com

Page 1

คอมพิวเตอร์คืออะไร คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยใน การจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดย คุณสมบัติที่สาคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนดชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้ (programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคาสั่งที่เลือก มาใช้งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่น ความถี่ของหัวใจ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น ข้อดีของ คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธภาพ มีความถูกต้อง และมีความ รวดเร็ว อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นงานชนิดใดก็ตาม เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ 1. รับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น คีบอร์ด หรือ เมาส์ 2. ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการประมวลผลกับข้อมูล เพื่อ แปลงให้อยู่ในรูปอื่นตามที่ต้องการ 3. แสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายัง หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit) เช่น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ 4. เก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ ในหน่วยเก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต

แสดงขั้นตอนการทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์


คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่ มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทาง คอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนาคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการ สร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ส่งผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคนก็ได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมี คุณสมบัติต่าง ๆ คือ o

o

o

o

o

ความเร็ว (speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่ง วินาที ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืน อย่างไม่มีข้อผิดพลาด และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ความถูกต้องแม่นยา (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ ถูกต้องเสมอหากผลของการคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของ โปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่โปรแกรม เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูง มากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บ ข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (move information) โดย ใช้การติดต่อสื่อสารผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่ม ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลา เพียงไม่ถึงหนึ่งวินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันทั่วโลกในปัจจุบัน ว่า ทางด่วนสารสนเทศ (Information Superhighway)

ผู้ที่สนใจศึกษาทางด้านคอมพิวเตอร์ จะต้องศึกษาหลักการทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ รวมทั้งจะต้องศึกษาถึงผลกระทบจากคอมพิวเตอร์ต่อสังคมในวันนี้ ทั้งในแง่บวกและแง่ลบ โดยในแง่บวกนั้นจะมองเห็นได้ง่ายจากสภาพแวดล้อมทั่วไป นั่นคือทาให้ สามารถทางานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วขึ้น เริ่มตั้งแต่การจัดเก็บเอกสาร การพิมพ์จดหมาย


การจัดทาหนังสือพิมพ์และวารสารต่าง ๆ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การจ่างเงินซื้อสินค้า ตรวจ ความผิดปกติของทารกในครรภ์ และในทางการแพทย์อื่น ๆ อีกมากมาย ในแง่ลบก็มีไม่น้อย เช่น o

o

o

โรงงานผลิตอุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นต้องใช้สารเคมีเป็นจานวนมาก ซึ่งจะทาให้ เกิดมลพิษต่าง ๆ มากมาย ผู้ใช้อาจมีอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ เช่น อาจมีการปวดหลังไหล่ที่เกิดจากการนั่งอยู่หน้าเครื่องนาน ๆ หรืออาจเกิดอาการ Carpal Tunnel Syndrome (CTS) ซึ่งเป็นอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากเส้นประสาทบริเวณ ข้อมูลถูกกดทับเป็นเวลานาน ๆ โดยอาจเกิดจากการใช้คีย์บอร์ดหรือเมาส์ รวมทั้งอาจมี อันตรายจากรังสีออกมาจากจอคอมพิวเตอร์ด้วย ถ้าคอมพิวเตอร์ทางานผิดพลาดในระบบที่มีความสาคัญมาก ๆ อาจเป็นอันตรายกับชีวิต มนุษย์ได้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ เป็นต้น

ประเภทของคอมเครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการใช้งานกันมาก ทั้งที่ บ้าน ที่ทางาน ตลอดจนในสถานศึกษาต่างๆ ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก แต่มี ประสิทธิภาพในการทางานที่สูงกว่าเครื่องขนาดใหญ่ในสมัยก่อนเสียอีก อย่างไรก็ดีแม้วา่ ไมโครคอมพิวเตอร์จะทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็ยังมีข้อจากัดบางประการที่ทาไม่สามารถ ทางานที่ใหญ่ และมีความซับซ้อนได้ เช่น งานของระบบธนาคารหรืออุตสาหกรรมซึ้งมีปริมาณมาก และมีความซับซ้อนจะเป็นงานที่จาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่ทางานได้ดีกว่าเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Sofeware) บุคลากร (Peopleware) ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) และกระบวนการทางาน (Procedure)


คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์[2][3] เป็นเครื่องจักรแบบ สั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดาเนินการกับลาดับตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรม นี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจารูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อย หนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดาเนินการคานวณเกี่ยวกับตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดาเนินการทาง คณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลาดับของตัวดาเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็น หลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นาเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคานวณตัวดาเนินการ ออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดาเนินการกับคาสั่งต่างๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และ เก็บข้อมูลไว้ คาสั่งต่างๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคาสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบๆ เป็นฟังก์ชันที่ สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน[4] คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit) โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อย เท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือ ถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคาว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีก มากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินขับไล่ และของเล่นชนิดต่างๆ จนถึงหุ่นยนต์ อุตสาหกรรม


สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ — Presentation Transcript  

1. ความรู้ เบืองต้ นเกียวกับคอมพิวเตอร์ ้ ่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 1 2. คอมพิวเตอร์ คออะไร ื• อุปกรณ์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ ทีมนุษย์ ใช้ เป็ นเครื่องมือ ช่ วยในการจัดการ ่ กับข้ อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสั ญลักษณ์ อนๆ โดยทางานตาม ื่ คาสั่ งของมนุษย์ คอมพิวเตอร์ มีความสามารถดังนี้ – กาหนดชุ ดคาสั่ งล่วงหน้ าได้ (programmable) – สามารถทางานได้ หลากหลายรูปแบบ ขึนอยู่กบชุ ดคาสั่ งทีเ่ ลือกมาใช้ งาน ้ ั – สามารถนาไปประยุกต์ ใช้ งานได้ อย่ างกว้ างขวางเช่ น ฝาก-ถอนเงิน – สามารถทางานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ มีความถูกต้ อง และรวดเร็ว ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 2 3. คุณสมบัตของคอมพิวเตอร์ ิ • สามารถทางานได้ เร็วและให้ ผลลัพธ์ ทถูกต้ องแม่ นยา ี่ • สามารถทางานได้ ตลอดเวลา • เก็บข้ อมูลได้ เป็ นจานวนมาก • ย้ ายข้ อมู ลจากทีหนึง่ ไปยังอีกทีหนึง่ ได้ รวดเร็ว โดยใช้ การ ่ ่ ติดต่ อสื่ อสารผ่ านระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์หมายเหตุ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่ ทางานด้ วยระบบดิจตอล ิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 3 4. การทางานพืนฐานของคอมพิวเตอร์ ้• Input ทาการรับข้ อมูลจากหน่ วยรับข้ อมูล เช่ น คีย์บอร์ ด หรือเมาส์• Processing ทาการประมวลผลข้ อมูล เพือ แปลงให้ อยู่ในรู ปอืนตาม ่ ่ ต้ องการ• Output แสดงผลลัพธ์ จากการประมวลผล ออกมาทางหน่ วยแสดง ผลลัพธ์ เช่ น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ• Memory ทาหน้ าที่บันทึกโปรแกรมและข้ อมูลทีจ่ าเป็ นต่ อการทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ ได้ แก่ RAM ROM และ CMOS• Storage ทาการเก็บผลลัพธ์ จากการ ประมวลผลไว้ ในหน่ วยเก็บข้ อมูล เพือให้ สามารถนามาใช้ ใหม่ภาควิชาวิทก วเตอร์ ม.บูรพา ่ ได้ อี ยาการคอมพิ 4 5. การทางานของคอมพิวเตอร์• Single User การเข้ าใช้ งานของผู้ใช้ เพียง คนเดียว• MultiUser การเข้ าใช้ งานของผูใ้ ช้ จานวนหลายๆ คน• Single Task สามารถทางานได้ ครั้งละหนึ่งงาน• MultiTasking สามารถทางาน หลายงานพร้ อมกันได้• Multiprogramming สามารถทางานหลาย โปรแกรมพร้ อมๆกันได้• Multiprocessing เป็ นการใช้ หน่ วยประมวลผล จานวนหลายตัว เพือ ่ ทาให้ คอมพิวเตอร์ สามารถทางานหลายงานพร้ อมๆกันได้ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 5 6. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์• Supercomputer• Mainframe Computer• Minicomputer• Microcomputer ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 6 7. Supercomputer• มีขนาดใหญ่ ทสุด ทางานได้ รวดเร็วและมีประสิ ทธิ ภาพสู ง ี่ ราคาแพงทีสุด่• ผู้ใช้ สามารถนั่งทางานพร้ อมกันได้ พร้ อมกันหลายๆคน• มีการใช้ หลักการทีเ่ รียกว่ า Multiprocessing อันเป็ นการใช้ หน่ วย


