Hr_

Page 1

วิชา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ วิทยากร : อาจารย์ชุณหจิต สังข์ใหม่

จํานวนชัว่ โมงการเรียน เทียบเวลาเท่ากับการฝึ กอบรมในห้องเรียน ๓ ชัว่ โมง

1


วัตถุประสงค์

2


วัตถุประสงค์

ผลลัพธ์การเรียนรู ้ (ต่อบุคคล) ๑. เตรียมความพร้อมสําหรับที่จะปฏิบตั ิงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้ อจัดจ้าง และ การบริหารพัสดุได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. สามารถปฏิบตั ิงานด้านการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ ได้อย่างถูกต้องตาม กฎ ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีกาํ หนด ๓. สามารถนําความรูด้ า้ นการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ พัฒนาไปสู่นักพัสดุมืออาชีพ ผลลัพธ์การเรียนรู ้ (ต่อสถาบัน) ๑. หน่ วยงานได้พสั ดุที่มีคุณภาพ และตรงกับความต้องการใช้งาน ๒. หน่ วยงานสามารถใช้จา่ ยเงินงบประมาณได้อย่างคุม้ ค่า 3


แบบประเมินก่อนการศึกษา วัตถุประสงค์ :: เพื่อวัดความเข้าใจก่อนเข้าศึกษาบทเรียน

4


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

๑. “พัสดุ” หมายความว่า ก. วัสดุ ข. ครุภณ ั ฑ์ ค. ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ง. ถูกทุกข้อ

5


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

๒. หลักการสําคัญของการจัดซื้ อจัดจ้าง ก. โปร่งใส ข. ตรวจสอบได้ ค. มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม ง. ถูกทุกข้อ

6


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓. การจัดซื้ อจัดจ้างโดยให้มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมหมายความว่า ก. ให้ระบุชดั เจนว่าต้องการซื้ อของยีห่ อ้ อะไร ข. ให้ระบุชดั เจนว่าต้องการซื้ อของจากบริษัท ข. ค. กําหนดคุณสมบัติไม่เข้ากับรายใดรายหนึ่ งหรือ กําหนดคุณลักษณะเฉพาะไม่ให้เข้ากับยี่ หอ้ ใดยี่ หอ้ หนึ่ ง ง. กําหนดคุณลักษณะให้เข้าเสนอราคาได้นอ้ ยราย

7


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔. ข้อใดต้องดําเนิ นการเป็ นลําดับแรก ก. การกําหนดความต้องการ และการของบประมาณ ข. การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของของที่จะจัดซื้ อ ค. การดําเนิ นการจัดซื้ อ ง. การตรวจรับของ

8


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕. ข้อใดดําเนิ นการเป็ นลําดับสุดท้ายของการบริหารพัสดุ ก. การลงทะเบียนครุภณ ั ฑ์ ข. การบริหารสัญญา ค. การจําหน่ ายพัสดุออกจากบัญชี ง. การบํารุงรักษา

9


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖. ข้อใดที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ก. ส่วนราชการดําเนิ นการเบิกจ่ายเงินให้กบั ผูข้ าย ข. ส่วนราชการริบหลักประกันซองแล้วนําส่งเป็ นรายได้แผ่นดิน ค. ส่วนราชการจัดซื้อเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ จํานวน ๕ เครื่ อง โดยใช้จา่ ยจากงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ง. ส่วนราชการนําข้อมูลหลักผูข้ ายลงทะเบียนในระบบ GFMIS 10


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๗. หากส่วนราชการต้องการจัดหารถยนต์เพือ่ มาใช้ใน ราชการสามารถดําเนิ นการได้โดยวิธีใด ก. ซื้ อ ข. เช่าซื้ อ ค. เช่า ง. ข้อ ก และ ค

11


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๘. ส่วนราชการได้รบั งบประมาณเพื่อจ้างผูม้ ีประสบการณ์ และมีความรูค้ วามสามารถมาจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการในอนาคต ๕ ปี ข้างหน้า ส่วนราชการ จะต้องดําเนิ นการจัดหาด้วยวิธีใด ก. การจ้างเหมา ข. การจ้างทําของ ค. การจ้างที่ ปรึกษา ง. การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน 12


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๙. ขั้นตอนการจัดหาพัสดุใดต้องดําเนิ นการเป็ นขั้นตอนแรก เสมอ ก. การทําสัญญา ข. การรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ ค. การตรวจรับ ง. การประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง

13


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๐. จงเรียงลําดับการดําเนิ นการจัดหาพัสดุ ๑) การทําสัญญา ๒) การรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ ๓) การตรวจรับ ๔) การประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง ก. ๑) ๒) ๓) ๔) ข. ๑) ๓) ๒) ๔) ค. ๔) ๒) ๑) ๓) ง. ๒) ๔) ๑) ๓) 14


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๑. เมื่อส่วนราชการดําเนิ นการจัดหาพัสดุจนได้ตวั ผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างแล้ว ส่วน ราชการจะต้องเสนอผูม้ ีอาํ นาจอนุ มตั ิการจัดซื้ อจัดจ้างครั้งนั้น ผูม้ ีอาํ นาจ อนุ มตั ิได้แก่ ก. ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง ข. หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด ค. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ง. ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ รองหัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ 15


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๒. ผูล้ งนามในสัญญาจัดซื้ อจัดจ้างคือ ก. เจ้าหน้าที่พสั ดุ ข. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ค. ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ ง. หัวหน้าส่วนราชการ

16


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๓. ส่วนราชการทําสัญญาจ้างเหมาทําความสะอาด คณะกรรมการที่มีหน้าที่ตรวจว่าผูร้ บั จ้างดําเนิ นการ ตามสัญญาหรือไม่ คณะกรรมการชุดนั้นเรียกว่า ก. คณะกรรมการตรวจการจ้าง ข. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ค. คณะกรรมการตรวจความถูกต้องของสัญญา ง. คณะกรรมการตรวจรับสัญญา 17


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๔. ผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกันมีได้ในด้านใดบ้าง ก. ด้านการบริหาร ข. ด้านทุนหรือความเป็ นเจ้าของกิจการ ค. ด้านการบริหาร และด้านทุนประกอบกัน ง. ถูกทุกข้อ

18


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๕. บริษัท ก และบริษัท ข ยืน่ ข้อเสนอต่อส่วนราชการเดียวกัน และเป็ นการจัดซื้ อ ครั้งเดียวกัน ปรากฏว่า นาย ก ถือหุน้ ในบริษัท ก ร้อยละ ๓๐ และนาย ก เป็ น ผูจ้ ดั การของบริษัท ข ข้อเท็จจริงดังกล่าวอยูใ่ นเกณฑ์การพิจารณาข้อใดที่ถือว่า ถูกต้อง ก. บริษัท ก และบริษัท ข ถือว่ามีผลประโยชน์รว่ มกันจะต้องตัดตกทัง้ คู่ ข. บริษัท ก และบริษัท ข ถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันจะต้องตัดบริษัท ก ตก ค. บริษัท ก และบริษัท ข ถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันจะต้องตัดบริษัท ข ตก ง. บริษัท ก และบริษัท ข ไม่ถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันผ่านการพิจารณาทั้งคู่ 19


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๖. วิธีซื้อ และวิธีจา้ งตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมมีกี่วธิ ี ก. ๓ วิธี ข. ๔ วิธี ค. ๕ วิธี ง. ๖ วิธี

20


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๗. ส่วนราชการจ้างซื้ อเครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์วงเงิน ๑๗๐,๐๐๐ บาท ดําเนิ นการโดยวิธีใด ก. ตกลงราคา ข. สอบราคา ค. ประกวดราคา ง. คัดเลือก

21


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๘. ส่วนราชการจะจ้างผูร้ กั ษาความปลอดภัยจากองค์การ ทหารผ่านศึก ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติให้สิทธิพเิ ศษแก่ องค์การทหารผ่านศึกในเรื่องดังกล่าว ส่วนราชการจะ ดําเนิ นการจ้างด้วยวิธีใด ก. สอบราคา ข. ประกวดราคา ค. วิธีพิเศษ ง. วิธีกรณีพิเศษ 22


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๙. ข้อใดมิใช่ข้นั ตอนการดําเนิ นการจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา ก. จัดทํารายงานขอซื้ อขอจ้างเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ ข. จัดทําประกาศจัดซื้อจัดจ้าง ค. ทําสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือ ง. ตรวจรับพัสดุ

23


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๐. ข้อใดมิใช่เงื่อนไขในการจัดซื้ อโดยวิธีพิเศษ ก. เหตุเร่งด่วนเนื่ องจากเกิดอุทกภัย ข. เป็ นเหตุผลในเชิงเทคนิ คจึงมีความจําเป็ นต้องระบุยหี่ อ้ เป็ นการเฉพาะ ค. เหตุเร่งด่วนมิฉะนั้นงบประมาณของส่วนราชการจะถูกพับไป ง. จําเป็ นต้องซื้ อโดยตรงจากต่างประเทศ

24


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๑. คณะกรรมการชุดใดมติที่ประชุมต้องเอกฉันท์ ก. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ข. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ค. คณะกรรมการตรวจการจ้าง ง. ถูกทัง้ ข้อ ข และ ค

25


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๒. การจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีใดคณะกรรมการรับ และเปิ ด ซองมีหน้าที่ในการพิจารณาผลการจัดซื้ อจัดจ้างด้วย ก. สอบราคา ข. ประกวดราคา ค. วิธีพิเศษ ง. วิธีกรณีพิเศษ

26


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๓. การจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีใดคณะกรรมการรับ และเปิ ด ซองแยกต่างหากจากคณะกรรมการพิจารณาผลการ จัดซื้ อจัดจ้าง ก. สอบราคา ข. ประกวดราคา ค. วิธีพิเศษ ง. วิธีกรณีพิเศษ 27


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๔. หลักของการพิจาณาผลการจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคา และวิธี ประกวดราคาคือ ก. ผูเ้ สนอราคารายใดเสนอของที่ดีที่สุดจะได้รบั การคัดเลือก ข. ผูเ้ สนอราคารายใดที่เสนอของจํานวนมากที่สุดจะได้รบั การคัดเลือก ค. ผูเ้ สนอราคารายใดที่ เสนอถูกต้องตรงตามเอกสารสอบราคาหรือ เอกสารประกวดราคาทุกประการ และเป็ นผูท้ ี่ เสนอราคาตํา่ สุด ง. ผูเ้ สนอราคาที่เสนอราคาตํา่ สุด

28


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๕. ในการซื้ อหรือจ้างครั้งเดียวกัน ได้กาํ หนดข้อห้ามการแต่งตั้งกรรมการไว้อย่างไร ก. ห้ามแต่งตั้งผูท้ ี่เป็ นกรรมการเปิ ดซองสอบราคาเป็ นกรรมการพิจารณาผล ข. ห้ามแต่งตั้งผูท้ ี่เป็ นกรรมการเปิ ดซองประกวดราคาเป็ นกรรมการพิจารณาผล ค. ห้ามแต่งตัง้ ผูท้ ี่ เป็ นกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเป็ นกรรมการ ตรวจรับพัสดุ ง. ถูกทุกข้อ 29


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๖. ส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งผูค้ วบคุมงานสําหรับการ จัดซื้ อจัดจ้างในงานอะไร ก. จัดซื้ อระบบคอมพิวเตอร์พร้อมติดตั้งระบบงาน ข. จ้างเหมาบริการทําความสะอาด ค. จ้างที่ปรึกษา ง. จ้างก่อสร้าง

30


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๗. การจ้างก่อสร้างอาคารสํานักงานโดยวิธีประกวดราคา ในราคา ๖๑ ล้านบาท ผูม้ ีอาํ นาจอนุ มตั ิคือ ก. หัวหน้าส่วนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด ง. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ

31


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๘. การซื้ อหมึกพิมพ์คอมพิวเตอร์โดยวิธีพิเศษในราคา ๑.๕ ล้านบาท ผูม้ ีอาํ นาจอนุ มตั ิคือ ก. หัวหน้าส่วนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด ง. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ

32


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๙. คณะกรรมการทุกคณะควรแต่งตั้งผูช้ าํ นาญการหรือ ผูท้ รงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุหรืองานจ้างนั้นๆ เข้าร่วม เป็ นกรรมการด้วย ยกเว้น ก. คณะกรรมการเปิ ดซองประกวดราคา ข. คณะกรรมการจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ค. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ง. คณะกรรมการตรวจการจ้าง 33


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๐. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ก. ตรวจรับพัสดุให้เป็ นไปตามที่กาํ หนดในสัญญาทุกประการ ข. เมื่อตรวจถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้รบั พัสดุไว้ และมอบให้ เจ้าหน้าที่พสั ดุต่อไป ค. แก้ไขข้อกําหนดในสัญญา ง. ถูกทุกข้อ

34


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๑. การจ้างที่ปรึกษามีกี่วธิ ี ก. ๒ วิธี ข. ๓ วิธี ค. ๔ วิธี ง. ๕ วิธี

35


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๒. ส่วนราชการใดมีหน้าที่รบั จดทะเบียนที่ปรึกษา ก. สํานักบริหารหนี้ สาธารณะ กระทรวงการคลัง ข. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ค. สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ง. ธนาคารแห่งประเทศไทย

36


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๓. การจ้างทัว่ ไปต่างกับการจ้างที่ปรึกษาอย่างไร ก. การจ้างทัว่ ไปมีวงเงินสูงกว่าการจ้างที่ปรึกษา ข. การจ้างทัว่ ไปเป็ นการจ้างทําของแต่การจ้างที่ ปรึกษาเป็ นการจ้างเกี่ ยวกับแนวคิด ค. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข ง. ผิดทั้ง ข้อ ก และ ข

37


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๔. ข้อใดมิใช่การดําเนิ นการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคดั เลือก ก. เปิ ดซองข้อเสนอด้านเทคนิ ค และราคาพร้อมกัน และเลือกผูเ้ สนอ ราคาตํา่ สุด ข. แยกข้อเสนอเป็ น ๒ ซอง คือ ซองข้อเสนอด้านเทคนิ ค และซอง ข้อเสนอด้านราคา ค. พิจารณาซองข้อเสนอด้านเทคนิ คก่อน ง. ผิดทุกข้อ 38


