สื่อการสอนประเภทวัสดุ

Page 1

รายงาน เรื่อง สื่อการสอนประเภทวัสดุ

จัดทําโดย 1. นายบัณฑิต โสสวาง

รหัสนักศึกษา 534144013

2. นายพรชัย บัวบุญเลิศ

รหัสนักศึกษา 534144014

3. นายอภิชาติ แซอื้อ

รหัสนักศึกษา 534144026

4. นายอภิวิชญ สนลอย

รหัสนักศึกษา 534144027

คบ. 3 คอมพิวเตอรศกึ ษา

ปรึกษาโดย อาจารย สุจิตตรา จันทรลอย สาชาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร รายงานนีเ้ ปนสวนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี


คํานํา รายงานเลมนี้จัดทําขึน้ เพือ่ เปนการคนหาขอมูลเพิม่ เติมจากเนื้อหาบทเรียนในรายวิชา เทคโนโลยีการศึกษาและไดทําการนําเสนอผลงานในชั้นเรียนเพื่อนําเสนอใหเพือ่ นรวมชั้นได เขาใจถึงเนือ้ หาดังกลาวดวย และเพื่อใหผูที่สนใจในเนื้อหาไดคน ควาขอมูลหรือศึกษาเพิ่มเติมได จากรายงานเลมนี้ หากรายงานเลมนี้ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว ณ ที่นี้

คณะผูจัดทํา


สารบัญ เรื่อง

หนา

ความหมายสือ่ การสอนประเภทวัสดุ

1

สื่อวัสดุ 2 มิติ

2

สื่อวัสดุ 3 มิติ

3

สื่อวัสดุอเิ ล็กทรอนิกส

19

สรุป

21

อางอิง

22


สื่อการสอนประเภทวัสดุ ความหมายของสือ่ วัสดุ คําวาวัสดุ หมายถึง สิ่งของที่มีขนาดเล็กบางอยางมีความทนทานสูง แตบางอยางฉีก ขาดแตกหักชํารุดเสียหายไดงาย เรียกวา วัสดุสิ้นเปลือง เชน กระดาษ กาว สี เชือก กิ่ง ไม ใบไม วัสดุมีหลายประเภทขึน้ อยูกับเกณฑในการจําแนก เชน วัสดุตามธรรมชาติ วัสดุ ประดิษฐ วัสดุถาวร วัสดุสิ้นเปลือง วัสดุแข็ง วัสดุเหลว วัสดุ2มิติ วัสดุ3มิติ เมื่อนําวัสดุ เหลานี้มาใชประกอบการเรียนการสอนจึงเรียกวา “สื่อวัสดุ” ซึ่งเปนสื่อขนาดเล็กที่มีศักยภาพ ในการบรรจุเก็บเนือ้ หาและถายทอดความรูไดอยางมีประสิทธิภาพ บางชนิดสื่อความหมายได ดวยตัวมันเอง เชน แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ โปสเตอร แตบางชนิดมีขนาดเล็กมากตอง อาศัยเครื่องมืออุปกรณในการฉายเพือ่ ขยายเนือ้ หาสาระใหมีขนาดใหญ หรือเสียงดังขึ้นจึงจะสือ่ ความหมายอยางชัดเจน เชน ฟลม สไลด ฟลมภาพยนตร เทปเสียง แผนโปรงใส เปนตน ขอดีและขอจํากัดของสื่อวัสดุ ขอดี 1.แสดงเนื้อหานามธรรมที่ยากตอการเขาใจใหเขาใจงายขึ้น 2.สามารถผลิตไดงาย ตนทุนการผลิตต่ํา 3.สะดวกรวดเร็วในการใชงาน ขอจํากัด 1.ใชไดกับกลุม เปาหมายขนาดเล็กเทานัน้ 2.การออกแบบและการผลิตไมดี อาจทําใหผูเรียนเขาใจยาก ประเภทของสือ่ วัสดุ


สื่อวัสดุ 2 มิติ โดยทั่วไปวัสดุ 2 มิติ ที่นิยมใชประกอบการเรียนการสอนมีมากมายหลายชนิด แตสื่อ วัสดุ 2 มิติ ซึ่งมองเห็นทางตา สวนมากอาศัยงานกราฟกเปนองคประกอบหลักในการกระตุน การรับรูและการสื่อความหมาย วัสดุกราฟกเปนสือ่ ที่ผูเรียนสามารถรับรูไดทางตาซึง่ ถือวาเปนอวัยวะที่มีปริมาณการรับรู มากที่สุดเมื่อเทียบกับการรับรูดว ยประสาทรับสัมผัสดานอื่นๆ ดวยเหตุนี้เองวัสดุกราฟกจึงมี บทบาทและมีความสําคัญตอกระบวนการเรียนการสอนและการถายทอดความรู สื่อวัสดุกราฟก ที่เห็นไดโดยทัว่ ไปมีหลายรูปแบบ เชน โปสเตอร หนังสือ วารสาร ปายประกาศ ขอความ บนฉลากสินคา ลวดลายเสือ้ ผาเครื่องนุม หม สื่อการสอนตางๆ ทีม่ ีลักษณะเปน ภาพเขียน สัญลักษณ และตัวอักษร 1.ความหมายของวัสดุกราฟก วัสดุกราฟก หมายถึง ทัศนวัสดุอยางหนึ่งทีน่ ํามาใชในการสื่อความหมายเพือ่ แสดง สัญลักษณหรือความหมายของสิง่ ใดสิ่งหนึ่งทีเ่ กี่ยวของกับขอเท็จจริง แนวคิด และเสริมความ เขาใจโดยอาศัยสวนประกอบทีเ่ ปนรูปภาพ สัญลักษณ แผนภาพ ฯลฯ วัสดุกราฟกจัดวาเปนสื่อ ราคาถูก (Low Cost Media) และครูผูสอนสามารถผลิตไดดวยตนเอง 2. คุณคาของวัสดุกราฟก วัสดุกราฟกเปนสื่อพืน้ ฐานที่นยิ มใชประกอบการเรียนการสอนหรือการเผยแพรความรู ทั่วไป ทั้งนี้เนือ่ งจากวัสดุกราฟกมีคุณคาหลายประการดังนี้ 1. ราคาถูก 2. ครูผูสอนสามารถผลิตไดดว ยตนเอง 3. มีคุณคาตอการเรียนรูข องผูเรียนโดยตรง 4. เก็บรักษางาย ใชไดสะดวก 5. สามารถประยุกตหรือใชประกอบกับสื่ออืน่ ๆ ได 3. ประโยชนของวัสดุกราฟก วัสดุกราฟกมีประโยชนตอการเรียนการสอน ดังนี้ 1. ชวยใหผูสอนกับผูเรียนเขาใจความหมายไดตรงกัน 2. ชวยใหผูเรียนเรียนรูไดดกี วาการฟงคําบรรยายเพียงอยางเดียว 3. ประหยัดเวลา