ประมวลผลหลายตัว เพือให้ คอมพิวเตอร์ ทางานหลาย ่ งานพร้ อมๆกันได้• นิยมใช้ กบงานที่มีการคานวณที่ซบั ซ้ อน ในองค์ กรขนาดใหญ่ ั• ความเร็วในการทางาน หลายล้ านครั้งในหนึง่ วินาที ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 7 8. รู ปเครื่อง Super Computer ซึ่งมีประสิ ทธิภาพสู ง และขนาดใหญ่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 8 9. Mainframe• มีประสิ ทธิภาพรองลงมาจากซูเปอร์ คอมพิวเตอร์• นิยมใช้ ในงานทีมีการรับและแสดงผลข้ อมูลจานวนมากๆ ่• ความเร็วในการทางาน หนึ่งล้ านครั้งในหนึง่ วินาที• รองรับผู้ใช้ ได้ หลายร้ อยคนพร้ อมๆกัน• สามารถทางาน หลายโปรแกรมพร้ อมๆกัน• พบในองค์ กรขนาดใหญ่ เช่ น ธนาคาร, ธุรกิจการบิน, มหาวิทยาลัยต่ างๆ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 9 10. เครื่อง Mainframe Computer ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม. บูรพา 10 11. Minicomputer• เป็ นคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง ทีใ่ ช้หลักการของ Multiprogramming เหมือนกับเครื่ องเมนเฟรม• สามารถรองรับผูใช้ได้ ประมาณสองร้อยคนพร้อมๆกัน ้• ทางานได้ชากว่าและควบคุมผูใช้งานต่างๆได้นอยก ว่า ้ ้ ้ และสื่ อที่เก็บข้อมูลมีความจุนอยกว่าเครื่ องเมนเฟรม ้• นิยมใช้ในบริ ษทหรื อองค์กรขนาดกลาง ั ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 11 12. Microcomputer• เป็ นคอมพิวเตอร์ต้ งโต๊ะ ไมโครคอมพิวเตอร์ทนี่ ิยม ใช้ ั มีสองชนิดคือ – เครื่ องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรื อ PC) – เครื่ องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Portable Computer) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 12 13. ชนิดของเครื่อง PC• Desktop Tower• Notebook Computer หรือ Laptop Computer• Palmtop Computer• Personal Digital Assistant (PDA) ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 13 14. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์• Hardware• Software• Peopleware• Data/Information• Procedure• Data Communication (เป็ นองค์ประกอบทีเ่ พิมขึนมาภายหลัง) ่ ้ ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 14 15. Hardware• คือลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ รอบข้ าง ซึ่งประกอบด้ วยส่ วนที่ สาคัญคือ • หน่ วยรับข้ อมูล • หน่ วยประมวลผลกลาง • หน่ วยความจาหลัก • หน่ วยเก็บข้ อมูลสา รอง • หน่ วยแสดงผล ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 15 16. หน่ วยรับข้ อมูล (Input Unit)• แปนพิมพ์ (Keyboard) ้ • เครื่องอ่ านอักขระด้ วยแสง• เมาส์ (Mouse) (Optical Character


