Asahi_Editorial_20100413

Page 1

1/3

จากหนังสือพิมพ์อะซาฮี ฉบับวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 2010

バンコク流血—正統性ある政権が必要だ เหตุการณ์นองเลือดที่กรุงเทพฯ - จําเป็นต้องมีรัฐบาลที่มีความชอบ ธรรม  タイの首都バンコクで、タクシン元首相を支持するデモ隊と治安部隊が衝突し、流血の 大惨事となった。 ที่กรุงเทพมหานครเมืองหลวงของประเทศไทย เกิดเหตุการณ์กลุ่มผู้ชุมนุมสนับสนุนอดีตนรม.ทักษิณ ปะทะกับกองกําลังรักษาความสงบของทหาร จนกลายเป็นเหตุการณ์ร้ายแรงครั้งใหญ่  取材していたロイター通信日本支局のカメラマン村本博之さんをはじめ20人以上が亡 くなった。死傷者は900人近くに達する。 ช่างภาพชาวญี่ปุ่นจากสํานักข่าวรอยเตอร์ประจําประเทศญี่ปุ่น นายมุระโมโตะ ฮิโรยูกิที่อยู่ระหว่างการ ทําข่าว และคนอีกมากกว่า 20 รายเสียชีวิต รวมผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตกว่า 900 คน 赤シャツ姿のデモ隊は1カ月前から抗議行動を始め、総選挙の実施をアピシット首相に 要求してきた。タイ正月を前に、政権が軍を動員して強硬策に踏み切っ たことが裏目に出 た。 กลุ่มผู้ชุมนุมที่สวมใส่เสื้อสีแดง ได้ปักหลักชุมนุมประท้วงมาเป็นเวลา 1 เดือนแล้ว โดยมีข้อเรียกร้อง ให้นรม.อภิสิทธิ์จัดการเลือกตั้งทั่วไป การที่รัฐบาลสั่งเคลื่อนกําลังทหารเพื่อหวังใช้มาตรการขั้นหนักแก่ ผู้ชุมนุมก่อนที่จะถึงวันปีใหม่ของไทยในครั้งนี้ กลับส่งผลอันไม่พึงประสงค์  アピシット政権は武力を頼まない方法で首都の治安回復に全力を挙げてもらいたい。日 本政府と協力して村本さんの死因も徹底調査すべきだ。 เราขอเรียกร้องให้รัฐบาลอภิสิทธิ์ใช้ความสามารถที่มีอยู่อย่างเต็มกําลังในการคืนความสงบสุขแก่เมือง หลวงของประเทศ ด้วยวิธีการที่ไม่ต้องพึ่งพาการใช้กําลังอาวุธ และควรร่วมมือกับรัฐบาลญี่ปุ่นในการ ตรวจสอบสาเหตุการตายของนายมุระโมโตะอย่างถึงที่สุด  それにしても、「ほほ笑みの国」といわれるこの国に刻まれた亀裂の深さに、将来への 不安が募る。 จะว่าไปแล้ว ความแตกแยกที่ฝังลึกในประเทศที่ได้ชื่อว่า “สยามเมืองยิ้ม” แห่งนี้ ส่อแววน่ากังวลถึง อนาคตอยู่ไม่น้อย


2/3

จากหนังสือพิมพ์อะซาฮี ฉบับวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 2010

