Weblog

Page 1

1

การสร้างสรรค์

Weblog คืออะไร ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Weblog หรือ Blog Weblog มาจากคาว่า World Wide Web ซึ่งหมายถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ เชื่อมโยงกันไปทั่วโลกกับคาว่า log แปลว่า บันทึก รวมกันเป็น Weblog นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า Blog ซึ่ง เป็นเว็บไซต์พันธุ์ใหม่รูปแบบใหม่ที่กาลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายทั่วโลก สามารถนามา ประยุกต์ใช้เกิดประโยชน์ได้กับแทบทุกวงการ การสร้างสรรค์ Weblog ทาได้อย่างรวดเร็ว ไม่ จาเป็นต้องใช้ทักษะทางคอมพิวเตอร์มากนักก็สามารถทาได้อย่างสวยงามน่าทึ่ง ดังที่ท่านจะได้ลงมือ ปฏิบัติในครั้งนี้ Weblog มีประโยชน์อย่างไรบ้าง จุดเด่นที่สุดของ Blog ก็คือ มันสามารถเป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึงความ เป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ที่ชัดเจนของบล็อกนั้น ๆ ผ่าน ทางระบบ Comment ของบล็อกนั่นเอง ประโยชน์ของ Weblog 1. เป็นสื่อที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกของผู้เขียนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เพื่ อเสนอ ให้ผู้คน สาธารณะได้รับรู้ 2. เป็นเครื่องมือช่วยในด้านธุรกิจ เช่น การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การเสนอข่าวสารความ เคลื่อนไหวขององค์กร การเสนอตัวอย่างสินค้า การขายสินค้า และการทาการตลาดออนไลน์ เป็นต้น 3. เป็นแหล่งความรู้ใหม่ๆ ที่ถูกต้องและชัดเจน จากผู้มีความรู้เฉพาะด้านๆ นั้น เนื่องจาก ผู้เขียน Blog มักจะเขียนถึงเรื่องที่ตัวเองถนัด ชอบ และมีความรู้ลึกในเรื่องนั้นๆ การค้นหาข้อมูล เฉพาะด้านใน Blog ต่างๆ จึงทาให้เราค้นพบความรู้ และผู้มีความรู้ความชานาญในด้านต่าง ๆ ได้ รวดเร็วขึ้น 4. ทาให้ทันต่อเหตุการณ์ในโลกปัจจุบัน เพราะข่าวสารความรู้ มาจากผู้คนมากมาย(ทั่วโลก) และมักจะเปลี่ยนแปลงได้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ 5. ไม่ต้องใช้ความรู้ทางคอมพิวเตอร์ชั้นสูงก็สามารถทาได้ 6. ไม่ต้องของพื้นที่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเหมือนเว็บไซต์ทั่วไป โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