Reader)• สแกนเนอร์ (Scanner) • เครื่องอ่ านพิกด (Digitizer) ั• เครื่องอ่ านรหัสแท่ ง • กล้ องถ่ ายรู ป Digital (Bar Code Reader) (Digital Camera)• กล้ องถ่ ายวีดทศน์ ิ ั • เครื่องอ่ านบัตร ATM (VDO Camera) (ATM card reader) ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 16 17. หน่ วยประมวลผลกลาง• คือส่ วนสมองของคอมพิวเตอร์ ที่ประมวลผลและทา งาน ต่ างๆ ตามทีเ่ ราสั่ ง เปรียบได้ กบเป็ นสมองของมนุษย์ ั• หน่ วยประมวลผล กลาง ก็คอ CPU (Central Processing ื Unit) หรือ Processors• CPU ประกอบด้ วย 1. หน่ วยควบคุม (Control Unit : CU) 2. หน่ วยคานวณ/ตรรกะ (Arithmetic Logic Unit : ALU)• ปัจจุบนั มีผ้่ย่อหน่ วยนีลงบนแผ่ นวงจรเล็กๆ (Chips) และ ้ เรียก ว่ าไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessors) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 17 18. หน้ าทีห่ ลักของ CPU• ทาการประมวลผลข้ อมูลจาก RAM ในลักษณะ ของการ คานวณ การเปรียบเทียบ การเคลือนย้ ายข้ อมูล ผ่ านชุดคาสั่ ง ่ ที่ได้ มีการ ออกแบบไว้ ก่อนแล้ ว• โดยข้ อมูลทีจะส่ งเข้ ามาทางานในซีพยู เพือส่ งผลลัพธ์ ่ ี ่ ออกไปยัง RAM จะมี 2 ลักษณะ คือ • คาสั่ ง ว่ าจะให้ ดาเนินการอะไร • ข้ อมูล ทีจะนามาดาเนินการ ่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 18 19. หน่ วยวัดความเร็วของ CPU• ถ้ า CPU ทางานได้ เร็วเท่ าไร ก็จะทาให้ การทางานของ คอมพิวเตอร์ เครือ่ งนั้นมีความเร็วสู งด้ วยเช่ นกัน• โดยการทางาน ของChip Microprocessors นี้ จะทางานตาม จังหวะเวลาที่แน่ นอน เมื่อ มีการเคาะจังหวะ 1 ครั้ง ก็จะเกิด กิจกรรมใน CPU 1 ครั้ง เราเรียกหน่ วยทีใช้ ใน การวัด ่ ความเร็วของซีพยูว่า "เฮิร์ท" (Hertz) หมายถึงการทางาน ี ได้ กครั้ง ใน 1 วินาที ี่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 19 20. หน่ วยวัดความเร็วของ CPU (2)• CPU ในปัจจุบันมีความเร็วสู งมาก ตั้งแต่ ประมาณ 500- 1000ล้ านครั้งต่ อวินาที เราจะเรียก CPU นั้นว่ าเป็ น CPU ทีมีความเร็ว เท่ ากับ 500-1000 MHz ่• เช่ น Intel Pentium III 650 MHz จะหมายถึง CPU ของ บริษท Intel รุ่น Pentium Three ทีมีความเร็วในการทางาน ั ่ 650 ล้ านครั้งต่ อวินาที เป็ นต้ น ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 20 21. รู ปตัวอย่ าง Microprocessor / CPU ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 21 22. หน่ วยความจาหลัก (Memory)• ใช้ เก็บข้ อมูล และคาสั่ ง(โปรแกรม) และผลลัพธ์ มี 3 ชนิด – ROM (Read Only Memory) ใช้ บันทึก คาสั่ งไว้ อย่ างถาวร อ่าน ได้ อย่ างเดียวไม่ สามารถแก้ไขได้ – RAM


 

