สื่อการสอนประเภทวัสดุ ppt

Page 1


1. นายบัณฑิต โสสวาง 2. นายพรชัย บัวบุญเลิศ 3. นายอภิชาติ แซอื้อ 4. นายอภิวิชญ สนลอย

รหัสนักศึกษา รหัสนักศึกษา รหัสนักศึกษา รหัสนักศึกษา

คบ. 3 คอมพิวเตอรศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

534144013 534144014 534144026 534144027


คําวาวัสดุ หมายถึง สิ่งของที่มีขนาดเล็กบางอยางมีความทนทาน สูง แตบางอยางฉีกขาดแตกหักชํารุดเสียหายไดงาย เรียกวา วัสดุสิ้นเปลือง เชน กระดาษ กาว สี เชือก กิ่งไม ใบไม


เมื่อนําวัสดุเหลานี้มาใชประกอบการเรียนการสอนจึงเรียกวา “สื่อวัสดุ” ซึ่งเปนสื่อขนาดเล็กที่มีศักยภาพในการบรรจุเก็บเนื้อหา และถายทอดความรูไดอยางมีประสิทธิภาพ


ประเภทของสื่อวัสดุแบงออกเปน 3 ประเภท 1. สื่อวัสดุ 2 มิติ 2. สื่อวัสดุ 3 มิติ 3. สื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส


โดยทั่วไปหมายถึง สื่อวัสดุกราฟกซึ่งมีรูปรางบางแบน ไมมีความหนา มีองคประกอบสําคัญคือ รูปภาพ ตัวหนังสือ และ สัญลักษณ สื่อเหลานีไ้ ดแก กราฟ (graphs) แผนภูมิ (charts) ภาพพลิก (flipcharts) ภาพโฆษณา (posters) ภาพชุด (flash cards) แผนโปรงใส (transparencies)


วัสดุกราฟก หมายถึง ทัศนวัสดุอยางหนึ่งที่นํามาใชในการ สื่อความหมายเพื่อแสดงสัญลักษณหรือความหมายของสิ่งใดสิ่ง หนึ่งที่เกี่ยวของกับขอเท็จจริง แนวคิด และเสริมความเขาใจโดย อาศัยสวนประกอบที่เปนรูปภาพ สัญลักษณ แผนภาพ ฯลฯ วัสดุ กราฟกจัดวาเปนสื่อราคาถูก (Low Cost Media) และครูผูสอน สามารถผลิตไดดวยตนเอง


วัสดุกราฟกเปนสื่อพื้นฐานที่นิยมใชประกอบการเรียนการ สอนหรือการเผยแพรความรูทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากวัสดุกราฟก มีคุณคาหลายประการดังนี้ 1. ราคาถูก 2. ครูผูสอนสามารถผลิตไดดวยตนเอง 3. มีคุณคาตอการเรียนรูของผูเรียนโดยตรง 4. เก็บรักษางาย ใชไดสะดวก 5. สามารถประยุกตหรือใชประกอบกับสื่ออื่น ๆ ได


วัสดุกราฟกมีประโยชนตอการเรียนการสอน ดังนี้ 1. ชวยใหผูสอนกับผูเรียนเขาใจความหมายไดตรงกัน 2. ชวยใหผูเรียนเรียนรูไดดีกวาการฟงคําบรรยายเพียงอยางเดียว 3. ประหยัดเวลา 4. ชวยใหผูเรียนสนใจบทเรียนยิ่งขึ้น 5. ชวยใหผูเรียนไดมีโอกาส มีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน 6. ชวยใหการอธิบายสิ่งที่เขาใจยากใหเขาใจงายขึ้น


สื่อวัสดุกราฟกที่ใชประกอบการเรียนการสอนที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. มีความงายตอความเขาใจ สามารถสื่อความหมายไดรวดเร็ว ชัดเจนทั้งรูปภาพ สัญลักษณ ตัวอักษรและถอยคํา 2. การออกแบบตองคํานึงถึงการเรียนรูโดยเรียงลําดับภาพ สัญลักษณและตัวอักษรตามลําดับขั้นตอน


3. ตองมีการเนนจุดเดนโดยการใชสี ขนาด รูปราง รูปทรง เสน หรือทิศทาง เพื่อแบงแยกขอมูลที่เปนใจความสําคัญใหเดน กวาขอมูลอื่น ๆ 4. มีความเปนเอกภาพทั้งเนื้อหาและรูปภาพ 5. มีความประณีต สวยงาม ตามคุณคาของศิลปกรรม


การออกแบบวัสดุกราฟกใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพในการ สื่อความหมายควรยึดหลักการดังนี้ 1. ตรงกับจุดมุงหมายของเนื้อหาวิชา 2. การออกแบบโดยการคํานึงถึงประโยชนที่จะนําไปใชงานโดยมุง ที่จะไดรับจากการใชวัสดุกราฟกเพื่อการสื่อความหมายสําคัญ 3. การออกแบบวัสดุกราฟกควรมีลักษณะงาย ๆ สวนประกอบตาง ๆ ไมจําเปนตองแสดงรายละเอียดมากเกินไป และ ขบวนการผลิตไมยุงยากซับซอน