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๕. ข้อใดใช้สาํ หรับการจ้างที่ปรึกษาที่ลกั ษณะงานมีความยุง่ ยากซับซ้อน ก. เลือกผูเ้ สนอราคาตํา่ สุด ข. เลือกข้อเสนอด้านเทคนิ คที่ ดีที่สุด ค. เลือกผูม้ ีประสบการณ์สงู สุด ง. เลือกผูเ้ สนอที่ปรึกษาที่มีจาํ นวนสูงสุด

39


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๖. ผูม้ ีอาํ นาจลงนามในสัญญาจัดซื้ อจัดจ้างคือ ก. หัวหน้าส่วนราชการ ข. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ค. ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ ง. เจ้าหน้าที่พสั ดุ

40


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๗. ข้อใดที่ตอ้ งทําเป็ นสัญญาไม่สามารถทําเป็ นข้อตกลงเป็ นหนังสือได้ ก. การซื้ อการจ้างโดยวิธีตกที่มีวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ข. การจัดหาที่คสู่ ญ ั ญาสามารถส่งมอบพัสดุได้ครบถ้วนภายใน ๕ วันทําการ ค. การจ้างโดยวิธีประกวดราคา ง. การซื้ อการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ และการจัดหาจากส่วนราชการ

41


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๘. การแก้ไขสัญญาจะดําเนิ นการได้ต่อเมื่อ ก. แก้ไขเพื่อให้ผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้างปฏิบตั ิตามสัญญาได้ ข. แก้ไขเพื่ อให้เป็ นประโยชน์แก่ทางราชการ ค. แก้ไขเพื่อให้คณะกรรมการตรวจรับสามารถรับของได้ ง. แก้ไขเพื่อให้คสู่ ญ ั ญาไม่ตอ้ งถูกปรับ

42


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๙. การบอกเลิกสัญญาในกรณีที่ผรู้ บั จ้างไม่สามารถ ทํางานได้ตามระยะเวลาของสัญญา และค่าปรับเกินกว่า ร้อยละเท่าใดส่วนราชการจึงบอกเลิกสัญญาได้ ก. ร้อยละ ๕ ข. ร้อยละ ๑๐ ค. ร้อยละ ๑๕ ง. ร้อยละ ๒๐ 43


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๐. การงด ลดค่าปรับหรือการขยายระยะเวลาของสัญญาดําเนิ นการได้ เฉพาะเหตุที่เกิดจาก ก. เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของส่วนราชการ ข. เหตุสุดวิสยั ค. เหตุเกิดจากพฤติการณ์ที่คสู่ ญ ั ญาไม่ตอ้ งรับผิดตามกฎหมาย ง. ถูกทุกข้อ

44


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๑. เมื่อส่วนราชการจัดซื้ อกระดาษ และตรวจรับถูกต้องแล้วจะต้อง ดําเนิ นการต่อไปอย่างไร ก. เก็บรักษาไว้อย่างปลอดภัย ข. ลงบัญชีรบั วัสดุเท่ากับจํานวนที่ซื้อ ค. ส่งต่อให้ผเู ้ บิก ง. ถูกทัง้ ข้อ ก และ ข

45


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๒. การตรวจสอบพัสดุตอ้ งดําเนิ นการเป็ นประจําอย่างไร ก. ทุก ๖ เดือน ข. ทุกปี ค. ทุก ๒ ปี ง. ทุก ๓ ปี

46


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๓. เมื่อพัสดุใดหมดความจําเป็ นที่จะใช้ในราชการจะต้องดําเนิ นการอย่างไร ก. ขายทอดตลาด ข. แจกจ่ายให้เจ้าหน้าที่นําไปใช้ส่วนตัว ค. เก็บรักษาไว้ ง. ขายลดราคาให้เจ้าหน้าที่

47


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๔. ทําไมต้องมีการกําหนดให้ส่วนราชการต้องตรวจสอบพัสดุประจําปี ก. เพื่อตรวจสอบการรับจ่ายพัสดุวา่ ถูกต้องหรือไม่ ข. เพื่อตรวจสอบว่าพัสดุคงเหลือตามบัญชี และทะเบียนมีตวั ตนอยูจ่ ริงตามนั้น ค. เพื่อตรวจสอบว่ามีพสั ดุใดชํารุดหรือเสื่อมสภาพไปบ้าง ง. ถูกทุกข้อ

48


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๕. การตัดวัสดุออกจากบัญชีหรือตัดครุภณ ั ฑ์ออกจากทะเบียนจะกระทําได้เมื่อใด ก. เมื่ อมอบให้กบั องค์กรสาธารณกุศลแล้ว ข. เมื่อตรวจสอบแล้วไม่มีพสั ดุอยูจ่ ริง ค. เมื่อพัสดุน้ันสูญหายไป ง. เมื่อบุคคลอื่นนําพัสดุออกไปใช้

49


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๖. หากต้องการตรวจสอบบัญชีรายชื่อผูท้ ิ้ งงานของทางราชการสามารถ ตรวจสอบได้จากเว็บไซต์ ก. www.cgd.go.th ข. www.gprocurement.go.th ค. www.egp.go.th ง. www.procure.go.th

50


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๗. บริษัท ก มีคาํ สัง่ ให้เป็ นผูท้ ิ้ งงาน ส่วนราชการจะซื้ อของจากบริษัท ก ได้ หรือไม่ ก. ไม่ได้ เพราะห้ามส่วนราชการก่อนิ ตสิ มั พันธ์กบั ผูถ้ กู ทิ้งงาน ข ไม่ได้ เพราะบริษัท ก ถูกปิ ดไปแล้วจากการเป็ นผูท้ ิ้ งงาน ค. ได้ เพราะบริษัท ก ยังไม่ถกู ปิ ดกิจการ ง. ได้ เพราะบริษัท ก ยังคงชําระภาษีครบถ้วนถูกต้อง

51


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๘. ข้อใดมิใช่เหตุแห่งการทิ้ งงาน ก. ได้รบั การคัดเลือกแล้วไม่ไปทําสัญญา ข. เสนอราคาโดยใช้เอกสารอันเป็ นเท็จ ค. ไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาได้โดยไม่มีเหตุอนั ควร ง. ไม่สามารถเริ่ มการก่อสร้างได้เนื่ องจากไม่ได้รบั การส่งมอบพื้นที่

52


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๙. บริษัท ก เป็ นผูท้ ิ้ งงานตามสัญญาของส่วนราชการแห่งหนึ่ ง ข้อใดถูก ก. ส่วนราชการทัง้ หมดทัว่ ประเทศไม่สามารถทําสัญญากับบริษัท ก ได้อีก ต่อไป ข. ส่วนราชการอื่นยังสามารถทําสัญญากับบริษัท ก ได้ต่อไป ค. ส่วนราชการทั้งหมดยังคงทําสัญญากับบริษัท ก ได้ต่อไป ง. ส่วนราชการที่ทาํ สัญญากับบริษัท ก เท่านั้น ที่ไม่สามารถทําสัญญากับ บริษัท ก ได้อีกต่อไป 53


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๐. ผูม้ ีอาํ นาจออกคําสัง่ เป็ นผูท้ ิ้ งงานของทางราชการคือ ก. ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด ข. ปลัดกระทรวงการคลังผูร้ กั ษาการตามระเบียบ ค. รัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด ง. หัวหน้าส่วนราชการ

54


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๑. ในเรื่องการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุส่วนราชการต้องปฏิบตั ิตามข้อใด จึงถูกต้อง ก. ปฏิบตั ิตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม ข. ปฏิบตั ิตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ค. ปฏิบตั ติ ามทัง้ ข้อ ก และ ข ควบคู่กนั ง. ปฏิบตั ิตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุที่หวั หน้าส่วนราชการกําหนด 55


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๒. การจัดซื้ อจัดจ้างทัว่ ไปในวงเงิน ๒.๐ ล้านบาท ต้องดําเนิ นการตามระเบียบใด ก. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ข. ประกวดราคาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ค. สอบราคาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ง. สอบราคาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ 56


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๓. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ใช้บงั คับกับการจัดหาพัสดุโดยวิธีใด ก. การจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีพเิ ศษ และวิธีกรณีพิเศษ ข. การประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ ค. การจ้างที่ปรึกษา ง. การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน

57


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๔. ส่วนราชการต้องดําเนิ นการข้อใดเป็ นลําดับแรก เมื่อจะจัดซื้ อระบบ คอมพิวเตอร์ในวงเงิน ๑๐ ล้านบาท ก. จัดทํารายงานขอซื้ อระบบคอมพิวเตอร์ ข. ประกาศประกวดราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ค. แต่งตัง้ คณะกรรมการร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารประกวดราคา ง. นําร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารประกวดราคารับฟั งคําวิจารณ์

58


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๕. คณะกรรมการร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารประกวดราคามีหน้าที่ ก. จัดทําร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารประกวดราคา ข. จัดทํารายงานขอซื้ อระบบคอมพิวเตอร์ ค. จัดทําประกาศประกวดราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ง. จัดทํารายงานการพิจารณาผลการประกวดราคา

59


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๖. ส่วนราชการจะต้องนําสรุปสาระสําคัญของร่างขอบเขตของงานลงประกาศที่ใด เพื่อให้สาธารณชนวิจารณ์ ก. เว็บไซต์ของส่วนราชการ ข. เว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง www.gprocurement.go.th ค. เว็บไซต์ของส่วนราชการ และของกรมบัญชีกลาง www.gprocurement.go.th

ง. หนังสือพิมพ์ ๓ ฉบับ 60


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๗. คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการต้องมีบุคคลภายนอกอย่างน้อยกี่คน ก. ๑ คน ข. ๒ คน ค. ๓ คน ง. ๔ คน

61


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๘. ข้อใดจึงถือว่าเป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคาในการจัดซื้ อจัดจ้างครั้งนั้นๆ ก. ผูย้ นื่ ข้อเสนอด้านเทคนิ คทุกราย ข. ผูซ้ ื้ อซองทุกราย ค. ผูท้ ี่ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ง. ผูผ้ า่ นการคัดเลือกเบื้องต้นจะต้องเป็ นผูย้ นื่ ข้อเสนอด้านเทคนิ คที่ มี คุณสมบัติครบถ้วน ข้อเสนอด้านเทคนิ คมีความเหมาะสม และไม่เป็ นผู้ เสนอราคาที่ มีผลประโยชน์รว่ มกัน 62


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๙. ส่วนราชการเลือกสถานที่เสนอราคาอย่างไร ก. ต้องเป็ นสถานที่ ที่ ขึ้นทะเบียนไว้กบั กรมบัญชีกลาง ข. ต้องเป็ นสถานที่ที่ขึ้นทะเบียนไว้กบั ส่วนราชการ ค. สถานที่ของทางราชการแห่งใดก็ได้ ง. สถานที่ใดก็ได้แล้วแต่เห็นสมควร

63


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๐. มีผใู้ ดอยูใ่ นห้องเสนอราคาของผูม้ ีสิทธิเสนอราคาได้บา้ ง ก. เจ้าหน้าที่ของรัฐ ข. ผูแ้ ทนผูม้ ีสิทธิเสนอราคา ค. คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการ ง. ผูแ้ ทนผูม้ ีสิทธิเสนอราคา และเจ้าหน้าที่ ของรัฐ

64


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๑. หากผูย้ นื่ ข้อเสนอด้านเทคนิ คไม่ผ่านการพิจารณาให้เป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคา สามารถอุทธรณ์ผลการพิจารณาต่อใคร ก. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ข. หัวหน้าส่วนราชการ ค. ปลัดกระทรวง ง. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด

65


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๒. เมื่อเสนอราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์แล้ว หากผูม้ ีสิทธิเสนอราคาไม่เห็น ด้วยกับผลการพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการ สามารถอุทธรณ์ผลการ พิจารณาต่อใคร ก. หัวหน้าส่วนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ง. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ 66


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๓. การนําสรุปสาระสําคัญของร่างขอบเขตของงานลงในเว็บไซต์เพื่อรับฟั ง คําวิจารณ์ ต้องลงเว็บไซต์อย่างน้อยกี่วนั ก. ๓ วัน ข. ๔ วัน ค. ๕ วัน ง. ๖ วัน

67


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๔. ในการเสนอราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ เมื่อหมดเวลาหากมีการเสนอราคา ตํา่ สุดเท่ากันหลายรายต้องดําเนิ นการอย่างไร ก. ยกเลิกการเสนอราคา ข. ต่อเวลาไปอีก ๓ นาที ค. รีบแจ้งหัวหน้าส่วนราชการ ง. นัดวันเสนอราคาใหม่

68


แบบประเมินก่อนการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๕. ในส่วนที่ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ไม่ได้กาํ หนดไว้ เช่น การตรวจรับ การทําสัญญา การปรับ ฯลฯ ส่วนราชการต้องปฏิบตั ิอย่างไร ก. ดําเนิ นการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่ แก้ไขเพิ่ มเติม ข. ดําเนิ นการตามที่หวั หน้าส่วนราชการเห็นสมควร ค. ดําเนิ นการตามระเบียบที่ส่วนราชการกําหนด ง. ไม่ตอ้ งดําเนิ นการใดๆ 69


เนื้อหาบทเรียน บทนํา วัตถุประสงค์ :: เพื่อทําความเข้าใจก่อนการศึกษาบทเรียน

70


บทนํา

นําเสนอในรูปแบบ e-Book Multimedia Flash ; Video Blue Screen Lecture Maker ; Video Website (แหล่งการเรียนรูเ้ สริม)