4. ชวยใหผูเรียนสนใจบทเรียนยิง่ ขึ้น 5. ชวยใหผูเรียนไดมีโอกาส มีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน 6. ชวยใหการอธิบายสิ่งที่เขาใจยากใหเขาใจงายขึ้น 4. ลักษณะของวัสดุกราฟกที่ดี สื่อวัสดุกราฟกที่ใชประกอบการเรียนการสอนที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. มีความงายตอความเขาใจ สามารถสื่อความหมายไดรวดเร็ว ชัดเจนทัง้ รูปภาพ สัญลักษณ ตัวอักษรและถอยคํา 2. การออกแบบตองคํานึงถึงการเรียนรูโดยเรียงลําดับภาพ สัญลักษณและตัวอักษร ตามลําดับขั้นตอน 3. ตองมีการเนนจุดเดนโดยการใชสี ขนาด รูปราง รูปทรง เสน หรือทิศทาง เพือ่ แบงแยก ขอมูลที่เปนใจความสําคัญ ใหเดนกวาขอมูลอืน่ ๆ 4. มีความเปนเอกภาพทัง้ เนือ้ หาและรูปภาพ 5. มีความประณีต สวยงาม ตามคุณคาของศิลปกรรม 5. หลักการออกแบบวัสดุกราฟก การออกแบบวัสดุกราฟกใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพในการสื่อความหมายควรยึด หลักการดังนี้ 1. ตรงกับจุดมุงหมายของเนื้อหาวิชา 2. การออกแบบโดยการคํานึงถึงประโยชนที่จะนําไปใชงานโดยมุงที่จะไดรับจากการใช วัสดุกราฟกเพื่อการสื่อความหมายสําคัญ 3. การออกแบบวัสดุกราฟกควรมีลักษณะงาย ๆ สวนประกอบตาง ๆ ไมจําเปนตองแสดง รายละเอียดมากเกินไป และขบวนการผลิตไมยุงยากซับซอน 4. คํานึงถึงความประหยัดทัง้ เงินงบประมาณและเวลาในการจัดทํา 5. มีสัดสวนดี องคประกอบทัง้ หมดกลมกลืน เชน รูปแบบ พื้นผิว เสน สี เปนตน 6. มีโครงสรางที่เหมาะสม กลมกลืนกับวัฒนธรรม สังคม และมีความถูกตองตามสภาพที่ เปนจริง 6. ขอดีและขอจํากัดของวัสดุกราฟก สื่อวัสดุกราฟกมีขอดีและขอจํากัดตอกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรูดังนี้


6.1 ขอดี 1. สามารถแสดงเนื้อหาใหเขาใจไดงายและเปรียบเทียบเนื้อหาตาง ๆ ไดดี 2. สามารถผลิตไดงายไมจําเปนตองอาศัยความชํานาญพิเศษมากนัก 3. ตนทุกในการผลิตมีราคาถูกกวาสื่อประเภทอื่น 4. ใชงานไดสะดวกรวดเร็วไมยุงยาก เก็บรักษางาย 5. ผูเรียนมีสวนรวมกิจกรรมการเรียนการสอน เชน ทําแผนภูมิ จัดทําปายนิเทศ เปนตน 6.2 ขอจํากัด 1. ใชไดกับกลุม เปาหมายทีม่ ีขนาดเล็กเทานั้น 2. การออกแบบในการผลิตไมดอี าจทําใหผูเรียนเขาใจไดยาก 3. วัสดุกราฟกทีม่ ีคุณภาพดีและสวยงามจําเปนตองใชผูชํานาญพิเศษมาชวยในการผลิต 7. ตัวอยางสื่อวัสดุกราฟก วัสดุกราฟกชนิดตาง ๆ ทีน่ ิยมนํามาใชประกอบการเรียนการสอนมีดังนี้ 7.1 แผนภูมิ (Charts) แผนภูมิเปนวัสดุประเภทกราฟก ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญ คือ สัญลักษณ รูปภาพ และ ตัวอักษร ใชประกอบการบรรยาย ชี้แจง สรุปสาระสําคัญ เนื้อหาที่เหมาะสมกับสื่อแผนภูมิ ไดแก การเปรียบเทียบ ความตอเนื่อง กระบวนการ ความสัมพันธ ขั้นตอน เปนตน 7.1.1ลักษณะแผนภูมิที่ดี 1. เปนแบบงายและแสดงแนวคิดเดียว 2. ขนาดใหญ อานงาย ไมแนนเกินไป 3. ใชสีเพื่อการเนนเปนสําคัญ 4. ภาพประกอบตองเหมาะสม นาสนใจ 5. เนื้อหาถูกตองตามความเปนจริง 6. เนื้อหาและคําบรรยายชัดเจน อานงาย 7. มีการทบทวนในการใชงานและการเก็บรักษา


7.1.2 เทคนิคการนําเสนอ 1. แผนภูมิตองตรงกับเนือ้ หา 2. ตองติดตั้งหรือแขวนใหเรียบรอย 3. อธิบายตามลําดับขั้นอยางตอเนือ่ ง 4. ขณะใชแผนภูมิตองหันหนาเขาหาผูเรียน 5. จุดสนใจควรเนนดวยสี ขนาด การปด-เปด 6. ควรใหผูเรียนมีสวนรวมเสนอ 7. การชี้แผนภูมิควรใชไมหรือวัสดุชี้ 8. สามารถใชประกอบกับสื่ออืน่ ๆ ได 7.1.3 ประเภทของแผนภูมิมี 9 ประเภท 1. แผนภูมิแบบตนไม (Tree Charts) เหมาะกับเนื้อหาที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหแสดงให เห็นสิ่งหนึ่งๆ แยกออกเปนหลายสิ่ง หรือการจําแนกโครงสรางใหญไปหาองคประกอบ ยอย เชน ประเภทของเครือ่ งดนตรี ประเภทของการคมนาคม อาหารหลัก 5 หมู 2. แผนภูมิแบบสายธาร (Stream Charts) ใชแสดงวาสิ่งหนึง่ ๆ เกิดจากหลายสิ่งมารวมกันจะ มีลักษณะตรงกันขามกับแผนภูมิแบบตนไม เชน ชิพ เมนบอรด จอภาพ ขนมปงเกิดจาก แปง ยีสต น้ําตาล ปจจัย 4 เปนตน ตัวอยางแผนภูมิแบบสายธาร 3.แผนภูมิแบบตอเนือ่ ง( Flow Charts) ใชแสดงเรื่องราวกิจกรรม การทํางานเปนขัน้ ตอน ตามลําดับตอเนื่อง ตลอดจนการแสดง วงจรชีวิตที่เปนลําดับตอเนือ่ ง เชน วงจรชีวิตของผีเสื้อ 4 .แผนภูมิแบบองคการ( Organization Charts) เปนแผนภูมิที่ใชแสดงใหเห็นถึง ความสัมพันธของสายงานในหนวยงานหรือองคการ นิยมใชเสนโยงความสัมพันธ ของ หนวยงานยอย ที่เกีย่ วของกันโดยตรงและใชเสนประ หรือเสนจุดไขปลา แสดง ความสัมพันธ ของหนวยงานยอยที่ เกีย่ วของกันโดยออม เชน แผนภูมิแสดงสายงานการบริหารโรงเรียน เปน ตน