タクシン元首相派と反タクシン派はこの10年近く、対立を繰り返してきた。タクシン 氏は2001年に政権を取り、市場経済主義への対応や貧困対策に積極 的だった。その 支持層は東北部や都市の貧困層が中心だ。 ในระยะเวลาเกือบ 10 ปีมานี้ เกิดความขัดแย้งขึ้นซ้ําแล้วซ้ําเล่าระหว่างฝ่ายของอดีตนรม.ทักษิณกับ ฝ่ายต่อต้าน ตัวพ.ต.ท.ทักษิณก้าวขึ้นสู่อํานาจเมื่อปี ค.ศ. 2001 รัฐบาลของเขาดําเนินนโยบายที่ ตอบสนองต่อเศรษฐกิจการตลาดรวมทั้งนโยบายที่เอื้อประโยชน์แก่คนจน จนได้รับการสนับสนุนจาก ชนชั้นผู้ยากไร้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและคนจนในเมืองเป็นจํานวนมาก  しかし金権腐敗体質や独裁的な姿勢への批判が広がり、06年の軍事クーデターにつな がった。反タクシン派の支持層には官僚や王室周辺のエリート、都市中 間層が目立つ。 แต่แล้ว เขาก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักต่อท่าทีที่เด็ดขาดแข็งกร้าวและข้อครหาเรื่องคอร์รัปชัน จน นําไปสู่ความขัดแย้งและรัฐประหารในปี ค.ศ. 2006 ในที่สุด ฝ่ายต่อต้านพ.ต.ท.ทักษิณจะเห็นเด่นชัด อยู่ในกลุ่มข้าราชการและผู้แวดล้อมราชวงศ์ รวมทั้งกลุ่มชนชั้นกลางในเมือง  経済成長による富が首都に一極集中し、貧富の格差が進む。対立の背景には新興国共通 の矛盾も見える。 จากการเติบโตของเศรษฐกิจ ทําให้ความร่ํารวยกระจุกตัวอยู่ในเมืองจนส่งผลเกิดช่องว่างทางเศรษฐกิจ ที่ห่างขึ้นเรื่อยๆ ลักษณะความขัดแย้งเช่นนี้ เป็นปัญหาร่วมที่มักจะพบได้ในหลายๆ ประเทศที่กําลัง พัฒนาเศรษฐกิจขึ้นมาใหม่  政治的な意見対立は、議会を中心に選挙や言論活動などを通じて解決を図るのが近代国 家のあるべき姿だろう。 ถึงกระนั้น การแก้ปัญหาความคิดเห็นทางการเมืองที่ไม่ลงรอยกัน ด้วยการเลือกตั้งและการอภิปราย โดยมีระบอบรัฐสภาเป็นศูนย์กลาง เป็นคุณลักษณะที่รัฐสมัยใหม่พึงมีพึงเป็น  ところがこの国では近年、総選挙でタクシン派が勝利すると、黄シャツ姿の反タクシン 派が空港を占拠。これに対抗する元首相が海外から支持者に抗議行動を 呼びかけるな ど、議会の外で政治を変えようとしてきた。 แต่ทว่า ในประเทศแห่งนี้ เมื่อฝ่ายทักษิณชนะการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อหลายปีก่อน กลุ่มเสื้อสีเหลืองที่เป็น ฝ่ายต่อต้านก็ยึดครองสนามบิน ทางฝ่ายอดีตนายกฯ เองก็โต้กลับจากนอกประเทศโดยการเรียกร้อง ให้ผู้สนับสนุนทางการเมืองของตนออกมาต่อต้าน ซึ่งเป็นการพยายามเปลี่ยนการเมืองจากนอกสภา  大衆行動やクーデターが歴代政権の土台を揺るがす。それは、タイの立憲体制と統治の 正統性が危機にさらされていることにほかならない。 การล้มรัฐบาลแล้วรัฐบาลเล่าด้วยคนหมู่มากและรัฐประหาร แสดงให้เห็นวิกฤตของระบบรัฐธรรมนูญ และความชอบธรรมทางการปกครองของไทย


3/3

จากหนังสือพิมพ์อะซาฮี ฉบับวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 2010

政治対立を仲裁してきたプミポン国王も高齢となり、そうした役割は期待できまい。0 8年に発足したアピシット政権は選挙の洗礼を受けていない。回り道な ようでも総選挙 を早期に実施し、正統性のある政権を樹立することが、混乱収拾への第一歩だろう。 พระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันที่ทรงใช้พระราชอํานาจไกล่เกลี่ยทางการเมืองมาตลอด ก็มีพระชนมายุ มากแล้ว จึงไม่อาจคาดหวังบทบาทนั้นได้อีก รัฐบาลอภิสิทธิ์ที่ก่อตัวขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 2008 ไม่ได้ผ่าน พิธีกรรม (baptism: ผู้แปล) ที่เรียกว่าการเลือกตั้ง, ถึงแม้จะต้องเดินอ้อมสักหน่อย แต่การจัดการ เลือกตั้งให้เร็วที่สุด เพื่อเป็นที่มาของรัฐบาลที่ชอบธรรมนั้น คงเป็นก้าวแรกที่จะยุติความวุ่นวายเฉพาะ หน้านี้ได้  タイは東南アジア諸国連合(ASEAN)の中核であり、ASEANは東アジア地域と 米国、ロシアとの連携強化に乗り出そうとしている。西の隣国ミャン マー(ビルマ)の民 主化を促す上でもこの国の役割は大きい。 ประเทศไทยถือเป็นแกนหลักของกลุ่มชาติสมาชิกอาเซียน และกลุ่มอาเซียนก็กําลังยกระดับความ สัมพันธ์กับภูมิภาคเอเชียตะวันออก สหรัฐอเมริกาและรัสเซียให้แนบแน่นยิ่งขึ้น อีกทั้งไทยยังเป็น ประเทศที่มีบทบาทสําคัญในการเรียกร้องประชาธิปไตยในประเทศเพื่อนบ้านอย่างพม่าอีกด้วย  自動車をはじめ製造業が集中し、ASEAN経済の核でもある。多くの日本人と日系企 業が活動している。 นอกจากนี้ไทยยังเป็นแกนกลางของเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียน เนื่องด้วยอุตสาหกรรมการผลิต รถยนต์และสินค้าต่างๆ มีศูนย์กลางอยู่ที่ไทย มีบริษัทญี่ปุ่นจํานวนมาก และมีชาวญี่ปุ่นจํานวนมากที่ อาศัยและทํางานในประเทศไทย  鳩山政権がアジア外交を展開するうえで、タイの協力は欠かせない。この危機を、遠い 出来事として軽く考えるべきではない。 การขยายความสัมพันธ์ทางการทูตกับนานาประเทศในเอเชียของรัฐบาลนายฮาโตยามะ จําต้องอาศัย ความร่วมมือจากไทย เราจึงไม่ควรมองข้ามวิกฤตในครั้งนี้ของไทยว่าเป็นเรื่องไกลตัวแต่อย่างใด (จบ) ต้นฉบับจาก: http://www.asahi.com/paper/editorial20100413.html#Edit1


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.