71


บทนํา การใช้จา่ ยเงินของภาครัฐภายใต้กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ มีเป้าหมายสําคัญ คือ การใช้จา่ ยของภาครัฐจะก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อรัฐ ซึ่งการใช้จา่ ยดังกล่าวโดยทัว่ ไปประกอบด้วย รายจ่ายประจํา ได้แก่ เงินเดือน ค่าจ้าง เป็ นต้น และรายจ่ายที่เกีย่ วกับการจัดหาพัสดุซึ่งในการใช้จา่ ย ดังกล่าวจะต้องอาศัยปั จจัยหลายประการประกอบกัน เพื่อนําไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ ข้างต้น สําหรับการใช้จา่ ยของภาครัฐในส่วนของการจัดหาพัสดุจะต้องผ่าน กระบวนการจัดซื้ อจัดจ้าง และขั้นตอนการบริหารพัสดุ โดยมีระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุเป็ นปั จจัยหลักในการดําเนิ นการจัดหา ซึ่งการกําหนดระเบียบฯ จะต้องอยูภ่ ายใต้หลักการการบริหารพัสดุใน ๓ หลักการ คือ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม 72


บทนํา เอกสารประกอบชุดวิชาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุจงึ ได้รวบรวมการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ โดยแบ่งออกได้เป็ น ๕ ระยะ กล่าวคือ ระยะที่ ๑ กําหนดความต้องการ และการของบประมาณ ระยะที่ ๒ การเตรียมการจัดซื้ อจัดจ้าง ระยะที่ ๓ การจัดซื้ อจัดจ้าง ระยะที่ ๔ การบริหารสัญญา และ ระยะที่ ๕ การควบคุม และจําหน่ ายพัสดุ

73


บทนํา ทั้งนี้ เพื่อให้ผเู้ รียนได้มีความรู ้ ความเข้าใจ ในเรื่องการจัดซื้ อจัดจ้าง และ การบริหารพัสดุ สามารถนําความรู ้ ความเข้าใจ ที่ได้จากการศึกษาไปปฏิบตั ิงาน ได้อย่างถูกต้องตามกฎ ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีที่กาํ หนด ตลอดจนสามารถ แก้ไขปั ญหาได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ ยังเป็ นการเตรียมความพร้อมให้กบั ผูเ้ รียน สําหรับที่จะปฏิบตั ิงาน เกี่ยวข้องกับการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้ง เป็ นแนวทางในการศึกษาเบื้ องต้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจในภาพรวมซึ่งจะนําไปสู่ นักพัสดุมืออาชีพ

74


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ วัตถุประสงค์ :: เพื่อให้ผเู้ รียนได้มีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย และหลักการของ การจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ อันประกอบด้วย โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม ซึ่งหลักการดังกล่าวควรต้องคํานึ งถึงอยู่ ตลอดเวลาที่ได้เกี่ยวข้องกับการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ สําหรับผูท้ ี่ ต้องปฏิบตั ิงานด้านพัสดุโดยตรง และผูท้ ี่ได้รบั การแต่งตั้งเป็ นกรรมการใน คณะกรรมการต่าง ๆ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ตลอดจนระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการ พัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙

75


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ

ประกอบด้วยหัวข้อเรือ่ งย่อยดังนี้

๑) ความหมายการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๒) หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ

76


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๑) ความหมายการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ “พัสดุ” หมายความว่า วัสดุ ครุภณ ั ฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง

77


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๑) ความหมายการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ “วัสดุ” หมายความว่า สิ่งของที่ใช้แล้วหมดไปไม่สามารถนํากลับมาใช้ได้ อีก และมีอายุการใช้งานน้อยกว่า ๑ ปี เช่น กระดาษ หมึกพิมพ์ ดินสอ ปากกา ฯลฯ

78


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๑) ความหมายการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ “ครุภณ ั ฑ์” หมายความว่า สิ่งของหรืออุปกรณ์ที่มีอายุการใช้งาน มากกว่า ๑ ปี และเมื่อนําไปใช้ประโยชน์แล้วสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้อีก ครุภณ ั ฑ์ถือเป็ นสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset) ซึ่งต้องตัดค่าเสื่อมราคา ตามอายุการใช้งานของครุภณ ั ฑ์น้ัน สําหรับอายุการใช้งานของครุภณ ั ฑ์ขึ้นกับ ชนิ ดของครุภณ ั ฑ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร รถยนต์ โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ

79


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๑) ความหมายการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ “การจัดซื้อจัดจ้าง” หมายความว่า การได้มาซึ่งพัสดุ โดยการซื้ อสิ่งที่ มีจาํ หน่ ายอยูใ่ นท้องตลาด เช่น เก้าอี้ คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นครุภณ ั ฑ์หรือ อีกนัยหนึ่ งเป็ นสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset ) ของหน่ วยงานนั้นๆ ใช้แล้วไม่หมดไป นํากลับมาใช้ได้อีก โดยอายุการใช้งานของครุภณ ั ฑ์ก็แตกต่าง กันไปตามประเภทของครุภณ ั ฑ์น้ันๆ ดินสอ ปากกา กระดาษ ซึ่งเป็ นวัสดุ ใช้แล้วหมดไปไม่สามารถนํากลับมาใช้ได้ใหม่อีก สําหรับการจ้าง หมายความรวมถึง การจ้างทําของ เช่น การจ้างทําโต๊ะ ประชุม ฯลฯ การจ้างเหมาบริการ เช่น การจ้างทําความสะอาด ฯลฯ และการจ้างที่ปรึกษา 80


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๑) ความหมายการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ “การบริหารพัสดุ” หมายความว่า การดําเนิ นการเกี่ยวกับพัสดุท้งั กระบวนการ เริ่มตั้งแต่การกําหนดความต้องการ การจัดหา การควบคุม การใช้งาน การบํารุงรักษา และการจําหน่ าย

81


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๒) หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ การจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ มีหลักการสําคัญ ที่ควรคํานึ งถึงตลอดระยะเวลาที่ได้ปฏิบตั ิงานเกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว โดยมีหลักการ ๓ ประการ คือ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีการแข่งขันอย่างเป็ น ธรรม เมื่อผูอ้ ่านเข้าใจหลักการทั้ง ๓ ประการดังกล่าว ก็จะเข้าใจสิ่งที่กาํ หนดอยู่ ในระเบียบว่าด้วยการพัสดุ เพราะแต่ละข้อที่ระเบียบกําหนดจะ เกี่ยวโยงกับ หลักการข้อใดข้อหนึ่ งหรือหลายข้อจาก ๓ ข้อนี้ ๒.๑ โปร่งใส ๒.๒ ตรวจสอบได้ ๒.๓ มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม 82


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๒) หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๒.๑ โปร่งใส หลักการนี้ เป็ นหลักการที่แสดงถึงการเปิ ดเผยโปร่งใสในการจัดซื้ อจัดจ้าง ถ้าส่วนราชการหรือหน่ วยงานต้องการจัดซื้ อจัดจ้างอะไรต้องประกาศให้ทราบโดยทัว่ กัน ส่วนราชการหรือหน่ วยงานต้องการแก้ไขประกาศก็ตอ้ งประกาศให้ทราบโดยทัว่ กันว่าได้แก้ไข อะไรไปบ้าง ซึ่งเป็ นเรื่องที่มีกาํ หนดไว้ในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่แก้ไขเพิม่ เติม ว่าส่วนราชการจะต้องปิ ดประกาศที่สาํ นักงานของหน่ วยงานที่จดั ซื้ อ จัดจ้าง และต้องส่งประกาศไปที่สาํ นักข่าวไทย อสมท. กรมประชาสัมพันธ์ แต่ต่อมาเมื่อระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้รบั การพัฒนาให้มีความทันสมัยโดยทัว่ ไปแล้ว ในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ จึงกําหนดว่าหน่ วยงานต้องลงประกาศการจัดซื้ อจัดจ้างในเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง www.gprocurement.go.th และเว็บไซด์ของหน่ วยงานเองด้วย ซึ่งจะทําให้ ผูส้ นใจทั้งภาครัฐ และเอกชนสามารถเข้ามาค้นหาข้อมูลประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง และข้อมูลอื่น ที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลรายชื่อผูท้ ิ้ งงานฯลฯ ได้ตลอดเวลาที่ตอ้ งการ 83


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๒) หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๒.๒ ตรวจสอบได้ ส่วนราชการที่ปฏิบตั ิเรื่องการบริหารพัสดุ จะต้องดําเนิ นการตามกฎ ระเบียบที่กาํ หนดไว้ และจะต้องมีเอกสารหลักฐาน แสดงเหตุ และผล ประกอบการตัดสินใจที่พร้อมรับการตรวจสอบได้ตลอดเวลา ไม่วา่ จะถูก ตรวจสอบจากหน่ วยงานใดก็ตาม ดังนั้น ทุกขั้นตอนของการจัดซื้ อจัดจ้าง และ การบริหารพัสดุที่ตอ้ งมีการพิจารณา ตัดสินใจหรือใช้ดุลยพินิจ ผูเ้ กี่ยวข้องทุก ฝ่ ายจะต้องมีเอกสารหลักฐาน เหตุผล ประกอบการพิจารณา ตัดสินใจหรือ การ ใช้ดุลยพินิจเสมอ

84


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๒) หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๒.๓ มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม โดยปกติส่วนราชการดําเนิ นการจัดซื้ อจัดจ้างก็ตอ้ งมีการแข่งขันเกิดขึ้ น เมื่อมีการ แข่งขันก็จาํ เป็ นต้องทําให้การแข่งขันนั้นมีความเป็ นธรรมในระหว่างผูป้ ระกอบการซึ่งเป็ นผูแ้ ข่งขันด้วยกัน ในเรื่องของการจัดซื้ อจัดจ้างที่ตอ้ งแสดงถึงการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมมี ๒ ประเด็น คือ ประเด็นแรก ส่วนราชการจะต้องไม่กาํ หนดคุณสมบัติให้เข้ากับผูป้ ระกอบการรายใดรายหนึ่ ง เช่น กําหนดประสบการณ์ของผูป้ ระกอบการ กําหนดผลงานของผูป้ ระกอบการ ฯลฯ ซึ่งเป็ นการแสดงถึง เจตนาของการกําหนดตัวผูป้ ระกอบการเฉพาะราย ประเด็นที่สอง ส่วนราชการจะต้องไม่กาํ หนดคุณลักษณะเฉพาะ (Specification) ให้เข้ากับยีห่ อ้ หนึ่ งยีห่ อ้ ใด เช่น กําหนดความสามารถเฉพาะของสินค้ายีห่ อ้ นั้น ซึ่งยีห่ อ้ อื่นไม่มี โดยที่ส่วนราชการไม่มี ความจําเป็ นที่จะต้องใช้ความสามารถในลักษณะนั้นเลย ฯลฯ ประเด็นนี้ เป็ นการกําหนดยีห่ อ้ ของสินค้า เฉพาะราย นอกจากนี้ ความเป็ นธรรม ยังหมายถึงความเป็ นธรรมระหว่างคูส่ ญ ั ญา ทั้งผูว้ า่ จ้างซึ่งเป็ น ส่วนราชการ และผูร้ บั จ้างซึ่งเป็ นผูป้ ระกอบการเอกชน 85


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ การจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุสามารถแบ่งออกได้เป็ น ๕ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ การกําหนดความต้องการ และการของบประมาณ ระยะที่ ๒ การเตรียมการจัดซื้ อจัดจ้าง ระยะที่ ๓ การจัดซื้ อจัดจ้าง ระยะที่ ๔ การบริหารสัญญา และ ระยะที่ ๕ การควบคุม และจําหน่ ายพัสดุ

86


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๑ การกําหนดความต้องการ และการของบประมาณ การกําหนดความต้องการ มี ๒ ประเภท คือ ความต้องการในลักษณะนโยบาย เช่น การสร้างเขื่อน การสร้างถนน การสร้าง อาคารสํานักงาน ฯลฯ ผูก้ าํ หนดความต้องการลักษณะนี้ อาจเป็ นผูบ้ ริหารของหน่ วยงาน นักวิชาการหรือนักวิเคราะห์ในส่วนราชการนั้นๆ การได้มาซึ่งพัสดุนี้อาจต้องใช้ระยะเวลา ดําเนิ นการมากกว่าหกเดือนหรืออาจมากกว่าหนึ่ งปี โครงการจึงสําเร็จ ความต้องการในลักษณะเพื่อใช้ในการปฏิบตั งิ านปกติ เช่น การจัดซื้ ออุปกรณ์ สํานักงาน การจ้างเหมาทําความสะอาด การจัดซื้ อเพื่อทดแทนของเดิม ฯลฯ ผูก้ าํ หนด ความต้องการลักษณะนี้ อาจเป็ นหน่ วยงานที่รบั ผิดชอบงานพัสดุโดยตรง หรืออาจรวบรวม ความต้องการจากผูใ้ ช้ท้งั หน่ วยงาน 87


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๑ การกําหนดความต้องการ และการของบประมาณ แต่เนื่ องจากในภาคราชการ การกําหนดความต้องการพัสดุจะต้องสัมพันธ์กบั งบประมาณรายจ่ายประจําปี ดังนั้น ผูใ้ ช้หรือผูร้ บั ผิดชอบจะต้องกําหนดความต้องการ ล่วงหน้า ๑-๒ ปี เพื่อประมาณการงบประมาณที่ตอ้ งการจัดสรร หากพัสดุใดที่จดั หาแล้วต้อง ดําเนิ นการจัดทํามากกว่า ๑ ปี เช่น การก่อสร้าง ฯลฯ ก็ตอ้ งกําหนดความต้องการล่วงหน้า มากกว่า ๑-๒ ปี การของบประมาณ เมื่อหน่ วยงานรวบรวมความต้องการได้ท้งั ในส่วนของนโยบาย และเพื่อใช้ในการ ปฏิบตั ิงานปกติแล้ว ส่วนราชการก็จะต้องของบประมาณประจําปี

88


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๒ การเตรียมการจัดซื้ อจัดจ้าง เมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี มีผลบังคับใช้ ส่วนราชการจะ ทราบว่าที่ของบประมาณไปเพื่อดําเนิ นการให้ได้ตามความต้องการนั้น ได้ครบถ้วนหรือไม่ หรือต้องมีการปรับความต้องการจากที่กาํ หนดไว้ต้งั แต่แรกอย่างไร