(Random Access Memory) ใช้ บันทึกข้ อมูล และคาสั่ ง ขณะทีเ่ รา ทางาน สามารถ อ่านหรือเขียนข้ อมูลได้ แต่ ข้อมูล เหล่านีจะหายไป เมื่อมีการรับข้ อมูลใหม่ หรือปิ ดเครื่อง ้ – Cache เป็ นหน่ วยความจาทีใช้ บันทึกเก็บข้ อมูล ชั่วคราวก่อนส่ ง ่ ให้ คอมพิวเตอร์ ใช้ และช่ วยให้ คอมพิวเตอร์ ทางานได้ เร็ว ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 22 23. หน่ วยความจารอง• ใช้ บันทึกข้ อมูลและคาสั่ งไว้ บนสื่ ออย่ างถาวร• สื่ อสาคัญคือ – เทปแม่ เหล็ก – จานแม่ เหล็ก – จาน CD-ROM – Hard Disk – Floppy Disk (8”,5.25”, 3.5”) ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 23 24. หน่ วยแสดงผล (Output Unit)• จอภาพ (Monitor, Screen,VDU,CRT, LCD)• เครื่องพิมพ์ (Dot Matrix=แบบหัว เข็ม, Laser=เหมือนเครื่องถ่ ายเอกสาร, Ink Jet=แบบพ่นหมึก)• เครื่องวาด (Plotters)• ลาโพง (Speakers) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 24 25. How to Output ? • โดยอาศัยอุปกรณ์ แสดงผล (Output Devices) PrinterMonitor Disk Drive WORM Drive Plotter ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 25 26. รู ปตัวอย่ าง Hard Disk ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 26 27. หน่ วยวัดข้ อมูล• บิต (Bit) คือหน่ วยทีเ่ ล็กทีสุด ทีอาจเป็ นเลข 0 หรือ 1 ่ ่ Bit ย่ อจาก Binary Digit• ไบต์ (Byte) คือกลุ่มของบิต จานวน 8 บิต ใช้ เข้ ารหัส แทน อักษร หรือตัวเลข 1 ตัวและนิยมใช้ เป็ นหน่ วย วัดความจุข้อมูล ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 27 28. หน่ วยวัดข้ อมูล (2)1 KB (Kilobyte) = 1024 ไบต์1 MB (Magabyte) = 1024 KB = 1024x1024 ไบต์1 GB (Gigabyte) = 1024 MB = 1024x1024 KB1 TB (Terabyte) = 1024 GB = ประมาณ ล้ านล้ าน ไบต์ ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 28 29. Software• หมายถึงชุดคาสั่ งหรือโปรแกรมทีสั่งให้ ฮาร์ ดแวร์ ทางานต่ างๆ ่ ตามต้ องการ โดยชุดคาสั่ งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่ง• ซอฟต์ แวร์ แบ่ งเป็ น 2 ประเภทคือ – ซอฟต์ แวร์ ระบบ (System Software) – ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software) ได้ แก่ ซอฟต์ แวร์ สาเร็จรูป (Package) ซอฟต์ แวร์ ที่สร้ างขึนเฉพาะงาน และ ้ ซอฟต์ แวร์ สาหรับสร้ างงานประยุกต์ ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 29


