มของธุรกิจรับจัดงานในอนาคตโดยมีการฝึก ปฏิบัติในรายวิชา ทท. 333 ไทยศึกษาเพื่อการนำ�เที่ยว (3 หน่วยกิต) TM 333 Thai Studies for Tour Guiding ศึกษาถึงลักษณะพืน้ ฐานความเป็นไทย โดยพิจารณาทัง้ ทางด้านกลุ่มชาติพันธ์ุ การก่อตั้งอาณาจักรต่างๆ รวมถึงสภาพ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศิลปกรรม ความ เชื่อ ศาสนา วรรณคดี วรรณกรรม นาฏศิลป์ ดนตรีไทย อาหารไทย ตลอดจนงานประเพณีและมรดกทางภูมิปัญญาไทย เริ่มตั้งแต่ก่อน สมัยประวัตศิ าสตร์จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เพือ่ นำ�มาประยุกต์ใช้ ในธุรกิจการท่องเที่ยว โดยมีการฝึกปฏิบัติและศึกษานอกสถานที่ ทท. 341 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการพักผ่อน (3 หน่วยกิต) และบันเทิง TM 341 Recreational Activities for Leisure and Entertainment ศึกษาหลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ และฝึกทักษะการ เป็นผู้นำ�กิจกรรมเพื่อสร้างความสนุกสนานให้แก่นักท่องเที่ยว โดย เฉพาะการเลือกใช้กจิ กรรมทีเ่ หมาะสมกับกลุม่ นักท่องเทีย่ ว เพือ่ เสริม สร้างมนุษยสัมพันธ์กบั นักท่องเทีย่ วและเทคนิคการแก้ไขปัญหาเฉพาะ หน้า

ทท. 402 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ (3 หน่วยกิต) เพื่อการท่องเที่ยว TM 402 English Reading and Writing for Tourism ฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจท่องเทีย่ ว โดย เน้นการอ่านบทความที่เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว รายการท่องเที่ยว โฆษณาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยว ตลอดจนฝึกทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจการท่องเทีย่ ว โดยเน้นการกรอกแบบฟอร์ม การเขียนโน้ตย่อ การบันทึกข้อความ และการเขียนรายการเดินทาง ท่องเที่ยว ทท. 403 การเป็นผู้ประกอบการ (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว TM 403 Entrepreneurship in Tourism Industry ศึกษาแนวทางการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การจัดทำ�แผนธุรกิจ การเสริมสร้างความคิด สร้างสรรค์ทางธุรกิจ และการกำ�หนดกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อความ สำ�เร็จของธุรกิจการท่องเที่ยว โดยมีการฝึกปฏิบัติที่ห้องปฏิบัติการ บริษัททัวร์จำ�ลอง ทท. 411 ภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) TM 411 Basic English for Tourism ศึกษาคำ�ศัพท์เทคนิคที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ศิลปะ วั ฒ นธรรม ภู มิ ศ าสตร์ ประวั ติ ศ าสตร์ นาฏศิ ล ป์ ดนตรี และ สถาปัตยกรรม

หลักสูตรปริญญาตรี 551


ทท. 412 ภาษาอังกฤษขั้นสูงเพื่อการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) TM 412 Advanced English for Tourism ศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการบริหารงานและการ บริการทางการท่องเทีย่ ว ศัพท์เทคนิคทีเ่ กีย่ วกับการท่องเทีย่ ว ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ นาฏศิลป์ ดนตรี สถาปัตยกรรม การฟัง พูด อ่าน เขียน การจับใจความสำ�คัญจากเอกสาร บทความ และ หนังสือทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ ว การสนทนาทางธุรกิจการท่องเทีย่ ว ทท. 415 ภาษาอังกฤษสำ�หรับธุรกิจ (3 หน่วยกิต) ตัวแทนท่องเทีย่ ว TM 415 English for Travel Agency ฝึกทักษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษ โดยมุง่ เน้นการฟังและ การพูดจากบทสนทนาที่จำ�ลองมาจากสถานการณ์ต่างๆ ในธุรกิจนำ� เที่ยว รวมถึงการอ่านและเขียนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจนำ�เที่ยว ทท. 425 การจัดนิทรรศการ (3 หน่วยกิต) TM 425 Exhibition Management ศึกษาหลักการจัดนิทรรศการ กระบวนการจัดนิทรรศการ การวางแผนและการเตรียมการ การเลือกสถานที่จัดนิทรรศการ การ ออกแบบนิทรรศการ ธุรกิจการจัดนิทรรศการ ผู้แสดงสินค้าและผู้ชม งาน ผลกระทบของการจัดนิทรรศการ การประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยมีการฝึกปฏิบัติในรายวิชา ทท. 428 ภาษาอังกฤษสำ�หรับมัคคุเทศก์ (3 หน่วยกิต) TM 428 English for Tour Guide ศึ ก ษาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ งานมัคคุเทศก์ ศั พ ท์ เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับอาชีพมัคคุเทศก์ ได้แก่ ศิลปะ วัฒนธรรม นาฏศิลป์ ดนตรี สถาปัตยกรรม รวมทั้งมุ่งเสริมทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนในการสื่อสารในชีวิตประจำ�วัน 552 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ทท. 435 หลักการมัคคุเทศก์ (3 หน่วยกิต) TM 435 Principles of Tour Guide พื้นความรู้: ทท. 333 ศึกษาบทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณของมัคคุเทศก์ ฝึก ทักษะการเป็นผู้นำ�กิจกรรมเพื่อสร้างความสนุกสนานให้แก่นักท่อง เที่ยว หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ การวางแผนและการเตรียม การก่อนการเดินทาง และธรรมเนียมปฏิบตั ิในการเข้าชมสถานทีท่ อ่ ง เทีย่ ว เทคนิคการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ารวมถึงความรูเ้ กีย่ วกับแหล่ง ท่องเที่ยวที่สำ�คัญทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนอารยธรรมของโลก ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อการนำ�เที่ยว โดยมีการฝึกปฏิบัติและศึกษา นอกสถานที่ ทท. 444 กลยุทธ์การตลาดสำ�หรับแหล่งท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) TM 444 Strategic Destination Marketing พื้นความรู้: ทร. 263 ศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการตัดสินใจเลือกแหล่งท่อง เที่ยว แนวโน้มและการแข่งขันในธุรกิจท่องเที่ยว รวมถึงโอกาสทาง ธุรกิจที่จะนำ�กลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว ทท. 445 การจัดการธุรกิจเรือสำ�ราญ (3 หน่วยกิต) TM 445 Cruise Business Management ศึกษาวิวัฒนาการ สิ่งอำ�นวยความสะดวก วิธีการดำ�เนิน งาน กิจกรรมนันทนาการ กลยุทธ์การตลาด กลุ่มธุรกิจที่เกี่ยวข้อง และแนวโน้มของธุรกิจเรือสำ�ราญ ทท. 452 การจัดการงานเทศกาล (3 หน่วยกิต) TM 452 Festival Management ศึกษาการวางแผน การออกแบบ การประสานงาน การ ทำ�การตลาดสำ�หรั บ การจั ด งานเทศกาลต่ า งๆ การแก้ ปั ญ หา สถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการจัดงานเทศกาล และการ ประเมินผลการจัดงาน โดยมีการฝึกปฏิบัติในรายวิชา


ทท. 453 การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม (3 หน่วยกิต) TM 453 Cultural Heritage Management ศึกษาแนวทางการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม การ พัฒนารูปแบบและกิจกรรมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และการ วางแผนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน

ทท. 457 การค้นคว้าอิสระ (3 หน่วยกิต) TM 457 Independent Study ศึกษาและค้นคว้าในประเด็นทางการท่องเทีย่ วทีน่ กั ศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษ ภายใต้การดูแลและการให้คำ�ที่ปรึกษาของ อาจารย์ผู้สอน

ทท. 454 การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ (3 หน่วยกิต) TM 454 International Tourism ศึกษาการวางแผน การขาย การทำ�การตลาดการท่อง เที่ยวระหว่างประเทศ เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์การจัดการท่องเที่ยว ระหว่างประเทศ นักศึกษาจะได้มีโอกาสเรียนรู้การนำ�เที่ยว พิธีการ การเข้าออกประเทศ การปฏิสมั พันธ์ระหว่างเจ้าบ้านกับผูม้ าเยือน และ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในระหว่างการนำ�เที่ยว

ทท. 458 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) TM 458 Basic Economics for Tourism ศึกษาความหมาย ความสำ�คัญและความเชื่อมโยงของ แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ที่มีต่อธุรกิจการท่องเที่ยว รวมถึงปัจจัยที่มี อิทธิพลต่ออุปสงค์และอุปทานของการท่องเที่ยว ตลอดจนบทบาท อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่มีต่อธุรกิจการท่องเที่ยว โดย การประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์เข้ากับธุรกิจการท่องเทีย่ วในภาคต่างๆ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร และสายการบิน เป็นต้น รวมทั้งผลกระทบ ของธุรกิจการท่องเที่ยวทีม่ ีตอ่ ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม โดยใช้ตัวอย่าง ของการท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ

ทท. 455 ประสบการณ์วัฒนธรรมต่างชาติ (3 หน่วยกิต) TM 455 Cross-Cultural Experience ฝึกฝนทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศกับเจ้าของภาษา เรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ศิลปวัฒนธรรมของผู้คนในประเทศนั้นๆ โดยมีการศึกษาหรือฝึกงานในต่างประเทศ ทท. 456 การท่องเที่ยวภายในประเทศ (3 หน่วยกิต) TM 456 Domestic Tourism ศึกษาการวางแผน การขาย การทำ�การตลาดสำ�หรับการ ท่องเที่ยวภายในประเทศ เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์การจัดการท่อง เที่ยวภายในประเทศ นักศึกษาจะได้มีโอกาสเรียนรู้การนำ�เที่ยว การ ปฏิสมั พันธ์ระหว่างนักท่องเทีย่ วกับคนในท้องถิน่ และการแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าในระหว่างการนำ�เที่ยว โดยมีการฝึกภาคปฏิบัติการจัดนำ� เที่ยวภายในประเทศ

ทท. 465 การฝึกงาน (6 หน่วยกิต) TM 465 Internship พื้นความรู้: ทท. 211 เป็นการศึกษาภาคปฏิบัติเพื่อให้โอกาสนักศึกษาได้นำ� ความรู้ ความเข้าใจที่ได้เล่าเรียนไปใช้ในสถานการณ์จริง นักศึกษา สามารถฝึกงานในธุรกิจการท่องเทีย่ วหรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ การศึกษานี้จะอยู่ภายใต้การควบคุมดูแล และประเมินผลของสาขาวิชาร่วมกับหน่วยงานที่รับนักศึกษาเข้า ฝึกงาน

หลักสูตรปริญญาตรี 553


ทท. 466 สหกิจศึกษาในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว (6 หน่วยกิต) TM 466 Cooperative Education in Tourism Industry พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมีหลักการและ เป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ทำ�งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ทท. 468 สัมมนาในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) TM 468 Seminar in Tourism Industry พื้นความรู้: ทท. 465 หรือ ทท. 466 ศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายแนวโน้มและประเด็นทางการ ท่องเที่ยว ซึ่งมีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจการท่องเที่ยว เพื่อ แสวงหาโอกาสทางธุรกิจ แนวทางแก้ไข และการปรับกลยุทธ์เพื่อให้ เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยนักศึกษาจะได้รบั ฟังการบรรยาย จากผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ในวิชาชีพ

554 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

หมวด​วิชา​การ​ท่อง​เที่ยวและการโรงแรม ทร. 160 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ (3 หน่วยกิต) เบื้องต้น HT 160 Introduction to Tourism and Hospitality Industry ศึก ษาวิวัฒนาการ รูปแบบ ประเภท โครงสร้าง และ ลักษณะของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วและการบริการ ให้ผเู้ รียนเข้าใจ ถึงลักษณะการท�ำงานและความสัมพันธ์ของธุรกิจบริการประเภทต่างๆ เพื่อ เป็นพื้นความรู้ในการศึกษาด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและ การบริการในระดับที่สูงขึ้น ทร. 162 กฎหมายและจรรยาบรรณในอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) การท่องเที่ยวและการบริการ HT 162 Law and Ethics in Tourism and Hospitality Industry ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจโรงแรม ธุรกิจ น�ำเทีย่ ว และผูป้ ระกอบอาชีพมัคคุเทศก์ เช่น กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับภาษี อากร ศุลกากร การคมนาคมขนส่ง และกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดล้อม ฯลฯ นอกจากนี้ยั งศึกษาจรรยาบรรณที่ผู้ประกอบธุรกิจด้านการท่องเที่ยว และการบริการพึงมี ทร. 164 บุคลิกภาพส�ำหรับบุคลากร (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมบริการ HT 164 Personality for Service Professionals ศึกษ าบทบา ทและความส�ำคัญของบุคลิกภาพที่มีต่อ บุคลากรในอุตสาหกรรมบริการ รวมทั้งหลักในการพัฒนาบุคลิกภาพ ด้านต่ างๆ เช่น การติดต่อสื่อสาร การแต่งกาย มารยาททางสังคม และการสร้างมนุษยสัมพันธ์