89


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๒ การเตรียมการจัดซื้ อจัดจ้าง เมื่อทราบยอดงบประมาณแล้ว ผูใ้ ช้หรือผูม้ ีหน้าที่ดาํ เนิ นการจะต้องจัดทําแผนการ จัดซื้ อจัดจ้างของทุกโครงการ/งานที่ได้รบั งบประมาณในปี นั้น จากนั้นผูใ้ ช้หรือผูม้ ีหน้าที่ ดําเนิ นการจะต้องเตรียมการจัดซื้ อจัดจ้างทุกโครงการ/งานที่อยูใ่ นแผนการจัดซื้ อจัดจ้างที่ได้ กําหนดไว้แล้ว โดยการจัดเตรียมประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง การกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะ เฉพาะ (Specification) ให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รบั โดยผูใ้ ช้หรือผูม้ ีหน้าที่ ดําเนิ นการจะต้องหาข้อมูลในท้องตลาดว่าคุณลักษณะเฉพาะที่ทนั สมัยไม่ตกรุ่นเป็ นอย่างไร และต้องกําหนดช่วงเวลาการส่งมอบพัสดุ สําหรับการจ้างก่อสร้างส่วนราชการต้องกําหนด ราคากลางงานก่อสร้างก่อนการประกาศจัดซื้ อจัดจ้างด้วย

90


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๓ การจัดซื้ อจัดจ้าง เมื่อเข้าสู่ระยะของการจัดซื้ อจัดจ้าง ส่วนราชการจะต้องปฏิบตั ิตามระเบียบเกี่ยวกับ การพัสดุในทุกขั้นตอน หากละเว้นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ งก็อาจถือได้วา่ ปฏิบตั ิไม่ถกู ต้องตาม ระเบียบ การจัดซื้ อจัดจ้าง เริ่มตั้งแต่การประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง การยืน่ การเสนอราคา การพิจารณาผลการเสนอราคา การทําสัญญา ซึ่งทั้งหมดนี้ จะได้กล่าวในบทเรียนต่อไป

91


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๔ การบริหารสัญญา เมื่อมีการลงนามในสัญญาแล้วส่วนราชการต้องมีการบริหารสัญญา ถึงแม้วา่ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม สําหรับวงเงิน น้อยๆ ส่วนราชการอาจทําข้อตกลงเป็ นหนังสือแทนสัญญา ก็ถือว่าส่วนราชการจะต้องบริหาร ข้อตกลงนั้นเช่นเดียวกับการบริหารสัญญาด้วย การบริหารสัญญาหมายความว่า ผูม้ ีหน้าที่บริหารสัญญาซึ่งเป็ นฝ่ ายผูว้ า่ จ้างต้องบริหารให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ิตามสัญญา ทุกประการ หากมีการไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาจะต้องดําเนิ นการคิดค่าปรับเป็ นระยะเวลา และ อัตราเท่าใดจึงจะเหมาะสมหรือต้องมีการแก้ไขสัญญาหรือไม่ นัน่ คือผูบ้ ริหารสัญญาจะต้อง บริหารตั้งแต่สญ ั ญาเริ่มมีผลบังคับใช้จนสัญญานั้นสิ้ นสุดลง

92


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๕ การควบคุม และจําหน่ ายพัสดุ เมื่อผูบ้ ริหารสัญญาได้ตรวจสอบแล้วว่าผูข้ าย/ผูร้ บั จ้างได้ส่งมอบวัสดุ ครุภณ ั ฑ์ หรือ สิ่งก่อสร้างแล้วถูกต้องตรงตามที่กาํ หนดในสัญญาทุกประการ ก็ถือว่าส่วนราชการได้รบั มอบ พัสดุแล้ว

93


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๕ การควบคุม และจําหน่ ายพัสดุ การควบคุม เมื่อส่วนราชการได้รบั มอบพัสดุแล้ว ส่วนราชการต้องกําหนดให้มี การควบคุมการใช้พสั ดุน้ัน กล่าวคือ ถ้าเป็ นวัสดุตอ้ งมีการทํารายการรับ และเบิกจ่ายวัสดุ เพื่อทราบวัสดุคงเหลือตลอดระยะเวลา ถ้าเป็ นครุภณ ั ฑ์ตอ้ งมีการทําทะเบียนครุภณ ั ฑ์ ของแต่ละรายการ เพื่อให้ทราบว่าครุภณ ั ฑ์ที่อยูใ่ นความครอบครองของส่วนราชการ มีรายละเอียดอย่างไร ระยะเวลาการบํารุงรักษารวมถึงการซ่อมแซมครุภณ ั ฑ์รายการนั้นๆ

94


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๕ การควบคุม และจําหน่ ายพัสดุ การบํารุงรักษา ครุภณ ั ฑ์หรือสิ่งก่อสร้างใดต้องมีรอบระยะเวลาของการบํารุงรักษา ผูใ้ ช้หรือผูม้ ีหน้าที่ดาํ เนิ นการต้องกําหนดความต้องการเพื่อบํารุงรักษา และขอตั้งงบประมาณ เพื่อการนี้ เป็ นประจําปี เพื่อให้พสั ดุมีความคงทนและมีคุณภาพที่ดีตลอดอายุการใช้งาน

95


หน่วยที่ ๑ หลักการการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ๓) ขอบเขตการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ระยะที่ ๕ การควบคุม และจําหน่ ายพัสดุ การจําหน่าย เมื่อพัสดุใดที่หมดความต้องการแล้ว ส่วนราชการต้องพิจารณา จําหน่ ายพัสดุน้ันออกไปโดยวิธีใดวิธีหนึ่ ง เพื่อลดภาระงบประมาณในด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และทําให้ส่วนราชการนั้นดูแลบํารุงรักษาเฉพาะพัสดุที่สาํ คัญ และจําเป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน เท่านั้น

96


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม วัตถุประสงค์ :: เพื่อให้ผปู้ ฏิบตั ิหรือผูท้ ี่เกีย่ วข้องกับการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างถูกต้องตามกระบวนการ ขั้นตอนที่ระเบียบฯ กําหนดไว้ทุกประการ

97


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ประกอบด้วยหัวข้อเรือ่ งย่อยดังนี้ ๑) การใช้บงั คับของระเบียบฯ ๒) ประเภทการจัดหาพัสดุ ๓) ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ ๔) การตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน

98


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑) การใช้บงั คับของระเบียบฯ การใช้บงั คับของระเบียบฯ มีองค์ประกอบสําคัญ ๓ ประการ ดังนี้ ๑.๑ หน่ วยงาน ระเบียบฯ นี้ ใช้บงั คับเฉพาะส่วนราชการเท่านั้น ๑.๒ พัสดุ ต้องเป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุเท่านั้น ๑.๓ เงินที่นํามาใช้ในการจัดซื้ อจัดจ้าง - เงินงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม - เงินซึ่งส่วนราชการได้รบั ไว้โดยได้รบั อนุ ญาตจากรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง ให้ไม่ตอ้ งส่งคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ - เงินกูต้ ่างประเทศ และเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ - สําหรับเงินนอกงบประมาณ ในส่วนที่เกี่ยวกับการพัสดุให้พิจารณาจากระเบียบของ เงินนอกงบประมาณนั้นๆ แต่อย่างไรก็ตามระเบียบของเงินนอกงบประมาณส่วนใหญ่กาํ หนดไว้ ในส่วนของการพัสดุโดยให้ใช้ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุมาปฏิบตั ิใช้โดย อนุ โลม 99


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๒) ประเภทการจัดหาพัสดุ เมื่อได้มีการกําหนดความต้องการ และได้รบั งบประมาณในการความต้องการ นั้นๆ แล้ว ส่วนราชการจะจัดหาพัสดุหรือจัดซื้ อจัดจ้างตามระเบียบฯ ได้ ๗ ประเภท

100


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๒) ประเภทการจัดหาพัสดุ ๒.๑ การจัดทําเอง เป็ นการจัดหาพัสดุที่ส่วนราชการนั้นๆ ดําเนิ นการผลิตประกอบหรือ จัดทําพัสดุน้ันขึ้ นมาเอง เช่น การก่อสร้าง ส่วนราชการได้รบั งบประมาณมาเพื่อมาซื้ อ วัสดุกอ่ สร้าง แต่ส่วนราชการมีเครื่องมือ เครื่องจักร และกําลังคนพร้อมที่จะ ดําเนิ นการก่อสร้างเอง เป็ นต้น ๒.๒ การซื้อ เป็ นการซื้ อพัสดุทุกชนิ ดทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการ ที่เกีย่ วเนื่ องต่างๆ ๒.๓ การจ้าง ตามระเบียบฯ หมายรวมเฉพาะการจ้างทําของ และการจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมการจ้างที่ปรึกษา และการจ้างออกแบบ และควบคุมงานหรืออีกนัยหนึ่ งการ จ้างตามระเบียบฯ แยกเป็ นการจ้างทําของ การจ้างเหมาบริการดําเนิ นการตามข้อนี้ 101


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๒) ประเภทการจัดหาพัสดุ ๒.๔ และการจ้างออกแบบ และควบคุมงานดําเนินการตาม ข้อ ๒.๕ การจ้างที่ปรึกษา ตามระเบียบฯ ได้แยกการจ้างที่ปรึกษาออกมาเป็ นอีกหมวดหนึ่ ง จากการจ้าง เนื่ องจากการจ้างที่ปรึกษาเป็ นเรื่องของการจ้างเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู ้ แนวคิด และประสบการณ์ของที่ปรึกษา เช่น การจัดทําแผนกลยุทธ์ของส่วนราชการ โครงการจัดทําแนวคิดต้นแบบ (Model/Prototype) ฯลฯ ๒.๕ การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน ถึงแม้จะถือได้วา่ การจ้างออกแบบ และ ควบคุมเป็ นการจ้างที่ปรึกษาแบบหนึ่ งแต่ระเบียบฯ ก็ได้แยกการจ้างออกแบบ และ ควบคุมงานออกมาเป็ นอีกหมวดหนึ่ ง ซึ่งการจ้างออกแบบ และควบคุมงานตาม ระเบียบฯ มีขอบเขตเฉพาะการออกแบบ และควบคุมงานก่อสร้างอาคารด้วยเงิน งบประมาณเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน ส่วนราชการ จะดําเนิ นการได้จะต้องมีงบประมาณรองรับด้วย 102


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๒) ประเภทการจัดหาพัสดุ ๒.๖ การเช่า มีท้งั การเช่าสังหาริมทรัพย์ ซึ่งเป็ นทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้ เช่น รถยนต์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ การเช่าลักษณะนี้ ระเบียบฯ กําหนดให้นําหมวด ๒ เรื่องการซื้ อ มาปรับใช้โดยอนุ โลม การเช่าอีกรูปแบบหนึ่ งคือ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น การ เช่าที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์ในทางราชการ การเช่าสถานที่เป็ นที่ทาํ การ การเช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็ นที่เก็บพัสดุของทางราชการ เป็ นต้น การเช่าในลักษณะนี้ ให้ดาํ เนิ นการ โดยวิธีตกลงราคา ๒.๗ การแลกเปลี่ยน เป็ นการแลกเปลี่ยนพัสดุระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ซึ่งปั จจุบนั การจัดหาพัสดุประเภทนี้ มีน้อยมากหรือกล่าวได้วา่ ไม่มีเลย สําหรับในบทนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะการซื้ อ การจ้างและการจ้างที่ปรึกษา ซึ่งส่วนราชการ ได้รบั การจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อการจัดหาพัสดุประเภทดังกล่าวเป็ นส่วนใหญ่ 103


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓) ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ การจัดหาพัสดุไม่วา่ จะเป็ นประเภทใดใน ๗ ประเภทดังกล่าว มีข้นั ตอน ดําเนิ นการที่สาํ คัญ ๕ ขั้นตอน โดยแต่ละขั้นตอนต้องดําเนิ นการตามลําดับอย่าง เคร่งครัด ไม่สามารถดําเนิ นการสลับขั้นตอนได้ คือ ๓.๑ การรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ ๓.๒ การดําเนินการจัดหาพัสดุ ๓.๓ การขออนุมตั ิ ๓.๔ การทําสัญญา ๓.๕ การตรวจรับ

104


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓) ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ

105


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓) ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ ๓.๑ การรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ เมื่อส่วนราชการจะจัดหาพัสดุไม่วา่ จะเป็ นการจัดหาในประเภทใดใน ๗ ประเภท ที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น เจ้าหน้าที่พสั ดุหรือผูม้ ีหน้าที่จะต้องจัดทํารายงานขอความ เห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ รายละเอียดของรายงานฯ ขึ้ นอยูก่ บั ประเภท การจัดหาพัสดุ อาจกล่าวโดยรวมได้วา่ ในรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ ประกอบด้วย เหตุผลความจําเป็ นที่ตอ้ งจัดหาพัสดุในครั้งนั้น รายละเอียดของพัสดุ ที่จดั หา วงเงินที่ใช้ กําหนดระยะเวลาที่ตอ้ งการใช้พสั ดุ วิธีดาํ เนิ นการ เรื่องอื่นๆ เช่น การ แต่งตั้งคณะกรรมการ ฯลฯ

106


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓) ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ ๓.๒ การดําเนินการจัดหาพัสดุ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการอนุ มตั ิรายงานการจัดหาพัสดุแล้ว ผูม้ ีหน้าที่จะต้อง ดําเนิ นการจัดหาตามวิธีการที่ได้รบั อนุ มตั ิ โดยรายละเอียดวิธีดาํ เนิ นการแต่ละวิธีจะ ได้กล่าวต่อไป

107


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓) ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ ๓.๓ การขออนุมตั ิ เมื่อส่วนราชการดําเนิ นการจัดหาพัสดุจนได้ตวั ผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างแล้ว ส่วนราชการจะต้องเสนอเรื่องเพื่อขออนุ มตั ิการจัดหาพัสดุในครั้งนั้น โดยผูม้ ีอาํ นาจ อนุ มตั ิในขั้นตอนนี้ จะแตกต่างกันไปในแต่ละประเภท และวิธีการจัดหา รวมถึง วงเงินที่จดั หาได้ดว้ ย ซึ่งผูม้ ีอาํ นาจอนุ มตั ิการจัดซื้ อจัดจ้างมี ๓ ระดับ คือ หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด และรัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด

108


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓) ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ ๓.๔ การทําสัญญา เมื่อผูม้ ีอาํ นาจอนุ มตั ิการจัดหาพัสดุในครั้งนั้นแล้ว ส่วนราชการต้อง จัดทําสัญญา โดยผูล้ งนามในสัญญา คือ หัวหน้าส่วนราชการ รวมถึง การอนุ มตั ิการแก้ไขสัญญาด้วย

109


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓) ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ ๓.๕ การตรวจรับ เมื่อลงนามในสัญญาแล้ว ส่วนราชการต้องกําหนดผูท้ าํ หน้าที่ตรวจรับของ ที่ซื้อหรืองานที่จา้ ง ซึ่งอาจเป็ นบุคคลหรือคณะกรรมการขึ้ นอยูก่ บั ประเภท และ วิธีการจัดหาพัสดุ แต่อย่างไรก็ตามการตรวจรับพัสดุทุกชนิ ดทั้งการซื้ อการจ้าง ยกเว้น การก่อสร้างจะเรียกว่าผูต้ รวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ สําหรับงานก่อสร้างจะเรียกผูต้ รวจการจ้างหรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง เมื่อส่วนราชการตรวจรับเรียบร้อยแล้ว พัสดุน้ันตกเป็ นกรรมสิทธิ์ของส่วนราชการ จึงถือว่าสิ้ นสุดกระบวนการจัดซื้ อจัดจ้างหรือจัดหาพัสดุ

110


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๔) การตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน การจัดหาพัสดุท้งั ประเภทการซื้ อการจ้าง การจ้างที่ปรึกษา ส่วนราชการจะต้อง ตรวจสอบการมีผลประโยชน์ร่วมกัน ทั้งนี้ เพื่อเปิ ดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม และต้องตรวจก่อนเปิ ดซองสอบราคา ประกวดราคา หรืองานจ้างที่ปรึกษา ผูเ้ สนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน หมายถึง ผูย้ นื่ ข้อเสนอแก่ส่วนราชการใน การจัดซื้ อจัดจ้าง โดยเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อมในกิจการของ ผูย้ นื่ ข้อเสนออื่นที่เข้าเสนอราคาหรือเสนองานกับส่วนราชการนั้นในการจัดซื้ อจัดจ้าง คราวเดียวกัน การตรวจสอบการมีผลประโยชน์ร่วมกันจะตรวจความสัมพันธ์ท้งั ทางตรง และ ทางอ้อมของผูย้ นื่ ข้อเสนอใน ๓ ด้าน ดังนี้

111


หน่วยที่ ๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๔) การตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน ๔.๑ ความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร โดยผูจ้ ดั การ หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ ฯลฯ ของผูย้ นื่ ข้อเสนอรายหนึ่ งเป็ นผูจ้ ดั การ หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ ฯลฯ ของผูย้ นื่ ข้อเสนอรายอื่นในการจัดซื้ อจัดจ้างคราวเดียวกัน ๔.๒ ความสัมพันธ์ในเชิงทุน โดยผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วนสามัญ ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ ในบริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด (หมายถึงผูถ้ ือหุน้ ซึ่งถือหุน้ เกินกว่าร้อยละ ๒๕ ใน กิจการนั้น) เป็ นหุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วนสามัญ ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ในบริษัทจํากัด บริษัท มหาชนจํากัด ของผูย้ นื่ ข้อเสนอรายอื่นหรือหลายรายในการจัดซื้ อจัดจ้างคราวเดียวกัน ๔.๓ ความสัมพันธ์ในเชิงไขว้ หมายถึง มีความสัมพันธ์ไขว้กนั ระหว่างเชิงบริหาร และ เชิงทุน โดยผูจ้ ดั การ หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ ฯลฯ ของผูย้ นื่ ข้อเสนอราย หนึ่ งเป็ นผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วนสามัญ ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ในบริษัทจํากัด บริษัท มหาชน จํากัด (หมายถึง ผูถ้ ือหุน้ ซึ่งถือหุน้ เกินกว่าร้อยละ ๒๕ ในกิจการนั้น) ของผูย้ นื่ ข้อเสนอรายอื่นในการจัดซื้ อจัดจ้างคราวเดียวกัน

112


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง วัตถุประสงค์ :: เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถมีความรูเ้ บื้ องต้นเป็ นพื้ นฐานที่จะปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับ การซื้ อ และการจ้างได้ ซึ่งจากข้อมูลการจัดซื้ อจัดจ้างทั้งหมดพบว่า การจัดหาพัสดุของส่วนราชการทั้งในส่วนของวงเงิน และจํานวนครั้ง ที่ดาํ เนิ นการจัดหา โดยการซื้ อหรือการจ้างส่วนราชการใช้เป็ นประเภท การจัดหาพัสดุมากที่สุด

113


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง

ประกอบด้วยหัวข้อเรือ่ งย่อยดังนี้ ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๒) คณะกรรมการ ๓) อํานาจในการสั ่งซื้อ/สั ่งจ่าย ๔) การตรวจรับพัสดุ ๕) การตรวจการจ้างก่อสร้าง/การควบคุมงานก่อสร้าง

114


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง

๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม กําหนดวิธีการซื้ อ และจ้างไว้ ๕ วิธี และตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ กําหนดวิธีการซื้ อ และจ้างไว้ ๑ วิธี รวมเป็ น ๖ วิธี ในหน่ วยนี้ จะขอกล่าวถึงเฉพาะวิธีซื้อ และวิธีจา้ งตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม สําหรับวิธีซื้อ และวิธีจา้ งตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ จะกล่าวในบทต่อไป วิธีซื้อ และวิธีจา้ งตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม กําหนดไว้ ๕ วิธี โดยพิจารณาจากวงเงิน และเงื่อนไขการจัดซื้ อจัดจ้าง คือ

115


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๑ วิธีตกลงราคา ได้แก่ การซื้ อหรือจ้างครั้งหนึ่ งซึ่งมีราคาไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๑.๒ วิธีสอบราคา ได้แก่ การซื้ อหรือจ้างครั้งหนึ่ งซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐บาท ๑.๓ วิธีประกวดราคา ได้แก่ การซื้ อหรือจ้างครั้งหนึ่ งซึ่งมีราคาเกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท

116


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๔ วิธีพิเศษ ได้แก่ การซื้ อหรือการจ้างซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่มีเงื่อนไขโดย ดําเนิ นการได้เฉพาะกรณีที่มีเหตุผล และความจําเป็ นเท่านั้น เช่น เป็ นพัสดุ ที่ตอ้ งซื้ อหรือจ้างโดยเร่งด่วน หากล่าช้าอาจจะเสียหายแก่ราชการ เป็ นพัสดุที่จาํ เป็ น ต้องระบุยหี่ อ้ เป็ นการเฉพาะหรือเป็ นงานที่ตอ้ งจ้างช่างผูม้ ีฝีมือโดยเฉพาะหรือ ผูม้ ีความชํานาญเป็ นพิเศษ เป็ นต้น ๑.๕ วิธีกรณีพิเศษ ได้แก่ การซื้ อหรือจ้างจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่ วยงานตาม กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ในกรณีที่หน่ วยงานเป็ นผูผ้ ลิตพัสดุหรือ ทํางานจ้างนั้นเอง และต้องมีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีกาํ หนด ให้ซื้อหรือจ้างจาก หน่ วยงานนั้นๆ เท่านั้น หากไม่มีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีกาํ หนดไว้ก็ไม่สามารถ ดําเนิ นการซื้ อหรือจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษได้ แม้วา่ เป็ นการซื้ อหรือจ้างจากหน่ วยงานของรัฐ ตามที่กล่าวข้างต้น จะเห็นได้วา่ การซื้ อหรือจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษนี้ ไม่ได้กาํ หนดวงเงิน มีเพียงเงื่อนไขที่ตอ้ งเป็ นไปตามที่กาํ หนดไว้จึงสามารถจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีนี้ได้เท่านั้น 117


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือและวิธีจา้ ง วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง • วิธีตกลงราคา

ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

• วิธีสอบราคา

เกิน

๑๐๐,๐๐๐ บาท ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท

• วิธีประกวดราคา

เกิน

๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท

• วิธีพิเศษ

เกิน

๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่มีเงื่อนไข

• วิธีกรณีพิเศษ

ไม่มีกาํ หนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข

• วิธีประกวดราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction)ตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ. ๒๕๔๙ ตัง้ แต่ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ขึ้ นไป 118


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๑ วิธีตกลงราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท การดําเนิ นการโดยวิธีตกลงราคา เป็ นการจัดหาที่มีวงเงินครั้งหนึ่ งไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท โดย มีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้ (๑) เจ้าหน้าที่พสั ดุจดั ทํารายงานขอซื้ อหรือจ้าง เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการหรือผูร้ บั มอบอํานาจ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุติดต่อตกลงราคากับผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้าง แล้วให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุสงั ่ ซื้ อ/สัง่ จ้าง ภายในวงเงินที่ได้รบั ความเห็นชอบ (๒) เมื่อผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างส่งมอบพัสดุตามกําหนด ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุแจ้งผูต้ รวจรับหรือ ประธานกรรมการตรวจรับพัสดุ นัดตรวจรับพัสดุ โดยจะต้องตรวจรับให้เป็ นไปตามข้อกําหนดใน ใบสัง่ ซื้ อหรือสัง่ จ้าง (๓) อย่างไรก็ดี หากเป็ นกรณีจาํ เป็ น เร่งด่วน ที่เกิดขึ้ นโดยไม่ได้คาดหมายไว้กอ่ น และไม่อาจ ดําเนิ นการตามปกติได้ทนั เจ้าหน้าที่พสั ดุหรือผูร้ บั ผิดชอบสามารถดําเนิ นการไปก่อนได้ แล้วให้ รีบรายงานขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วนราชการ ทั้งนี้ ให้ใช้รายงานที่ได้รบั ความเห็นชอบแล้วเป็ น หลักฐานในการตรวจรับโดยอนุ โลม 119


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือและวิธีจา้ ง ๑.๑ วิธีตกลงราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท การดําเนินการโดยวิธีตกลงราคา เจ้าหน้าที่พสั ดุ

๔ รายงาน

๑ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ

ใบสั่ง

ผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง

๕ เห็ นชอบ

ส่งของ/งาน

๒ หัวหน้าส่วนราชการ

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผูต้ รวจรับพัสดุ/ผูต้ รวจรับการจ้าง 120


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๒ วิธีสอบราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐บาท โดยมีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้ (๑) เจ้าหน้าที่พสั ดุจดั ทํารายงานขอซื้ อหรือจ้าง เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการหรือ ผูร้ บั มอบอํานาจ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุจดั ทําเอกสาร สอบราคา และประกาศสอบราคาแล้วให้ส่งประกาศเผยแพร่การสอบราคาก่อนวันเปิ ดรับ ซองไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน โดยส่งประกาศให้ผมู้ ีอาชีพขายหรือรับจ้างโดยตรง หรือทาง ไปรษณียล์ งทะเบียนให้มากที่สุดรวมทั้งให้ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทาํ การโดยเปิ ดเผย

121


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๒ วิธีสอบราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐บาท โดยมีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้ (๒) การยืน่ ซอง ผูเ้ สนอราคาจะต้องผนึ กซองจ่าหน้าถึงประธานกรรมการ หรือยืน่ ด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์ (ตามที่กาํ หนดไว้) โดยจะต้องส่งให้ถึงภายใน วันเวลาที่กาํ หนด

122


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๒ วิธีสอบราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐บาท โดยมีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้ (๓) การรับซอง หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รบั โดยไม่เปิ ดซอง และ ระบุวนั เวลาและสถานที่รบั ซอง แล้วส่งมอบซองให้แก่หวั หน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุทนั ที ทั้งนี้ ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุเป็ นผูเ้ ก็บรักษา และต้องส่งมอบให้คณะกรรมการ โดยพลัน

123


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๒ วิธีสอบราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐บาท โดยมีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้ (๔) การพิจารณาผลคณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคาตรวจสอบผูเ้ สนอราคา ว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันหรือไม่ ประกาศชื่อผูผ้ ่านการตรวจสอบ แล้วเปิ ดซอง ใบเสนอราคาเฉพาะผูไ้ ม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ตรวจสอบคุณสมบัติของผูเ้ สนอ ราคาแล้วให้คดั เลือกผูเ้ สนอราคาที่ถกู ต้องตามเงื่อนไข และเสนอราคาตํา่ สุด แล้ว นําผลการพิจารณาเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสัง่ ซื้ อหรือจ้างต่อไป

124


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๒ วิธีสอบราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐บาท โดยมีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้

125


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๓ วิธีประกวดราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคา เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท การดําเนิ นการโดยวิธีประกวดราคา เป็ นการจัดหาที่มีวงเงินเกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้ (๑) เจ้าหน้าที่พสั ดุจดั ทํารายงานขอซื้ อหรือจ้าง เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการหรือ ผูร้ บั มอบอํานาจ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ จัดทําเอกสารประกวดราคา โดยทําตามตัวอย่างที่คณะกรรมการว่าด้วยการ พัสดุกาํ หนด โดยหากจะกําหนดแตกต่างก็สามารถกําหนดได้แต่ตอ้ งไม่ให้เกิด การได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างผูป้ ระกอบการด้วยกัน ซึ่งหากเห็นว่าไม่รดั กุมก็ ให้ส่งร่างเอกสารประกวดราคาไปให้สาํ นักงานอัยการสูงสุดตรวจ 126