30. System Software• เป็ นตัวกลางสาคัญที่ผใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์จะ สามารถ ู้ ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยจะ ทาหน้าที่ควบคุม คอมพิวเตอร์ และเป็ นตัวกลางการ ั ทางานระหว่างโปรแกรมประยุกต์กบคอมพิวเตอร์ – ซอฟต์ แวร์ ระบบ ได้ แก่ ระบบปฏิบัติการ, โปรแกรม ภาษาต่ างๆ และ โปรแกรม อรรถประโยชน์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 30 31. ระบบปฏิบัตการ (Operating Systems หรือ OS) ิ• ทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางเชื่อมระหว่ างซอฟต์ แวร์ กบฮาร์ ดแวร์ ั เป็ นเสมือนเลขาทีทาหน้ าทีใ่ ห้ กบ เจ้ านาย ่ ั• OS อยู่เบืองหลังการทางานของโปรแกรมระบบงานต่ างๆ ให้ ้ ติดต่ อกับฮาร์ ดแวร์ และผู้ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ อย่ างมี ประสิ ทธิภาพ• OS มีหน้ าที ควบคุมและดูแลตรวจตราทุกๆ การทางานของ ่ ฮาร์ ดแวร์ ในระบบคอมพิวเตอร์ นับตั้งแต่ เปิ ดเครื่อง คอมพิวเตอร์ จนกระทัง่ ปิ ดเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 31 32. หน้ าทีข่ องระบบปฏิบัตการ ิ• กาหนดลาดับการทางานแต่ ละงาน ก่ อนและ หลังตามเงือนไขที่ ่ วางไว้• ควบคุมการทางาน แบบ Multi-programming• ควบคุมการรับข้ อมูล และแสดงผลลัพธ์ โดยผ่ านอุปกรณ์ ต่างๆ• ควบคุมการโยกย้ ายข้ อมูลระหว่ างจอแสดงผล (CRT) และ เครื่องคอมพิวเตอร์ และระหว่ างเครื่อง คอมพิวเตอร์ กบเครื่อง ั คอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 32 33. หน้ าทีข่ องระบบปฏิบัตการ (2) ิ• จัดสรรทีสาหรับเก็บบันทึกข้ อมูลของหน่ วยความจาหลัก ่ ควบคุมระบบการจัดการเกียวกับฐานข้ อมูล (Data base) ่ จัดสรรเวลาในหน่ วย CPU• ทาหน้ าทีเ่ ป็ นซอฟต์ แวร์ ทีควบคุมซอฟต์ แวร์ อนๆ ่ ื่• ตัวอย่ างของ OS เช่ น DOS, OS2, Windows, UNIX ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 33 34. ตัวอย่ างของ OS1. DOS2. Microsoft Windows เป็ นระบบ ปฏิบตั ิการทีแตกต่ างจาก DOS โดย ่ ที่สามารถจัดการกับโปรแกรมหรือระบบงาน ต่ างๆ ได้ พร้ อมๆ กัน หลายๆ งาน สามารถโอนข้ อมูล รูปภาพหรือไฟล์ต่างๆ ข้ าม ระบบงานภายใต้ ไมโครซอฟท์วนโดว์ ร่วมกันได้ ิ การติดต่ อระหว่ างเครื่อง คอมพิวเตอร์ กบผูใ้ ช้ โดยใช้ สัญลักษณ์ ทาง ั รูปภาพ (Icon) โดยการใช้ เมาส์ ซึ่ง เรียกการติดต่ อในลักษณะนี้ ว่ า Graphic User Interface (GUI) ซึ่ง เป็ นการลดขัน้ ตอนการสั่ งงาน ผ่ านทางแป้ นพิมพ์ได้ เป็ นอันมาก ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 34 35. ตัวอย่ างของ OS (2)3. Unix4. Sun5. Net Ware6. Linux7. Symbiean8. Mac OS9. OS/210. Ubantu ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 35 36. โปรแกรมภาษา (Language Software)• เป็ นซอฟต์แวร์ที่เขียน เพื่อใช้ในการแปลความหมาย ของคาสังในภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ่ ทา