5.แผนภูมิแบบเปรียบเทียบ( Comparison Charts) เปนแผนภูมิที่ใชแสดงใหเห็นความ แตกตางระหวางสิ่งของสองสิง่ ทางดานรูปราง ลักษณะ ขนาด แนวความคิด ของสิ่งตางๆ เชน การเปรียบเทียบการแตงกายในสมัยตางๆ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู เปนตน 6.แผนภูมิตาราง (Tabular Charts) ใชแสดงความสัมพันธระหวางเวลา กับเหตุการณ เชน ตารางเรียน ตารางเวลารถไฟเขาออก เปนตน 7.แผนภูมิแบบวิวัฒนาการ( Developmental Charts) แสดงใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของสิง่ ตางๆ ตอเนื่องกันเปนลําดับ แตไมยอ นกลับมาที่จุดเริ่มตนอีก 8.แผนภูมิแบบอธิบายภาพ (Pictorial Charts) ใชชี้แจงสวนตาง ๆ ของภาพใหเห็นชัดเจน เชน สวนประกอบของเครื่องยนต อวัยวะภายในของมนุษย สวนตางๆ ของดอกไม เปนตน 9. แผนภูมิขยายสวน ( Enlarging Charts) ใชแสดงสวนที่ขยายจากสวนเล็กๆที่ตอ งการให เห็นเดนชัดขึ้น 7.2 แผนสถิติ (Graph) แผนสถิติเปนวัสดุลายเสนที่เนนการสือ่ ความหมายในเชิงปริมาณและตัวเลข แผน สถิติแตละเรือ่ งควรแจงที่มาของขอมูลตาง ๆ เพือ่ สรางความเชื่อถือ และเปดโอกาสใหศึกษา คนควาตอไปไดงายขึน้ เนื้อหาที่เหมาะสมกับแผนสถิติ ไดแก ขอมูลเชิงปริมาณ การเปรียบเทียบ ความสัมพันธระหวางขอมูล 7.2.1 ลักษณะแผนสถิติที่ดี 1. ตัวอักษร เสน สี ตองชัดเจน นาสนใจ 2. มีลักษณะดูแลวเขาใจงาย ไมยุงยากซับซอน 3. แสดงแหลงที่มาของขอมูลไดอยางถูกตอง 4. ควรนําเสนอในลักษณะเปรียบเทียบหรือแสดงความสัมพันธของขอมูล 5. แสดงขอมูลในลักษณะประมาณมิใชเนนความถี่ของขอมูล


7.2.2 ประโยชนของแผนสถิติ แผนสถิติมีประโยชนในกระบวนการเรียนการสอนดังนี้ 1.ใชแสดงขอมูลของจํานวนที่มลี ักษณะเปนนามธรรมใหเขาใจไดงาย 2.ชวยใหผูเรียนรูจกั การอาน วิเคราะห และสรุปขอมูลทางสถิตไิ ด 3.ชวยใหผูเรียนจดจําเนือ้ หาที่แปลงเปนแผนสถิติไดนานขึ้น 4.ชวยใหผูเรียนสามารถใชขอ มูลทางสถิติในการแกปญหาไดงายขึ้น 7.2.3 ขอดีและขอจํากัดของแผนสถิติ การนําแผนสถิติมาใชประกอบการเรียนการสอน ควรคํานึงถึงขอดีและขอจํากัดดังตอไปนี้ 7.2.3.1 ขอดี 1.การแปลงขอมูลนามธรรมเปนรูปธรรม ทําใหเรียนรูงายขึน้ 2.ผูเรียนสามารถเปรียบเทียบขอมูลไดอยางชัดเจน 3.ผูสอนสามารถนําเสนอขอมูลไดหลากหลายรูปแบบ 4.เปนสื่อที่ผลิตงาย ทําไดทั้งดวยมือและคอมพิวเตอร 5.เปนสื่อที่ใชประกอบการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ 7.2.3.2 ขอจํากัด 1.แผนสถิติที่ดีตองวิเคราะหความสอดคลองของเนื้อหาขอมูลกับรูปแบบแผนสถิติอยาง รอบคอบ มิฉะนั้นอาจทําใหการสือ่ ความหมายผิดพลาดได 2.แผนสถิติที่ใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ตองระมัดระวังในการใชสี สัญลักษณ และ ขอความกับรูปแบบของแผนสถิติเปนอยางดี 3.แผนสถิติที่มีขอมูลถูกตองตองไดขอมูลจากแหลงอางอิงที่เชือ่ ถือไดเทานัน้


7.2.4 เทคนิคการใชแผนสถิติ การใชแผนสถิติประกอบการเรียนการสอนมีเทคนิควิธีดังนี้ 1.ผูสอนตองอธิบายหรือบอกผูเรียนลวงหนาวาจะใชแผนสถิติประกอบการเรียนเรือ่ ง อะไร และมีวิธีอานขอมูลถูกตองอยางไร 2.เลือกแผนสถิติที่เหมาะสมธรรมชาติของเนือ้ หาขอมูล 3.ใหผูเรียนมีสวนรวมในการใชแผนสถิติ ในกระบวนการเรียนการสอนโดยอาจเปนการ ชี้ การติดตั้ง การผลิต ตลอดจนการอภิปรายซักถาม และการเก็บรักษา 7.2.5 ชนิดของแผนสถิติ 1.แผนสถิติแบบเสน (Line Graph) เปนแบบที่แสดงขอเท็จจริงของขอมูลไดละเอียดและถูกตองที่สุด ลายเสนที่แสดง อาจเสนอการเปลี่ยนแปลงชองขอมูลเดียว หรือเปรียบเทียบหลายขอมูลก็ไดลักษณะ ประกอบดวย เสนแกนตองและแกนนอนตั้งฉากกันอยูทงั้ สองแกนแทนขอมูลสองขอมูล เกี่ยวของกัน 2.แผนสถิติแบบแทง (Bar Graph) แผนสถิติแบบแทง เปนแผนสถิติที่จัดทําไดงายที่สุด และดูไดเขาใจงายที่สุด โดย แสดงปริมาณหรือจํานวนของขอมูลดวยแทงสี่เหลีย่ มซึ่งแตละแทง สีเ่ หลี่ยมแทนขอมูลแตละ ขอมูลมีขนาดกวางเทากัน แตความสูงหรือความยาวของแทงสีเ่ หลี่ยมแตกตางกันซึ่งแผนสถิติ แบบ แทงสามารถแบงออกไดเปน 3 แบบคือ 2.1 แผนสถิติชนิดแทงเดี่ยว แสดงการเปรียบเทียบจํานวนหรือปริมาณของขอมูลดวย แทงสี่เหลี่ยมแตละแทงอาจอยูในแนวตั้งหรือ แนวนอนก็ได แตอยูในทิศทางเดียวกัน 2.2 แผนสถิติชนิดแบงสวน ในแทงสี่เหลี่ยมแตละแทงแสดงจํานวนหรือปริมาณ ขอมูลสองขอมูลขึน้ ไปโดยใชสีเสน หรือการแรเงาแสดงความแตกตาง ของขอมูลทัง้ สอง 2.3 แผนสถิติชนิดสองดาน ใชเปรียบเทียบจํานวนของขอมูลตางๆ โดยแสดงเปน แทงสี่เหลี่ยมทัง้ สองดานของ เสนแกน แลวใชสี เสนหรือการแรเงา แสดงความแตกตางของ ขอมูลแตละขอมูล