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๓ วิธีประกวดราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคา เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๒) การประกาศข่าวการประกวดราคา ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุเผยแพร่ข่าว การประกวดราคา โดยออกประกาศ ณ ที่ทาํ การ ส่งวิทยุ และ หนังสือพิมพ์ส่งกรมประชาสัมพันธ์ ส่ง อสมท. ส่งศูนย์รวมข่าวประกวดราคา และส่ง สตง. ทั้งนี้ ในการจัดส่งประกาศทางไปรษณียใ์ ห้จดั ส่งโดยใช้บริการ ไปรษณียด์ ่วนพิเศษ (EMS)

127


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๓ วิธีประกวดราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคา เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๓) การประกาศ การให้/ขายเอกสาร และการคิดคํานวณราคา ในแต่ละขั้นตอนต้องมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๗ วันทําการ เมื่อถึงวันรับ ซองประกวดราคาห้ามร่นหรือเลื่อนวันรับซอง และเปิ ดซองประกวดราคา

128


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๓ วิธีประกวดราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคา เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๔) คณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา รับ รับซองราคา ตรวจหลักประกันซองร่วมกับเจ้าหน้าที่การเงิน รับเอกสารตามบัญชีรายการเอกสาร ส่งเอกสารส่วนที่ ๑ ให้ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเพื่อตรวจสอบผูม้ ี ผลประโยชน์ร่วมกัน เปิ ด เปิ ดซอง และอ่านโดยเปิ ดเผย (ราคา, บัญชีเอกสาร) เฉพาะ ที่ประกาศรายชื่อผูผ้ ่านการตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน เซ็น ลงลายมือชื่อกํากับทุกฉบับ ส่ง ส่งมอบเรื่องทั้งหมดให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ทันที 129


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๓ วิธีประกวดราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคา เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๕) คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา มีหน้าที่ตรวจสอบ ผูเ้ สนอราคาว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันหรือไม่ ตรวจสอบคุณสมบัติของ ผูเ้ สนอราคา ใบเสนอราคา เอกสารหลักฐานต่าง ๆ แล้วคัดเลือกผูเ้ สนอราคาที่ ถูกต้องตามเงื่อนไขในเอกสารประกวดราคา คัดเลือกสิ่งของหรืองานจ้างที่ผ่าน การตรวจสอบคุณสมบัติแล้ว ซึ่งมีคุณภาพ และคุณสมบัติที่เป็ นประโยชน์ต่อ งานราชการ และพิจารณาเลือกราคาตํา่ สุด แล้วนําผลการพิจารณาเสนอ หัวหน้าส่วนราชการเพื่อสัง่ ซื้ อหรือจ้างต่อไป

130


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๓ วิธีประกวดราคา ได้แก่ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคา เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท

131


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๔ วิธีพิเศษ ได้แก่ การซื้อหรือการจ้างซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท วิธีพิเศษ การดําเนิ นการซื้ อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษ เป็ นการจัดหาที่มีวงเงิน เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และต้องมีเงื่อนไขตามที่ระเบียบฯ กําหนดที่สาํ คัญมีดงั นี้ (๑) เป็ นพัสดุที่ตอ้ งซื้ อหรือจ้างโดยเร่งด่วน หากล่าช้าอาจจะเสียหายกับ ทางราชการ (๒) เป็ นพัสดุหรืองานที่ตอ้ งเป็ นความลับหรือใช้ในราชการลับ (๓) เป็ นพัสดุที่มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้ นในสถานการณ์ที่จาํ เป็ น หรือเร่งด่วน หรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ และจําเป็ นต้องซื้ อเพิ่มหรือจ้างเพิ่ม

132


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๔ วิธีพิเศษ ได้แก่ การซื้อหรือการจ้างซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท วิธีพิเศษ การดําเนิ นการซื้ อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษ เป็ นการจัดหาที่มีวงเงิน เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และต้องมีเงื่อนไขตามที่ระเบียบฯ กําหนดที่สาํ คัญมีดงั นี้ (๔) เป็ นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีขอ้ จํากัดทางเทคนิ คที่จาํ เป็ นต้อง ระบุยหี่ อ้ เป็ นการเฉพาะ หรือเป็ นงานที่ตอ้ งจ้างช่างผูม้ ีฝีมือโดยเฉพาะหรือผูม้ ี ความชํานาญเป็ นพิเศษ

133


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๔ วิธีพิเศษ ได้แก่ การซื้อหรือการจ้างซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท วิธีพิเศษ การดําเนิ นการซื้ อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษ เป็ นการจัดหาที่มีวงเงิน เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และต้องมีเงื่อนไขตามที่ระเบียบฯ กําหนดที่สาํ คัญมีดงั นี้ (๕) เป็ นพัสดุที่ได้ดาํ เนิ นการซื้ อหรือจ้างโดยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผลดี กระบวนการจัดซื้ อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษเริ่มด้วยเจ้าหน้าที่พสั ดุจดั ทํารายงาน ขอซื้ อหรือจ้างเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการหรือผูร้ บั มอบอํานาจ เมื่อหัวหน้า ส่วนราชการเห็นชอบ และแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้ อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษ แล้ว คณะกรรมการดําเนิ นการเชิญผูม้ ีอาชีพขาย (ผูผ้ ลิตหรือผูแ้ ทน จําหน่ าย) หรือผูม้ ีอาชีพรับจ้างโดยตรงมาเสนอราคา หากเห็นว่าราคาที่ เสนอนั้นยังสูงกว่าราคาในท้องตลาดหรือราคาที่คณะกรรมการเห็นสมควรให้ ต่อรองราคาลงเท่าที่จะทําได้ ให้คณะกรรมการรายงานผลต่อหัวหน้าส่วน ราชการเพื่อสัง่ ซื้ อสัง่ จ้างต่อไป 134


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๔ วิธีพิเศษ ได้แก่ การซื้อหรือการจ้างซึ่งมีราคาเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

เงื่อนไข วงเงินเกิน ๑ แสนบาท

135


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๕ วิธีกรณีพิเศษ การดําเนิ นการโดยวิธีกรณีพิเศษเป็ นการจัดหาที่ไม่จาํ กัดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข กล่าวคือ เป็ นการซื้ อหรือจ้างจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่ วยงานตาม กฎหมายท้องถิ่น ดังนี้ (๑) เป็ นผูผ้ ลิตพัสดุหรือทํางานจ้างนั้นเอง และนายกรัฐมนตรีอนุ มตั ิให้ซื้อ หรือจ้าง

136


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๕ วิธีกรณีพิเศษ การดําเนิ นการโดยวิธีกรณีพิเศษเป็ นการจัดหาที่ไม่จาํ กัดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข กล่าวคือ เป็ นการซื้ อหรือจ้างจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่ วยงานตาม กฎหมายท้องถิ่น ดังนี้ (๒) มีกฎหมาย หรือมติคณะรัฐมนตรีกาํ หนดให้ซื้อหรือจ้าง และให้รวมถึง หน่ วยงานที่มีกฎหมาย หรือมติคณะรัฐมนตรีกาํ หนดด้วย ซึ่งหมายความว่า การที่จะซื้ อหรือจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษนี้ ผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง จะต้องได้รบั สิทธิ พิเศษให้เป็ นผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้าง กระบวนการดําเนิ นการ เริ่มจากเจ้าหน้าที่พสั ดุจดั ทํารายงานขอซื้ อหรือจ้าง เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการหรือผูร้ บั มอบอํานาจ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบ ในกรณีที่มีวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุสามารถจัดซื้ อจัดจ้างได้ ภายในวงเงินที่ได้รบั ความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการหรือผูม้ ีอาํ นาจ หากเป็ นกรณีที่มี วงเงินเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท เป็ นอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการทั้งหมด ทั้งนี้ วิธีกรณีพิเศษหัวหน้าส่วนราชการมีอาํ นาจสัง่ ซื้ อสัง่ จ้างทั้งหมดไม่มีจาํ กัดวงเงิน 137


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๑) วิธีซ้ ือ และวิธีจา้ ง ๑.๕ วิธีกรณีพิเศษ

-วงเงินเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หัวหน้าส่วนราชการเป็ นผูส้ งั ่ ซื้ อหรือจ้าง -วงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ๑. เป็ นผูท้ าํ /ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุ มตั ิ หลักการแล้ว ๒. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรีให้ผซู้ ื้ อ/จ้าง

138


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๒) คณะกรรมการ ๒.๑ การดําเนินการซื้อหรือจ้าง การดําเนิ นการซื้ อหรือจ้างผูด้ าํ เนิ นการจะเป็ นบุคคลหรือคณะกรรมการขึ้ นอยูก่ บั วิธีที่ดาํ เนิ นการ ดังนี้

๑. ๒.

๑.

๓.

๓.๑

๒.

๓.๒ ๔. ๕.

๔. ๕.

139


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๒) คณะกรรมการ ๒.๒ การตรวจรับ (๑) ผูต้ รวจรับ สําหรับการซื้ อหรือจ้างในวงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท จะแต่งตั้งข้าราชการหรือลูกจ้างประจําคนหนึ่ งเป็ นผูต้ รวจรับ โดยปฏิบตั ิ หน้าที่เช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจ การจ้างก็ได้ (๒) คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เป็ นทั้งกรณีซื้อ และจ้างยกเว้นกรณีจา้ ง ก่อสร้างโดยดําเนิ นการตรวจรับพัสดุให้ถกู ต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ ตกลงกันไว้ เช่น ข้อตกลงเป็ นหนังสือ สัญญาซื้ อ/จ้าง เป็ นต้น (๓) คณะกรรมการตรวจการจ้าง ดําเนิ นการเฉพาะกรณีการจ้างก่อสร้างเท่านั้น (๔) ผูค้ วบคุมงาน ในการจ้างก่อสร้างแต่ละครั้ง ให้หวั หน้าส่วนราชการ แต่งตั้ง ผูค้ วบคุมงาน ที่มีความรูค้ วามสามารถชํานาญทางด้านช่าง 140


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๒) คณะกรรมการ ๒.๓ องค์ประกอบคณะกรรมการ คณะกรรมการตามข้อ ๒.๑ และ ๒.๒ แต่ละคณะประกอบด้วย ประธานกรรมการ ๑ คน และกรรมการอย่างน้อย ๒ คน โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการ โดยคํานึ งถึงลักษณะงาน หน้าที่และความรับผิดชอบของผูท้ ี่ได้รบั แต่งตั้งเป็ นสําคัญ หรือ เทียบเท่า ในกรณีจาํ เป็ นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการจะแต่งตั้งบุคคล คนก่อน คนที่ ๔ เป็ นต้นไปจึงพิจารณาบุคคลอื่นได้ ในการซื้ อหรือจ้างครั้งเดียวกัน ห้ามแต่งตั้งผูท้ ี่เป็ นกรรมการรับ และเปิ ดซอง ประกวดราคาเป็ นคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา หรือแต่งตั้งผูท้ ี่เป็ น กรรมการสอบราคาหรือกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเป็ นกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการทุกคณะ (ยกเว้นคณะกรรมการเปิ ดซองประกวดราคา) ควรแต่งตั้ง ผูช้ าํ นาญการหรือผูท้ รงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุหรืองานจ้างนั้น ๆ เข้าร่วมเป็ นกรรมการด้วย 141


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๒) คณะกรรมการ ๒.๔ มติที่ประชุม (๑) คณะกรรมการตามข้อ ๒.๑ ถือเสียงข้างมาก (๒) คณะกรรมการตามข้อ ๒.๒ ให้ถือมติเอกฉันท์

142


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง

๓) อํานาจในการสั ่งซื้อ/สั ่งจ่าย (๑) การสัง่ ซื้ อสัง่ จ้างครั้งหนึ่ ง นอกจากวิธีพิเศษและวิธีกรณีพิเศษ (๑.๑) หัวหน้าส่วนราชการ ไม่เกิน ๕๐ ล้านบาท (๑.๒) ปลัดกระทรวง เกิน ๕๐ ล้านบาท แต่ไม่เกิน ๑๐๐ ล้านบาท (๑.๓) รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เกิน ๑๐๐ ล้านบาท (๒) การสัง่ ซื้ อสัง่ จ้างโดยวิธีพิเศษ (๒.๑) หัวหน้าส่วนราชการ ไม่เกิน ๒๕ ล้านบาท (๒.๒) ปลัดกระทรวง เกิน ๒๕ ล้านบาท แต่ไม่เกิน ๕๐ ล้านบาท (๒.๓) รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เกิน ๕๐ ล้านบาท (๓) การสัง่ ซื้ อสัง่ จ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการสัง่ ซื้ อสัง่ จ้างโดย ไม่จาํ กัดวงเงิน 143


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง

๔) การตรวจรับพัสดุ ดังที่ได้กล่าวแล้วว่าการจัดซื้ อจัดจ้างทุกชนิ ดยกเว้นการจ้างก่อสร้างเมื่อ มีการตรวจรับจะดําเนิ นการโดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผูต้ รวจรับพัสดุหรือ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุมีหน้าที่บริหารสัญญา (รวมถึงใบสัง่ ซื้ อสัง่ จ้าง และข้อตกลงเป็ นหนังสือซึ่งถือเป็ นสัญญารูปแบบหนึ่ งเช่นกัน) ซึ่งต้องดําเนิ นการสรุป ดังนี้

144


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง

๔) การตรวจรับพัสดุ ๔.๑ ตรวจรับพัสดุให้เป็ นไปตามที่กาํ หนดในสัญญาทุกประการกล่าวคือ ผูข้ ายหรือ ผูร้ บั จ้างต้องส่งของหรืองานจ้างให้ถกู ต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้ โดยปกติให้ตรวจรับพัสดุในวันที่ผขู้ ายหรือผูร้ บั จ้างนําพัสดุมาส่ง และให้ ดําเนิ นการให้เสร็จสิ้ นไปโดยเร็วที่สุด ๔.๒ เมื่อตรวจถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้รบั พัสดุไว้ และถือว่าผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างได้ส่ง มอบพัสดุถกู ต้องครบถ้วนแล้วตั้งแต่วนั ที่ผขู้ ายหรือผูร้ บั จ้างนําพัสดุน้ันมาส่ง และส่งมอบพัสดุน้ันให้แก่เจ้าหน้าที่พสั ดุ และรายงานให้หวั หน้าส่วนราชการ ทราบต่อไป