4. คํานึงถึงความประหยัดทั้งเงินงบประมาณและเวลาในการจัดทํา 5. มีสัดสวนดี องคประกอบทั้งหมดกลมกลืน เชน รูปแบบ พื้นผิว เสน สี เปนตน 6. มีโครงสรางที่เหมาะสม กลมกลืนกับวัฒนธรรม สังคม และมีความ ถูกตองตามสภาพที่เปนจริง


วัสดุกราฟกชนิดตาง ๆ ที่นิยมนํามาใชประกอบการเรียนการสอนมีดังนี้ แผนภูมเิ ปนวัสดุประเภทกราฟก ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญ คือ สัญลักษณ รูปภาพ และตัวอักษร ใชประกอบการบรรยาย ชี้แจง สรุป สาระสําคัญ เนื้อหาที่เหมาะสมกับสื่อแผนภูมิ ไดแก การเปรียบเทียบ ความตอเนื่อง กระบวนการ ความสัมพันธ ขั้นตอน เปนตน


1. เปนแบบงายและแสดงแนวคิดเดียว 2. ขนาดใหญ อานงาย ไมแนนเกินไป 3. ใชสีเพื่อการเนนเปนสําคัญ 4. ภาพประกอบตองเหมาะสม นาสนใจ 5. เนื้อหาถูกตองตามความเปนจริง 6. เนื้อหาและคําบรรยายชัดเจน อานงาย 7. มีการทบทวนในการใชงานและการเก็บรักษา


1. แผนภูมิตองตรงกับเนื้อหา 2. ตองติดตั้งหรือแขวนใหเรียบรอย 3. อธิบายตามลําดับขั้นอยางตอเนื่อง 4. ขณะใชแผนภูมิตองหันหนาเขาหาผูเรียน 5. จุดสนใจควรเนนดวยสี ขนาด การปด-เปด 6. ควรใหผูเรียนมีสวนรวมเสนอ 7. การชี้แผนภูมิควรใชไมหรือวัสดุชี้ 8. สามารถใชประกอบกับสื่ออื่น ๆ ได


1. แผนภูมแิ บบตนไม (Tree Charts) เหมาะกับเนื้อหาที่เกี่ยวของ กับการวิเคราะหแสดงใหเห็นสิ่งหนึ่งๆ แยกออกเปนหลายสิ่ง หรือการ จําแนกโครงสรางใหญไปหาองคประกอบยอย เชน ประเภทของ เครื่องดนตรี ประเภทของการคมนาคม อาหารหลัก 5 หมู


2. แผนภูมิแบบสายธาร (Stream Charts) ใชแสดงวาสิ่งหนึ่ง ๆ เกิดจากหลายสิ่งมารวมกันจะมีลักษณะตรงกัน ขามกับแผนภูมิแบบตนไม เชน ชิพ เมนบอรด จอภาพ ขนมปงเกิด จาก แปง ยีสต น้ําตาล ปจจัย 4 เปนตน


3.แผนภูมแิ บบตอเนื่อง ( Flow Charts) ใชแสดงเรื่องราว กิจกรรม การทํางานเปนขั้นตอนตามลําดับตอเนื่อง ตลอดจนการแสดง วงจรชีวิตที่เปนลําดับตอเนื่อง เชน วงจรชีวิตของผีเสื้อ


4 .แผนภูมิแบบองคการ (Organization Charts) เปนแผนภูมิ ทีใ่ ชแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธของสายงานในหนวยงานหรือ องคการ นิยมใชเสนโยงความสัมพันธ ของหนวยงานยอย ที่เกี่ยวของ กันโดยตรงและใชเสนประ หรือเสนจุดไขปลา แสดง ความสัมพันธ ของหนวยงานยอยที่ เกี่ยวของกันโดยออม เชน แผนภูมิแสดงสายงาน การบริหารโรงเรียน เปนตน


5.แผนภูมิแบบเปรียบเทียบ ( Comparison Charts) เปนแผนภูมิที่ใชแสดงใหเห็นความแตกตางระหวางสิ่งของสอง สิ่งทางดานรูปราง ลักษณะ ขนาด แนวความคิด ของสิ่งตางๆ เชน การ เปรียบเทียบการแตงกายในสมัยตางๆ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยง คู เปนตน


6.แผนภูมิตาราง (Tabular Charts) ใชแสดงความสัมพันธ ระหวางเวลา กับเหตุการณ เชน ตารางเรียน ตารางเวลารถไฟเขาออก เปนตน


7. แผนภูมแิ บบวิวัฒนาการ (Developmental Charts) แสดงใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของสิ่งตางๆ ตอเนื่องกันเปนลําดับ แต ไมยอนกลับมาที่จุดเริ่มตนอีก


8.แผนภูมิแบบอธิบายภาพ (Pictorial Charts) ใชชี้แจงสวนตาง ๆ ของภาพใหเห็นชัดเจน เชน สวนประกอบของเครื่องยนต อวัยวะภายในของมนุษย สวนตางๆ ของ ดอกไม เปนตน


9. แผนภูมิขยายสวน (Enlarging Charts) ใชแสดงสวนที่ ขยายจากสวนเล็กๆ ทีต่ องการใหเห็นเดนชัดขึ้น