2 7. สามารถบรรจุภาพนิ่ง เสียง และภาพเคลื่อนไหวเหมือนเว็บไซต์ทั่วไปได้ 8. สามารถใช้งานหรือปรับแต่งให้สวยงามได้ด้วยตนเอง นามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการ สอนได้ดี 9. สาหรับ Weblog ของ Blogger สามารถบรรจุบทความได้มากถึง 999 บทความ 10.สามารถสร้างสรรค์องค์ประกอบต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์กับการทางานได้หลายอย่าง เช่น ตัวเลขนับผู้ชม (Counter) กระดานข่าว (Webboard) สไลด์(Slides) คลิบวีดิทัศน์ (Video Clip) เป็นต้น 11.สามารถเชื่อมโยงกับเว็บไซต์อื่น ๆ ได้ตามต้องการ ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ที่ ดี ดั ง กล่ า ว ท าให้ Weblog ได้ รั บ ความนิ ย มไปทั่ ว โลกอย่ า งรวดเร็ ว โดยเฉพาะในวงการศึกษามีการนามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนแบบผสมผสานได้เป็นอย่างดี Weblog จะทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนหรือผู้เรียนกับผู้เรียนได้ตลอดเวลา ทุ กสถานที่ ที่มีอินเตอร์เน็ตใช้ ผู้เรียนสามารถค้นคว้าความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรียนได้จากเว็บไซต์ อื่นได้มากมายมหาศาล ทาให้ผู้เรียนเข้าถึงสาระของเนื้อหาที่สอนได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น ดังนั้น Weblog จึงเป็นสื่อการสอนอีกชนิดหนึ่งที่จะช่วยให้ครูอาจารย์จัดการเรียนการสอนได้สะดวกสบาย ยิ่งขึ้น ผลจากการศึกษาการใช้ Weblog ในการจัดการเรียนการสอน นั้นพบว่า 1. ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 2. ผู้เรียนสามารถบริหารจัดการความรู้ต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบ 3. ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และเกิดประโยชน์ 4. ผู้เรียนมีทักษะด้านคอมพิวเตอร์ 5. ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของตนเองให้มีประสิทธิภาพทันต่อการ เปลี่ยนแปลง ที่มา : ทรงศรี สรณสถาพร ธนายุส ธนธติ การใช้บล็อก (BLOG) ในการเรียนการสอน

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


3

ขั้นตอนการสร้างเว็บบล็อก ในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทุกๆ การอบรม มีการใช้เว็บบล็อกของบล็อกเกอร์ (Blogger) ซึ่งเป็นของบริษัท Google ประเทศสหรัฐอเมริกา ถือว่าเป็นเว็บบล็อกที่ได้รับความนิยมมากที่สุด การสร้างเว็บบล็อกท่านต้องมี e-mail เป็นของตนเองเสียก่อน จากนั้นจึงใช้ e-mail สมัครเข้าไปสร้าง เว็บบล็อกได้ e-mail ที่ควรใช้กับบล็อกเกอร์ควรเป็น Gmail ของ Google เช่นเดียวกัน ขั้นตอนการสมัครใช้บัญชี Gmail Gmail เป็นช่องทางการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ช่องทางหนึ่งบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การ สมัครใช้บัญชีของ Gmail มีประโยชน์ในการใช้บริการต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะการใช้อ้างอิงในการ สร้าง Weblog การรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ทั้งที่เป็นรูปภาพและตัวอักษรข้อความ, การ เชื่อมโยงกับเครือข่ายต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น ในที่นี่ขอแนะนาวิธีสมัคร Gmail โดยขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้ 1. พิมพ์ http://www.google.ac.th แล้วกด enter

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


4 2. คลิกที่ Gmail

ส่วนนี้สาหรับผู้ที่มี Gmail อยู่แล้ว กรอกข้อความแล้วใช้งานได้ เลย

ส่วนนี้สาหรับผู้สมัครใหม่

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


5

3. กรอกข้อความเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น 4. กรอกชื่อ Gmail ของท่าน เอง 5. คลิกเพื่อตรวจสอบดูว่ามีคนใช้ชื่อนี้หรือยัง 6. ถ้าผ่านข้อ 4 แล้วให้กรอกรหัสผ่าน 2 ครั้ง

หมายเหตุ!! ถ้าข้อ 3 ไม่ผ่านให้ท่านกรอกชื่อใหม่ แล้วตรวจสอบทุกครั้งจนกว่าจะผ่าน ถ้า ผ่านข้อ 3,4,5 แล้วให้จดบันทึกชื่อ Gmail และรหัสผ่านของท่านไว้ (ห้ามลืมเด็ดขาด...) เพราะทั้งชื่อ Gmail และรหัสผ่านของท่าน จะต้องถูกนามาใช้ในการทางานทุกอย่างกับ Gmail เช่น การเช็ค จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การสร้างเว็บบล็อก หรือการใช้บริการต่างๆ ที่ Gmail จัดให้ เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยแล้วให้กรอกข้อมูลต่อไปทุกช่องให้ครบถ้วน ดังตัวอย่างที่แสดงให้ดู ในหน้า 3 (แต่ข้อมูลทุกช่องต้องเป็นของท่านเอง...ห้ามใช้ข้อมูลเดียวกับตัวอย่าง..) เสร็จแล้วให้กดที่ ปุ่มข้อความ ฉันยอมรับ โปรดสร้างบัญชีของ ที่อยู่ด้านล่างสุด ฉัน