ทร. 190 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) และการโรงแรมเบื้องต้น HT 190 Introduction to Tourism and Hotel Industry ศึกษ าวิวั ฒนาการ รูปแบบ ประเภท โครงสร้าง และ ลักษณะ ของอุ ตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม ให้ผู้เรียน เข้าใจถึงลักษณะการท�ำงานและความสัมพันธ์ของธุรกิจบริการประเภท ต่างๆ เพือ่ เป็นพืน้ ความรูใ้ นการศึกษาด้านอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว และการโรงแรมในระดับที่สูงขึ้น ทร. 192 กฎหมายและจรรยาบรรณในอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) การท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 192 Law and Ethics in Tourism and Hotel Industry ศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจโรงแรม ธุรกิจ น�ำเทีย่ ว และผูป้ ระกอบอาชีพมัคคุเทศก์ เช่น กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับภาษี อากร ศุลกากร การคมนาคมขนส่ง และกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดล้อม ฯลฯ นอกจากนี้ยังศึกษาจรรยาบรรณที่ผู้ประกอบธุรกิจด้านการท่อง เที่ยวและการโรงแรมพึงมี ทร. 224 ภูมิศาสตร์การท่องเทีย่ ว (3 หน่วยกิต) HT 224 Geography for Tourism ศึกษา ภูมิศ าสตร์ของโลกและของประเทศไทย สภาพ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ชาติพันธ์ุ ความสัมพันธ์ของสภาพภูมิศาสตร์ กั บ การจั ด การ ท่ อ งเที่ ย ว ศึ ก ษาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ๆ ใน ประเทศไทยและต่างประเทศ โดยมุง่ เน้นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ สถานทีส่ ำ� คัญทางประวัตศิ าสตร์ วิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ เพือ่ การวางแผน การจัดการน�ำเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการศึกษานอกสถานที่

ทร. 234 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) และการบริการ HT 234 Information Technology for Tourism and Hospitality ศึกษาความเป็ นมา และความส�ำคัญของระบบส�ำรองที่ นัง่ รวมทัง้ ฝึกฝนการใช้ระบบเพือ่ ท�ำงานต่างๆ เช่น การสืบค้นข้อมูล ของเที่ยวบิน การส�ำรองที่นั่งของสายการบิน การค�ำนวณราคาค่า บัตรโดยสาร การใช้ระบบเพือ่ จองรถเช่า ห้องพัก รถไฟ และเรือส�ำราญ นอกจากนี้ ยั งศึ กษาระบบต่างๆ ที่ใช้ในการจัดการแผนกต่างๆ ของ โรงแรม จัดการเรียนการสอนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ทร. 261 จิตวิทยาบริการ (3 หน่วยกิต) HT 261 Service Psychology ศึกษา แ น ว คิดแ ละทฤษฎีทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องใน อุตสาหก ร ร ม บ ริก าร หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริการ ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่องานบริการ การประยุกต์ใช้หลักการทางจิตวิทยาเพือ่ พัฒนา กระบวนการบริการเพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด ทร. 263 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) และการบริการ HT 263 Marketing for Tourism and Hospitality ศึกษาลั ก ษณะเฉพาะของสินค้าทางธุรกิจการท่องเที่ยว และการบริการ และหลักการตลาดเพื่อน�ำมาใช้ในธุรกิจดังกล่าว เช่น การวิเคราะห์ตลาด การวางแผนการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาด และ การส่งเสริมแผนการตลาดในด้านต่างๆ

หลักสูตรปริญญาตรี 555


ทร. 264 พฤติกรรมผู้บริโภคในอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) การท่องเที่ยวและการบริการ HT 264 Consumer Behavior in Tourism and Hospitality Industry ศึกษาบทบาทและความส�ำคัญของความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานในธุรกิจบริการ เน้นศึกษาและ เปรียบเทียบวัฒนธรรมของชนชาติต่างๆ ปัญหาที่เกิดจากความแตก ต่างทาง วั ฒ น ธรร ม รวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ทาง วัฒนธรรมที่แตกต่างได้อย่างเหมาะสม ทร. 265 วัฒนธรรมข้ามชาติเพื่ออุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) การท่องเที่ยวและการบริการ HT 265 Intercultural Studies for Tourism and Hospitality Industry ศึกษาบทบาทและความส�ำคัญของความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของผู้บริโภคในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานในธุรกิจบริการ เน้นศึกษาและ เปรียบเทียบวัฒนธรรมของชนชาติต่างๆ ปัญหาที่เกิดจากความแตก ต่างทาง วั ฒ น ธรร ม รวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ทาง วัฒนธรรมที่แตกต่างได้อย่างเหมาะสม ทร. 266 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวและการบริการ HT 266 Accounting and Financial Management for Tourism and Hospitality Industry (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน) ศึกษาความรู้พื้นฐานทั่วไปทางการบัญชีเพื่อให้สามารถ น�ำข้อมูลทางการบั ญชีไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน ตัดสินใจและ ควบคุมการด�ำเนินงานของธุรกิจการท่องเที่ยวและการบริการเพื่อก่อ 556 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร โดยจะศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลทางการ บัญชี การควบคุมภายในเพือ่ ส่งเสริมให้เกิดธรรมาภิบาลในองค์กร การ วิเคราะห์รายงานทางการเงินของธุรกิจ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับต้นทุน การวิเคราะห์ระหว่างต้นทุน - ปริมาณ - ก�ำไร และการวิเคราะห์จุด คุม้ ทุน การจัดท�ำงบประมาณเพือ่ การวางแผนก�ำไรและการลงทุน และ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร เพื่อการวางแผนก�ำไรและการบริหาร งานในธุรกิจการท่องเที่ยวและการบริการ ทร. 266 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ HT 266 Accounting and Financial Management for Tourism and Hospitality Industry (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการท่องเที่ยว) ศึกษาความรู้พื้นฐานทั่วไปทางการบัญชีเพื่อให้สามารถ น�ำข้อมูลทางการ บั ญ ชีไป ใช้ประโยชน์ในการวางแผน ตัดสินใจและ ควบคุมการด�ำเนินงานของธุรกิจการท่องเที่ยวและการบริการเพื่อก่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร โดยจะศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลทางการ บัญชี การควบคุมภายในเพือ่ ส่งเสริมให้เกิดธรรมาภิบาลในองค์กร การ วิเคราะห์รายงานทางการเงินของธุรกิจ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับต้นทุน การวิเคราะห์ระหว่ า งต้นทุน - ปริมาณ - ก�ำไร และการวิเคราะห์จุด คุม้ ทุน การจัดท�ำงบประมาณเพือ่ การวางแผนก�ำไรและการลงทุน และ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร เพื่อการวางแผนก�ำไรและการบริหาร งานในธุรกิจการท่องเที่ยวและการบริการ


ทร. 269 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ HT 269 Communicative English for Tourism and Hospitality Industry พื้นความรู้: อก. 251 (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน) ฝึ ก ทั ก ษะการสื่ อ ส า ร ภ าษาอั ง กฤษเบื้ อ งต้ น ที่ ใ ช้ ใ น อุตสาหกรรมการท่องเ ที่ ยวและการบริการ โดยมุ่งเน้นทักษะการฟัง และการพูด และศึกษาบทสนทนาขั้นพื้นฐานที่น�ำมาจากการจ�ำลอง สถานการณ์ต่างๆ ที่มักเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการ บริการ ทร. 269 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ HT 269 Communicative English for Tourism and Hospitality Industry พื้นความรู้: อก. 253 (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการท่องเที่ยว) ฝึ ก ทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาอั ง กฤษเบื้ อ งต้ น ที่ ใ ช้ ใ น อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ โดยมุ่งเน้นทักษะการฟัง และการพูด และศึกษาบทสนทนาขั้นพื้นฐานที่น�ำมาจากการจ�ำลอง สถานการณ์ต่างๆ ที่มักเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการ บริการ ทร. 293 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 293 Marketing for Tourism and Hotel ศึกษาลักษณะเฉพาะของสินค้าทางธุรกิจการท่องเที่ยว และการโรงแรม และหลักการตลาดเพือ่ น�ำมาใช้ในธุรกิจดังกล่าว เช่น การวิเคราะห์ตลาด การวางแผนการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาด และ การส่งเสริมแผนการตลาดในด้านต่างๆ

ทร. 296 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน (3 หน่วยกิต) ส�ำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 296 Accounting and Financial Management for Tourism and Hotel Industry ศึกษาความรู้พื้นฐานทั่วไปทางการบัญชีเพื่อให้สามารถ น�ำข้อมูลทางการบัญชีไปใช้ประโยชน์ ในการวางแผน ตัดสินใจและ ควบคุมการด�ำเนินงานของธุรกิจการท่องเทีย่ วและการโรงแรมเพือ่ ก่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร โดยจะศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลทางการ บัญชี การควบคุมภายในเพือ่ ส่งเสริมให้เกิดธรรมาภิบาลในองค์กร การ วิเคราะห์รายงานทางการเงินของธุรกิจ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับต้นทุน การวิเคราะห์ระหว่างต้นทุน - ปริมาณ - ก�ำไร และการวิเคราะห์จุด คุม้ ทุน การจัดท�ำงบประมาณเพือ่ การวางแผนก�ำไรและการลงทุน และ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร เพื่อการวางแผนก�ำไรและการบริหาร งานในธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทร. 298 พฤติกรรมผู้บริโภคในอุตสาหกรรม (3 หน่วยกิต) การท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 298 Consumer Behavior in Tourism and Hotel Industry ศึกษาบทบาทและความส�ำคัญของความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของผูบ้ ริโภคในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วและการโรงแรม ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานในธุรกิจบริการ เน้นศึกษาและ เปรียบเทียบวัฒนธรรมของชนชาติต่างๆ ปัญหาที่เกิดจากความแตก ต่างทางวัฒนธรรม รวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ทาง วัฒนธรรมที่แตกต่างได้อย่างเหมาะสม

หลักสูตรปริญญาตรี 557


ทร. 299 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 299 Communicative English for Tourism and Hotel Industry พื้นความรู้: อก. 012 ฝึ ก ทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาอั ง กฤษเบื้ อ งต้ น ที่ ใ ช้ ใ น อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม โดยมุ่งเน้นทักษะการฟัง และการพูด และศึกษาบทสนทนาขั้นพื้นฐานที่น�ำมาจากการจ�ำลอง สถานการณ์ต่างๆ ที่มักเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการ โรงแรม ทร. 363 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ HT 363 Human Resource Management in Tourism and Hospitality Industry (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการท่องเที่ยว) ศึกษาหลักในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและการบริการ โดยศึกษาการวางแผนก�ำลังคน การ สรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร การ ท�ำงานเป็นทีม การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การบริหารค่าตอบแทน และสวัสดิการ การธ�ำรงรักษาบุคลากร การแรงงานสัมพันธ์และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทร. 363 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ HT 363 Human Resource Management in Tourism and Hospitality Industry (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน) ศึกษาหลักในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและการบริการ โดยศึกษาการวางแผนก�ำลังคน การ 558 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร การ ท�ำงานเป็นทีม การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การบริหารค่าตอบแทน และสวัสดิการ การธ�ำรงรักษาบุคลากร การแรงงานสัมพันธ์และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทร. 365 การจัดการกลยุทธ์และนวัตกรรม (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ HT 365 Strategy and Innovation Management in Tourism and Hospitality Industry (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการท่องเที่ยว) ศึกษาบริบทด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการ บริการ กระบวนการด�ำเนินงาน กลยุทธ์ในการสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันและการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ส�ำหรับธุรกิจการท่อง เที่ยวและการบริการ ทร. 365 การบริหารกลยุทธ์และนวัตกรรม (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ HT 365 Strategy and Innovation Management in Tourism and Hospitality Industry (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน) ศึกษาบริบทด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการ บริการ กระบวนการด�ำเนินงาน กลยุทธ์ในการสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันและการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ส�ำหรับธุรกิจการท่อง เที่ยวและการบริการ