แผนสถิติเปนวัสดุลายเสนที่เนนการสื่อความหมายในเชิง ปริมาณและตัวเลข แผนสถิติแตละเรื่องควรแจงที่มาของขอมูลตาง ๆ เพื่อสรางความเชื่อถือ และเปดโอกาสใหศึกษาคนควาตอไปไดงาย ขึ้น เนื้อหาที่เหมาะสมกับแผนสถิติ ไดแก ขอมูลเชิงปริมาณ การ เปรียบเทียบ ความสัมพันธระหวางขอมูล


1. ตัวอักษร เสน สี ตองชัดเจน นาสนใจ 2. มีลักษณะดูแลวเขาใจงาย ไมยุงยากซับซอน 3. แสดงแหลงที่มาของขอมูลไดอยางถูกตอง 4. ควรนําเสนอในลักษณะเปรียบเทียบหรือแสดง ความสัมพันธของขอมูล 5. แสดงขอมูลในลักษณะประมาณมิใชเนนความถี่ของขอมูล


แผนสถิติมีประโยชนในกระบวนการเรียนการสอนดังนี้ 1.ใชแสดงขอมูลของจํานวนที่มีลักษณะเปนนามธรรมใหเขาใจไดงาย 2.ชวยใหผูเรียนรูจักการอาน วิเคราะห และสรุปขอมูลทางสถิติได 3.ชวยใหผูเรียนจดจําเนื้อหาที่แปลงเปนแผนสถิติไดนานขึ้น 4.ชวยใหผูเรียนสามารถใชขอมูลทางสถิติในการแกปญหาไดงายขึ้น


1.การแปลงขอมูลนามธรรมเปนรูปธรรม ทําใหเรียนรูงายขึ้น 2.ผูเรียนสามารถเปรียบเทียบขอมูลไดอยางชัดเจน 3.ผูสอนสามารถนําเสนอขอมูลไดหลากหลายรูปแบบ 4.เปนสื่อที่ผลิตงาย ทําไดทั้งดวยมือและคอมพิวเตอร 5.เปนสื่อที่ใชประกอบการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ


1.แผนสถิติที่ดีตองวิเคราะหความสอดคลองของเนื้อหาขอมูล กับรูปแบบแผนสถิติอยางรอบคอบ มิฉะนั้นอาจทําใหการสื่อ ความหมายผิดพลาดได 2.แผนสถิติที่ใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ตองระมัดระวัง ในการใชสี สัญลักษณ และขอความกับรูปแบบของแผนสถิติเปน อยางดี 3.แผนสถิติที่มีขอมูลถูกตองตองไดขอมูลจากแหลงอางอิงที่ เชื่อถือไดเทานั้น


1.ผูสอนตองอธิบายหรือบอกผูเรียนลวงหนาวาจะใชแผนสถิติ ประกอบการเรียนเรื่องอะไร และมีวิธีอานขอมูลถูกตองอยางไร 2.เลือกแผนสถิติที่เหมาะสมธรรมชาติของเนื้อหาขอมูล 3.ใหผูเรียนมีสวนรวมในการใชแผนสถิติ ในกระบวนการเรียนการ สอนโดยอาจเปนการชี้ การติดตั้ง การผลิต ตลอดจนการอภิปราย ซักถาม และการเก็บรักษา


1.แผนสถิติแบบเสน (Line Graph) เปนแบบที่แสดงขอเท็จจริงของขอมูลไดละเอียดและ ถูกตองที่สุด ลายเสนที่แสดงอาจเสนอการเปลี่ยนแปลงชองขอมูลเดียว หรือเปรียบเทียบหลายขอมูลก็ไดลักษณะประกอบดวย เสนแกนตอง และแกนนอนตั้งฉากกันอยูทั้งสองแกนแทนขอมูลสองขอมูลเกี่ยวของ กัน


2. แผนสถิติแบบแทง (Bar Graph) แผนสถิติแบบแทง เปนแผนสถิติที่จัดทําไดงายที่สุด และดู ไดเขาใจงายที่สุด โดย แสดงปริมาณหรือจํานวนของขอมูลดวยแทง สี่เหลี่ยมซึ่งแตละแทง สี่เหลี่ยมแทนขอมูลแตละขอมูลมีขนาดกวาง เทากัน แตความสูงหรือความยาวของแทงสี่เหลี่ยมแตกตางกัน ซึ่งแผนสถิติแบบแทงสามารถแบงออกไดเปน 3 แบบคือ


2.1 แผนสถิติชนิดแทงเดี่ยว แสดงการเปรียบเทียบจํานวนหรือปริมาณ ของขอมูลดวยแทงสี่เหลี่ยมแตละแทงอาจอยูในแนวตั้งหรือ แนวนอนก็ได แตอยูในทิศทางเดียวกัน


2.2 แผนสถิติชนิดแบงสวน ในแทงสี่เหลี่ยมแตละแทงแสดงจํานวน หรือปริมาณ ขอมูลสองขอมูลขึ้นไปโดยใชสีเสน หรือการแรเงาแสดง ความแตกตาง ของขอมูลทั้งสอง