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


6

ก็เป็นอันว่าท่านมี Gmail เป็นของตัวเองเรียบร้อยแล้ว...ขอแสดงความยินดีด้วย... โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


7 ขั้นตอนการสร้างเว็บบล็อก การสร้างเว็บบล็อกเบื้องต้นมีขั้นตอนดังนี้ 1. พิมพ์ URL http://blogger.com ตรงนี้แล้วกด enter

1. คลิกปุ่ม “เริม่ ต้น”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


8

1. ใส่ E-mail ของ Gmail nong241@gmail.com

2. ยืนยัน E-mail ของ Gmail อีกครั้ง

nong241@gmail.com

3. ใส่รหัสผ่าน ความยาว ไม่น้อยกว่า 8 ตัวอักษร 4. ยืนยันรหัสผ่านอีกครั้ง 5. ใส่ชื่อที่ท่านจะใช้ใน การPost ใน Blog

6. พิมพ์รหัสสุ่มให้ ถูกต้องตามที่กาหนดให้ 7. คลิกปุ่ม “ดาเนินการ ต่อ” 8. ตั้งชื่อเว็บบล็อก(ภาษาไทยหรือ อังกฤษก็ได้) 9. ตั้งที่อยู่บล็อก ภาษาอังกฤษเท่านั้น และต้องจดจา เพราะเป็นที่อยู่ (URL) ของเว็บบล็อกของเรา 10. กดตรวจสอบความพร้อมของ URL ที่เราตั้ง 11. คลิกปุ่ม “ดาเนินการต่อ” โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


9

12. เลือกแม่ แบบ “บางเบา” เพราะ มี องค์ ป ระกอบที่ เ รี ย บ ง่ า ย แ ล ะ สวยงาม สามารถ ป รั บ เ ป ลี่ ย น แ ม่ แ บ บ ใ น ภายหลังได้อีก 13. คลิกปุ่ม “ดาเนินการต่อ”

เพียงแค่นี้ ก็มีเว็บบล็อกเป็นของตัวเองแล้วครับ... 1. คลิก “เริ่มต้นการเขียนบล็อก” เพื่อจัดการเนื้อหาภายในบล็อกได้เลย

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


10

2. พิมพ์ชื่อบทความ/ชื่อเรื่อง 3. พิมพ์เนื้อหาบทความใน ส่วนนี้ ตกแต่งตัวอักษรตาม ชอบ 4. เมื่อพิมพ์เนื้อหาเสร็จแล้ว ต้องกดปุ่ม “เผยแพร่บทความ” ทุกครั้ง เพื่อบันทึกและ เผยแพร่บทความ

การเขียนและบันทึกบทความเรียบร้อยแล้ว ท่านสามารถดูบทความได้ โดยคลิกที่ “ดูบทความ” หรือที่ “ดูบล็อก”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


11

หน้าตาเว็บบล็อก และบทความที่เขียนลงไป แบบที่ยังไม่ได้ตกแต่ง โดยมี URL : http://www.nong241.blogspot.com การเข้าใช้เว็บบล็อก เมื่อเรา “ออกจากระบบ” แล้ว เราสามารถเข้ามาดูและทาการแก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลในบล็อก ของเราได้ ดังนี้

พิมพ์ที่อยู่ของเว็บบล็อกของเราในช่อง URL เช่น www.nong241.blogspot.com

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


12

หากต้องการแก้ไข/เพิ่มเติมข้อมูลในบล็อก ให้คลิกที่ “ลงชื่อเข้าใช้” เพื่อทาการ Sign In เข้า ระบบเสียก่อน