3.แผนสถิติแบบวงกลม (Circle Or Pie Graph) ใชแสดงอัตราสวนทีเ่ ปนรอยละของขอมูล เพื่อเปรียบเทียบจํานวนหรือปริมาณ โดย แสดงเปนภาพวงกลมซึง่ แทนจํานวนหรือปริมาณทัง้ หมด (100 %) เทากับ 360 องศา แผนสถิติ แบบวงกลมบางครั้งอาจทําเปนชิ้นหนาและแบงชิน้ สวนออกเปนชิ้นยอยๆ คลายกับขนมพายบาง คนจึงเรียกวา Pie Graph 4. แผนสถิติแบบรูปภาพ (Pictorial Graph) ดัดแปลงมาจากแผนสถิติแบบแทงโดยใชภาพลายเสนงายๆ แสดงความหมายของ ขอมูล แทนการใชแทงสี่เหลี่ยม ซึ่งแตละภาพมีรปู รางเหมือนกันและขนาดเทากัน ภาพหนึ่งๆ แทน จํานวนหรือปริมาณของขอมูลโดยกําหนดอัตราสวนที่แนนอน ขอดีของแผนสถิติแบบนีจ้ ะ สามารถดึงดูดความสนใจไดดี เขาใจงายและรวดเร็ว 5.แผนสถิติแบบพื้นที่ (Area Graph) แผนสถิติแบบพื้นที่ เปนแผนสถิตทิ ี่ใชขนาดของ พื้นที่ หรือรูปทรง เรขาคณิต แสดง ปริมาณ ของขอมูลตางๆ เพือ่ เปรียบเทียบ จํานวน โดยอาจเกิด จากลายเสน ของ แผนสถิติ แบบ เสน กับเสนฐานแลว ระบายพื้นที่ เพื่อใหเห็นความแตกตาง ที่เกิดขึ้น หรือใชรูปทรงสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม แสดงปริมาณ เปนภาพโครงราง ของสิ่งนั้นๆ เพื่อใหผูดู เขาใจไดงาย และ รวดเร็ว 7.3 แผนภาพ (Diagrams) แผนภาพเปนทัศนวัสดุที่ใชถายทอดความรู ความเขาใจ ความคิดเห็น หรือเรื่องราว ตางๆ โดยแสดงความสัมพันธ ของโครงสราง หรือการทํางานที่ซับซอนใหเขาใจงายขึน้ โดย อาศัยภาพลายเสน ตัวอักษร สัญลักษณ เพือ่ แสดง ลักษณะเฉพาะ หรือโครงสรางที่สําคัญเทานัน้ 7.3.1 ลักษณะของแผนภาพที่ดี แผนภาพที่ใชประกอบการเรียนการสอนทีด่ ีควรมีลักษณะดังนี้ 1.มีรูปแบบงายๆ แสดงแนวความคิดเดียว 2.ขนาดใหญพอสมควร รูปภาพ ตัวอักษร อานไดชัดเจน 3.ใชสีแสดงความแตกตางและความเหมือนกัน 4.ควรใชรูปภาพและสัญลักษณใหมากกวาตัวหนังสือ 7.3.2 เทคนิคการนําเสนอแผนภาพ


การใชแผนภาพประกอบการเรียนการสอนใหไดผลดีควรมีวิธีดังนี้ 1. เลือกใชแผนภาพที่ตรงกับเนื้อหาและวัตถุประสงคของการสอน 2. เตรียมหองเรียน และเตรียมผูเรียนโดยใหศึกษาเนื้อหาลวงหนา 3. เสนอแผนภาพอยางชาๆ อธิบายใหละเอียดและชัดเจน 4. ควรใชไมชี้ประกอบการอธิบาย 5. ใชสื่อการสอนอืน่ ประกอบการใชแผนภาพ ดวย 7.3.3 ประเภทของแผนภาพ แผนภาพแบงออกเปน 4 ประเภทดังนี้ 1.แผนภาพลายเสน เปนแผนภาพที่ใชลายเสน รูปทรง และขอความประกอบกัน เหมาะสําหรับแสดง โครงสรางทั้งภายในและภายนอก พรอมกับมีเสนโยงแสดงความสัมพันธ เกี่ยวของกัน ทัง้ ลักษณะและตําแหนง และความสัมพันธ ของภาพที่แสดง 2.แผนภาพแบบบล็อก เปนแผนภาพที่ใชรูปทรงงายๆแสดงใหเห็นถึงองคประกอบ อยางหยาบๆ แสดงความสัมพันธของระบบการทํางานที่เกี่ยวเนื่องกัน โดยไมเนนรายละเอียด ของการทํางาน 3.แผนภาพแบบรูปภาพ เปนแผนภาพ ทีใ่ ชลายเสนเขียน เปนภาพงายๆ แทนสิ่งหนึ่งสิ่ง ใด เพียงตองการใหดูเหมือนหรือใกลเคียงเทานัน้ ผูดูจะเกิด ความเขาใจ ไดเองแผนภาพแบบนี้ จึงเหมาะ แกการแสดงหลักการทํางาน ถาภาพ ที่วาดเหมือนจริง มากจะกลายเปน แผนภูมิ อธิบายภาพ 4.แผนภาพแบบผสม เปนแผนภาพ ที่ใชเทคนิค การเขียนลายเสน บนรูปภาพเพื่อเนน ใหเห็นความสําคัญ เฉพาะ บางสวน โดยเปนการรวม ทั้งรูปภาพ และลายเสน เขาดวยกัน


7.4 ภาพพลิก ภาพพลิก เปนทัศนวัสดุ ทีเ่ ปนชุด ของภาพถาย ภาพวาด แผนภูมิ หรือกราฟ ซึ่งนํามา รวมเขาเปนเรือ่ งราว ใหมีความตอเนื่อง สัมพันธกันตั้งแตตนจนจบ จํานวนประมาณ 10 -15 แผน เหมาะสําหรับใชในการนําเสนอ สื่อที่เปนเรื่องเปนราว ใชกับกลุม ผูเรียน ที่มีขนาดไมเกิน 20 -30 คน ถาใชนอก สถานที่ ควรมี ขาหยั่งสําหรับแขวนโดยเฉพาะ 7.5 ภาพโฆษณา (Posters) ภาพโฆษณา เปนทัศนวัสดุที่ใชแสดงความคิดหรือขอเท็จจริงดวยสัญลักษณ ภาพประกอบที่สะดุดตา คําขวัญที่กนิ ใจ หรือคําอธิบายสั้นๆ โดยการออกแบบที่ดึงดูดความ สนใจของผูพบเห็นในระยะเวลาอันสัน้ สามารถเขาใจไดงาย จดจําไดอยางรวดเร็ว 7.5.1 ลักษณะของภาพโฆษณาที่ดี 1. มีจุดมุงหมายเดียว แนนอน ออกแบบงายไมซบั ซอน 2. เราความสนใจผูพบเห็น ดวยภาพ ขอความที่สะดุดตา สะดุดความคิด ชวนใหติดตาม 3.ใชภาพประกอบงาย สีเดน สะดุดตา ชวนดู 4.ควรมีขนาดใหญ ประมาณ 22 - 44 นิ้ว 5.ถายทอดเรื่องราวไดอยางรวดเร็วและตรงประเด็น 6.ขอความทีใ่ ชควรกระชับ ตรงประเด็น เขาใจงาย ตรงใจผูอาน ชวนใหคิด และมีขนาดที่ เหมาะสม 7.5.2ประโยชนของภาพโฆษณาตอการเรียนการสอน 1.ใชเปนการนําเขาสูบทเรียนไดอยางเปนอยางดี จะชวยเราความสนใจผูเรียน 2.ใชเปนเครื่องเตือนใจ กระตุน ระมัดระวัง ในการประพฤติปฏิบัติ 3.ชวยสรางบรรยากาศที่ดีภายในหองเรียน 4.ใชประกาศขาวสารตางๆ