2.3 แผนสถิติชนิดสองดาน ใชเปรียบเทียบจํานวนของขอมูลตางๆ โดยแสดงเปนแทงสี่เหลี่ยมทั้งสองดานของ เสนแกน แลวใชสี เสน หรือการแรเงา แสดงความแตกตางของขอมูลแตละขอมูล


3. แผนสถิติแบบวงกลม (Circle Or Pie Graph) ใชแสดงอัตราสวนที่เปนรอยละของขอมูล เพื่อ เปรียบเทียบจํานวนหรือปริมาณ โดยแสดงเปนภาพวงกลมซึ่งแทน จํานวนหรือปริมาณทั้งหมด (100 %) เทากับ 360 องศา แผนสถิติ แบบวงกลมบางครั้งอาจทําเปนชิ้นหนาและแบงชิ้นสวนออกเปน ชิ้นยอยๆ คลายกับขนมพายบางคนจึงเรียกวา Pie Graph


4. แผนสถิติแบบรูปภาพ (Pictorial Graph) ดัดแปลงมาจากแผนสถิติแบบแทงโดยใชภาพลายเสนงายๆ แสดง ความหมายของ ขอมูลแทนการใชแทงสี่เหลี่ยม ซึ่งแตละภาพมีรูปราง เหมือนกันและขนาดเทากัน ภาพหนึ่งๆ แทนจํานวนหรือปริมาณของ ขอมูลโดยกําหนดอัตราสวนที่แนนอน ขอดีของแผนสถิติแบบนี้จะ สามารถดึงดูดความสนใจไดดี เขาใจงายและรวดเร็ว


5.แผนสถิติแบบพื้นที่ (Area Graph) แผนสถิติแบบพื้นที่ เปนแผนสถิติที่ใชขนาดของ พื้นที่ หรือ รูปทรง เรขาคณิต แสดงปริมาณ ของขอมูลตางๆ เพื่อเปรียบเทียบ จํานวน โดยอาจเกิด จากลายเสน ของ แผนสถิติ แบบเสน กับเสนฐาน แลว ระบายพื้นที่ เพื่อใหเห็นความแตกตาง ที่เกิดขึ้น หรือใชรูปทรง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม แสดงปริมาณ เปนภาพโครงราง ของสิ่ง นั้นๆ เพื่อใหผูดู เขาใจไดงาย และรวดเร็ว


แผนภาพเปนทัศนวัสดุที่ใชถายทอดความรู ความเขาใจ ความ คิดเห็น หรือเรื่องราว ตางๆ โดยแสดงความสัมพันธ ของโครงสราง หรือการทํางานที่ซับซอนใหเขาใจงายขึ้น โดยอาศัยภาพลายเสน ตัวอักษร สัญลักษณ เพื่อแสดง ลักษณะเฉพาะ หรือโครงสรางที่สําคัญ เทานั้น


1.มีรูปแบบงายๆ แสดงแนวความคิดเดียว 2.ขนาดใหญพอสมควร รูปภาพ ตัวอักษร อานไดชัดเจน 3.ใชสีแสดงความแตกตางและความเหมือนกัน 4.ควรใชรูปภาพและสัญลักษณใหมากกวาตัวหนังสือ


1. เลือกใชแผนภาพที่ตรงกับเนื้อหาและวัตถุประสงคของการสอน 2. เตรียมหองเรียน และเตรียมผูเรียนโดยใหศึกษาเนื้อหาลวงหนา 3. เสนอแผนภาพอยางชาๆ อธิบายใหละเอียดและชัดเจน 4. ควรใชไมชี้ประกอบการอธิบาย 5. ใชสื่อการสอนอื่นประกอบการใชแผนภาพดวย


แผนภาพแบงออกเปน 4 ประเภท 1. แผนภาพลายเสน เปนแผนภาพที่ใชลายเสน รูปทรง และขอความประกอบกัน เหมาะสําหรับแสดง โครงสรางทั้งภายในและภายนอก พรอมกับมีเสน โยงแสดงความสัมพันธเกี่ยวของกัน ทั้งลักษณะและตําแหนง และ ความสัมพันธ ของภาพที่แสดง


2. แผนภาพแบบบล็อก เปนแผนภาพที่ใชรูปทรงงายๆ แสดงใหเห็นถึงองคประกอบ อยางหยาบๆ แสดงความสัมพันธของระบบการทํางานที่เกี่ยวเนื่องกัน โดยไมเนนรายละเอียดของการทํางาน


3.แผนภาพแบบรูปภาพ เปนแผนภาพ ที่ใชลายเสนเขียน เปนภาพงายๆ แทนสิ่งหนึ่งสิ่งใด เพียงตองการใหดูเหมือนหรือใกลเคียงเทานั้น ผูดูจะเกิด ความเขาใจ ได เองแผนภาพแบบนี้ จึงเหมาะ แกการแสดงหลักการทํางาน ถาภาพ ที่วาด เหมือนจริง มากจะกลายเปน แผนภูมิอธิบายภาพ


4.แผนภาพแบบผสม เปนแผนภาพ ที่ใชเทคนิค การเขียนลายเสน บนรูปภาพเพื่อ เนนใหเห็นความสําคัญ เฉพาะ บางสวน โดยเปนการรวม ทั้ง รูปภาพ และลายเสน เขาดวยกัน