145


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง

๔) การตรวจรับพัสดุ ๔.๓ ในกรณีที่พสั ดุที่ส่งมอบไม่เป็ นไปตามข้อกําหนดในสัญญาหรือข้อตกลง ให้ รายงานหัวหน้าส่วนราชการเพื่อทราบหรือสัง่ การ ๔.๔ หากผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างส่งมอบพัสดุถกู ต้องแต่ไม่ครบจํานวนหรือ ครบจํานวนแต่ไม่ถกู ต้องทั้งหมด ให้ตรวจรับไว้เฉพาะที่ถกู ต้อง และแจ้งให้ผขู ้ าย หรือผูร้ บั จ้างแก้ไข และส่งพัสดุให้ถกู ต้องต่อไป ๔.๕ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุตอ้ งมีมติเป็ นเอกฉันท์ ถ้ากรรมการบางคน ไม่รบั พัสดุ ให้กรรมการนั้นทําความเห็นแย้งไว้ และเสนอหัวหน้าส่วนราชการ พิจารณาสัง่ การต่อไป

146


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๕) การตรวจการจ้างก่อสร้าง/การควบคุมงานก่อสร้าง ๕.๑ คณะกรรมการตรวจการจ้าง มีหน้าที่สรุปได้ดงั นี้ (๑) ตรวจสอบรายงานการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้าง และเหตุการณ์แวดล้อม ที่ผคู้ วบคุมงานรายงาน โดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และ ข้อกําหนดในสัญญาทุกสัปดาห์ (๒) หากมีขอ้ สงสัยหรือเห็นว่าไม่น่าจะเป็ นไปได้ตามหลักวิชาช่าง ให้ออกตรวจ งานจ้าง ณ สถานที่ที่กาํ หนดไว้ในสัญญา โดยให้มีอาํ นาจสัง่ เปลี่ยนแปลง และแก้ไขเพิ่มเติมหรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตามหลัก วิชาช่าง เพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญา

147


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๕) การตรวจการจ้างก่อสร้าง/การควบคุมงานก่อสร้าง ๕.๑ คณะกรรมการตรวจการจ้าง มีหน้าที่สรุปได้ดงั นี้ (๓) เมื่อตรวจแล้วเห็นว่าถูกต้องครบถ้วนเป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญาแล้ว ให้ถือว่าผูร้ บั จ้างส่งงานจ้างนั้นแล้ว และ รายงานให้หวั หน้าส่วนราชการทราบ (๔) ในกรณีที่เห็นว่าผลงานที่ส่งมอบไม่เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและ ข้อกําหนดในสัญญา ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสัง่ การ (๕) คณะกรรมการตรวจการจ้างต้องมีมติเป็ นเอกฉันท์ ถ้ากรรมการบางคนไม่ รับงาน ให้กรรมการนั้นทําความเห็นแย้งไว้ และเสนอหัวหน้าส่วนราชการ พิจารณาสัง่ การต่อไป

148


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๕) การตรวจการจ้างก่อสร้าง/การควบคุมงานก่อสร้าง ๕.๒ ผูค้ วบคุมงาน มีหน้าที่สรุปได้ดงั นี้ (๑) ตรวจ และควบคุมงาน ณ สถานที่ที่กาํ หนดไว้ในสัญญาทุกวันให้เป็ นไป ตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญาทุกประการ โดยสัง่ เปลี่ยนแปลง และแก้ไขเพิม่ เติมหรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตามหลักวิชาช่างเพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และ ข้อกําหนดในสัญญา

149


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๕) การตรวจการจ้างก่อสร้าง/การควบคุมงานก่อสร้าง ๕.๒ ผูค้ วบคุมงาน มีหน้าที่สรุปได้ดงั นี้ (๒) ในกรณีที่ปรากฏว่าแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญา มีขอ้ ความขัดแย้งกัน หรือทํางานสําเร็จแล้วจะไม่มนั ่ คงแข็งแรง หรือไม่ เป็ นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือไม่ปลอดภัย ให้สงั ่ พักงานไว้กอ่ น แล้ว รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว

150


หน่วยที่ ๓ การซื้อการจ้าง ๕) การตรวจการจ้างก่อสร้าง/การควบคุมงานก่อสร้าง ๕.๒ ผูค้ วบคุมงาน มีหน้าที่สรุปได้ดงั นี้ (๓) จดบันทึกสภาพการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้าง และเหตุการณ์แวดล้อม เป็ นรายวัน พร้อมทั้งผลการปฏิบตั ิงาน หรือการหยุดงาน และสาเหตุที่มี การหยุดงาน เพื่อรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างทุกสัปดาห์ การ บันทึกการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้างให้ระบุรายละเอียดขั้นตอนการ ปฏิบตั ิงาน และวัสดุที่ใช้ดว้ ย

151


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา วัตถุประสงค์ :: เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย และวิธีดาํ เนิ นการ ในการจ้างที่ปรึกษาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม จะได้ปฏิบตั ิอย่างถูกต้องไม่เกิดความสับสน ระหว่างการจ้างกับการจ้างที่ปรึกษาซึ่งมีข้นั ตอนการปฏิบตั ิแตกต่างกัน อย่างสิ้ นเชิง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูป้ ฏิบตั ิที่ทาํ งานในเชิงวิชาการ ส่วนราชการนั้นจะ ได้รบั งบประมาณในด้านการจ้างที่ปรึกษาเป็ นจํานวนมาก

152


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา

ประกอบด้วยหัวข้อเรือ่ งย่อยดังนี้ ๑) ความหมายของการจ้างที่ปรึกษา ๒) วิธีการจ้างที่ปรึกษา ๒.๑) วิธีตกลง ๒.๒) วิธีคดั เลือก ๓) อํานาจในการสั ่งจ้างที่ปรึกษา ๔) ค่าจ้างที่ปรึกษา

153


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา ๑)ความหมายของการจ้างที่ปรึกษา การจ้างที่ปรึกษา หมายถึง การจ้างบริการจากที่ปรึกษา ซึ่งอาจเป็ นบุคคลธรรมดา หรือนิ ติบุคคลที่สามารถให้บริการเป็ นที่ปรึกษาทางวิศวกรรม สถาปั ตยกรรม เศรษฐศาสตร์ หรือสาขาอื่น รวมถึงให้บริการด้านศึกษาสํารวจ ออกแบบ และควบคุมงาน และการวิจยั เพื่อส่งเสริมที่ปรึกษาไทย ให้ส่วนราชการจ้างที่ปรึกษาไทยเป็ นหลักโดย ที่ปรึกษาจะต้องจดทะเบียนเป็ นที่ปรึกษาที่ศนู ย์ขอ้ มูลที่ปรึกษาของกระทรวงการคลัง ซึ่งอยูใ่ นความดูแลของสํานักงานบริหารหนี้ สาธารณะ กระทรวงการคลัง โดยหลักการแล้วการจ้างทัว่ ไปซึ่งเป็ นการจ้างทําของหรือการจ้างเหมาบริการ จะแตกต่างกับการจ้างที่ปรึกษาตรงที่การจ้างทัว่ ไป ส่วนราชการต้องทราบว่า ต้องการจ้างทําอะไร ข้อกําหนดรายละเอียดเป็ นอย่างไร หากผูร้ บั จ้างทํางานแล้ว ไม่เป็ นไปตามข้อกําหนดถือได้วา่ ผูร้ บั จ้างส่งมอบงานไม่ถกู ต้อง จึงต้องมีการแก้ไข ให้ถูกต้อง สําหรับการจ้างที่ปรึกษานั้นเป็ นงานในลักษณะที่ส่วนราชการ ไม่สามารถคิดขึ้ นเองได้ตอ้ งอาศัยผูม้ ีความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ มาช่วยศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ วิจยั เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่ส่วนราชการ จะได้นํามาใช้ประโยชน์กบั หน่ วยงานต่อไป 154


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา ๑)ความหมายของการจ้างที่ปรึกษา

การจ้างที่ปรึกษา การจ้างที่ปรึกษา หมายความว่า การจ้างบริการจากที่ปรึกษา แต่ไม่รวมถึง การจ้างออกแบบและควบคุมงานก่อสร้างอาคาร ด้วยเงินงบประมาณ ที่ปรึกษา หมายความว่า บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจ หรือสามารถให้บริการเปนที่ปรึกษาทางวิศวกรรม สถาปตยกรรม เศรษฐศาสตร์ หรือสาขาอื่น รวมทั้งให้บริการด้านการศึกษา สํารวจ ออกแบบ และควบคุมงาน และการวิจัย แต่ไม่รวมถึงการให้บริการออกแบบและ ควบคุมงานก่อสร้างอาคารด้วยเงินงบประมาณ ปรึกษาไทย หมายความว่า ที่ปรึกษาที่มีสัญชาติไทยและได้จดทะเบียนไว้กับ ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาของกระทรวงการคลัง www.pdmo.mof.go.th

155


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา

๒) วิธีการจ้างที่ปรึกษา มีดงั นี้ ๒.๑) วิธีตกลง ๒.๒) วิธีคดั เลือก

156


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา

๒.๑) วิธีตกลง (๑) ความหมาย การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงเป็ นการจ้าง ที่ปรึกษาที่ส่วนราชการจ้างที่ปรึกษารายใดรายหนึ่ งที่เคยทราบหรือเห็น ความสามารถ และผลงานแล้ว และเป็ นผูใ้ ห้บริการที่เชื่อถือได้

157


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา ๒.๑) วิธีตกลง (๒) เงื่อนไข การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงดําเนิ นการได้โดยมีเงื่อนไขดังนี้ (๒.๑) เป็ นการจ้างที่มีคา่ งานไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (๒.๒) เป็ นการจ้างเพื่องานต่อเนื่ องจากงานที่ได้ทาํ อยูแ่ ล้ว (๒.๓) เป็ นการจ้างในกรณีที่ทราบแน่ ชดั ว่าผูเ้ ชี่ยวชาญใน งานที่จะให้บริการตามที่ตอ้ งการมีจาํ นวนจํากัด และเป็ นการจ้างที่มีคา่ งานไม่เกิน ๒ ล้านบาท (๒.๔) เป็ นการจ้างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่ วยงานภาครัฐ ที่มีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีให้การสนับสนุ น ให้ดาํ เนิ นการจ้างได้โดยตรง (๒.๕) การจ้างที่ตอ้ งกระทําโดยเร่งด่วน หากล่าช้าอาจจะเสียหาย แก่ราชการ และมีความจําเป็ นที่ตอ้ งดําเนิ นการจ้างโดย วิธีตกลงก็ให้กระทําได้ แต่ตอ้ งรายงานคณะกรรมการว่าด้วยการ พัสดุเพื่อเห็นชอบ 158


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา ๒.๑) วิธีตกลง (๓) การดําเนิ นการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงราคา มีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้ (๓.๑) เจ้าหน้าที่พสั ดุจดั ทํารายงานขอจ้างที่ปรึกษา เสนอต่อหัวหน้า ส่วนราชการหรือผูร้ บั มอบอํานาจ และเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการ จ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง (๓.๒) คณะกรรมการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงมีหน้าที่ (๓.๒.๑) พิจารณาข้อเสนอด้านเทคนิ คของที่ปรึกษา (๓.๒.๒) พิจารณาอัตราค่าจ้าง และค่าใช้จา่ ยอื่นๆ ที่ เกี่ยวเนื่ องกับบริการที่จะจ้าง (๓.๒.๓) เจรจาต่อรอง (๓.๒.๔) พิจารณารายละเอียดที่จะกําหนดในสัญญา (๓.๓) คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณา และความเห็นเสนอ หัวหน้าส่วนราชการ เพื่อสัง่ จ้างที่ปรึกษาต่อไป 159


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา

๒.๒) วิธีคดั เลือก (๑) ความหมาย การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคดั เลือกเป็ นการจ้างที่ปรึกษา โดยการคัดเลือกที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะทํางานนั้นให้ เหลือน้อยราย และเชิญชวนที่ปรึกษาที่ได้รบั การคัดเลือกให้เหลือน้อย รายนั้นยืน่ ข้อเสนอเข้ารับงาน เพื่อส่วนราชการจะได้พิจารณาคัดเลือก ที่ปรึกษาที่ดีที่สุดต่อไป

160


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา

๒.๒) วิธีคดั เลือก

(๒) วิธีการจ้างที่ปรึ กษาโดยวิธีคดั เลือก มี ๒ วิธี คือ (๒.๑) การจ้างที่ปรึกษาที่เป็ นงานยุง่ ยากซับซ้อน จะพิจารณา ข้อเสนอทางเทคนิ คของที่ปรึกษาที่ยนื่ ข้อเสนอซึ่งได้คะแนน สูงสุด แล้วเปิ ดซองข้อเสนอด้านราคาของที่ปรึกษารายนั้นแล้ว เจรจาต่อรองให้ได้ราคาที่เหมาะสม (๒.๒) การจ้างที่ปรึกษาที่เป็ นงานที่ไม่ยุง่ ยากซับซ้อน จะพิจารณา ข้อเสนอทางเทคนิ คของที่ปรึกษาที่ยนื่ ข้อเสนอ โดยจัด เรียงลําดับคะแนน และเปิ ดซองข้อเสนอด้านราคาของที่ ปรึกษาที่ได้คะแนนสูงสุด ๓ ลําดับแรก แล้วเจรจาต่อรองกับที่ ปรึกษาซึ่งเสนอราคาตํา่ สุดเป็ นลําดับแรก 161