7.6 การตูน การตูน เปนภาพสัญลักษณที่ใชแทนสิง่ ตางๆ เชน บุคคล สัตว หรือสิง่ ของ เปนตน เพื่อ ถานทอดเรื่องราว ซึ่งเปนแนวความคิดหรือทัศนะของผูเขียน เพือ่ จูงใน ใหแนวความคิด สราง อารมณขนั หรือลอเลียน 7.6.1 ลักษณะของการตูนที่ดี 1.แสดงภาพไดตรงกับจุดมุง หมายที่ตอ งการ ผูดูเขาใจความหมายถูกตองตรงกัน 2.ภาพที่เขียนตองเปนภาพงายๆ แสดงหรือใหรปู แบบเฉพาะที่ตองการแสดงออกเทานัน้ 3.การตูนแตละภาพควรใหความหมายเดียวเทานั้น 4.คําบรรยายควรสั้น กะทัดรัดแตมีความหมาย 7.6.2 ประโยชนของการตนู ตอการเรียนการสอน 1.ใชเราความสนใจเพือ่ ชวยในการนําเขาสูบทเรียน 2.ใชอธิบายหรือประกอบการอธิบายใหผูเรียนเกิดความเขาใจในเนื้อหามากยิ่งขึน้ 3.ใชเปนกิจกรรมของนักเรียนในระดับเด็กเล็ก 4.เปนสือ่ ที่ชวยสรางบรรยากาศในหองเรียน ผูเรียนมีความสนุกสนาน และยังผอนคลายความตึง เครียดในการเรียนการสอนดวย 7.6.3 การแบงประเภทการตูน 1. การตูน (Cartoons) 2. การตูนตอเนื่อง (Comic Strips) 3. การตูนเรื่อง (Comic Books) 4. การตูนลายเสน (Stick Figures)


สื่อวัสดุ 3 มิติ 1.ความหมายของสื่อวัสดุ 3 มิติ วัสดุ 3 มิติบางครัง้ เรียกกันวาวัสดุมีทรงหมายถึง วัสดุที่มีลักษณะเปนสามมิติ คือ มีความ กวาง ความยาวความหนา หรือความลึก ในทางการเรียนการสอนหมายถึง ของจริง ของ ตัวอยาง ของจําลอง ตูอันตรทัศน และสิ่งของอื่น ที่มีลักษณะเปนรูปทรง 2.ตัวอยางสื่อวัสดุ 3 มิติ 2.1 หุนจําลอง (Models) หมายถึง วัสดุสามมิติที่สรางขึ้นเพื่อเลียนแบบของ จริง เนื่องจากขอจํากัดบางประการที่ไมสามารถจะใชของจริง ประกอบการเรียนการสอน ได เชน การอธิบายลักษณะและตําแหนง ของอวัยวะภาพในรางกายของคนหรือสัตว ดังนั้น ของ จําลองจึงมีคุณคาตอการเรียนใกลเคียงกับของจริง 2.1.2 ลักษณะของหุน จําลองที่ดี -หุนจําลองทีเ่ ปนวัสดุ 3 มิติ ทําใหผูดูเกิดความคิดรวบยอดทีถ่ ูกตอง -ขยายหรือลดขนาดแทจริงไดใหสะดวกแกการพิจารณา -หุนจําลองที่แสดงใหเห็นภายในไดซงึ่ ไมสามารถเห็นไดจากของจริง -ใชสีเพื่อใหเห็นสวนสําคัญ -ควรตัดสวนที่ไมสําคัญออก เพื่อใหเขาใจงาย 2.1.3 เทคนิคการใชหนุ จําลอง -ตองศึกษาหุนจําลองที่เหมาะสมทัง้ ขนาดรูปราง สี และสัญลักษณตางๆ -ครูตองศึกษาลวงหนากอนนําไปใชสอน -อธิบายเปรียบเทียบ หาความสัมพันธกับสิ่งที่เปนจริง -เปดโอกาสใหนักเรียนซักถาม หรือเขามาระยะไกล -ควรใชสื่ออื่นประกอบ เชน แผนภูมิ แผนภาพ - หุนจําลองบางชนิด จะตองระมัดระวังเปนพิเศษเพือ่ ไมใหเกิดความเสียหาย -เปดโอกาสใหศึกษาคนควา หาคําตอบจากหุนจําลองดวยตัวเอง