ภาพพลิก เปนทัศนวัสดุ ที่เปนชุด ของภาพถาย ภาพวาด แผนภูมิ หรือกราฟ ซึ่งนํามารวมเขาเปนเรื่องราว ใหมีความตอเนื่อง สัมพันธกันตั้งแตตนจนจบ จํานวนประมาณ 10 - 15 แผน เหมาะ สําหรับใชในการนําเสนอ สื่อที่เปนเรื่องเปนราว ใชกับกลุมผูเรียน ที่มี ขนาดไมเกิน 20 - 30 คน ถาใชนอก สถานที่ ควรมี ขาหยั่งสําหรับ แขวนโดยเฉพาะ


ภาพโฆษณา เปนทัศนวัสดุที่ใชแสดงความคิดหรือขอเท็จจริง ดวยสัญลักษณ ภาพประกอบที่สะดุดตา คําขวัญที่กินใจ หรือ คําอธิบายสั้นๆ โดยการออกแบบที่ดึงดูดความสนใจของผูพบเห็นใน ระยะเวลาอันสั้น สามารถเขาใจไดงาย จดจําไดอยางรวดเร็ว


1. มีจุดมุงหมายเดียว แนนอน ออกแบบงายไมซับซอน 2. เราความสนใจผูพบเห็น ดวยภาพ ขอความที่สะดุดตา สะดุดความคิด ชวนใหติดตาม 3.ใชภาพประกอบงาย สีเดน สะดุดตา ชวนดู 4.ควรมีขนาดใหญ ประมาณ 22 - 44 นิ้ว 5.ถายทอดเรื่องราวไดอยางรวดเร็วและตรงประเด็น 6.ขอความที่ใชควรกระชับ ตรงประเด็น เขาใจงาย ตรงใจ ผูอาน ชวนใหคิด และมีขนาดที่เหมาะสม


1.ใชเปนการนําเขาสูบทเรียนไดอยางเปนอยางดี จะชวยเราความ สนใจผูเรียน 2.ใชเปนเครื่องเตือนใจ กระตุน ระมัดระวัง ในการประพฤติปฏิบัติ 3.ชวยสรางบรรยากาศที่ดีภายในหองเรียน 4.ใชประกาศขาวสารตางๆ


การตูน เปนภาพสัญลักษณที่ใชแทนสิ่งตางๆ เชน บุคคล สัตว หรือสิ่งของ เปนตน เพื่อถานทอดเรื่องราว ซึ่งเปนแนวความคิดหรือ ทัศนะของผูเขียน เพื่อจูงใน ใหแนวความคิด สรางอารมณขัน หรือ ลอเลียน


1. แสดงภาพไดตรงกับจุดมุงหมายที่ตองการ ผูดูเขาใจความหมาย ถูกตองตรงกัน 2. ภาพที่เขียนตองเปนภาพงายๆ แสดงหรือใหรูปแบบเฉพาะที่ ตองการแสดงออกเทานั้น 3. การตูนแตละภาพควรใหความหมายเดียวเทานั้น 4. คําบรรยายควรสั้น กะทัดรัดแตมีความหมาย


การแบงประเภทการตูนแบงออกเปน 4 ประเภทดังนี้ 1. การตูน (Cartoons) 2. การตูนตอเนื่อง (Comic Strips) 3. การตูนเรื่อง (Comic Books) 4. การตูนลายเสน (Stick Figures)


1.ใชเราความสนใจเพื่อชวยในการนําเขาสูบทเรียน 2.ใชอธิบายหรือประกอบการอธิบายใหผูเรียนเกิดความเขาใจใน เนื้อหามากยิ่งขึ้น 3.ใชเปนกิจกรรมของนักเรียนในระดับเด็กเล็ก 4.เปนสื่อที่ชวยสรางบรรยากาศในหองเรียน ผูเรียนมีความสนุกสนาน และยังผอนคลายความตึงเครียดในการเรียนการสอนดวย


ความหมายของสื่อวัสดุ 3 มิติ คือ วัสดุ 3 มิติบางครั้งเรียกกันวาวัสดุมีทรงหมายถึง วัสดุที่มีลักษณะ เปนสามมิติ คือ มีความกวาง ความยาว ความหนา หรือความลึก ในทางการเรียนการสอนหมายถึง ของจริง ของตัวอยาง ของ จําลอง ตูอันตรทัศน และสิ่งของอื่น ที่มีลักษณะเปนรูปทรง


1. หุนจําลอง (Models) 2. ของจริง (Real Things) 3. ปายนิเทศ ( Bulletin Boards ) 4. ตูอันตรทัศน (Diorama)


1. หุนจําลอง (Models) หมายถึง วัสดุสามมิติที่สรางขึ้นเพื่อ เลียนแบบของจริง เนื่องจากขอจํากัดบางประการที่ไมสามารถจะ ใชของจริง ประกอบการเรียนการสอนได เชน การอธิบายลักษณะ และตําแหนง ของอวัยวะภาพในรางกายของคนหรือสัตว ดังนั้น ของ จําลองจึงมีคุณคาตอการเรียนใกลเคียงกับของจริง