ทร. 369 การจัดการการขนส่งผู้โดยสาร (3 หน่วยกิต) HT 369 Managing Passenger Logistics (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการท่องเที่ยว) ศึกษาหลักทัว่ ไปและองค์ประกอบของการจัดการขนส่งผู้ โดยสาร ทัง้ ทางบก ทางน�ำ ้ และทางอากาศ การวางแผน การตัง้ ราคา การบริหารการตลาด การจัดจ�ำหน่าย และการพัฒนาการบริการ ตลอดจนหน่วยงานและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทร. 369 การขนส่งผู้โดยสารเบื้องต้น (3 หน่วยกิต) HT 369 Introduction to Passenger Transportation (ส�ำหรับนักศึกษาการจัดการการธุรกิจสายการบิน และการจัดการ การโรงแรม) ศึกษาหลักทั่วไปและองค์ประกอบของการจัดการขนส่ง ผู้โดยสาร ทั้งทางบก ทางน�้ำ และทางอากาศ การวางแผน การตั้ง ราคา การบริหารการตลาด การจัดจ�ำหน่าย และการพัฒนาการบริการ ตลอดจนหน่วยงานและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทร. 393 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 393 Human Resource Management in Tourism and Hotel Industry ศึกษาหลักในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและการโรงแรม โดยศึกษาการวางแผนก�ำลังคน การ สรรหาและคัดเลือกบุคลากร การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร การ ท�ำงานเป็นทีม การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน การบริหารค่าตอบแทน และสวัสดิการ การธ�ำรงรักษาบุคลากร การแรงงานสัมพันธ์และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ทร. 395 การจัดการกลยุทธ์และนวัตกรรม (3 หน่วยกิต) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม HT 395 Strategy and Innovation Management in Tourism and Hotel Industry ศึกษาบริบทด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการ โรงแรม กระบวนการด�ำเนินงาน กลยุทธ์ในการสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันและการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ส�ำหรับธุรกิจการท่อง เที่ยวและการโรงแรม ทร. 461 การวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) และการบริการ HT 461 Research for Tourism and Hospitality Industry ศึกษาขัน้ ตอนและประโยชน์ของการวิจยั ในอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ วและการบริการ การตัง้ ปัญหาการวิจยั การออกแบบการ วิจยั การสุม่ ตัวอย่าง การสร้างเครือ่ งมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล การเก็บ ข้อมูล การใช้โปรแกรมสถิตเิ พือ่ วิเคราะห์ขอ้ มูล ตลอดจนการน�ำเสนอ ข้อมูลเพื่อน�ำไปพัฒนาธุรกิจในด้านต่างๆ ทร. 491 การวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (3 หน่วยกิต) และการโรงแรม HT 491 Research for Tourism and Hotel Industry ศึกษาขัน้ ตอนและประโยชน์ของการวิจยั ในอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ วและการโรงแรม การตัง้ ปัญหาการวิจยั การออกแบบการ วิจยั การสุม่ ตัวอย่าง การสร้างเครือ่ งมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล การเก็บ ข้อมูล การใช้โปรแกรมสถิตเิ พือ่ วิเคราะห์ขอ้ มูล ตลอดจนการน�ำเสนอ ข้อมูลเพื่อน�ำไปพัฒนาธุรกิจในด้านต่างๆ

หลักสูตรปริญญาตรี 559


หมวด​วิชา​ธุรกิจส​ าย​การ​บิน ธบ. 200 ธุรกิจสายการบิน ( 3 หน่วยกิต) AB 200 Airline Business ศึกษาความเป็นมาและความสำ�คัญของธุรกิจสายการบิน ข้อมูลที่ใช้ในการให้บริการการบิน ภูมิศาสตร์การบิน การจัดตาราง เวลา บัตรโดยสารและการคำ�นวณค่าโดยสาร การให้บริการผู้โดยสาร ทั่วไป การสำ�รองที่นั่ง ระเบียบพิธีการเข้า-ออกระหว่างประเทศ การ ขนส่งสินค้าทางอากาศและข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจสายการบิน ธบ. 201 การจัดการและการดำ�เนินงาน (3 หน่วยกิต) ท่าอากาศยาน AB 201 Airport Management and Operations ศึ ก ษารู ป แบบการจั ด การและการดำ�เนิ น งานท่ า อากาศยาน การจัดการบริการด้านการบิน การบริการผู้โดยสารและ สินค้า การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ และการบริการซ่อมบำ�รุงเครื่องบิน มีการศึกษานอกสถานที่ ธบ. 205 ศัพท์เทคนิคในธุรกิจสายการบิน (3 หน่วยกิต) AB 205 Aviation Terminology ศึกษาศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ของ สายการบิน ทั้งที่เกี่ยวข้องกับผู้โดยสาร เครื่องบิน ตลอดจนอุปกรณ์ และสถานทีป่ ฏิบตั งิ าน เพือ่ เตรียมความพร้อมในการปฏิบตั งิ านอย่าง มีประสิทธิภาพ ธบ. 206 การประชาสัมพันธ์เพื่อธุรกิจสายการบิน (3 หน่วยกิต) AB 206 Public Relations for Airline Business ศึกษาบทบาทและความสำ�คัญของการประชาสัมพันธ์ทมี่ ี ต่อธุรกิจสายการบิน กระบวนการประชาสัมพันธ์ องค์ประกอบ เทคนิค และวิธีการดำ�เนินงานประชาสัมพันธ์ ในธุรกิจสายการบิน ตลอดจน ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดำ�เนินงานที่อาจเกิดขึ้น 560 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ธบ. 221 การ​บริการ​ผู้​โดยสาร​ภาค​พื้น (3 หน่วยกิต) AB 221 Ground Passenger Service ศึกษา​บทบาท​และ​ความ​ส�ำคัญ​ของ​พนัก​งาน​ต้อนรับภ​ าค​ พื้น วิธกี​ าร​บริการ​ผู้​โดยสาร​ขา​เข้า​และ​ขา​ออก รวม​ทั้ง​ผู้​โดยสาร​ผ่าน เช่น การ​ลง​ทะเบียน​ผู้​โดยสาร การ​ควบคุม​น�้ำ​หนัก​กระเป๋า การ​รับ​ผู้​ โดยสาร​ขา​เข้า และ​หน้าที่​อื่นๆ ที่​ต้องเต​รี​ยม​การ​ รวม​ถึง​การเต​รี​ยม​ เอกสาร​และ​การ​ประสาน​งาน​กับ​หน่วย​งาน​ต่างๆ ที่​เกี่ยวข้อง​ใน​การ​ให้​ บริการ เรียน​ใน​ห้อง​ปฏิบัติ​การ ธบ. 231 การ​บริการ​ผู้​โดยสาร​บน​เครื่อง​บิน (3 หน่วยกิต) AB 231 In-flight Passenger Service ศึกษา​บทบาท​และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​พนัก​งาน​ต้อนรับ​บน​ เครือ่ ง​บนิ วิธก​ี าร​ปฏิบตั ง​ิ าน​ทงั้ ใ​น​ดา้ น​การ​บริการ​อาหาร​และ​เครือ่ ง​ดมื่ การ​ดูแล​ความ​ปลอดภัย รวม​ถึง​หน้าที่​อื่นๆ ที่​ต้องเต​รี​ยม​ก่อน​นักบิน​ นำ�​เครือ่ ง​ขนึ้ ระหว่าง​เทีย่ ว​บนิ และ​หลังเ​ครือ่ ง​บนิ ล​ ง​จอด มีก​ รณีศ​ กึ ษา​ เพื่อ​ฝึก​การ​แก้​ปัญหา​ใน​สถานการณ์​ต่างๆ เรียน​ใน​ห้อง​ปฏิบัติ​การ ธบ. 251 เทคนิคการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล (3 หน่วยกิต) AB 251 Interpersonal Communication Techniques ศึกษาเทคนิคการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งในวัฒนธรรม เดียวกันและต่างวัฒนธรรมจากทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์การ ธบ. 252 การพัฒนาบุคลิกภาพและการสร้างเสริม (3 หน่วยกิต) ภาพลักษณ์ AB 252 Personality Development and Image Grooming ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ เช่น ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ การมีภาพลักษณ์ที่ดีของบุคลากร ในธุรกิจสายการบิน มารยาทในที่สาธารณะ การสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี การสร้างทัศนคติที่ดีต่องานบริการ การแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า


ธบ. 309 ภาษา​อังกฤษ​เพื่อ​บุคลากร​สาย​การ​บิน (3 หน่วยกิต) AB 309 English for Airline Personnel ศึกษา​สำ�นวน โครงสร้าง​ภาษา และ​ศัพท์​เทคนิค​ที่​ใช้​ใน​ ธุรกิจ​สาย​การ​บิน ทั้ง​การ​ปฏิบัตงิ​ าน​ใน​สำ�นักงาน ท่า​อากาศยาน และ​ บน​เครื่อง​บิน โดย​เน้นท​ ักษะ​ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การ​ฟัง การ​พูด การ​ อ่าน และ​การ​เขียน ธบ. 311 เทคโนโลยีส​ าร​สนเทศ​เพื่อ​การ​สำ�รอง​ที่​นั่ง ​(3 หน่วยกิต) สาย​การ​บิน AB 311 Information Technology for Airline Reservation พื้น​ความ​รู้: ธบ. 200 ศึกษา​ความ​เป็นม​ า​และ​ความ​สำ�คัญข​ อง​ระบบ​สำ�รอง​ทน​ี่ งั่ ฝึกป​ ฏิบตั เ​ิ พือ่ ​ใช้ร​ ะบบ​ใน​การ​สบื ค้น​ขอ้ มูล​และ​สำ�รอง​ทน​ี่ งั่ ข​ อง​สาย​การ​ บิน จัดการ​เรียน​การ​สอน​ใน​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​เทคโนโลยีสารสนเทศ ธบ. 319 ภาษาอังกฤษเพื่อการสำ�รองที่นั่งและ (3 หน่วยกิต) การจัดจำ�หน่ายบัตรโดยสาร AB 319 English for Reservation and Ticketing ศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่องานสำ�รองที่นั่งและการ จำ�หน่ายบัตรโดยสาร คำ�ศัพท์ รหัสและโครงสร้างประโยคที่ใช้ในการ ทำ�งาน เน้นทักษะการฟังและพูด ธบ. 329 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสาร (3 หน่วยกิต) ภาคพื้น AB 329 English for Ground Passenger Service ศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสารภาค พืน้ ในขัน้ ตอนต่างๆ ฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน มีการจำ�ลองสถานการณ์จริงในห้องปฏิบัติการ

ธบ. 339 ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสาร (3 หน่วยกิต) บนเครื่องบิน AB 339 English for In-flight Passenger Service ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการบริการผู้โดยสาร บนเครื่องบินในหัวข้อต่างๆ เช่น การบริการอาหารและเครื่องดื่มบน เครื่องบิน การบอกเวลา การประกาศเตือนภาวะฉุกเฉิน และการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้น เน้นทักษะการฟังและการพูด มีการจำ�ลอง สถานการณ์จริงในห้องปฏิบัติการ ธบ. 341 การขนส่งสินค้าทางอากาศ (3 หน่วยกิต) AB 341 Air Cargo Management ศึกษาหลักการจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ การบรรจุ หีบห่อ วิธีการรับสินค้าประเภทต่างๆ การปฏิบัติต่อสินค้าอันตราย การกำ�หนดราคา การคำ�นวณอัตราภาษีศุลกากร กฎหมายและข้อ บังคับเกี่ยวกับการขนส่งสินค้าทางอากาศระหว่างประเทศ ธบ. 349 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการอาหาร (3 หน่วยกิต) ในธุรกิจสายการบิน AB 349 English for Airline Catering Management ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการอาหารและ เครือ่ งดืม่ ในธุรกิจสายการบิน ศึกษาศัพท์ทเี่ กีย่ วกับอาหารที่ใช้ในธุรกิจ สายการบิน ตลอดจนวิธีและขั้นตอนของการบริการอาหารนานาชาติ ธบ. 351 ความ​ปลอดภัยข​ อง​ผู้​โดยสาร​สาย​การ​บิน (3 หน่วยกิต) AB 351 Airline Passenger Safety ศึ ก ษา​ท ฤษฎี ​แ ละ​ห ลั ก ​ป ฏิ บั ติ ​เกี่ ย ว​กั บ ​ก าร​ใ ห้ ​ค วาม​ ปลอดภัย​แก่​ผู้​โดยสาร​และ​สัมภาระ​ใน​ขณะ​ให้​บริการ​ด้าน​ต่างๆ ของ​ สาย​การ​บิน ฝึก​ปฏิบัติ​การ​ช่วย​เหลือ​กู้​ชีพ​ผู้​โดยสาร​และ​การ​กู้ภัย​ใน​ สถานการณ์​ต่างๆ หลักสูตรปริญญาตรี 561


ธบ. 401 การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า (3 หน่วยกิต) AB 401 Customer Relations Management ศึกษาบทบาทและความสำ�คัญของความสัมพันธ์กบั ลูกค้า ในธุรกิจการบริการ ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้องกับการบริการและความสัมพันธ์ กับลูกค้า คุณภาพของการบริการ การบริหารความพึงพอใจ การ จัดการข้อร้องเรียนและฝึกแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโดยใช้กรณีศึกษา

ธบ. 407 การศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต) AB 407 Independent Study ศึกษาและค้นคว้าในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจสายการ บินและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง โดยอยู่ภายใต้การดูแลและประเมินผลของ อาจารย์ที่ปรึกษา

ธบ. 402 การจัดการสายการบินเชิงกลยุทธ์ (3 หน่วยกิต) AB 402 Strategic Airline Management ศึกษาความหมาย ทฤษฎี และความสำ�คัญของการจัดการ เชิงกลยุทธ์ ในธุรกิจสายการบิน การประเมินสถานการณ์และปัจจัย แวดล้อมทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งแนวโน้มและการแข่งขันใน ธุรกิจ การวางแผน การกำ�หนดนโยบายขององค์การและแผนกต่างๆ ในองค์การ การควบคุมและการประเมินผล

ธบ. 408 การบริหารทรัพยากรการบิน (3 หน่วยกิต) AB 408 Crew Resource Management ศึกษาหลักการบริหารทรัพยากรการบินเพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยและประสิทธิภาพสูงสุดในการจัดการการบินโดยให้ความ สำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำ�เป็น ตลอดจนพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ เช่น การตระหนักถึงสถานการณ์และ ภาวะแวดล้อม การทำ�งานเป็นทีม การตัดสินใจในภาวะวิกฤติ การ แก้ไขปัญหา การสื่อสารระหว่างบุคคล มีการฝึกปฏิบัตินอกสถานที่

