สุขศึกษา ม.1

Page 116

สารเสพติด ที่แบ่งตามลักษณะการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ประเภท ออกฤทธิ์กระตุ้น ประสาท ผู้เสพมักจะมีร่างกายซูบผอม ผู้ที่เสพจะประสาท อ่อนเพลีย มึนงง เซื่องซึม เบื่อ ตื่นตัว ไม่ง่วงนอน หน่ายต่อการงานและการเรียน กระวนกระวาย บางครั้งอาจจะมีอาการคลุ้มคลั่ง จิตใจสับสน ได้เช่น ฝิ่น เฮโรอีน มอร์ฟีน หวาดระแวง หรือ ยานอนหลับ ยากล่อมประสาท มีอาการทาง ยาระงับประสาท เครื่องดื่ม ประสาทเช่น ใบ มึนเมาและสารระเหยต่างๆ เช่น กระท่อม ยาบ้า ทินเนอร์ กาว น�้ำมันเบนซินฯลฯ (แอมเฟตามีน) โคเคน ประเภท ออกฤทธิ์กดประสาท

ประเภท ออกฤทธิ์หลอน ประสาท ผู้ที่เสพจะเกิด ประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพ แปลกๆ เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เห็ดขี้ควาย

ประเภท ออกฤทธิ์ ผสมผสาน ผู้ที่เสพจะมี อาการเคลิบเคลิ้ม ประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ความคิด สับสนและเป็น โรคจิตในที่สุด

3. ลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติด การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย - สุขภาพ ทรุดโทรมผอมซูบซีด - ริมฝีปากเขียวคล�้ำ แห้งแตก - ผิวหนังหยาบกร้าน เป็นแผลพุพอง - น�้ำมูกน�้ำตาไหล เหงื่อออกมาก - มักใส่แว่นกรองแสงสีเข้ม เพือ่ ต่อสูก้ บั แสงสว่าง เพราะม่านตาขยาย - มีร่องรอยการเสพยาโดยการฉีด นิ้วมือมีรอย คราบเหลืองสกปรก - มีรอยแผลเป็นทีท่ อ้ งแขนเป็นรอยกรีด ด้วยของ มีคม (ท�ำร้ายตนเอง) การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ ความประพฤติ และบุคลิกภาพ - ขาดการเรียน หนีโรงเรียน การเรียนด้อยลงสติปัญญาเสื่อม การงานบกพร่อง - ไม่สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ชอบแยกตัวเอง หลบซ่อนตัว ท�ำตัวลึกลับ - เป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตุผล พูดจาก้าวร้าว ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง สามารถท�ำร้ายบิดามารดาได้ - ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายไม่สุภาพเรียบร้อย สกปรก 109


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.