แบงออกเปน 7 ประเภทดังนี้ 1.1 หุนรูปทรงภายนอก (Solid Model) หุนแบบนี้ตองการแสดง รูปราง หรือ รูปทรงภายนอกเทานั้น เพื่อใหไดรับความเขาใจ โดยทั่วไป รายละเอียดตาง ๆ ไมจําเปนก็ตัดทิ้งเสีย หุนจําลอง แบบนี้ย้ําเนนใน เรื่องน้ําหนัก ขนาด สี หรือ พื้นผิว ลวดลาย มาตราสวน อาจจะใชผิดไปจากของจริงได


1.2 หุนเทาของจริง (Exact Model) มีขนาดรูปรางรายละเอียดทุกอยางเทาของจริงทุก ประการ พวกนี้ ใชแทนของจริงที่หาได หรือ ราคาแพง หรือเสียหาย แตก หักงาย แตวามีความจําเปนที่จะตองใหนักเรียน ไดเขาใน รายละเอียดทุกอยางในของจริง


1.3 หุนจําลองแบบขยายหรือแบบยอ (Enlarge, Reduce Model) เรียกอีกอยางหนึ่งวาหุนจําลองแบบ มาตราสวน ทั้งนี้เพราะ ยอหรือ ขยายใหเล็ก หรือใหญเปนสัดสวนกับของจริงทุกสวนพวกนี้เปน ประโยชน ในการที่นักเรียนจะไดเขาใน รายละเอียดและ ความสัมพันธของของจริงได ตัวอยางเชน ลูกโลก (Globes)


1.4 หุนจําลองแบบผาซีก (Cut Away Models) แสดงใหเห็นลักษณะ ภายใน โดยตัดพื้นผิวบางภายนอก บางสวนออก ใหเห็นวา ชิ้นสวน ตาง ๆ ประกอบกันอยางไร จึงจะเกิดเปนสิ่งนั้น ๆเชน หุนตัดใหเห็น ภายในหุน ตัดใหเปนลักษณะภายในของดอกไม


1.5 หุนจําลองแบบเคลื่อนไหวทํางานได (Working Models) หุนจําลองแบบนี้ แสดงใหเห็นสวนที่ เคลื่อนไหวทํางานของวัตถุหรือ เครื่องจักร หุนจําลองแบบนี้เปนประโยชนในการสาธิตการทํางานหรือ หนา ที่ของสิ่งของนั้น ๆ


1.6 หุนจําลองเลียนของจริง ( mockup Models) แบบนี้แสดงความเห็นจริง ของสิ่งหนึ่งซึ่งจัดวาง หรือประกอบสวน ตาง ๆ ของของจริงเสียใหมใหผิดไปจากที่เปนอยูเดิม สวนมากใชเปน ประโยชนแสดง ขบวนการซึ่งมีหลาย ๆ สวนเขาไปเกี่ยวกันดวย


1.7 หุนจําลองแบบแยกสวน (Build up Models) หุนจําลองแบบนี้แสดงใหเห็นสวนหนึ่งหรือทั้งหมด ของสิ่ง นั้น วาภายในสิ่งนั้นประกอบดวยสิ่งยอย ๆ สามารถถอดออกเปนสวน ๆ และประกอบกันได หุนจําลองแบบนี้ จะชวยใหเขาใจถึงหนาที่และ ความสัมพันธของสวนตาง ๆ


ลักษณะของหุนจําลองที่ดี - หุนจําลองที่เปนวัสดุ 3 มิติ ทําใหผูดูเกิดความคิดรวบยอดที่ถูกตอง - ขยายหรือลดขนาดแทจริงไดใหสะดวกแกการพิจารณา - หุนจําลองที่แสดงใหเห็นภายในไดซึ่งไมสามารถเห็นไดจากของจริง - ใชสีเพื่อใหเห็นสวนสําคัญ - ควรตัดสวนที่ไมสําคัญออก เพื่อใหเขาใจงาย


1. ตองศึกษาหุนจําลองที่เหมาะสมทั้งขนาดรูปราง สี และสัญลักษณ ตางๆ 2. ครูตองศึกษาลวงหนากอนนําไปใชสอน 3. อธิบายเปรียบเทียบ หาความสัมพันธกับสิ่งที่เปนจริง 4. เปดโอกาสใหนักเรียนซักถาม หรือเขามาระยะไกล 5. ควรใชสื่ออื่นประกอบ เชน แผนภูมิ แผนภาพ 6. หุนจําลองบางชนิด จะตองระมัดระวังเปนพิเศษเพื่อไมใหเกิด ความเสียหาย 7. เปดโอกาสใหศึกษาคนควา หาคําตอบจากหุนจําลองดวยตัวเอง


ของจริง (Real Things) หมายถึง สิ่งเราตางๆที่มีสภาพเปนของเดิมแทๆ ของสิ่งนั้น อาจเปนสิ่งที่มอี ยูตามธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น และเปนได ทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไมมีชีวิต ผูเรียนสามารถรับรูและเรียนรูของจริง ไดดวยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ทําใหสามารถมองเห็น ไดยิน ได กลิ่น ไดลิ้มรส และไดสัมผัสกับบรรยากาศของของจริงดวยตนเอง