การตกแต่งเว็บบล็อก การตกแต่งส่วนหัวของเว็บบล็อก การตกแต่ ง ส่ ว นหั ว ของเว็ บ บล็ อ ก ต้ อ งออกแบบในโปรแกรมประมวลผลภาพ เช่ น (Widht) 728 Pixels สูง(Height) 300 Pixels และความละเอียด (Resolution) 72 Pixels/Inch ตามภาพด้านล่างนี้

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


13

การนาภาพส่วนหัวเข้ามาใส่ในเว็บบล็อก เมื่อได้ภาพส่วนหัวที่ออกแบบจากโปรแกรมประมวลผลภาพแล้ว จึงค่อยนามาใส่ในเว็บ บล็อก โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้ 1. คลิกที่ “การออกแบบ” เพื่อเข้าสู่ส่วนที่ใช้สาหรับออกแบบเว็บ บล็อกตามแม่แบบที่เราเลือก

2. คลิกที่ “แก้ไข” ในบริเวณกรอบของ “ส่วนหัว” เพื่อ ใส่ภาพส่วนหัวที่เราเตรียมไว้ขึ้นสู่เว็บบล็อก

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


14

3. พิมพ์คาอธิบาย หรือคาโปรย เกี่ยวกับเว็บบล็อกของเรา...(แล้วแต่จะ Create) รูปแบบการจัดวาง มี 3 แบบให้เลือก ลอก เลือกดูครับ แต่ละ แบบก็ดีต่างกัน (ดูตัวอย่างแต่ละ แบบ ทีด่ ้านล้าง)

4. คลิกที่ปุ่ม “Browse” เพื่อเลือกหา ไฟล์ภาพส่วนหัวที่เราได้เตรียมเอาไว้ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

5. คลิกที่ปุ่ม “บันทึก”

เพียงเท่านี้

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


15 การจัดวาง 1. กรณีเลือกการจัดวางแบบ “เบื้องหลังชื่อและคาอธิบาย”

2. กรณีเลือการจัดวางแบบ “แทนที่ชื่อและคาอธิบาย”

3. กรณีเลือกการจัดวางแบบ “วางคาอธิบายไว้หลังภาพ”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


16 การตกแต่งส่วนบทความใหม่ ให้เริ่มจากหน้าของเว็บบล็อกโดยมีขั้นตอนดังนี้

คลิกเลือกที่ “บทความใหม่” หากต้องการสร้องบทความอันใหม่ หรือเลือกที่ “แก้ไขบทความ” กรณีต้องการแก้ไขบทความเก่าที่มีอยู่ในระบบแล้ว การตกแต่งส่วนบทความใหม่  การกาหนดขนาดตัวอักษร  การกาหนดสีตัวอักษร  การใช้คาสั่งลิ้งเพื่อการเชื่อมโยง  การจัดตาแหน่งข้อความ

 การแทรกภาพนิ่ง  การแทรกภาพเคลือ่ นไหว  การใช้แถบการเพิ่มคาสั่งด้วยภาษาจาวาสคริปต์

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


17 การเพิ่ม Gadget เราสามารถเพิ่มอุปกรณ์หรือสิ่งต่าง ๆ เล็ก ๆ น้อย ๆ ได้ จากการเพิ่ม Gadget เข้าไปในเว็บ บล็อกของเรา ซึ่ง Gadget มีมากมายหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเพิ่ม ภาพ วิดีโอ Html จาวาสคริปต์ ฯลฯ ในเบื้องต้นนี้ เราจะทาการเพิ่มรูปภาพ โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้

คลิกเลือกที่ “เพิ่มGadget” เพื่อเพิ่มเติมสิ่งต่าง ๆ ให้ เว็บบล็อกน่าสนใจยิ่งขึ้น

มี

ในเบื้องต้น เลือกเพิ่มเติม รูปภาพ จึงเลือกคลิกที่ “รูปภาพ”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