2.1.4 ประเภทของหุนจําลอง อาจแบงไดหลายประเภทตามลักษณะ และความมุงหมายของหุนจําลองนั้น ๆ แต อยางไรก็ตามการแบงประเภทของ หุนจําลอง อาจแบงแยกประเภทกันไมชัดเจน เพราะแตละ ประเภทก็มีความเกี่ยวของกัน หรือมีลักษณะบางอยางเหมือนกัน โดยทั่วไปแบงประเภทดังนี้ - หุนรูปทรงภายนอก (Solid Model) หุนแบบนี้ตองการแสดงรูปราง หรือ รูปทรง ภายนอกเทานั้น เพื่อใหไดรับความเขาใจโดยทัว่ ไป รายละเอียดตาง ๆ ไมจําเปนก็ตัดทิ้ง เสีย หุนจําลองแบบนีย้ ้ําเนนใน เรื่องน้ําหนัก ขนาด สี หรือ พื้นผิว ลวดลาย มาตราสวน อาจจะ ใชผิดไปจากของจริงได - หุนเทาของจริง (Exact Model) มีขนาดรูปรางรายละเอียดทุกอยางเทาของจริงทุก ประการ พวกนี้ ใชแทนของจริงที่หาได หรือ ราคาแพง หรือเสียหาย แตก หักงาย แตวามีความ จําเปนทีจ่ ะตองใหนกั เรียน ไดเขาในรายละเอียดทุกอยางในของจริง - หุนจําลองแบบขยายหรือแบบยอ (Enlarge, Reduce Model) เรียกอีกอยางหนึ่งวา หุนจําลองแบบ มาตราสวน ทั้งนีเ้ พราะ ยอหรือขยายใหเล็ก หรือใหญเปนสัดสวนกับของจริง ทุกสวนพวกนี้เปนประโยชน ในการทีน่ ักเรียนจะไดเขาใน รายละเอียดและความสัมพันธของ ของจริงได ตัวอยางเชน ลูกโลก (Globes) คือ หุนจําลองทีย่ อโลกลงมาเพื่อใหสะดวกแกการ นํามาใช ในการเรียนการสอนมีหลายแบบ เชน แสดงลักษณะภูมิประเทศ แสดงอาณาเขต เฉพาะโครงรางอาณาเขตของ พื้นที่เปนพืน้ ดินและพืน้ น้ํา - หุนจําลองแบบผาซีก (Cut Away Models) แสดงใหเห็นลักษณะภายใน โดยตัด พื้นผิวบางภายนอก บางสวนออก ใหเห็นวา ชิ้นสวนตาง ๆ ประกอบกันอยางไร จึงจะเกิดเปน สิ่งนั้น ๆเชน หุนตัดใหเห็น ภายในหุน ตัดใหเปนลักษณะภายในของดอกไม - หุนจําลองแบบเคลื่อนไหวทํางานได (Working Models) หุนจําลองแบบนี้ แสดงให เห็นสวนที่ เคลื่อนไหวทํางานของวัตถุหรือเครือ่ งจักร หุนจําลองแบบนี้เปนประโยชนในการ สาธิตการทํางานหรือหนา ที่ของสิ่งของนัน้ ๆ - หุนจําลองเลียนของจริง (mockup Models) แบบนี้แสดงความเห็นจริง ของสิ่งหนึ่ง ซึ่งจัดวาง หรือประกอบสวนตาง ๆ ของของจริงเสียใหมใหผิดไปจากทีเ่ ปนอยูเ ดิม สวนมากใช เปนประโยชนแสดง ขบวนการซึง่ มีหลาย ๆ สวนเขาไปเกี่ยวกันดวย


- หุนจําลองแบบแยกสวน (Build up Models) หุนจําลองแบบนี้แสดงใหเห็นสวนหนึ่ง หรือทั้งหมด ของสิ่งนัน้ วาภายในสิ่งนั้นประกอบดวยสิ่งยอย ๆ สามารถถอดออกเปนสวน ๆ และประกอบกันได หุนจําลองแบบนี้ จะชวยใหเขาใจถึงหนาที่และความสัมพันธของสวน ตาง ๆ 2.2 ของจริง (Real Things) ของจริงหมายถึง สิ่งเราตางๆที่มีสภาพเปนของเดิมแทๆของ สิ่งนั้นอาจเปนสิ่งที่มอี ยูตามธรรมชาติหรือสิ่งทีม่ นุษยสรางขึ้น และเปนไดทงั้ สิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ ไมมีชีวิต ผูเรียนสามารถรับรูและเรียนรูข องจริงไดดวยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ทําใหสามารถ มองเห็น ไดยิน ไดกลิ่น ไดลิ้มรส และไดสัมผัสกับบรรยากาศของของจริงดวยตนเอง ดังนั้น สื่อประเภทของจริงจึงมีประโยชนตอการเรียนรูของผูเรียนดวยการแสดงสาระที่เปนจริงไดดกี วา หุนจําลอง แตอยางไรก็ตามสือ่ ของจริงบางอยางก็ไมเหมาะทีจ่ ะนํามาใหดูกันได หากสิ่งนั้นมี ขนาดเล็กหรือใหญเกินไป อยูไกลเกินไป หรือสิ่งนัน้ เปนของจริงทีม่ ีอนั ตราย 2.2.1 ลักษณะของของจริงที่ดี ของจริงที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1.มีขนาดเหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอน 2.มีสภาพเปนจริงตามธรรมชาติหรือตนกําเนิด 3.ตองไมเปนอันตรายตอผูเรียน ผูสอน และสิ่งแวดลอม 4.ไมมีลักษณะยุง ยากสลับซับซอนเกินไป 5.คาใชจายไมสูงเกินไป 2.2.2 ประเภทของของจริง ของจริงอาจแบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ ของจริงตามสภาพเดิม ของจริงแปรสภาพ และของตัวอยาง 1. ของจริงตามสภาพเดิม (unmodified real objects) หมายถึงของจริงที่ยังคงรักษา ลักษณะเดิมตามความเปนจริงทุกอยาง ยังไมถกู แปรสภาพ นอกจากนําออกมาจากสิ่งแวดลอม เดิมของจริงเหลานี้อาจเปนสิ่งธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษยสราง ขึ้นมากก็ได อาทิเชน ตนไม สัตว คน รถยนต ฯลฯ


2.ของจริงแปรสภาพ (Modified real) หมายถึงของจริงทีถ่ ูกเปลี่ยนสภาพจากลักษณะ เดิมของมัน ซึ่งอาจตัด หรือเลือกเฉพาะสวนที่สําคัญมาแลว อาจทาสีแสดงสวนที่แตกตางกัน ใหเห็นไดชัดเจน เชน หัวกะโหลก ชิ้นสวนของโครงกระดูก เครือ่ งยนตที่ผาให เห็น สวนประกอบภายใน สัตวอบ และสัตวสตาป เปนตน ของจริงมีคุณคามากตอการเรียนการสอน ก็ตอเมือ่ ของจริงทีน่ ํามานั้นจะตองเหมาะสม แกการสังเกต จับตอง ตั้งแสดง อภิปราย ฯลฯ แตของจริงบางอยาง อาจไมใหความรูตาม ขอเท็จจริงไดทงั้ นีเ้ พราะมีขอจํากัดบางประการคือ - ของจริงที่นํามาอาจถูกแปรสภาพไปจากเดิม ไมมคี วามสมบูรณในตัว - ของจริงบางอยางมีสวนประกอบที่ยงุ ยากซับซอนยากแกการเรียนรู - ของจริงบางอยางไมอาจนํามาศึกษาไดทั้งหมด - ของจริงบางอยางมีขนาดเล็กหรือโตเกินไป หรืออาจเปนอันตรายไมสะดวกทีจ่ ะนํามา ศึกษาได - ของจริงบางอยางอาจอาไดยากหรือราคาแพงเกินไป 3.ของตัวอยาง (Specimens) เปนของจริงถูกนําเสนอเพียงบางสวนของทัง้ หมด เชน ดิน มีหลายชนิดแตนํามาแสดงใหเปนตัวอยางเพียง 2 ชนิด หินบนดวงจันทรมีหลายชนิดหลาย ลักษณะแตเก็บมานําเสนอเพื่อเปนตัวอยางเพียงชนิดเดียว เปนตน 2.2.3 เทคนิคการใชการใชของจริงประกอบการสอน 2.2.3.1 การเลือก - มีขนาดพอเหมาะสมที่จะใชในหองเรียน - ไมมีความลําบากในการใช มีความปลอดภัย - ไมมีลักษณะยุงยากซับซอนเกินไป - มีสภาพสมบูรณตามทีเ่ ปนจริงในธรรมชาติ - ราคาคาใชจายไมสูงไปนัก 2.2.3.2 การแสดงของจริง - ตองแนใจวาทุกคนไดเห็นรายละเอียดทัว่ ถึง ตองพิจารณาดวยวารายละเอียดใดทีน่ ักเรียน อาจจะไม สังเกต หรือเขาใจผิดตองชี้แนะใหเขาใจตรงกันทุกคน - หากไมแนใจวานักเรียนจะเห็นทั่วถึง ก็อาจจะใชเครื่องฉายภาพได แตตองใหดูขนาดของ