ของจริงที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1.มีขนาดเหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอน 2.มีสภาพเปนจริงตามธรรมชาติหรือตนกําเนิด 3.ตองไมเปนอันตรายตอผูเรียน ผูสอน และสิ่งแวดลอม 4.ไมมีลักษณะยุงยากสลับซับซอนเกินไป 5.คาใชจายไมสูงเกินไป


ของจริงอาจแบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ ของจริงตามสภาพเดิม ของจริงแปรสภาพ และของตัวอยาง 1. ของจริงตามสภาพเดิม (unmodified real objects) หมายถึงของจริงที่ยังคงรักษาลักษณะเดิมตามความเปนจริงทุกอยาง ยังไมถูกแปรสภาพ นอกจากนําออกมาจากสิ่งแวดลอมเดิมของจริง เหลานี้อาจเปนสิ่งธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษยสราง ขึ้นมากก็ได อาทิเชน ตนไม สัตว คน รถยนต ฯลฯ


2. ของจริงแปรสภาพ (Modified real) หมายถึงของจริงที่ถูกเปลี่ยนสภาพจากลักษณะเดิมของมัน ซึ่งอาจตัด หรือเลือกเฉพาะสวนที่สําคัญมาแลว อาจทาสีแสดงสวนที่แตกตางกัน ใหเห็นไดชัดเจน เชน หัวกะโหลก ชิ้นสวนของโครงกระดูก เครื่องยนตที่ผาใหเห็น สวนประกอบภายใน สัตวอบ และสัตวสตาป เปนตน


3. ของตัวอยาง (Specimens) เปนของจริงถูกนําเสนอเพียงบางสวนของทั้งหมด เชน ดินมีหลายชนิด แตนํามาแสดงใหเปนตัวอยางเพียง 2 ชนิด หินบนดวงจันทรมีหลายชนิด หลายลักษณะแตเก็บมานําเสนอเพื่อเปนตัวอยางเพียงชนิดเดียว เปนตน


1.มีขนาดพอเหมาะสมที่จะใชในหองเรียน 2.ไมมีความลําบากในการใช มีความปลอดภัย 3.ไมมีลักษณะยุงยากซับซอนเกินไป 4.มีสภาพสมบูรณตามที่เปนจริงในธรรมชาติ 5.ราคาคาใชจายไมสูงไปนัก


ปายนิเทศ ( Bulletin Boards ) ปายนิเทศเปนทัศนวัสดุที่นํามาใชในการแสดงเรื่องราวตางๆ แกผูดูโดย ใชวัสดุหลายอยางติดไวบนแผนปาย เชน รูปภาพ แผนภูมิ ขอความที่ อธิบายภาพ รวมทั้งวัสดุ 3 มิติ ของจริงหรือของจําลอง เผยแพรความรู เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือ ใชเปนปายประกาศ และแสดงผลงานของ หนวยงานตางๆ


โดยทั่วไปปายนิเทศจะประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญ ๆ ดังนี้ 1.ชื่อเรื่อง มีลักษณะเปนหัวขอสั้นๆ อานงาย มองเห็นไดในระยะไกล 2.รูปภาพ หรือสัญลักษณ ควรมีขนาดใหญเหมาะกับพื้นที่ปายนิเทศ 3.ขอความอธิบายภาพ แนะนํา ย้ําเตือน 4.วัสดุตกแตงเพื่อใหปายดูสวยงาม


1. ใชภาพเปนที่นาสนใจเปนพิเศษ 2. มีเรื่องราวครบบริบูรณแตไมควรจัดมากกวา 1 เรื่อง 3. มีความตอเนื่องกันและมีความกลมกลืนกัน 4. มีจุดสนใจหลักเพียงจุดเดียว จุดอื่นๆเปนจุดรอง 5. สามารถสรางความรูสึก ใหผูดูสนใจติดตามการเคลื่อนไหว 6. จัดใหมีภาพใกลเคียงความจริง


ตูอันตรทัศน (Diorama) เปนทัศนวัสดุที่ออกแบบเปนสื่อ 3 มิติเลียนแบบธรรมชาติหรือ บรรยากาศสิ่งแวดลอมที่เปนของจริง กระตุนความสนใจไดดีดวย ลักษณะเปนฉาก ที่มีความลึกคลายกับของจริง วัสดุประกอบฉาก สอดคลองเปนเรื่องเดียวกัน สีสันเหมือนจริง เชน ฉากใตทะเลมีฉาก หลังเปนสีน้ําเงิน พื้นเปนทรายและโขดหินปะการัง แวดลอมดวยหอย ปู ปลา รวมทั้งสัตวและพืชใตทะเล เปนตน


เปนสื่อที่ใชกับเครื่องอิเล็กทรอนิกส ตางๆ มีทั้งประเภทเสียงอยางเดียวและประเภทที่มีทั้งภาพ และเสียงอยูดวย เชน เทปเสียง (tape) มวนดีวีทัศน (video tape) แผนซีดี (CD-ROM) วีซีดี (VCD) ดีวีดี (DVD) เปนตน