ธบ. 404 กฎหมายและข้อบังคับในธุรกิจการบิน (3 หน่วยกิต) AB 404 Aviation Law and Regulations ศึ ก ษากฎหมายไทยและกฎหมายระหว่ า งประเทศที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการธุรกิจการบิน การประยุกต์ใช้ ตลอดจนข้อ บังคับต่างๆ ที่ออกโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบินระหว่าง ประเทศ เช่น สมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) และองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO)

ธบ. 411 ราคาและบัตรโดยสาร (3 หน่วยกิต) AB 411 Fares and Tickets พื้นความรู้: ธบ. 311 ศึกษาหลักเบือ้ งต้นเกีย่ วกับราคาและการออกบัตรโดยสาร ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตั้งราคา การคำ�นวณราคาบัตรโดยสาร ตลอดจนภาษีประเภทต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง การออกและอ่านบัตรโดยสาร เน้นการฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการสารสนเทศ

ธบ. 405 การจัดการบริการสายการบินต้นทุนต�่ำ (3 หน่วยกิต) AB 405 Budget Airline Service Management ศึกษาหลั ก เบื้ อ งต้ น เกี่ ย วกับ ธุรกิจสายการบินต้นทุน ต�่ำ องค์ประกอบ และรูปแบบการบริการ ตลอดจนศึกษาโครงสร้าง การบริหารงาน มาตรฐานการให้ บ ริก าร บุคลากรในแผนกต่างๆ การก�ำหนดกลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารที่ มีป ระสิทธิภาพ หลักการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการขายและการตลาด

ธบ. 465 การฝึกงาน (3 หน่วยกิต) AB 465 Internship พื้นความรู้: ธบ. 200 นำ�ความรู้และทักษะต่างๆ ที่ได้ศึกษาไปประยุกต์ ใช้ใน การฝึกงานในบริษัทสายการบินและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ท่า อากาศยานและบริษทั จัดจำ�หน่ายบัตรโดยสารสายการบิน ภายใต้การ ควบคุมและประเมินผลของคณาจารย์รว่ มกับหน่วยงานภายนอกทีร่ บั นักศึกษาเข้าฝึกงาน

562 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


ธบ. 466 สหกิจศึกษาในธุรกิจสายการบิน (6 หน่วยกิต) AB 466 Cooperative Education in Airline Business พื้นความรู้: สอบได้ สศ. 301 ศึกษาระบบการทำ�งานจริงในสถานประกอบการ ในฐานะ พนักงานของสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความ พร้อมด้านงานอาชีพ จากการปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมีหลักการ และเป็นระบบ นักศึกษาจะต้องมีการฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถาน ประกอบการ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา หรือ 16 สัปดาห์ ซึง่ เป็นงานทีม่ คี ณุ ภาพหรือเป็นงานทีเ่ น้นประสบการณ์ทำ�งาน (Work Integrated Learning) ทีต่ รงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาหรือ โครงงาน (Project Based Learning) ที่เป็นงานที่เป็นประโยชน์ต่อ องค์กร รวมถึงมีการประเมินผลการทำ�งานจากคณาจารย์รว่ มกับสถาน ประกอบการ และนักศึกษาจะต้องจัดทำ�รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

หมวด​วิชา​ศิลปศาสตร์ ศป. 101 จิตวิทยา​ทั่วไป (3 หน่วยกิต) LB 101 General Psychology ศึกษา​ความ​รข​ู้ นั้ พ​ นื้ ฐ​ าน​เกีย่ ว​กบั พ​ ฤติกรรม​และ​ธรรมชาติ​ ของ​มนุษย์ ความ​เป็น​มา​ของ​วชิ า​จติ วิทยา​สาขา​ตา่ ง ๆ สรีรวิทยา​เบือ้ ง​ ต้นที่​เกี่ยวข้อง​กับ​พฤติกรรม ความ​เจริญ​และ​พัฒนาการ​ด้าน​ต่างๆ แรง​จงู ใจ การ​รบั ​รู้ กระบวนการ​เรียน​รู้ ทัศนคติ สติ​ปญั ญา บุคลิกภาพ สุขภาพ​จิต และ​การ​มีมนุษยสัมพันธ์

ธบ. 468 สัมมนาธุรกิจสายการบิน (3 หน่วยกิต) AB 468 Seminar in Airline Business พื้นความรู้: ธบ. 465 หรือ ธบ. 466 ศึกษาและวิเคราะห์ปญั หาต่างๆ รวมถึงแนวโน้มของธุรกิจ สายการบิน โดยนักศึกษาจะได้รบั ฟังการบรรยายจากผูท้ รงคุณวุฒแิ ละ มีประสบการณ์ในวิชาชีพร่วมแสดงความคิดเห็น ตลอดจนอภิปรายใน ประเด็นปัญหาต่างๆ เพื่อเสนอแนะแนวทางแก้ไข

ศป. 102 มนุษย์ก​ ับ​สังคม (3 หน่วยกิต) LB 102 Man and Society เพือ่ ​ให้​นกั ​ศกึ ษา​ได้​ร​แู้ ละ​เข้าใจ​ถงึ ​ระเบียบ​และ​วธิ ​กี าร​เบือ้ ง​ ต้นทาง​สงั คมวิทยา ลักษณะ​โครงสร้าง​ของ​สงั คม​มนุษย์ ความ​สมั พันธ์​ ระหว่าง​มนุษย์​กับ​สังคม​และ​อิทธิพล​ที่​มี​ต่อ​กัน ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​ สังคม​ ตลอด​จน​ปัญหาและ​วิธี​การ​แก้​ปัญหา​ทาง​สังคมศึกษา ความ​รู้​ เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​วิชา​สังคมวิทยา ลักษณะ​ทั่วไป​ของ​สังคม​มนุษย์ โครงสร้าง​และ​หน้าที่​ต่างๆ ของ​สังคม การ​จัด​ระเบียบ​ทาง​สังคม การ​ อบรม​ให้​รู้​ระเบียบ​ของ​สังคม สถาบันส​ ังคม​การ​จัด​ระดับ​ชั้น​ทาง​สังคม การ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​สังคม​และ​วัฒนธรรม​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​สังคม วิเคราะห์​สังคม​แบบ​ต่างๆ รวม​ทั้ง​ปัญหา​สังคม​ที่​ส�ำคัญๆ ใน​ปัจจุบัน​ โดย​เน้น​ปัญหา​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​สังคม​ไทย

ธบ. 469 การพัฒนาทักษะผ่านประสบการณ์ (3 หน่วยกิต) ในต่างประเทศ AB 469 Skills Development through International Experience ฝึกฝนและพัฒนาทักษะต่างๆ ที่จำ�เป็นต่อการประกอบ อาชีพในธุรกิจสายการบิน เช่น การใช้ภาษาต่างประเทศ และการเข้าใจ มุมมองและวัฒนธรรมของชาวต่างชาติ โดยการเดินทางไปศึกษาและ ใช้ชีวิตในต่างประเทศ

ศป. 103 อารยธรรม​เปรียบ​เทียบ (3 หน่วยกิต) LB 103 Comparative Civilization เพือ่ ​ให้​นกั ​ศกึ ษา​ได้​ม​คี วาม​ร​แู้ ละ​เข้าใจ​เกีย่ ว​กบั ​ววิ ฒ ั นาการ​ อารยธรรม​ของ​โลกใน​อดีต​จนถึงป​ จั จุบนั ศึกษา​เปรียบ​เทียบ​ววิ ฒ ั น​การ​ ของ​อารยธรรม​ตะวัน​ตก​และ​ตะวัน​ออก​ตงั้ ​แต่​เริม่ ​แรก​ถงึ ​ปจั จุบนั ความ​ ขัด​แย้ง​และ​การ​ผสม​ผสาน​ระหว่าง​อารยธรรม​ตะวัน​ตก​และ​ตะวัน​ออก​ ทาง​ด้าน​การเมือง การ​ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ​วัฒนธรรม​ที่​ หลักสูตรปริญญาตรี 563


เกิด​ขึ้น​ใน​คริสต์​ศตวรรษ​ที่ 16 จน​ถึง​ค​ริศต์​ศตวรรษ​ที่ 20 ซึ่ง​ได้​หล่อ​ หลอม​เป็น​พื้น​ฐาน​ของ​อารยธรรม​โลก​ปัจจุบัน ศป. 104 การ​เรียน​ใน​สถาบัน​อุดมศึกษา (1 หน่วยกิต) LB 104 Higher Education Studies เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​ได้​มี​ความ​รู้​และ​ความ​เข้าใจ​ใน​วิธี​การ​ ศึกษา​ใน​ระดับ​อุดมศึกษา​อัน​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​การ​เรียน​และ​การ​ปรับ​ ตนเอง​ศกึ ษา​ถงึ ​วธิ ​กี าร​และ​แนวทาง​ใน​การ​ศกึ ษา​ระดับ​อดุ มศึกษา เช่น การ​คิด​คะแนน​สะสม วิธี​การ​จด​ค�ำ​บรรยาย การ​ใช้​ห้อง​สมุด การ​เขียน​ รายงาน วิธกี​ าร​ท�ำ​วิจัย​อย่าง​ง่ายๆ เป็นต้น ศป. 105 ทักษะ​การ​ศึกษา (3 หน่วยกิต) LB 105 Study Skills ศึกษา​และ​เพิ่มพูน​ทักษะ​ใน​การ​ศึกษา​ระดับ​อุดมศึกษา โดย​ศกึ ษา​การ​ใช้เ​วลา​ให้เ​หมาะ​สม ศึกษา​วธิ ฟ​ี งั แ​ ละ​จด​คำ​ � บรรยาย การ​ อ่าน​ตำ� รา การเต​รย​ี ม​ตวั ​สอบ วิธ​ที ำ​ � ขอ้ สอบ การ​ใช้ห​ อ้ ง​สมุด การ​ศกึ ษา​ ค้นคว้า รวม​ทงั้ ​ระเบียบ​และ​วธิ ​กี าร​ใน​การ​เขียน​รายงาน​หรือ​ภาคนิพนธ์ ศป. 106 จริยธรรม​และ​ทักษะ​การ​ศึกษา (3 หน่วยกิต) LB 106 Ethics and Study Skills เพื่ อ ​ให้ ​นั ก ​ศึ ก ษา​เรี ยน​รู้​และ​เข้าใจ​วิธี​การ​ด�ำเนิน​ชีวิต​ที่​ เหมาะ​สม ทั้ง​ใน​และ​นอก​มหาวิทยาลัย ศึกษา​หลัก​จริยธรรม บทบาท​ และ​หน้าที่​ของ​แต่ละ​บุคคล เพื่อ​ให้​รู้จัก​ตัดสิน​ปัญหา​และ​ปฏิบัติ​ตน​ อย่าง​ม​คี ณุ ​ธรรม สามารถ​ดำ� เนิน​ชวี ติ ​อย่าง​เป็น​ประโยชน์​ตอ่ ​ตนเอง​และ​ สังคม ศึกษา​และ​เพิ่มพูน​ทักษะ​ใน​การ​เรียน​ระดับ​อุดมศึกษา เช่น การ​ ใช้​เวลา​อย่าง​เหมาะ​สม การ​รว่ ม​กจิ กรรม​นอก​หลักสูตร การ​ทำ� งาน​รว่ ม​ กับ​ผ​อู้ นื่ การ​คดิ ค​ ะแนน​สะสม การเต​ร​ยี ม​ตวั ​สอบ การ​ศกึ ษา​คน้ คว้าใ​น​ ห้อง​สมุด การ​เขียน​รายงาน

564 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศป. 111 ภาษา​ไทย​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) LB 111 Thai for Communication ศึกษา​เกี่ยว​กับ​ความ​หมาย​ของ​ค�ำ การ​ใช้​ค�ำ​ให้​ถูก​ต้อง หลัก​การ​อา่ น​เพือ่ ​จบั ​สาระ​สำ� คัญ​ของ​ขอ้ ความ​อย่าง​ม​วี ตั ถุประสงค์ หลัก​ และ​ศลิ ปะ​ใน​การ​เขียน การ​ถอด​ความ การ​สร้าง​ยอ่ ​หน้า การ​ใช้​สำ� นวน​ โวหาร ภาพพจน์ และ​การ​เขียน​เพื่อ​โน้ม​น้าว​จูงใจ​ผู้​อ่าน ศป. 112 ภาษา​ไทย​ขั้นส​ ูง​เพื่อ​การ​สื่อสาร (3 หน่วยกิต) LB 112 Advanced Thai for Communication พื้น​ความ​รู้: เคย​เรียน ศป. 111 เพื่อ​ให้​นัก​ศึกษา​มี​ความ​รู้​ใน​การ​ใช้​ภาษา​ไทย​อัน​จะ​เป็น​ เครื่อง​มือ​ช่วย​ใน​การ​สื่อสาร ศึกษา​เน้น​หนัก​ใน​ดา้ น​การ​ใช้​ภาษา​ไทย เพือ่ ​ประโยชน์​ตอ่ ​ อาชีพ​ดา้ น​สอื่ สาร​มวลชน ว่า​ดว้ ย​หลัก​กระบวน​ความ​พรรณนา กระบวน​ ความ​เชิง​อธิบาย การ​เขียน​เรียง​ความ การ​เขียน​ค�ำขวัญ สุนทรพจน์ การ​ใช้​ภาษา​ไทย​ทาง​สื่อมวลชน​ประเภท​ต่างๆ รวม​ทั้ง​ความ​รู้​ทั่วไป​ เกี่ยว​กับ​วรรณกรรม​และ​วรรณกรรม​วิจารณ์ วิธพี​ ินิจ​หนังสือ ตลอด​ทั้ง​ การ​วิเคราะห์​ปัญหา​เกี่ยว​กับ​การ​ใช้​ภาษา​ไทย​ใน​ปัจจุบัน ศป. 141 หลักก​ าร​ออก​ก�ำลัง​กาย​เพื่อ​สุขภาพ (2 หน่วยกิต) LB 141 Principles of Exercise for Health ศึกษา​ทฤษฎี​และ​หลัก​ปฏิบัติ​เกี่ยว​กับ​การ​ออก​ก�ำลัง​กาย​ เพื่อ​สุขภาพ​และ​สามารถ​น�ำ​หลัก​การ​ออก​ก�ำลัง​กาย​เพื่อ​สุขภาพ​ไป​ใช้​ ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน​ได้ รู้จัก​การ​ใช้​อุปกรณ์​และ​เครื่อง​มือ​ต่างๆ ใน​การ​ ออก​กำ� ลังก​ าย​ได้​ถกู ต​ อ้ ง​และ​เหมาะ​สม​กบั ​ตนเอง สามารถ​จดั ​โปรแกรม​ ออก​ก�ำลัง​กาย​เพื่อ​สุขภาพ​ให้​กับ​ตนเอง​และผู้​อื่น​ได้ รู้จัก​การ​ใช้​เครื่อง​ มือ​ใน​การ​ทดสอบ​สมรรถภาพ​ทาง​กาย และ​สามารถ​ให้​ค�ำ​แนะน�ำ​หลัก​ การ​ออก​ก�ำลัง​กาย​เพื่อ​สุขภาพ​ให้​กับ​ผู้​อื่น​ได้​อย่าง​ถูก​ต้อง