จริงแทกอ น แลวจึงฉายขยายขนาดใหเห็นรายละเอียด - ควรมีกจิ กรรมอื่นรวมดวย เชน ใหนักเรียนมีสวนรวมทางวัตถุ หรือของจริงโดยให นักเรียนเก็บตัวอยาง สะสม จัดแสดง หรือจัดพิพิธภัณฑของหอง ซึ่งเปนการกระตุน การศึกษา ในเนือ้ หาวิชาตาง ๆ ดวย - การใชของจริงและวัตถุนนั้ สวนมากเราตองการจะสรางความคิดรวบยอด ดังนั้นจึงตอง ตัดสินใจกอน ใชวาจะสรางความคิดรวบยอดประการใด และวัตถุหรือของจริงนัน้ จะสราง ความคิดรวบยอดเชนนั้นไดหรือไม - ของจริงบางอยางอาจหาไดยากหรือราคาแพงเกินไป 2.3 ปายนิเทศ ( Bulletin Boards ) ปายนิเทศเปนทัศนวัสดุทนี่ ํามาใชในการแสดง เรื่องราวตางๆ แกผูดูโดยใชวัสดุหลายอยางติดไวบนแผนปาย เชน รูปภาพ แผนภูมิ ขอความที่ อธิบายภาพ รวมทั้งวัสดุ 3 มิติ ของจริงหรือของจําลอง เผยแพรความรูเรื่องใดเรือ่ งหนึ่งหรือ ใช เปนปายประกาศ และแสดงผลงานของหนวยงานตางๆ ปายนิเทศควรมีความสมบูรณในตัวเอง ซึ่งผูดูสามารถเขาใจไดโดยไมตองอาศัยผูบรรยายประกอบแตไมควรมีรายละเอียดมากเกินไป ควรบรรจุเนือ้ หาเพียงเรือ่ งเดียว ถาเนื้อหามากควรจัดแสดงเปนหลายๆแผน เรียงไปตามลําดับ มี จุดเริม่ ตนและจบในตัวเอง 2.3.1 ลักษณะของปายนิเทศทีด่ ี 1. ใชภาพเปนที่นาสนใจเปนพิเศษ 2. มีเรื่องราวครบบริบูรณแตไมควรจัดมากกวา 1 เรื่อง 3. มีความตอเนือ่ งกันและมีความกลมกลืนกัน 4. มีจุดสนใจหลักเพียงจุดเดียว จุดอื่นๆเปนจุดรอง 5. สามารถสรางความรูสึก ใหผูดูสนใจติดตามการเคลือ่ นไหว 6. จัดใหมีภาพใกลเคียงความจริง


2.3.2 สวนประกอบของปายนิเทศ โดยทั่วไปปายนิเทศจะประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญๆดังนี้ 1.ชื่อเรื่อง มีลักษณะเปนหัวขอสัน้ ๆ อานงาย มองเห็นไดในระยะไกล 2.รูปภาพ หรือสัญลักษณ ควรมีขนาดใหญเหมาะกับพื้นที่ปายนิเทศ 3.ขอความอธิบายภาพ แนะนํา ย้ําเตือน 4.วัสดุตกแตงเพื่อใหปายดูสวยงาม 2.4 ตูอันตรทัศน (Diorama) เปนทัศนวัสดุที่ออกแบบเปนสื่อ 3 มิติเลียนแบบ ธรรมชาติหรือบรรยากาศสิ่งแวดลอมทีเ่ ปนของจริง กระตุนความสนใจไดดีดว ยลักษณะเปนฉาก ที่มีความลึกคลายกับของจริง วัสดุประกอบฉากสอดคลองเปนเรือ่ งเดียวกัน สีสันเหมือนจริง เชน ฉากใตทะเลมีฉากหลังเปนสีน้ําเงิน พืน้ เปนทรายและโขดหินปะการัง แวดลอมดวยหอย ปู ปลา รวมทัง้ สัตวและพืชใตทะเล เปนตน


สื่อวัสดุอิเล็กทรอนิกส (Electronic Material Media) วัสดุอิเล็กทรอนิกส (Electronic materials) เปนวัสดุสารสนเทศทีจ่ ัดเก็บสารสนเทศใน รูปอักษร ภาพ และเสียงไวโดยการแปลงสารสนเทศใหเปนสัญญาณอิเล็กทรอนิกส ซึ่งจะตองมี เครื่องมือสําหรับจัดเก็บและแสดงผลออกมา โดยการแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสใหเปน สัญญาณภาพและเสียง อีกครัง้ หนึง่ เชน วีซีดี(VCD) ดีวีดี(DVD) ดีวีฟอรแม็ต (DV Format) เอ็มเพ็ค (MPEC) ฯลฯ ตัวอยางสือ่ 1.แผนซีดี (Compact Disc) แผน CD เปนแผนพลาสติกเคลือบที่มลี ักษณะเปนวงกลม มีชองตรงกลาง ขนาด 4.8 นิ้ว (12 cm.) หนา 1.2 มิลลิเมตร ประกอบดวยแผนพลาสติกทําจากสาร polycarbonate, สาร อลูมเิ นียม (aluminum) ซึ่งฉีดลงบนแผนพลาสติก polycarbonate ใหมีลักษณะเปนรองๆ สารอคีลิค (acrylic) เคลือบบน Aluminum เพื่อปองกันผิวเลเบล (Label) แผนซีดีโดยทั่วไปที่ วางขาย จะมีความสามารถในการจัดเก็บขอมูลขนาด 650 MB หรือ 700MB ตอแผน CD 1 แผน แตในบางรานคา เราก็สามารถพบเห็นแผน CD ขนาดเล็ก เรียกวา Mini CD ซึ่งมีความจุ อยางต่ํา 2 MB CD จะมีหลายชั้น 1. ชั้นบนสุด สวนมากจะเปนงานพิมพ โลโก 2. แลกเกอร เคลือบปองกัน ชั้นถัดไป 3. เปนวัสดุสะทอนแสง เลเซอร อาจเปนเงิน ทอง ตะกั่ว โครเมียม หรืออะไรก็แลวแต ตาม ราคาและคุณภาพ 4. เปน โพลีคารบอเนต สําหรับเก็บขอมูล ซึ่งเปนชั้นลางสุด ไมมีอะไรมาเคลือบอีกนะครับ ซึ่งมีความหนา 1.2 มิลลิเมตร หรือ 0.047 นิ้ว (หยิบไมบรรทัดขึ้นมาดู จะเทากับขีดเล็กๆ 1 ขีด+ 1/5 ของขีดถัดไป ชั้นที่ 4 นี้ เก็บขอมูลโดย ใชเลเซอรยงิ ใหเปนหลุม ขนาด ลึก 100 นาโนเมตร กวาง 500 นาโน เมตร แตความยาว จะเปลี่ยนแปลงตามความเร็วในการเขียน (ยิงแสงเลเซอร) 2. แผนวีซีดี (VCD: Video Computer Disc)