แผน CD เปนแผนพลาสติกเคลือบที่มีลักษณะเปนวงกลม มีชอง ตรงกลาง ขนาด 4.8 นิ้ว (12 cm.) หนา 1.2 มิลลิเมตร ประกอบดวยแผน พลาสติกทําจากสาร polycarbonate , สารอลูมิเนียม (aluminum) ซึ่งฉีด ลงบนแผนพลาสติก polycarbonate ใหมีลักษณะเปนรองๆ สารอคีลิค (acrylic) เคลือบบน Aluminium เพื่อปองกันผิวเลเบล (Label) แผนซีดี โดยทั่วไปที่วางขาย จะมีความสามารถในการจัดเก็บขอมูลขนาด 650 MB หรือ 700 MB ตอแผน CD 1 แผน


เปนวัสดุอิเล็กทรอนิคสที่บันทึกและอานขอมูลดวยแสง เลเซอร มีลักษณะทางกายภาพเหมือนแผนซีดีทั่วไปทุก ประการ เพียงแตแผนวีซีดีสามารถบันทึกขอมูลที่เปนภาพยนตรพรอม เสียงสเตอริโอไดถึง 1.44 ลานบิตตอวินาที (Mbps) การบันทึกใชวิธีการ บีบอัดขอมูลโดยใชมาตรฐาน MPEC ทําใหสามารถบันทึกภาพยนตรที่ มีความยาวมากๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ


เปนแผน CD ที่พัฒนาความจุใหมากขึ้นจากปกติที่จุไดแผนละ 650 MB DVD จะบรรจุไดตั้งแต 6 - 15 GB และยังคงเพิ่มขีด ความสามารถในการจุขอมูลมากขึ้นเรื่อย ๆ ความมุงหมายในการ ใชงาน หลักตอนนี้ก็คงจะบันทึกภาพยนตร ซึ่งสามารถที่จะใชแผนเดียวพรอม กับ 6 ภาษาไดอยางสบาย และคุณภาพของภาพก็คมชัดกวา VCD อยาง มา


เปนแผนที่มีคุณลักษณะเพิ่มเติมจากแผนวีซีดีพัฒนาขึ้นโดย คณะผูวิจัยและผูผลิตที่ไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาลจีน โดยอาศัย เทคโนโลยีของแผนดีวีดี แผนเอสวีซีดีเปนแผนที่ใชมาตรฐาน MPEG2 ที่มีความคมชัดภาพ 576*480 จุดและเสียงเตอริโอ ชองทาง ของ MPEG2 Audio Layer 2 ซึ่งมีอัตราการบีบอัด 1:6-1:8 เอสวีซีดี แผนหนึ่งจะเลนไดประมาณ 35-80 นาที


แผนเอ็กซวีซีดี (XVCD:eXtended VCD) เปนสวนขยายของแผนวีซีดี รุน 2.0 อาจกลาวไดวาเอ็กซวีซีดีเปนการผสมคุณลักษณะระหวางวีซีดี รุน 2.0 และดีวีดี โดยที่แผนเอ็กซวีซีดีจะมีอัตราการเสนอภาพ 3.5 ลาน บิตตอวินาที ซึ่งเร็วกวาแผนวีซีดีธรรมดา แตไมสามารถใชเสียงหลาย ชองทาง (multi-audio streams) หรือมีขอความบรรยายได


แผนเอ็กซเอสวีซีดี (XSVCD:eXtended VCD) เปนการผสม คุณลักษณะระหวางเอ็กซวีซีดีและดีวีดี แผนวีซีดีรูปแบบนี้ใช MPEG2 เชนเดียวกับเอสวีซีดีแตจะมีอัตราการเสนอภาพเร็วถึง 9.8 ลานบิตตอวินาท โดยมีความคมชัดของภาพมากกวาดวย สามารถใชเสียงหลายชองทางและ มีขอความบรรยายได แผนวีซีดีคุณภาพสูงทั้งเอสวีซีดี เอ็กซวีซีดี และ เอ็กซเอสวีซีดี ไมสามารถเลนกับเครื่องเลนวีซีดีธรรมดาได แตตองใชกับ รุนที่เลนไดตั้งแตแผนวีซีดี รุน 2.0 ขึ้นไป หรือจะเลนกับเครื่องดีวีดีก็ได เชนกัน


สื่อประเภทวัสดุ เปนสื่อที่มีขนาดเล็กสามารถเก็บบรรจุความรูและ ประสบการณไวเปนอยางดี บางชนิดสามารถสื่อความหมายหรือ ถายทอดความรูไดดวยตัวมันเองโดยไมตองอาศัยเครื่องมือหรืออุปกรณ ใดๆ เขามาชวย แตบางชนิดตองอาศัยเครื่องมือในการฉายขยายเนื้อหา ความรูใหเห็นเปนภาพขนาดใหญหรือใหเสียงดังฟงชัดขึ้น แบงออกเปนวัสดุ 2 มิติ วัสดุ 3 มิติ และวัสดุอิเล็กทรอนิกส


http://nongpuy91043.blogspot.com/ http://3ratchaneekorn54040383.blogspot.com/2011_07_01_arch ive.html http://ruttana53540372.blogspot.com/2010/07/6.html http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355201/p37-3.html วันที่ 18 สิงหาคม 2555


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.