ศป. 142 กีฬา​เพื่อ​สุขภาพ (2 หน่วยกิต) LB 142 Sports for Health ศึกษา​หลัก​ปฏิบตั ​ใิ น​การน�ำ​กฬี า​มา​ใช้​เป็น​สอื่ ​กลาง​ใน​การ​ ออก​ก�ำลัง​กาย​ที่​ถูก​ต้อง รู้จัก​การ​ประยุกต์​กีฬา​แต่ละ​ชนิด​มา​ใช้​ใน​การ​ จัด​โปรแกรม​การ​ออก​ก�ำลัง​กาย​ได้​อย่าง​เหมาะ​สม เช่น การน�ำ​กีฬา​ บาสเกตบอล วอลเลย์บอล เท​เบิล​เทนนิส เป็นต้น มา​จดั ​เป็น​โปรแกรม​ การ​ออก​ก�ำลัง​กาย​เพื่อ​สุขภาพและ​รู้จัก​คุณค่า​ใน​เกม​การ​แข่ง​ขัน​ของ​ กีฬา​แต่ละ​ชนิด รวม​ทั้ง​กติกา​การ​เล่น วิธ​ีเล่น มารยาท​ใน​การ​เป็น​ผู้​ เล่น​และ​ผ​ชู้ ม​ท​ดี่ ​ใี น​กฬี า​แต่ละ​ชนิด และ​รจู้ กั ​วธิ ​กี าร​ปอ้ งกัน​การ​บาด​เจ็บ​ ที่​เกิดจ​ าก​การ​เล่น​กีฬา​แต่ละ​ชนิด ศป. 143 การ​ออก​ก�ำลัง​กาย​ด้วย​การ​ยก​น�้ำ​หนัก (2 หน่วยกิต) LB 143 Weight Training ศึกษา​ทฤษฎี​และ​หลักป​ ฏิบตั ​ใิ น​การ​ออก​กำ� ลัง​กาย​ดว้ ย​การ​ ยก​นำ​ �้ หนัก​ขนั้ ​พนื้ ​ฐาน เพือ่ ​เป็นการ​สง่ ​เสริม​และ​สนับสนุน​การ​ออก​กำ� ลัง​ กาย​และ​เพื่อเ​สริมส​ ร้าง​สุขภาพ​ร่างกาย​ให้​แข็ง​แรง และ​สามารถ​น�ำ​ไป​ ใช้​ใน​ชวี ติ ​ประจ�ำ​วนั ไ​ด้​อย่าง​ถกู ​ตอ้ ง​และ​เหมาะ​สม​กบั ​ตนเอง ซึง่ ​เป็นการ​ ศึกษา​ถึง​หลัก​การ​และ​ขั้น​ตอน​การ​ฝึก​ยก​น�้ำ​หนัก​ที่​ถูก​ต้อง รวม​ทั้ง​ ท่าทาง​การ​เคลื่อนไหว​ใน​การ​ยก​น�้ำ​หนัก​ที่​ถูก​หลัก​วิธี ศป. 144 ความรู้เบื้องต้นทางวิทยาศาสตร์การกีฬา (3 หน่วยกิต) LB 144 Introduction to Sports Science ศึกษาความหมาย ความสำ�คัญ และทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้องกับ ความรูเ้ บือ้ งต้นทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา โดยสามารถประยุกต์ใช้ หลั กวิท ยาศาสตร์การกีฬาซึ่งประกอบด้วยความรู้ท่ัวไปทางด้าน สรีรวิทยาการกีฬา จิตวิทยาการกีฬา โภชนาการการกีฬา กีฬา เวชศาสตร์ ชีวกลศาสตร์การกีฬา เพือ่ นำ�มาพัฒนาศักยภาพในการเล่น กีฬาและการออกกำ�ลังกายในชีวติ ประจำ�วันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ศป. 145 โภชนาการเพื่อสุขภาพและการดำ�รงชีวิต (3 หน่วยกิต) LB 145 Nutrition for Health and Living ศึกษาทฤษฎี หลักโภชนาการ อาหาร พลังงาน การรับ ประทานอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ ความสัมพันธ์ของอาหารกับชีวิต ประจำ�วัน อาหารเพื่อเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ อาการ ขาดสารอาหาร ความสำ�คัญของสารอาหารแต่ละชนิดต่อร่างกาย การ ประเมินปริมาณสารอาหารและพลังงานที่ร่างกายได้รับ และการ กำ�หนดอาหารเพื่อให้พอเหมาะกับความต้องการของร่างกาย ศป. 146 การจัดการแข่งขันกีฬา (3 หน่วยกิต) LB 146 Organization of Sport Competition ศึกษาความหมาย ลักษณะขอบข่าย ความมุ่งหมาย ปรัชญาและอุดมการณ์ ประวัติความเป็นมาของการแข่งขันกีฬาที่ สำ�คัญ หลักการแข่งขันกีฬา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการแข่งขัน กีฬา คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬา ข้อบังคับและระเบียบการ แข่งขันกีฬา และการจัดแข่งขันแบบต่างๆ ศป. 147 การจัดการกิจกรรมการออกกำ�ลังกาย (3 หน่วยกิต) และการกีฬา LB 147 Exercise and Sports Management ศึกษาหลักการบริหารจัดการบุคคล สถานที่ และอุปกรณ์ กีฬาให้สามารถนำ�หลักวิชาการไปใช้ในการจัดกิจกรรมการออกกำ�ลัง กายและการกีฬาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับบุคคลทุกเพศทุกวัย ศป. 148 การจัดการและบริหารนันทนาการ (3 หน่วยกิต) LB 148 Recreation Management ศึกษาความหมาย ลักษณะขอบข่าย และความสำ�คัญของ การบริหารจัดการนันทนาการ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีความรู้ความ เข้าใจถึงหลักการบริหารจัดการทางนันทนาการ ซึ่งมีความแตกต่าง กันไปหลากหลายรูปแบบ และสามารถนำ�ไปประยุกต์ ใช้กับงานที่ เกี่ยวข้องต่อตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป หลักสูตรปริญญาตรี 565


ศป. 201 ภาษา​ไทย​ธุรกิจ (3 หน่วยกิต) LB 201 Business Thai ศึกษา​เกี่ยว​กับ​ระเบียบ​และ​วิธี​การ​เขียน​อย่าง​กว้างๆ ทั้ง​ การ​เ ขี ย น​ติ ด ต่ อ ​ท าง​ราชการ​และ​ทาง​ธุรกิจ เช่ น หนัง สือ​ราชการ​ ต่างๆ จดหมาย​ธุรกิจ รายงาน​ทาง​วิชา​การ รายงาน​ทาง​ธุรกิจ ศป. 202 อารยธรรม​ไทย (3 หน่วยกิต) LB 202 Thai Civilization ศึกษา​ประวัติ​ความ​เป็น​มา​และ​ลักษณะ​อารยธรรม​ของ​ ชนชาติไ​ทย​ตงั้ ​แต่​เริม่ ​แรก​ตงั้ ถ​ นิ่ ฐาน​จน​เป็นร​ าช​อาณาจักร​ท​มี่ ​เี อกภาพ​ และ​ความ​มั่นคง ความ​เจริญ​รุ่งเรือง​ของ​อารยธรรม​ของ​ไทย​ใน​ด้าน​ ต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ การเมือง การ​ปกครอง และ​ศลิ ป​วฒ ั นธรรม การ​ รับ​อิทธิพล​จาก​อารยธรรม​เขมร มอญ อินเดีย และ​จีน การ​เข้า​มา​ของ​ ชนชาติ​ตะวัน​ตก และ​อิทธิพล​ของ​อารยธรรม​ตะวัน​ตก ตลอด​จน​การ​ เปลี่ยนแปลง​ทาง​สังคม การเมือง และ​ปัญหา​ความ​คิดข​ อง​คน​รุ่น​ใหม่​ ใน​สังคม​ไทย​ปัจจุบัน ศป. 211 ตรรก​วิทยา (3 หน่วยกิต) LB 211 Logic เพื่อ​ให้​รู้จัก​กฎ​พื้น​ฐาน​และ​วิธี​ใช้​เหตุผล​ใน​ชีวิต​ประจ�ำ​วัน รู้จัก​วิจารณ์​เหตุผล​อย่าง​ถูก​ประเด็น และ​ถูก​เป้า​หมาย กับ​ทั้ง​รู้จัก​ฟัง​ และ​เคารพ​เหตุผล​ของ​กนั แ​ ละ​กนั จ​ น​สามารถ​รว่ ม​มอื ก​ นั ไ​ด้ ศึกษา​ความ​ สัมพันธ์​ระหว่าง​ภาษา​กบั ​เหตุผล​โครงสร้าง​ของ​เหตุผล​นริ นัย​และ​อปุ นัย การ​แสดงออก​ของ​เหตุผล​ใน​รูป​นิรนัย (Syllogism) และ​เหตุผล​ย่อ (Enthyme) เหตุผล​วิบัติ (Fallacy) หลัก​เบื้อง​ต้น​ของ​ตรรก​วิทยา​ สัญลักษณ์ คุณค่า​ของ​การ​พิสูจน์​และ​การ​ประยุกต์ต​ รรก​วิทยา

566 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศป. 212 ปรัชญา (3 หน่วยกิต) LB 212 Philosophy เพื่อ​รู้จัก​มอง​ปัญหา​ซึ่ง​บาง​ครั้ง​คน​ทั่วไป​มอง​ข้าม เพื่อ​ รูจ้ กั ​พจิ ารณา​ทกุ ​คำ​ � ตอบ​ท​เี่ ป็น​ไป​ได้ เพือ่ ​รจู้ กั ​เก็บ​สว่ น​ดจ​ี าก​ทกุ ​คำ​ � ตอบ​ มา​ใช้​ให้​เกิด​ประโยชน์​เพื่อ​ฝึก​ให้​รู้จัก​ฟัง​และ​เคารพ​ความ​เห็น​ของ​กัน​ และ​กนั ​จน​สามารถ​รว่ ม​มอื ​กนั ​ได้ และ​ม​หี ลักจ​ ริยธรรม​อนั ​เหมาะ​สม​กบั ​ ปัญญา​ชน​ไว้เ​ป็นห​ ลักย​ ดึ เ​หนีย่ ว​ตลอด​ชวี ติ ศึกษา​ความ​รเ​ู้ บือ้ ง​ตน้ เ​กีย่ ว​ กับ​ปรัชญา วิวัฒนาการ​ของ​ความ​คิด ปรัชญา​อย่าง​ย่อ ความ​คิด​เห็น​ ที​ส่ ำ� คัญใ​น​อภิปรัชญา ญาณ​ปรัชญา ปรัชญา​ศาสนา ปรัชญา​การเมือง ขอบข่าย​ของ​จริยศาสตร์ ทฤษฎี​ความ​ดี จริยธรรม​สว่ น​ตวั ​และ​จริยธรรม​ สังคม จริยธรรม​แห่ง​การ​ใช้​เสรีภาพ ศป. 213 ความ​รู้​เบื้อง​ต้นทาง​มนุษยศาสตร์ (3 หน่วยกิต) LB 213 Introduction to Humanities ศึกษา​แนว​ความ​คิด​และ​ปรัชญา​ของ​สาขา​วิชา​มนุษยศาสตร์​ตั้ง​แต่​อดีต​จนถึง​ปัจจุบัน รวม​ทั้ง​ลักษณะ​จุด​มุ่ง​หมาย และ​วิธี​ การ​ศึกษา​ของ​วิชา​ต่างๆ ใน​สาขา​มนุษยศาสตร์ ศป. 214 การ​ใช้​เหตุผล (3 หน่วยกิต) LB 214 Reasoning ศึ ก ษา​ก ฎ​เกณฑ์ ​การ​ใช้​เหตุผล โครงสร้าง​ของ​การ​อ้าง​ เหตุผล​แบบ​นิรนัย​และ​อุปนัย ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ภาษา​กับ​การ​ใช้​ เหตุผล​เกณฑ์​ตัดสิน​ความ​สม​เหตุ​สม​ผล การ​หา​ข้อความ​ที่​ละไว้ การ​ สรุป​จาก​ตัวอย่าง การ​หา​สาเหตุ การ​พิจารณา​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ​ของ​ข้อ​ สรุป ข้อ​บกพร่อง​ใน​การ​ใช้​เหตุผล การ​วิเคราะห์​การ​ใช้​เหตุผล​ใน​ชีวิต​ ประจ�ำ​วัน