งานตามที่ตองการ ้• ตัวอย่าง เช่น Assembly, Pascal, BASIC, COBOL, FORTRAN, PL/1, ADA, C เป็ นต้น ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 36 37. ตัวอย่ างของภาษาคอมพิวเตอร์• FORTRAN ภาษาเก่าแก่ทสุดเหมาะสา หรับงานวิทยาศาสตร์ /วิศวกรรม ี่• COBOL เหมาะสาหรับงานธุรกิจ• RPG เหมาะสาหรับงานธุรกิจใช้ มากในไทย• BASIC เหมาะสาหรับงานทัวไปทาง ธุรกิจ/วิทยาศาสตร์ นิยมใช้ กบ ่ ั เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์• PASCAL เป็ นภาษาที่มโี ครงสร้ างดี เหมาะสาหรับใช้ สอน• ภาษา C ภาษาทีกาลังได้ รับความ นิยมสามารถสั่ งการให้ ควบคุม ่ ฮาร์ ดแวร์ ได้ ง่าย ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม. บูรพา 37 38. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Software)• เป็ นซอฟต์ แวร์ ทาหน้ าที่ช่วยเสริมให้ การใช้ คอมพิวเตอร์ สะดวกขึน โดยเฉพาะในการจัดการกับตัวเครื่อง ้ หน่ วยความจา จานแม่ เหล็ก แฟมข้ อมูล โดยหน้ าทีเ่ สริม ้ ได้ แก่ – การกู้แฟมข้ อมูลทั้งหมด หรือบางส่ วน ้ – การรักษาความปลอดภัยของข้ อมูล – การจัดการข้ อมูลของดิสก์ และ การบารุงรักษาฮาร์ ดดิสก์ – การสร้ างแฟมย่ อย และการจัดการ บัญชีชื่อแฟมย่ อย ้ ้• ตัวอย่ าง ได้ แก่ Norton Utility และ PC-Tools ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 38 39. โปรแกรมประยุกต์ (Application Software)• โปรแกรมทีผ้่ใช้ จด ทาขึนเพืองานโดยเฉพาะ หรืองานทีผใ้่ ช้ ่ ั ้ ่ ่ ต้ องการ• โดยผู้ใช้ จะใช้ โปรแกรมภาษา เขียนหรือพัฒนาขึน และให้ ้ โปรแกรมควบคุมเครื่องนาไปประมวลผล เพือให้ เครื่อง ่ ปฏิบตั ตาม โดยผู้ใช้ สามารถใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ต่างๆ ใน ิ การทาโปรแกรม• ตัวอย่ าง เช่ น Microsoft Access, Word, Excel, Photo Shop, Powerpoint, DreamWeaver, ระบบเงินเดือน, ระบบบัญชี ฯลฯ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 39 40. Peopleware• ได้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการทางานด้านคอมพิวเตอร์• เช่ น - ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ (users) – ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ – โปรแกรมเมอร์ – นักวิเคราะห์ และออกแบบระบบ – เจ้ าหน้ าทีควบคุมการทางาน ระบบคอมพิวเตอร์ ่ – เจ้ าหน้ าทีบนทึกข้ อมูล ฯลฯ ่ ั ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 40 41. Data/Information• คือทรัพยากรที่สาคัญของหน่ วยงานมีหลาย ลักษณะ – ข้ อมูลตัวเลข นาไปคานวณได้ – ข้ อมูลข้ อความ เช่ น ชื่อ, ทีอยู่-ข้ อมูล รูปภาพ เช่ น ภาพบุคลากร ่ – ข้ อมูลภาพลักษณ์ เช่ น ข้ อมูลภาพลักษณ์ เอกสารทีสะ แกนเก็บ ่ ไว้ ใช้ แสดงข้ อมูล• ข้ อมูล หรือ Data หมายถึง ข้ อมูลทีได้ จากการ สารวจจริง ่• สารสนเทศ หรือ Information หมายถึง สิ่ งทีได้ จากการนาข้


อมูลไป ่ ผ่ านกระบวนการหนึ่งก่อน• ข้ อมูลทีดี = ถูกต้ อง + เป็ นปัจจุบัน + มีความ สมบูรณ์ ่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 41 42. Procedures• กระบวนการทางาน หรื อ Procedures หมายถึง ขั้นตอนที่ ผูใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะบางอย่างจาก ้ คอมพิวเตอร์• การปฏิบติงานด้านคอมพิวเตอร์ในส่ วนต่างๆ มักมี ั ขั้นตอนสลับซับซ้อน ดังนั้นจึงจา เป็ นต้องมีค่มือการ ปฏิบติงานทีช่ ดเจนด้วย ั ั ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา 42 43. Data Communication• การสื่ อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ การแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทาง ่ ้ อิเล็กทอร นิกส์ ซึ่ งเชื่อมต่อกันอยูดวยสื่ อกลางชนิดใดชนิด หนึ่ง• ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คือระบบการเชื่อมโยง ระหว่างคอมพิวเตอร์ต้ งแต่สองตัวขึน้ ไป เพื่อให้สามารถ ั ทา การสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างกันได้นนเอง ั่ ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ม.บูรพา


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.