18

กรอกข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับภาพ คลิกปุ่ม “Browse” เพื่อหาไฟล์ ภาพจากเครื่องคอมพิวเตอร์

กาลัง Download ภาพจากเครื่อง เมื่อเสร็จแล้วจะ ปรากฎภาพที่เรา เลือก โดยจะย่อขนาด เหลือ 250 พิกเซล ให้โดยอัตโนมัติ

อย่าลืม กด “บันทึก” ด้วยทุกครั้ง

ผลงานที่ได้ คือภาพที่เราเลือก และข้อมูลที่ เราใส่เพื่ออธิบายภาพ โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


19 การตกแต่งสีของเว็บบล็อก สีของเว็บบล็อกเป็นองค์ประกอบสาคัญในการกระตุ้นและดึงดูดความสนใจของผู้ชมเป็น อย่างยิ่ง ช่วยสร้างทัศนคติที่ดีต่อชิ้นงาน นอกจากนี้ การใช้สียังแสดงออกถึงรสนิยมของเจ้าของเว็บ บล็อกเองด้วย เทคนิคพื้นฐานในการใช้สีกับสื่อทุกชนิดควรพิจารณามิติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสีดังนี้ 1. มิติของความกลมกลืนและความตัดกัน 2. มิติของสีโทนร้อนและสีโทนเย็น 3. มิติของมืด และสีสว่าง มิติของสีกลมกลืน 1. สีกลมกลืน (Harmony) เหมาะกับการใช้สาหรับเนื้อหาที่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นพวกเดียวกัน ประสานสอดคล้องกันได้ดี การใช้สีกลมกลืนเป็นเลือกสีที่มีตาแหน่งใกล้เคียงกัน ในวงล้อสี หรือในจานสีที่กาหนดไว้ในคอมพิวเตอร์ เช่น ดา น้าตาล แดง ส้ม เหลือง หรือ ดา น้าเงิน เขียวแก่ เขียวอ่อน เหลือง เป็นต้น 2. สีตัดกัน (Contrast) เป็ นการเลือกใช้สีที่มีตาแหน่งห่างกั นในวงล้อสีหรือ จานสีที่ กาหนดไว้ในคอมพิวเตอร์ สีตัดกันเหมาะกับเนื้อหาที่มีความแตกต่างกัน ขัดแย้งกัน แสดงความ รุนแรง ความลึก ลับ ความตื่นเต้น ตัวอย่ างของสีตัด กัน เช่น แดง-เขีย ว แดง-ดา แดง-น้าเงิน ขาว-ดา ส้ม-ดา ม่วง-เหลือง เหลือง-ดา ส้ม-น้าเงิน เป็นต้น มิติของสีโทนร้อนและสีโทนเย็น 1. สีโทนร้อน (Warm Tone) เหมาะกับเนื้อหาสาระที่ให้ความรู้สึกตื่นเต้นหวาดเสียว รุนแรง ไม่สงบ เด็ดเดี่ยว มีอานาจ การใช้สีโทนร้อนสามารถทาให้เป็นสีกลมกลืนหรือสีตัดกันก็ได้ 2. สีโทนเย็น (Cool Tone) เหมาะกับเนื้อหาที่ให้ความรู้สึกสบาย เป็นกันเอง ร่มเย็น อบอุ่น สงบ เรียบง่าย ปลอดภัย การใช้สีโทนเย็นสามารถทาให้เป็นสีกลมกลืนหรือสีตัดกันก็ได้ มิติของสีมืดและสีสว่าง 1. สีมื ด (Shade) ส่ วนใหญ่เ กิ ดจากสี แท้ (Hue) ผสมกั บ สีดา ให้ความรู้ สึก ลึก ลั บ น่ากลัว มั่นคง หนักแน่น บึกบึน ซ่อนเร้น สงสัย อึมคไม่กระจ่าง 2. สีสว่าง (Tint) เป็นสีที่เกิดจากสีแท้ (Hue) ผสมกับสีขาว ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เบิกบาน อ้างว้าง เป็นกันเอง ไว้ใจได้ ใสสะอาด ปลอดภัย