ศป. 215 จริยศาสตร์ (3 หน่วยกิต) LB 215 Ethics ศึกษา​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​ทาง​ปรัชญา​และ​จริยศาสตร์ โลก-​ ทัศน์​แบบ​จิตนิยม สสารนิยม ธรรมชาติ​นิยม จุด​หมาย​ของ​ชีวิต​ตาม​ อุดมคติ การ​แสวงหา​ความ​สุข ปัญหา​เกี่ยว​กับ​ความ​ดี เสรีภาพ​และ​ ความ​รับ​ผิด​ชอบ เกณฑ์​ตัดสิน​จริยธรรม ทฤษฎี​จริยศาสตร์​ที่​ส�ำคัญ การ​วิเคราะห์ ปัญหา​จริยธรรม​ร่วม​สมัย ศป. 221 จิตวิทยา​สังคม (3 หน่วยกิต) LB 221 Social Psychology เพื่ อ ​ใ ห้​แ นวทาง​ข อง​ก าร​ศึกษา​ใน​ด้าน​จิตวิทยา​และ​ จิตวิทยา​สงั คม​อนั ​จะ​กอ่ ​ให้​เกิด​ประโยชน์​การ​อยู​ร่ ว่ ม​กบั ​สงั คม ศึกษา​ถงึ ​ จิตวิทยา​ขั้น​พื้น​ฐาน​และ​จิตวิทยา​สังคม​เกี่ยว​กับ​พฤติกรรม​ของ​มนุษย์ สัมพันธภาพ​ระหว่าง​บุคคล​และ​กลุ่ม​คน วัฒนธรรม​การ​รบั ร​ ท้​ู าง​สังคม การ​มี​ตัว​ตน​และ​การ​ปรับ​ตน ค่า​นิยม ความ​เชื่อ​และ​ทัศนคติ การ​ โฆษณาชวนเชื่อร​ วม​ทั้ง​อ�ำนาจ​หน้าที่​และ​ความ​เป็นผ​ ู้น�ำ ศป. 222 กระบวนการ​กลุ่ม (3 หน่วยกิต) LB 222 Group Processes ศึกษา​ทฤษฎี​ของ​กลุ่ม​ธรรมชาติ และ​ตัวประกอบ​ต่างๆ ที่​มี​อิทธิพล​ต่อ​การ​รวม​กลุ่ม การ​พัฒนา​กลุ่ม โครงสร้าง​ของ​กลุ่ม และ​ การ​ปฏิ​สัมพันธ์​ของ​สมาชิก​ใน​กลุ่ม ศป. 231 ความ​รู้​เบื้อง​ต้นทาง​รัฐศาสตร์ (3 หน่วยกิต) LB 231 Introduction to Political Science เพือ่ ใ​ห้น​ กั ​ศกึ ษา​ได้เ​รียน​ร​แู้ ละ​เข้าใจ​ถงึ ​ทฤษฎีแ​ ละ​หลักก​ าร​ ต่างๆ อัน​เกี่ยว​เนื่อง​กับ​ลักษณะ​และ​หน้าที่​โดย​ทั่วๆ ไป​ของ​รัฐ ศึกษา​ ถึง​ลกั ษณะ​ของ​วชิ า​รฐั ศาสตร์​วเิ คราะห์​โครงสร้าง​ของ​รฐั ​อำ� นาจ​อธิปไตย รูป ​รั ฐ บาล อ�ำ นาจ กระบวนการ​แ ละ​ลัทธิ ​ทางการ​เมื อง กฎหมาย​ ประชาธิปไตย มติมหาชน การ​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​ปกครอง พฤติกรรม​ ทางการ​เมือง​และ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ประเทศ

ศป. 232 การเมือง​การ​ปกครอง​ของ​ไทย (3 หน่วยกิต) LB 232 Thai Politics and Government ศึ ก ษา​วิ วั ฒ นาการ​ข อง​ร ะบบ​ก าร​ป กครอง​ของ​ไทย กระบวนการ​ทางการ​เมือง​และ​บทบาท​ของ​สถาบัน​การ​ปกครอง​ของ​ ไทย เช่น องค์การ​ฝ่าย​นิติบัญญัติ ฝ่าย​บริหาร ฝ่าย​ตุลาการ รวม​ทั้ง​ สถาบัน​อื่น​ที่​มี​อิทธิพล​ต่อ​การเมือง​การ​ปกครอง​ของ​ไทย ศป. 233 การเมือง​และ​เศรษฐกิจ​ใน​สังคม (3 หน่วยกิต) LB 233 Politics and Economics in Society ศึกษา​ถึง​ลัทธิ​ทางการ​เมือง​และ​ระบบ​เศรษฐกิจ​ที่​ส�ำคัญ ความ​สั ม พั น ธ์ ​ร ะหว่ า ง​การเมื อ ง​แ ละ​เศรษฐกิจ เปรีย บ​เที ย บ​ระบบ​ การเมือง​และ​เศรษฐกิจ​ใน​สังคม​ที่​มี​รูป​แบบ​การ​ปกครอง​แตก​ต่าง​กัน และ​ศึกษา​ถึง​ผล​กระทบ​ที่​เกิด​จาก​ระบบ​การเมือง​และ​เศรษฐกิจ​ที่​มี​ต่อ​ สังคม ศป. 303 ศิลป​วัฒนธรรม​ไทย (3 หน่วยกิต) LB 303 Thai Culture ศึกษา​ถึง​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​วัฒนธรรม​ไทย​กับ​ความ​ เป็ น ​ชาติ​ไทย อัน ​ได้แก่ ขนบธรรมเนียม จารีต ​ประเพณี ประเพณี​ เทศกาล ความ​รู้​ทั่วไป​ทาง​จิตรกรรม​และ​ประ​ฏิ​มา​กรรม​ไทย ประวัติ​ ศิลปะ​ไทย ดุ​ริ​ยาง​ค​ศิลป์ นาฏ​ศิลป์​ไทย ฯลฯ ศป. 304 การ​ครอง​เรือน (3 หน่วยกิต) LB 304 Family Studies ศึกษา​ถึง​ข้อ​เท็จ​จริง​และ​ปัญหา​ใน​ด้าน​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ ของ​ชีวิต​การ​ครอง​เรือน ด้าน​ความ​เป็น​บิดา​มารดา และ​ใน​ด้าน​สังคม ศป. 305 สังคีตน​ ิยม (3 หน่วยกิต) LB 305 Music Appreciation ศึ ก ษา​ดนตรี ​ใ น​แ บบ​ต่างๆ ของ​โลก เน้น​ใน​เรื่อง​ความ​ เข้าใจ​ใน​ลักษณะ​ดนตรี​ไทย​และ​สากล เปรียบ​เทียบ​ให้​เห็น​ความ​แตก​ ต่าง​และ​คล้ายคลึง​กนั เพือ่ ​ให้ส​ ามารถ​ชนื่ ชม​และ​เห็น​คณ ุ ค่า​ของ​ดนตรี หลักสูตรปริญญาตรี 567


ศป. 306 ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ (3 หน่วยกิต) LB 306 Economics Geography ศึกษา​ลักษณะ​แหล่ง​ทรัพยากร​และ​หลัก​ทรัพยากร ซึ่ง​มี​ ผล​ตอ่ ​การ​พฒ ั นา​ทาง​เศรษฐกิจ แหล่ง​อตุ สาหกรรม​และ​เกษตรกรรม​ที่​ ส�ำคัญ​ของ​โลก ตลอด​จน​การ​ค้าร​ ะหว่าง​ประเทศ

ศป. 312 จิตวิทยา​เพื่อ​พัฒนา​คุณภาพ​ชีวิต (3 หน่วยกิต) LB 312 Psychology for Quality of Life หลั ก ​แ ละ​วิ ธี ​การ​ศึ ก ษา​เกี่ยว​กับ ​พฤติกรรม​มนุษย์ ปฏิ-​ สัมพันธ์ร​ะหว่าง​บคุ คล และ​ระหว่าง​กลุม่ ค​ น​เพือ่ พ​ ฒ ั นา​ให้เ​กิดค​ วาม​เข้าใจ​ ตนเอง เข้าใจ​บคุ คล​อนื่ อันน​ ำ​ � ไป​ส​กู่ าร​สง่ ​เสริม​คณุ ภาพ​ชวี ติ ​ของ​บคุ คล

ศป. 307 บุคลิกภาพ​และ​การ​ปรับ​ตัว (3 หน่วยกิต) LB 307 Personality and Adjustment ศึกษา​ความ​หมาย ลักษณะ และ​ประเภท​ของ​บุคลิกภาพ​ ปั จ จั ย ​ด ้ า น​พั น ธุ ​กรรม​แ ละ​สิ่ง ​แ วดล้อ ม​ที่​มี​อิทธิพล​ต่อ ​การ​พั ฒ นา​ บุคลิกภาพ​ของ​บคุ คล วิเคราะห์​ทฤษฎี​บคุ ลิกภาพ​ตาม​แนวคิดจ​ ติ วิทยา​ ที่​ส�ำคัญ ศึกษา​การ​ประเมิน​บุคลิกภาพ ความ​หมาย​และ​ประเภท​ของ​ บุคลิกภาพ​ผิด​ปกติ ความเครียด และ​การ​ปรับ​ตัว การ​พัฒนา​และ​ส่ง​ เสริม​บุคลิกภาพ​ที่​เหมาะ​สม​ทั้งด​ ้าน​ร่างกาย​และ​จิตใจ ตลอด​จน​ความ​ สัมพันธ์​ของ​บคุ ลิกภาพ​กบั ก​ าร​สร้าง​มนุษยสัมพันธ์ เพือ่ ​สามารถ​นำ​ � ไป​ ใช้​ประโยชน์​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ​และ​การ​ด�ำรง​ชีวิต​อยู่​ใน​สังคม​ได้​ อย่าง​มปี​ ระสิทธิภาพ

ศป. 313 จิตวิทยา​เพื่อ​พัฒนา​ภาวะ​ผู้น�ำ (3 หน่วยกิต) LB 313 Psychology for Leadership ทฤษฎี หลัก​การ​ของ​ภาวะ​ผู้น�ำ บทบาท​ความ​ส�ำคัญข​ อง​ ผูน้ ำ​ � และ​ผต​ู้ าม ผูน้ ำ​ � ท​มี่ ​ปี ระสิทธิภาพ​และ​ไม่มป​ี ระสิทธิภาพ คุณสมบัต​ิ ของ​ผู้น�ำ ประเภท​ของ​ผู้น�ำ ผู้น�ำ​กับ​การ​ท�ำงาน​ร่วม​กับ​ผู้​อื่น​และ​น�ำ​ ทฤษฎี​ทาง​จิตวิทยา​มา​พัฒนา​ภาวะ​ผู้น�ำ​ใน​ตนเอง

ศป. 309 การ​เสริม​สร้าง​วิชาชีพ (3 หน่วยกิต) LB 309 Practical Skills Development ศึกษา​ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​ศิลปะ​ประดิษฐ์ เช่น การ​ จัด​ดอกไม้ การ​ท�ำ​เทียน​หอม การ​ท�ำ​ผ้าบา​ติก การ​เพ้นท์​ลวดลาย​บน​ ภาชนะ​และ​อื่นๆ เพื่อ​ให้​เกิด​แนวคิด​สร้างสรรค์ ซึ่ง​สามารถ​น�ำ​ไป​ใช้ ประโยชน์​ใน​การ​ด�ำเนิน​ชีวิต​อย่าง​มี​คุณภาพ​ทั้ง​ด้าน​ส่วน​ตัว​และ​การ​ ประกอบ​อาชีพ โดย​ศึกษา​ทั้ง​ภาค​ทฤษฎี​และ​ฝึก​ปฏิบัติ ศป. 311 จิตวิทยา​เพื่อ​ชีวิต​และ​การ​ท�ำงาน (3 หน่วยกิต) LB 311 Psychology for Life and Work การ​ป ระยุ ก ต์ ​ห ลั ก ​ก าร​ท าง​จิ ต วิ ท ยา​ใน​ก าร​พั ฒ นา​ ประสิทธิภาพ​ของ​ตนเอง​เพื่อ​น�ำ​ไป​สู่​การ​ท�ำงาน ปัจจัย​ทาง​จิตวิทยา​ที่​ มี​อทิ ธิพล​ชว่ ย​ให้​ประสบ​ความ​สำ� เร็จ ใน​การ​เลือก​อาชีพ​และ​การ​ทำ� งาน​ ให้​เหมาะ​สม​กับ​ตนเอง 568 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศป. 331 ไทย​ศึกษา (3 หน่วยกิต) LB 331 Thai Studies ศึกษา​ถงึ ล​ กั ษณะ​พนื้ ฐ​ าน​ของ​ความ​เป็นไ​ทย​อย่าง​รอบ​ดา้ น โดย​พิจารณา​ทั้ง​ทาง​ด้าน​ประวัติศาสตร์ พัฒนาการ​ทางการ​เมือง การ​ ปกครอง ความ​สัมพันธ์ก​ ับ​ต่าง​ประเทศ โครงสร้าง​ทาง​เศรษฐกิจ และ​ สังคม วัฒนธรรม ศิลปกรรม วรรณกรรม พุทธ​ปรัชญา และ​ภมู ป​ิ ญั ญา​ ไทย​ตลอด​จน​พจิ ารณา​การ​ปรับเ​ปลีย่ น​และ​รกั ษา​ความ​เป็นไ​ทย​ใน​ดา้ น​ ต่าง ๆ ของ​สังคม​ไทย​ที่​ก�ำลัง​เปลี่ยนแปลง​ใน​สมัยป​ ัจจุบัน ศป. 355 ศึกษา​วัฒนธรรม​ต่าง​ชาติ (3 หน่วยกิต) LB 355 Cross-Cultural Studies เป็นการ​ศึกษา​ภาษา​ต่าง​ประเทศ​นอก​สถาน​ที่ นัก​ศึกษา​ จะ​มี ​โอกาส​ฝึ ก ฝน​ภาษา​อ ย่ า ง​จริง จัง อาจ​จ ะ​เป็นการ​ศึกษา​ภายใน​ ประเทศ​กับ​เจ้าของ​ภาษา​โดย​ใช้​สถานการณ์​จ�ำลอง​ใน​รูป​แบบ​ของ Language Work Camp หรือ​เป็นการ​ศึกษา​และ​ดู​งาน​ใน​ต่าง​ประเทศ วิชา​นี้​มุ่ง​เน้น​ให้​นัก​ศึกษา​ฝึกฝน​ทักษะ​การ​ใช้​ภาษา​และเรียน​รู้​ศิลป-​ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง สังคม รวม​ทั้ง​ความ​เป็น​อยู่ การ​ใช้​ ชีวิต และ​ความ​เชื่อ​ของ​คนใน​ประเทศ​นั้นๆ