เปนวัสดุอเิ ล็กทรอนิคสที่บนั ทึกและอานขอมูลดวยแสงเลเซอร มีลักษณะทางกายภาพ เหมือนแผนซีดีทั่วไปทุกประการ เพียงแตแผนวีซีดสี ามารถบันทึกขอมูลที่เปนภาพยนตรพรอม เสียงสเตอริโอไดถึง 1.44 ลานบิตตอวินาที (Mbps) การบันทึกใชวิธีการบีบอัดขอมูลโดยใช มาตรฐาน MPEC ทําใหสามารถบันทึกและภาพยนตรที่มีความยาวมากๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.แผนดีวีดี (Digital Video Disc) เปนแผน CD ที่พัฒนาความจุใหมากขึ้นจากปกติทจี่ ไุ ดแผนละ 650 MB DVD จะบรรจุ ไดตั้งแต 6 - 15 GB และยังคงเพิม่ ขีดความสามารถในการจุขอ มูลมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ความมุง หมายในการ ใชงานหลักตอนนี้กค็ งจะบันทึกภาพยนต ซึ่งสามารถทีจ่ ะใชแผนเดียวพรอมกับ 6 ภาษาไดอยางสบาย และคุณภาพของภาพก็คมชัดกวา VCD อยางมาก หรือไมก็ใชบันทึกเอน ไซโคปเดียไดทงั้ หมดภายในแผนเดียว เครือ่ งทีจ่ ะเปดดูนั้นจะตองเปนเครือ่ งเลน DVD โดยเฉพาะ เครือ่ งคอมพิวเตอรทจี่ ะเปดก็ตองซื้อ Drive DVD มาตางหาก ซึ่งตอนนี้คงลืมไปกอน เพราะยังราคาแพงมากและ Software ที่จะใชมีนอ ยมาก 4.แผนเอสวีซีดี (SVCD: Super VCD) เปนแผนทีม่ ีคุณลักษณะเพิม่ เติมจากแผนวีซีดพี ัฒนาขึ้นโดยคณะผูวิจัยและผูผลิตที่ไดรับ การสนับสนุนจากรัฐบาลจีน โดยอาศัยเทคโนโลยีของแผนดีวีดี แผนเอสวีซีดเี ปนแผนทีใ่ ช มาตรฐาน MPEG2 ที่มีความคมชัดภาพ 576*480จุดและเสียงสเตอริโอ ชองทางของ MPEG2 Audio Layer 2ซึ่งมีอัตราการบีบอัด 1:6-1:8 เอสวีซีดแี ผนหนึ่งจะเลนไดประมาณ 35-80 นาที 5.แผนเอ็กซวีซีดี (XVCD : eXtended VCD) แผนเอ็กซวีซีดี (XVCD:eXtended VCD) เปนสวนขยายของแผนวีซีดี รุน 2.0 อาจกลาว ไดวาเอ็กซวีซีดีเปนการผสมคุณลักษณะระหวางวีซดี ี รุน 2.0 และดีวีดี โดยที่แผนเอ็กซวีซีดีจะมี อัตราการเสนอภาพ 3.5 ลานบิตตอวินาที ซึ่งเร็วกวาแผนวีซีดีธรรมดา แตไมสามารถใชเสียง หลายชองทาง( multi-audio streams) หรือมีขอความบรรยายได


6.แผนเอ็กซเอสวีซีดี (XSVCD : eXtended VCD) แผนเอ็กซเอสวีซีดี (XSVCD:eXtended VCD) เปนการผสมคุณลักษณะระหวางเอ็กซวี ซีดีและดีวีดี แผนวีซีดีรูปแบบนี้ใช MPEG2 เชนเดียวกับเอสวีซีดีแตจะมีอัตราการเสนอภาพเร็ว ถึง9.8 ลานบิตตอวินาทีโดยมีความคมชัดของภาพมากกวาดวย สามารถใชเสียงหลายชองทาง และมีขอความบรรยายได แผนวีซีดีคุณภาพสูงทั้งเอสวีซีดี เอ็กซวีซีดี และเอ็กซเอสวีซีดี ไม สามารถเลนกับเครือ่ งเลนวีซีดีธรรมดาได แตตองใชกับรุนที่เลนไดตงั้ แตแผนวีซีดี รุน 2.0 ขึ้น ไป หรือจะเลนกับเครือ่ งดีวีดกี ็ไดเชนกัน

สรุป สื่อประเภทวัสดุ เปนสือ่ ที่มขี นาดเล็กสามารถเก็บบรรจุความรูและประสบการณไวเปนอยาง ดี บางชนิดสามารถสื่อความหมายหรือถายทอดความรูไดดว ยตัวมันเองโดยไมตองอาศัย เครื่องมือหรืออุปกรณใดๆ เขามาชวย แตบางชนิดตองอาศัยเครื่องมือในการฉายขยายเนื้อหา ความรูใหเห็นเปนภาพขนาดใหญหรือใหเสียงดังฟงชัดขึ้น แบงออกเปนวัสดุ 2 มิติ วัสดุ 3 มิติ และวัสดุอิเล็กทรอนิคส สื่อวัสดุ 2 มิติ โดยทัว่ ไปหมายถึงสือ่ วัสดุกราฟกที่มีรูปภาพ ตัวหนังสือ และสัญลักษณเปน องคประกอบสําคัญ ใชในการแสดงความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึง่ ที่เกี่ยวของกับ ขอเท็จจริง แนวคิด เพื่อเสริมความเขาใจเนื้อหาบทเรียนทีม่ ีลกั ษณะเปนนามธรรม ผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดดวยการมองเห็นทางตา ตัวอยางของวัสดุกราฟกที่ใชกับการเรียนการ สอน เชน แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ ภาพการตูน ภาพโปสเตอร ภาพประกอบเรือ่ ง สมุด ภาพ เปนตน สื่อวัสดุ 3 มิติ เปนสือ่ ที่สรางมาจากวัสดุตางๆ มีความกวาง ยาว และหนาหรือลึก ทําใหเกิด เปนรูปทรงตางๆ เชน หุนจําลอง ของจริง ปายนิเทศ กระดานแมเหล็ก เปนตน สื่อวัสดุอเิ ล็กทรอนิคส เปนวัสดุทใี่ ชกับเครื่องอิเล็กทรอนิคส เชน เทปเสียง มวนวีดี ทัศน แผนซีดี เปนตน


อางอิง http://nongpuy91043.blogspot.com/ http://3ratchaneekorn54040383.blogspot.com/2011_07_01_archive.html http://ruttana53540372.blogspot.com/2010/07/6.html http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355201/p37-3.html วันที่ 18 สิงหาคม 2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.