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


20 เทคนิคการใช้สีเพื่อการสื่อความหมาย การใช้สีกับข้อความเนื้อหาที่ต้องการให้ผู้สามารถอ่านได้ง่ายและชัดเจน ควรยึดหลักที่ว่า สีพื้นเข้มต้องให้สีตัวอักษรอ่อน แต่ในทางกลับกันถ้าสีพื้นเป็นสีอ่อนต้องให้สีตัวอั กษรเข้ม ต้อง หลีกเลี่ยงสีที่มีลักษณะกลมกลืนกัน เช่น พื้นสีขาวตัวอักษรสีเหลือง สีส้ม หรือ พื้นสีน้าเงินเข้ม ตัวอักษรสีดา สีเขียวเข้ม สีน้าตาล เป็นต้น การใช้สีในเว็บบล็อก การใช้สีเพื่อการตกแต่งเว็บบล็อก โปรแกรมได้กาหนดไว้ในส่วนปรับแต่ง > แบบอักษร และสี มี อ งค์ แ ละกอบที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้แ ก่ จานสี ห รื อ แถบสี ซึ่ ง ประกอบไปด้ว ยสี มื ด และสี ส ว่ า ง นอกจากนี้ยั งมีส่วนที่บั นทึก สีที่เราใช้ กับเว็บบล็อกอยู่ ในปัจจุบัน และสีที่โปรแกรมคานวณไว้ที่ กลมกลืนกับสีเดิมได้ด้วย เริ่มต้นการปรับแต่งแม่แบบ แม่แบบที่เราเลือกใช้นั้น สามารถปรับแต่งสีสันได้ตามความต้องการ โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้

1. เข้าเว็บบล็อกของเรา แล้วคลิกที่ “ลงชื่อเข้าใช้”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


21

2. คลิกเลือก “การออกแบบ”

3. คลิกเลือก “เครื่องมือ ออกแบบแม่แบบ”

ในส่วนนี้สามารถเลือกปรับเปลี่ยนแม่แบบได้ ตลอดจนปรับเปลี่ยนรูปแบบต่าง ๆ ของ แม่แบบที่เราเลือกได้ ในที่นี้ ให้คลิกเลือก “ขั้นสูง” เพื่อปรับเปลี่ยนสีสันของพื้นหลังครับ โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


22

ตัวอย่างการปรับแต่งสีของแม่แบบ

1. Body Text : การปรับแต่งสีตัวอักษร

2. 1) สีพื้นหลังส่วนนอก 2) สีพื้นหลังหลัก และ

3. ลิงก์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังสามารถกาหนดสีในส่วนอื่นๆ ได้อีกมากมาย ลองปรับเปลี่ยนสีในส่วนอื่น ๆ ตามชอบใจ

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


23

การเพิ่ม Gadget อื่น ๆ การเพิ่มปฏิทินจาก Google เว็บบล็อกนั้น สามารถเชื่อมโยงกับปฏิทินของ Google ได้ เมื่อเราแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลใน ปฏิทินของ Google จะส่งผลให้ปฏิทินในเว็บบล็อกของเรา Update ข้อมูลตามไปด้วยโดยอัตโนมัติ ทั้งนี้เราต้องไปสร้างปฏิทินของเราก่อนใน Google โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้

1. เข้าเว็บไซต์ www.Google.co.th 2. คลิกที่รูปสามเหลี่ยม 3. คลิกเลือกที่ “ปฏิทิน”