ศป. 401 วิทยาการ​ทหาร (3 หน่วยกิต) LB 401 Military Science ความ​มั่นคง​แห่ง​ชาติ ศึกษา​ถึง​ความ​หมาย​ของ​ความ​ มั่นคง​แห่ง​ชาติ ยุทธศาสตร์​ชาติ โครงสร้าง​และ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ ความ​มั่นคง​แห่งช​ าติ​กับ​ยุทธศาสตร์​ชาติ โครงสร้าง​ยุทธศาสตร์ พลัง​ อำ�นาจ​ของ​ชาติ การ​พัฒนา​นโยบาย​ความ​มั่นคง​แห่ง​ชาติ ความ​ สัมพันธ์​ระหว่าง​พลัง​อำ�นาจ​ทาง​ทหาร​กับ​พลัง​อำ�นาจ​อื่นๆ ของ​ชาติ และ​ตัวอย่าง​การ​แก้​ปัญหา​ข้อ​ขัด​แย้ง​ใน​สถานการณ์ ​โลก​ปัจจุบัน​โดย​ เน้น​เอเชียต​ ะวันอ​ อก​เฉียง​ใต้ พืน้ ฐ​ าน​ทาง​ทหาร ศึกษา​ถงึ ก​ าร​จดั แ​ ละ​การ​ดำ�เนินง​าน​ทาง​ ทหาร การ​จดั ด​ นิ แ​ ดน หลักน​ ยิ ม​ของ​การ​ปฏิบตั ก​ิ าร​ของ​แต่ละ​เหล่าท​ พั ​ ความ​สมั พันธ์ร​ะหว่าง​ผบ​ู้ งั คับบ​ ญั ชา​และ​ฝา่ ย​อำ�นวย​การ เทคนิคใ​น​การ​ แก้​ปัญหา​ทาง​ทหาร​และ​การ​ตัดสินใ​จ​ของ​ผู้​บังคับบ​ ัญชา วิวัฒนาการ​ทาง​ทหาร ศึกษา​ประวัติศาสตร์ท​ หาร ความ​ สัมพันธ์​ระหว่าง​กิจ​กการ​ทหาร​กับ​กิจการ​พลเรือน ทั้ง​ใน​อดีต​และ​ ปัจจุบัน​ลักษณะ​ผู้นำ� หลัก​การ​สงคราม ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​กิจการ​ ทหาร​กับ​การ​พัฒนา​ทาง​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี การ​จัด​และ​การ​ ดำ�เนินก​ าร​หน่วย​กงึ่ ท​ หาร​พร้อม​ทงั้ เ​ยีย่ ม​ชม​หรือด​ ง​ู าน​หน่วย​ทหาร​ตาม​ ความ​เหมาะ​สม ศป. 402 การ​พัฒนา​ความ​มั่นคง​แห่ง​ชาติ (3 หน่วยกิต) LB 402 National Security Development ศึกษา​ให้​เกิดค​ วาม​รู้​ความ​เข้าใจ​ใน​เรื่อง​ความ​รู้​ทั่วไป​ทาง​ ทหาร​ความ​มั่นคง​ปลอดภัย​แห่ง​ชาติ​และ​ยุทธศาสตร์ รวม​ทั้ง​ให้​มอง​ เห็นถ​ งึ ค​ วาม​จำ�เป็นข​ อง​การ​รว่ ม​มอื แ​ ละ​การ​ประสาน​การ​ปฏิบตั ร​ิ ะหว่าง​ พลเรือน​และ​ทหาร อันจ​ ะ​ก่อ​ให้​เกิดค​ วาม​มั่นคง​ปลอดภัย​แห่ง​ชาติ ศป. 433 สังคมวิทยา​การเมือง (3 หน่วยกิต) LB 433 Political Sociology ศึกษา​ความ​เกี่ยวข้อง​และ​ผล​กระทบ​เบื้อง​ต้น​ที่​มี​ต่อ​กัน​ ระหว่าง​การเมือง​กับ​สังคม อธิบาย​ปรากฏการณ์​ความ​สัมพันธ์​เชิง​

พื้น​ฐาน​ของ​สังคม​กับ​พฤติกรรม​ทางการ​เมือง​ใน​สังคม​สมัย​ใหม่ ภาย​ ใต้​กรอบ​แนว​ความ​คิด​เชิง​ทฤษฎี​ด้าน​สังคมวิทยา​การเมือง รวม​ถึง​ วัฒนธรรม​ทางการ​เมือง มิตแ​ิ ละ​ความ​สมั พันธ์ข​ อง​อำ�นาจ​ทางการ​เมือง กระบวนการ​ขัดเกลา​ทางการ​เมือง พฤติกรรม​การ​มสี​ ่วน​ร่วม​และ​การ​ คัดค้าน​ทางการ​เมือง ความ​ไม่​เท่า​เทียม​กัน​ทาง​สังคม​และ​การเมือง ประชา​สังคม และ​โลกา​ภิวัตน์ ศป. 444 สัมมนา​ปัญหา​ของ​ประเทศ (3 หน่วยกิต) ใน​เอเชีย​อาคเนย์ LB 444 Seminar on SEA Problems ศึกษา​ปญั หา​หลักข​ อง​ประเทศ​ใน​ภมู ภิ าค​เอเชียต​ ะวันอ​ อก​ เฉียง​ใต้ โดย​การ​อภิปราย​เน้น​ทาง​ด้าน​ความ​สัมพันธ์​และ​การเมือง​ ระหว่าง​ประเทศ ปัญหา​การเมือง​ภายใน​ประเทศ ปัญหา​เขตแดน ปัญหา​ความมั่นคง​ของ​ประเทศ อาทิ ปัญหา​คอรัปชั่น ความ​ยากจน ตลอด​จน​ศกึ ษา​พฒ ั นาการ​ทาง​ดา้ น​เกษตรกรรม​และ​อตุ สาหกรรม รวม​ ทั้ง​ปัญหา​สิ่ง​แวดล้อม ศป. 455 สังคมวิทยา​ศาสนา (3 หน่วยกิต) LB 455 Religious Sociology ศึกษา​ศาสนา​ใน​ฐานะ​สถาบัน​ทาง​สังคม โครงสร้าง​ของ​ ศาสนา​และ​การ​จัด​องค์กร​ทาง​ศาสนา ความ​เชื่อ​และ​การ​แสดงออก​ ทางพฤติกรรม​ทาง​ศาสนา ที่​มี​อิทธิพล​ต่อ​การเมือง เศรษฐกิจ และ​ การเปลีย่ นแปลง​เชิงส​ งั คม​และ​วฒ ั นา​ธรรม อีกท​ งั้ ศ​ กึ ษา​ความ​สมั พันธ์​ ระหว่าง​ศาสนา​กับ​สถาบัน​อื่นๆ ทาง​สังคม ศป. 502 ปรัชญา​จีน (3 หน่วยกิต) LB 502 Chinese Philosophy ศึกษา​ลักษณะ​ทั่วไป​ของ​ปรัชญา​จีน ความ​คิด​ของ​นัก​ ปรัชญา​คน​สำ�คัญ และ​แนว​โน้มใ​น​ปจั จุบนั ศึกษา​ทฤษฎีข​ อง​ลทั ธิข​ งจือ๊ ลัทธิ​เต๋า และ​พุทธ​ศาสนา​นกิ​ าย​ต่างๆ ใน​ประเทศ​จีน หลักสูตรปริญญาตรี 569


ศป. 503 ปรัชญา​ญี่ปุ่น (3 หน่วยกิต) LB 503 Japanese Philosophy ศึกษา​ลักษณะ​ทั่วไป​ของ​ปรัชญา​ญี่ปุ่น ความ​คิด​ของ​นัก​ ปรัชญา​คน​สำ�คัญ และ​แนว​โน้ม​ใน​ปัจจุบันศ​ ึกษา​ทฤษฎี​ของ​ลัทธิ​ชินโต และ​สาขา​สำ�คัญ 2 สาขา​ของ​พุทธ​ศาสนา​นิกาย​เซน ศป. 505 พุทธ​ศาสนา​กับ​สังคม​ไทย (3 หน่วยกิต) LB 505 Buddhism and Thai Society ศึกษา​คำ�​สอน​ทาง​สังคม​ของ​พุทธ​ศาสนา อิทธิพล​ที่​มี​ต่อ​ สังคม​ไทย​ด้าน​ต่าง ๆ ตั้ง​แต่​อดีต​จนถึง​ปัจจุบัน พุทธ​ศาสนา​กับ​การ​ เปลี่ยนแปลง​ทาง​สังคม​ใน​สังคมไทย​ปัจจุบัน ศป. 509 พุทธ​จริยศาสตร์ (3 หน่วยกิต) LB 509 Buddhist Ethics ศึกษา​ความ​หมาย​และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​พุทธ​จริยศาสตร์ ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​พุทธ​จริยศาสตร์​กับ​ชีวิต​และ​สังคม ระบบ​ จริยศาสตร์​ของ​ศาสนา จริยศาสตร์​กับ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต และ​การ​แก้​ ปัญหา​สังคม​ใน​ปัจจุบัน โดย​เน้น​พุทธ​จริยศาสตร์เ​ถรวาท​แบบ​ไทย

หมวด​วิชา​พลศึกษา​และ​นันทนาการ พน. 101 กิจกรรม​เข้า​จังหวะ (1 หน่วยกิต) PE 101 Rhythmic Activities ศึกษา​ประวัติ​ความ​เป็น​มา และ​ความ​รู้​เบื้อง​ต้น​ใน​การ​ ฝึกท​ ักษะ​กิจกรรม​การ​ออก​กำ�ลังก​ าย​ที่​ใช้ก​ าร​เคลื่อนไหว​อิริยาบถ​แบบ​ ต่างๆ ตาม​เสียง​ดนตรี จังหวะ​เพลง และ​การ​เต้นรำ�​พนื้ เ​มือง​แบบ​ตา่ งๆ ได้​อย่าง​ถูก​ต้อง และ​สวยงาม พน. 102 การ​ลีลาศ (1 หน่วยกิต) PE 102 Social Dance ศึกษา​ประวัติ​ความ​เป็น​มา ประโยชน์ และ​หลัก​ปฏิบัตทิ​ ี่​ ถูกต​ อ้ ง​ของ​การ​ลลี าศ รวม​ถงึ ว​ ธิ ก​ี าร​และ​จงั หวะ​ของ​การ​ลลี าศ​ประเภท​ ต่างๆ ทั้งนี้​เพื่อ​สามารถ​ใช้​เป็น​กิจกรรม​ใน​การ​ออก​กำ�ลัง​กาย และ​เป็น​ พื้น​ฐาน​ใน​การ​เข้า​สังคม พน. 103 วอลเลย์บอล (1 หน่วยกิต) PE 103 Volleyball ศึกษา​ประวัตค​ิ วาม​เป็นม​ า วิวฒ ั นาการ และ​ประโยชน์ข​ อง​ กีฬา​วอลเลย์บอล และ​เรียน​รท​ู้ กั ษะ​พนื้ ฐ​ าน หลักว​ ธิ ก​ี าร​ใน​การ​เล่นก​ ฬี า​ วอลเลย์บอล​อย่าง​ถูก​ต้อง รวม​ถึง​ทักษะ​ใน​การ​เล่น​เป็น​ทีม​และ​กติกา​ การ​แข่ง​ขัน พน. 104 บาสเกตบอล (1 หน่วยกิต) PE 104 Basketball ศึกษา​ประวัตค​ิ วาม​เป็นม​ า วิวฒ ั นาการ และ​ประโยชน์ข​ อง​ กีฬา​บาสเกตบอล และ​เรียน​รท​ู้ กั ษะ​พนื้ ฐ​ าน หลักว​ ธิ ก​ี าร​ใน​การ​เล่นก​ ฬี า​ บาสเกตบอล​อย่าง​ถูก​ต้อง รวม​ถึง​ทักษะ​ใน​การ​เล่น​เป็น​ทีม​และ​กติกา​ การ​แข่ง​ขัน

570 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


พน. 105 แบดมินตัน (1 หน่วยกิต) PE 105 Badminton ศึกษา​ประวัติ​ความ​เป็น​มา วิวัฒนาการ และ​ประโยชน์​ ของ​กีฬา​แบดมินตัน และ​เรียน​รู้​ทักษะ​พื้นฐ​ าน วิธี​การและ​เทคนิค​การ​ เล่นแ​ บดมินตันต​ าม​หลักส​ ากล​นยิ ม รวม​ถงึ ก​ าร​เล่นป​ ระเภท​ตา่ งๆ และ​ กติกา​การ​แข่ง​ขัน พน. 106 ปิงปอง (1 หน่วยกิต) PE 106 Table Tennis ศึกษา​ประวัตค​ิ วาม​เป็นม​ า วิวฒ ั นาการ และ​ประโยชน์ข​ อง​ กีฬา​ปิงปอง และ​เรียน​รู้​ทักษะ​พื้น​ฐาน วิธี​การ​และ​เทคนิค​พื้นฐ​ าน​ใน​ การ​เล่นก​ ฬี า​ปงิ ปอง รวม​ถงึ ก​ าร​เล่นป​ ระเภท​ตา่ งๆ และ​กติกา​การ​แข่งข​ นั พน. 107 เกม​นันทนาการ (1 หน่วยกิต) PE 107 Games Activities ศึกษา​คณ ุ ลักษณะ คุณค่าแ​ ละ​ประโยชน์ข​ อง​การ​เล่นเ​กม​ เพื่อ​นันทนาการ รวม​ถึง​เรียน​รู้​เทคนิค​ใน​การ​เป็น​ผู้นำ�​เกม ประเภท​ ของ​เกม และ​ความ​ปลอดภัย​ใน​การ​เล่น​เกม เพื่อ​ความ​สนุกสนาน​ เพลิดเพลิน และ​การ​ออก​กำ�ลัง​กาย​เพื่อ​มีสุขภาพ​อนามัย​ที่​ดี พน. 108 เทนนิส (1 หน่วยกิต) PE 108 Tennis ศึกษา​ประวัติ​ความ​เป็น​มา และ​ประโยชน์ ​ใน​การ​เล่น​ เทนนิสแ​ ละ​เรียน​รท​ู้ กั ษะ​เบือ้ ง​ตน้ ทักษะ พืน้ ฐ​ าน​และ​วธิ กี าร​เล่น รวม​ ถึง​กติกา​การ​แข่ง​ขัน และ​มารยาท​ใน​การ​เล่น​เทนนิส พน. 109 กอล์ฟ (1 หน่วยกิต) PE 109 Golf ศึกษา​ประวัตค​ิ วาม​เป็นม​ า และ​ประโยชน์ใ​น​การ​เล่น และ​ เรียน​รู้​คำ�​ศัพท์​ใน​กีฬา​กอล์ฟ เครื่อง​มือ​ใน​การ​เล่น ทักษะ​เบื้อง​ต้น​ใน​ การ​เล่น การ​เล่นแ​ บบ​แบ่งก​ ลุม่ การ​ออก​รอบ การ​นบั ค​ ะแนน กติกา​

กอล์ฟ รวม​ถึง​ข้อ​แนะนำ�​ใน​การ​ฝึก​กอล์ฟ​ตาม​สนาม​ฝึก และ​มารยาท​ ใน​การ​เล่น​กอล์ฟ พน. 110 มวยไทย (1 หน่วยกิต) PE 110 Thai Boxing ศึกษา​ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ ประโยชน์ และ​ประวัติ​ ความ​เป็น​มา​ของ​กีฬา​มวยไทย และ​เรียน​รู้​หลัก​เบื้อง​ต้น​ใน​การ​ฝึก​ ทักษะ​ศิลปะ​มวยไทย การ​แต่ง​กาย​ของ​มวยไทย การ​ไหว้​ครู ท่า​ร่าย​ รำ�​มวยไทย และ​กติกา​​เมือง​ไทย พน. 111 ตะกร้อ (1 หน่วยกิต) PE 111 Sepak Takraw and Takraw ศึกษา​ประโยชน์ และ​ประวัตค​ิ วาม​เป็นม​ า​ของ​กฬี า​ตะกร้อ​ การเต​รย​ี ม​ตวั แ​ ละ​อปุ กรณ์ก​ อ่ น เริม่ ฝ​ กึ ต​ ะกร้อ เรียน​รป​ู้ ระเภท​ของ​กฬี า​ ตะกร้อ หลักท​ วั่ ไป​ของ​การ​เล่นต​ ะกร้อ ลักษณะ​การ​เตะ​ตะกร้อท​ า่ ต​ า่ งๆ กติกา​กฬี า​ตะกร้อ รวม​ถงึ ม​ ารยาท​และ​ความ​ปลอดภัยใ​น​การ​เล่นต​ ะกร้อ​ ประเภท​ต่างๆ พน. 112 นาฏ​ศิลป์​ไทย (1 หน่วยกิต) PE 112 Thai Classical Dance ศึกษา​หลัก​การ​เบื้อง​ต้น​ของ​นาฏ​ศิลป์​ไทย​ทั้ง​ภาค​ทฤษฎี​ และ​ภาค​ปฏิบัติ ท่า​รำ�​มาตรฐาน​ที่​จะ​เป็น​พื้น​ฐาน​ของนาฏ​ศิลป์​ชั้น​สูง เพลง​และ​การ​ละ​เล่น​พื้น​เมือง เพื่อ​ให้​เห็น​คุณค่า​และ​ความ​สำ�คัญ​ของ​ นาฏ​ศลิ ป์ไ​ทย ซึง่ เ​ป็นศ​ ลิ ป​วฒ ั นธรรม​ประจำ�​ชาติ และ​สามารถ​เผย​แพร่​ ต่อ​ชุมชน พน. 113 ผู้นำ�​นันทนาการ (2 หน่วยกิต) PE 113 Recreation Leader ศึกษา​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​เกี่ยว​กับ​กิจกรรม​เพื่อ​นันทนาการ รวม​ทั้ง​ปัจจัย​สำ�คัญ​และ​คุณลักษณะ​ของ​การ​เป็น​ผู้นำ�​นันทนาการ หลักสูตรปริญญาตรี 571


หมวด​วิชา​ศึกษาทั่วไป ศท. 111 คุณค่าแห่งบัณฑิต (3 หน่วยกิต) GE 111 Value of Graduates ศึกษาวิธกี ารพัฒนาคุณภาพชีวติ ของการเป็นบัณฑิตทีม่ ี คุณธรรม จริยธรรม และบุคลิกภาพ ตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย กรุงเทพ มุง่ เน้นการพัฒนาทักษะการดำ�เนินชีวติ การรูจ้ กั ตนเองความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคล สังคม สิ่งแวดล้อม ท่ามกลางกระแสการ เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ศท. 112 เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลกอนาคต (3 หน่วยกิต) GE 112 Information Technology and the Future World ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ บทบาท ความสำ�คั ญ ของเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยมุง่ เน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผสมผสานกับหลัก การทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพชีวิตในสังคมสมัยใหม่ ตลอดจนศึกษาผล กระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อการดำ�เนินชีวิต ศท. 113 ภาษาไทยเพื่อการสร้างสรรค์ (3 หน่วยกิต) GE 113 Thai Language for Creativity ศึกษาภาษาไทย พลวัตในการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารได้ถูก ต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ�วันและสังคม มุ่ง เน้นทักษะการฟังและการดู การพูด การอ่าน การเขียน การตัง้ คำ�ถาม ทีพ่ ฒ ั นาทักษะด้านการคิดวิเคราะห์อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ตลอดจนประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ใ นการดำ�เนิ น ชี วิ ต อย่ า งมี ประสิทธิผล

572 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศท. 114 พลเมืองไทย พลเมืองโลก (3 หน่วยกิต) GE 114 Thai Citizens, Global Citizens ศึกษาความหมายและลักษณะที่ดีของการเป็นพลเมือง ไทยและพลเมืองโลก เพือ่ พัฒนาให้นกั ศึกษามีทกั ษะในการอยูร่ ว่ มกับ ผูอ้ นื่ ทีม่ คี วามแตกต่างกันทางเชือ้ ชาติ ความเชือ่ ภาษาและวัฒนธรรม การศึกษาจะเน้นเรื่องความเสมอภาค ความสามัคคี ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและผูอ้ นื่ ในวิถชี วี ติ แบบสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และให้มีความตระหนักในการเป็นสมาชิก สังคมที่มีจิตกุศล ตลอดจนมีจิตอาสาเพื่อพัฒนาสังคม ศท. 115 สุนทรียภาพแห่งชีวิต (3 หน่วยกิต) GE 115 The Art of Life ศึกษาวิธกี ารพัฒนาสุนทรียภาพแห่งชีวติ พัฒนาทัศนคติ เชิงบวก และสัมพันธภาพระหว่างบุคคลและกลุม่ คน ศึกษาด้านศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม การศึกษาประกอบด้วยการบรรยาย กรณีศึกษา การศึกษาดูงาน และการฝึกปฏิบัติจริง ศท. 116 ทักษะความเป็นผู้นำ� (3 หน่วยกิต) GE 116 Leadership Skills ศึกษาความสำ�คัญของการมีภาวะผู้นำ�ในแง่มุมขององค์ ประกอบ คุณลักษณะ ความสามารถ กระบวนการคิด ศักยภาพ ที่ส่ง เสริมให้เกิดความสำ�เร็จในการเป็นผู้นำ�ระดับต่างๆ การตระหนักถึง อุดมคติแห่งการเป็นผู้นำ�ที่ดี มีจิตสาธารณะ และสามารถจัดการกับ ปัญหาโดยใช้หลักธรรมาภิบาล รวมถึงการพัฒนาทักษะ ประสบการณ์ เพื่อนำ�ไปประยุกต์ ใช้กับสถานการณ์ ในทางสร้างสรรค์ ตลอดจน สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในฐานะที่เป็นผู้นำ�และผู้ตามที่ดี


ศท. 117 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน (3 หน่วยกิต) GE 117 Mathematics for Daily Life ศึกษาพัฒนาการทางคณิตศาสตร์ ความหมายของตัวเลข และสัญลักษณ์ที่พบในชีวิตประจำ�วัน คณิตศาสตร์กับศิลปะและความ งาม คณิตศาสตร์สันทนาการ และการนำ�คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ในการดำ�เนิ น ชี วิ ต อาทิ การคำ�นวณดั ช นี ม วลกาย การคิ ด ค่ า สาธารณูปโภค การคำ�นวณภาษีเงินได้ การวางแผนเงินออมและการ คำ�นวณดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้จากสถาบันการเงินต่างๆ เป็นต้น ศท. 118 ชีวิตและสุขภาพ (3 หน่วยกิต) GE 118 Life and Health ความรู้ ค วามเข้ า ใจเชิ ง บู ร ณาการเกี่ ย วกั บ วงจรชี วิ ต พฤติกรรม การดูแลสุขภาพของตนเอง อาหารและยา การออกกำ�ลัง กาย การส่งเสริมสุขภาพจิต การประกันชีวิตและสุขภาพ การป้องกัน ตัวจากอุบัติภัย และโรคอุบัติใหม่ รวมทั้งเรื่องของสิทธิมนุษยชน

หมวด​วิชา​สหกิจศึกษา สศ. 301 เตรียมสหกิจศึกษา (3 หน่วยกิต) CO 301 Pre-Cooperative Education วิชาบังคับก่อน: ไม่มี ศึกษาความหมาย ความสำ�คัญ ประโยชน์ และแนวคิด ของสหกิจศึกษา เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อมของทักษะด้านต่างๆ ก่อนออกไปปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการ อาทิ การเขียน จดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการ เทคนิคการสัมภาษณ์ งาน การพัฒนาบุคลิกภาพ การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การ ทำ�งานเป็นทีม วัฒนธรรมองค์กร เทคนิคการคิดอย่างสร้างสรรค์ การเขียนรายงาน การบริหารความเสี่ยง การนำ�เสนอ และคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ

ศท. 119 ภูมิปัญญาไทยและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (3 หน่วยกิต) GE 119 Thai Wisdom and Creative Economy ศึกษาภูมิปัญญาไทยที่เกี่ยวกับ มนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์ กับธรรมชาติ มนุษย์กับสิ่งเหนือธรรมชาติและองค์ความรู้เกี่ยวกับ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อปลุกจิตสำ�นึกความเป็นไทย และการดำ�รง ชีวติ อยูไ่ ด้อย่างมีความสุข ตลอดจนสามารถนำ�ความรู้ ด้านภูมปิ ญั ญา ไทยมาสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จ โดยประยุ ก ต์ เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการจัดการทางการตลาด เพื่อประโยชน์ของบุคคล กลุ่มชน และประเทศชาติ

หลักสูตรปริญญาตรี 573


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.