5. Sign In โดยการใส่ User Name และ Password E-mail ของ Gmail ให้เรียบร้อย

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


24 จะได้ปฏิทินของ Google ซึ่งเราสามารถเพิ่มเติมกิจกรรมในแต่ละวันได้

6. เพิ่มเติมกิจกรรม โดยการคลิก ในช่องของวันที่เราต้องการเพิ่ม กิจกรรม “เหตุการณ์” “สร้างกิจกรรม” เมื่อทาปฏิทินได้แล้ว ให้เข้าไปตั้งค่าในปฏิทิน โดยมีวิธีดังนี้

10. เลือก “การตั้งค่าปฏิทิน”

11. เลือกที่ “ปฏิทิน”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


25 12. เลือกที่ “การใช้งานร่วมกัน”

13. ติ๊กเครื่องหมายถูกที่ “ทาให้ปฏิทินนี้เป็นแบบ สาธารณะ” เพื่อกาหนดให้ผู้อื่นสามารถเห็นปฏิทิน ของเราได้ แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลใด ๆ ได้ 14. คลิกปุ่ม “บันทึก” เป็นอันเสร็จสิ้นการตั้งค่า ปฏิทินให้เป็นสาธารณะ

15. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่างเตือนว่า การกาหนดนี้จะเป็นการเปิดเผยข้อมูล กิจกรรมในปฏิทินให้แก่คนทั้งโลกได้รับรู้ ให้กดปุ่ม “ใช่” เพื่อแสดงการยอมรับ ทั้งนี้ ในการใส่กิจกรรมใด ๆ ลงปฏิทินนี้ ต้องคานึงเสมอว่า ข้อมูลเหล่านี้ ถูกเปิดเผยให้ทุกคนรับรู้ได้ จึงควรระมัดระวังในการใส่ข้อมูลเป็นพิเศษ

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


26

16. เมื่อตั้งค่าปฏิทินให้เป็นสาธารณะแล้ว ให้คลิกเลือกชื่อปฏิทินที่เราต้องการ ใน ที่นี้ชื่อ “Nong R.”

17. ทาการ Copy Code โดยการลากคลุม (Highlight) Code ทั้งหมด แล้วกด Ctrl+C ที่แป้นพิมพ์ เพื่อสั่ง Copy

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


27 เมื่อได้ Copy Code ของปฏิทินจาก Google มาแล้ว ให้กลับมาที่เว็บบล็อกของเรา เข้าไปใน ส่วนของ “การออกแบบ” จะได้หน้าตาดังนี้

18. คลิกที่ “เพิ่มGadget” บริเวณด้านล่าง

19. คลิกที่ “HTML/จาวาสคริปต์”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


28 จะปรากฎหน้าต่างของ

ซึ่งใช้สาหรับการวางคาสั่ง HTML

และ 20. ใส่ชื่อของปฏิทิน

21. ใช้คาสั่ง เพื่อวางคาสั่งที่เรา Google

y

ปฎิทินของ

22. คลิกปที่ปุ่ม “บันทึก” เป็นอัน เสร็จพิธี เพียงเท่านี้เราก็จะได้ปฏิทินที่

ัติ เมื่อเราเข้าไปแก้ไขในปฏิทินของ Google

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


29 การเพิ่มเอกสารในเว็บบล็อก เราสามารถน าเอกสารต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น ของเรา ่านี้ให้อยู่ในรูปของไฟล์ แล้วจึงนาไปฝาก ไว้กับเว็บไซต์ที่ให้บริการแปลงไฟล์ PDF ให้ไปเป็น e-Book อีกทีหนึ่ง เว็บไซต์เหล่านี้ได้แก่ www.issuu.com , www.script.com โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้

1. พิมพ์

www.issuu.com

2. หากยังไม่มีบัญชีของ Issuu ให้คลิกที่ “Create Account” เพื่อทาการสร้างบัญชี รายชื่อของเรา

3. กรอกข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ให้เรียบร้อย 4. Profile Name : เป็นชื่อสาหรับเข้าใช้งาน หรืออาจใช้ E-mail เป็นชื่อสาหรับเข้าใช้งานก็ ได้ แต่ข้อมูลนี้จะไม่สามารถแก้ไขได้ (จึงควรจาไว้ให้ดี) 5. ติ๊กเครื่องหมายถูกที่ I

6. คลิกที่ปุ่ม “Agree and Continue” เพื่อยอมรับและดาเนินการต่อ โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


30 เมื่อสร้างบั ญชี ใน I สมัคร จะพบเมล ดังนี้

เมล ในอีเมลที่ใช้สมัคร เพื่ อยืนยันการ

7. คลิกที่ “Join Issuu” เพื่อยืนยันการสมัคร

8. คลิกที่ “Verify account” เพื่อยืนยันการ สมัคร เป็นอันเสร็จสิ้นการสมัครเข้าใช้งาน ใน ISSUU

**เพียงเท่านี้ เราก็สามารถเข้าใช้งานใน

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย

**


31 เริ่มทาการฝากไฟล์ไว้ในเว็บไซต์ ISUU กันดีกว่า เมื่อสร้างบัญชีรายชื่อของเราใน ISSUU เสร็จแล้ว ให้ I PDF จากเครื่องของเราขึ้นสู่เว็บไซต์ของ ISSUU โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้

เพื่อทาการ

1. เมื่อ Sign In เข้าไปในบัญชีของเรา แล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม “Upload” เพื่อหา ไฟล์ที่ต้องการฝาก จากเครื่องของเรา

2. คลิกปุ่ม “Browse” เพื่อหาไฟล์ที่เรา ต้องการ Upload (เอกสารไม่เกิน 500 หน้า และขนาดไฟล์ไม่เกิน 100 mb.) **เป็นอันเสร็จสิ้นการ

3. กรอกข้อมูลต่าง ๆ ในช่อง Title, Description (สามารถใช้ ภาษาไทยได้ แต่ในช่อง Keywords ต้องใส่ภาษาอังกฤษ 2 คาขึ้นไป ISSUU**

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย

4. คลิก Type เพื่อ เลือกรูปแบบของ บทความ 5. คลิก Upload


32 การนา C e จาก างไว้ในเว็บบล็อก เมื่อเรา Upload File เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปเป็นการ Copy Code เพื่อนาไปวางไว้ในเว็บ บล็อกของเรา โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้

1. คลิกเลือกที่ “Published” เพื่อดูงานของเราที่ได้

2. คลิกเลือกที่ชื่องานที่เราตั้ง ในที่นี้คือ “ประวัติ” เพื่อเข้าไป ปรับแต่งค่าต่าง ๆ ก่อนที่จะ Copy Code

3. คลิกที่ปุ่ม

“ Get embed code”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


33

5. เมื่อปรับค่าต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว ให้ทาการ Copy Code โดยการ คลิกที่ชอ่ ง “Embed Code” แล้ว กด Ctrl+

4. ปรับแต่งค่าต่าง ๆ เช่น Layout, Size, Color ตามชอบใจ โดยดูผลงานตรงช่อง Preview (อยู่บริเวณด้านล้างสุด)

6. กด Ctrl+C ที่ แป้นพิมพ์ เพื่อสั่ง Copy

ผลของการปรับแต่งค่าต่าง ๆ ด้านบน จะ ปรากฎในส่วน Preview นี้

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


34 เมื่ อ ท าการ Copy Code จากเว็บ ไซต์ ISSU “การออกแบบ”

7. คลิกเลือก “เพิ่ม Gadget”

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


35

8. คลิกเลือก “HTML/จาวาสคริปต์”

9. ตัง้ ชื่อ

10. กด Ctrl+V เพื่อวาง Code

11. คลิกปุ่ม “บันทึก” โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


36 ผลงานเว็บบล็อกที่ได้.... ขอให้ทุกท่านสนุกสนานกับการสร้างสรรค์เว็บบล็อกนะครับ

โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ & อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.