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา ๒.๒) วิธีคดั เลือก (๓) การดําเนิ นการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคดั เลือก มีกระบวนการสรุปได้ดงั นี้ (๓.๑) เจ้าหน้าที่พสั ดุจดั ทํารายงานขอจ้างที่ปรึกษา เสนอต่อหัวหน้า ส่วนราชการ หรือผูร้ บั มอบอํานาจ และเสนอแต่งตั้ง คณะกรรมการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคดั เลือก (๓.๒) คณะกรรมการดําเนิ นการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคดั เลือกทําหน้าที่ พิจารณาคัดเลือกที่ปรึกษาให้เหลือน้อยราย โดยคัดเลือกอย่าง มาก ๖ ราย แล้วรายงานหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณา (๓.๓) ส่วนราชการออกหนังสือเชิญชวนที่ปรึกษาที่ได้คดั เลือกไว้แล้ว เพื่อรับงานโดยกําหนดวิธีใดวิธีหนึ่ งตามข้อ (๒) (๓.๔) คณะกรรมการดําเนิ นการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคดั เลือกดําเนิ นการ พิจารณาข้อเสนอด้านเทคนิ คของที่ปรึกษาที่ยนื่ ข้อเสนอตามวิธีการที่ กําหนดในข้อ (๓.๓) (๓.๕) คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณา และความเห็นเสนอหัวหน้า ส่วนราชการเพื่อสัง่ จ้างที่ปรึกษาต่อไป

162


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา ๓) อํานาจในการสั ่งจ้างที่ปรึกษา การสัง่ จ้างที่ปรึกษาในแต่ละครั้ง ให้เป็ นอํานาจของผูด้ าํ รงตําแหน่ ง และภายในวงเงินดังนี้ (๓.๑) หัวหน้าส่วนราชการ ไม่เกิน ๕๐ ล้านบาท (๓.๒) ปลัดกระทรวง เกิน ๕๐ ล้านบาทแต่ไม่เกิน ๑๐๐ ล้านบาท (๓.๓) รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เกิน ๑๐๐ ล้านบาท

163


หน่วยที่ ๔ การจ้างที่ปรึกษา

๔) ค่าจ้างที่ปรึกษา อัตราค่าจ้างที่ปรึกษาให้เป็ นไปตามความเหมาะสม และประหยัด โดย คํานึ งถึงองค์ประกอบต่างๆ เช่น ลักษณะของงานที่จะจ้างอัตราค่าจ้าง ของงานในลักษณะเดียวกันที่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเคยจ้าง จํานวนคน-เดือน (man-month) เท่าที่จาํ เป็ น ดัชนี ค่าครองชีพ เป็ นต้น

164


หน่วยที่ ๕ สัญญา วัตถุประสงค์ :: เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับสัญญาหรือข้อตกลง เป็ นหนังสือที่ถือเป็ นสัญญาในรูปแบบหนึ่ ง การแก้ไขสัญญา ค่าปรับเมื่อ ผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างผิดสัญญา รวมถึงการบริหารสัญญา

165


หน่วยที่ ๕ สัญญา

ประกอบด้วยหัวข้อเรือ่ งย่อยดังนี้ ๑) การจัดทําสัญญา และการลงนามในสัญญา ๒) ข้อตกลงเป็ นหนังสือ ๓) การแก้ไขสัญญา ๔) การบอกเลิกสัญญา ๕) ค่าปรับ

166


หน่วยที่ ๕ สัญญา ๑) การจัดทําสัญญา และการลงนามในสัญญา เมื่อส่วนราชการดําเนิ นการจัดหาพัสดุจนได้ตวั ผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างแล้ว ก็เข้าสู่กระบวนการจัดทํา และลงนามในสัญญา สัญญาที่ส่วนราชการจะจัดทํานั้นต้องเป็ นไปตามตัวอย่างที่คณะกรรมการ ว่าด้วยการพัสดุกาํ หนด ซึ่งร่างสัญญาดังกล่าวผ่านการตรวจพิจารณาจาก สํานักงานอัยการสูงสุดแล้ว หากการทําสัญญาครั้งใดที่มีความจําเป็ นต้องมีขอ้ ความ ที่แตกต่างไปจากตัวอย่างที่กาํ หนด แต่ยงั คงมีสาระสําคัญตามที่กาํ หนดอยู่ และ ไม่ทาํ ให้ทางราชการเสียเปรียบก็ให้กระทําได้ แต่หากเห็นว่าจะทําให้มีปัญหา ในทางเสียเปรียบหรือไม่รดั กุมพอ ก็ให้ส่งร่างสัญญาที่แก้ไขให้สาํ นักงานอัยการสูงสุด ตรวจพิจารณาก่อน ในกรณีที่ส่วนราชการเห็นว่า จําเป็ นต้องร่างสัญญาขึ้ นใหม่ให้ส่งร่างสัญญา ให้สาํ นักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน 167


หน่วยที่ ๕ สัญญา ๑) การจัดทําสัญญา และการลงนามในสัญญา การลงนามในสัญญาเป็ นอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการ เงื่อนไขที่สาํ คัญของสัญญา ๑. ตกลงเรื่องรูปแบบ ปริมาณ จํานวน ราคา ๒. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) ๓. การจ่ายเงินล่วงหน้า ๔. หลักประกัน ๕.การส่งมอบ การตรวจรับ ๖. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ ๗. การปรับ ๘. การประกันความชํารุดบกพร่อง 168


หน่วยที่ ๕ สัญญา ๒) ข้อตกลงเป็ นหนังสือ ข้อตกลงเป็ นหนังสือถือเป็ นสัญญาในรูปแบบหนึ่ ง การจัดหาพัสดุในกรณีดงั ต่อไปนี้ จะทําข้อตกลงเป็ นหนังสือโดยไม่ตอ้ งทําเป็ นสัญญาก็ได้ โดยให้อยูใ่ นดุลพินิจของหัวหน้า ส่วนราชการ ๒.๑ การซื้ อการจ้างโดยวิธีตกลง หรือการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงที่มีวงเงิน ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐บาท ๒.๒ การจัดหาที่ค่สู ญ ั ญาสามารถส่งมอบพัสดุได้ครบถ้วนภายใน ๕ วันทําการ นับถัดจากวันลงนามในสัญญา ๒.๓ การซื้ อการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ และการจัดหาจากส่วนราชการ ๒.๔ การซื้ อการจ้างโดยวิธีพิเศษ กรณีเงื่อนไข เช่น เป็ นพัสดุที่ตอ้ งซื้ อหรืองานจ้าง ที่ตอ้ งทําโดยเร่งด่วน หากล่าช้าอาจจะเสียหายแก่ราชการ เป็ นงานที่ตอ้ งจ้าง ช่างผูม้ ีฝีมือเป็ นการเฉพาะ เป็ นพัสดุที่มีความจําเป็ นต้องระบุยหี่ อ้ เป็ นการ เฉพาะฯลฯ 169


หน่วยที่ ๕ สัญญา ๒) ข้อตกลงเป็ นหนังสือ สัญญา ๑. สัญญาแบบเต็มรูปแบบ ๑.๑ ทําสัญญาตามตัวอย่างที่คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุกาํ หนด ๑.๒ ถ้ามีขอ้ ความแตกต่างอาจเสียเปรียบไม่รดั กุม ส่งให้สาํ นักงานอัยการสูงสุดพิจารณา ๑.๓ ร่างใหม่ ส่งให้สาํ นักงานอัยการสูงสุดพิจารณา ๒. สัญญาแบบลดรูป ข้อตกลงเป็ นหนังสือ (ใบสัง่ ซื้ อ/สัง่ จ้าง) ๒.๑ ตกลงราคา ๒.๒ ส่งของภายใน ๕ วันทําการ ๒.๓ กรณีพิเศษ ๒.๔ การซื้ อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ(บางกรณี) ๓. ไม่ตอ้ งมีสญ ั ญา ๓.๑ การซื้ อ หรือจ้างไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท ๓.๒ การซื้ อ หรือจ้างโดยวิธีตกลงราคากรณีเร่งด่วน และไม่อาจคาดหมายได้ จะไม่ทาํ 170 ข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้


หน่วยที่ ๕ สัญญา ๓) การแก้ไขสัญญา โดยหลักการสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือที่ได้ลงนามในสัญญาแล้วจะแก้ไข เปลี่ยนแปลงมิได้ ยกเว้น ๓.๑ แก้ไขเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ หรือ ๓.๒ แก้ไขโดยไม่ทาํ ให้ทางราชการต้องเสียประโยชน์ การแก้ไขสัญญาอยูใ่ นอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการที่จะพิจารณาอนุ มตั ิ แต่ ถ้าแก้ไขสัญญาแล้วมีความจําเป็ นต้องเพิ่มหรือลดวงเงินหรือเพิ่มหรือลดเวลาส่งมอบของ หรือระยะเวลาในการทํางาน ก็ให้ตกลงไว้ในสัญญาไปพร้อมกัน

171


หน่วยที่ ๕ สัญญา ๔) การบอกเลิกสัญญา ส่วนราชการจะบอกเลิกสัญญากับคู่สญ ั ญาได้ดงั นี้ ๔.๑ ให้หวั หน้าส่วนราชการพิจารณาใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง ในกรณี ที่มีเหตุเชื่อได้วา่ ผูร้ บั จ้างไม่สามารถทํางานให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กาํ หนด ๔.๒ การตกลงกับคู่สญ ั ญาที่จะบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง ส่วนราชการพิจารณาได้ เฉพาะกรณีที่เป็ นประโยชน์แก่ทางราชการโดยตรง หรือเพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบ ของทางราชการในการที่จะปฏิบตั ิตามสัญญาหรือข้อตกลงนั้นต่อไป ๔.๓ ในกรณีค่สู ญ ั ญาไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาหรือข้อตกลงได้ และจะต้อง มีการปรับตามสัญญาหรือข้อตกลงนั้น หากจํานวนเงินค่าปรับจะเกินร้อยละ ๑๐ ของวงเงินค่าพัสดุหรือวงเงินค่าจ้าง ให้ส่วนราชการพิจารณาดําเนิ นการบอกเลิกสัญญา หรือข้อตกลง เว้นแต่ค่สู ญ ั ญาจะได้ยนิ ยอมเสียค่าปรับให้แก่ทางราชการโดยไม่มีเงื่อนไข ใดๆ ทั้งสิ้ น ให้หวั หน้าส่วนราชการพิจารณาผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญาได้เท่าที่จาํ เป็ น 172


หน่วยที่ ๕ สัญญา

๕) ค่าปรับ การกําหนดค่าปรับไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือสามารถกําหนดสรุปได้ดงั นี้ ๕.๑ สัญญาซื้ อหรือสัญญาจ้าง ยกเว้นสัญญาจ้างที่ปรึกษา (๑) ให้กาํ หนดค่าปรับเป็ นรายวันในอัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ ๐.๐๑-๐.๒๐ ของราคาพัสดุที่ยงั ไม่ได้ส่งมอบ (๒) หากเป็ นงานจ้างซึ่งต้องการผลสําเร็จของงานทั้งหมดพร้อมกัน ให้กาํ หนดค่าปรับเป็ นรายวันในอัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ ๐.๐๑-๐.๐๒ ของราคางานจ้างนั้น

173


หน่วยที่ ๕ สัญญา

๕) ค่าปรับ การกําหนดค่าปรับไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือสามารถกําหนดสรุปได้ดงั นี้ ๕.๒ สัญญาจ้างที่ปรึกษา หากส่วนราชการเห็นว่าถ้าไม่กาํ หนดค่าปรับไว้ในสัญญา จะเกิดความเสียหายแก่ทางราชการ ให้ส่วนราชการกําหนดค่าปรับเป็ นรายวัน ในอัตราหรือจํานวนเงินตายตัวในอัตราร้อยละ ๐.๐๑-๐.๑๐ ของราคางานจ้างนั้น

174


หน่วยที่ ๕ สัญญา

๕) ค่าปรับ การกําหนดค่าปรับไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือสามารถกําหนดสรุปได้ดงั นี้ ๕.๓ ในกรณีการจัดหาสิ่งของที่ประกอบกันเป็ นชุด ถ้าขาดส่วนประกอบส่วนใด ส่วนหนึ่ งไปจะไม่สามารถใช้การได้อย่างสมบูรณ์ แม้ค่สู ญ ั ญาจะส่งมอบสิ่งของ ภายในกําหนดตามสัญญา แต่ยงั ขาดส่วนประกอบบางส่วน ต่อมาได้ส่งมอบ ส่วนประกอบที่ยงั ขาดนั้นเกินกําหนดสัญญา ให้ถือว่าไม่ได้ส่งมอบสิ่งของนั้นเลย ให้ปรับเต็มราคาของทั้งชุด

175


หน่วยที่ ๕ สัญญา

๕) ค่าปรับ การกําหนดค่าปรับไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือสามารถกําหนดสรุปได้ดงั นี้ ๕.๔ เมื่อครบกําหนดส่งมอบพัสดุตามสัญญา ให้สว่ นราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับ ตามสัญญา และเมื่อคู่สญ ั ญาได้ส่งมอบพัสดุ ส่วนราชการบอกสงวนสิทธิ์การ เรียกค่าปรับในขณะที่รบั มอบพัสดุน้ันด้วย

176


หน่วยที่ ๕ สัญญา ๕) ค่าปรับ การกําหนดค่าปรับไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือสามารถกําหนดสรุปได้ดงั นี้ ๕.๕ การลดหรืองดค่าปรับให้แก่คสู่ ญ ั ญา หรือการขยายเวลาทําการตามสัญญา ให้อยูใ่ นอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการที่จะพิจารณาได้ตามจํานวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้ น จริงเฉพาะกรณีดงั นี้ (๑) เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของส่วนราชการ เช่น ส่วนราชการ คู่สญ ั ญาไม่สามารถส่งมอบพื้ นที่สาํ หรับงานจ้างก่อสร้างตามสัญญาได้ ส่วนราชการคู่สญ ั ญาไม่สามารถส่งมอบข้อมูลสําหรับงานจ้างพัฒนาระบบ คอมพิวเตอร์ตามสัญญาได้ ฯลฯ (๒) เหตุสุดวิสยั เช่น ภัยธรรมชาติต่างๆ ฯลฯ (๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ที่ค่สู ญ ั ญาไม่ตอ้ งรับผิดตามกฎหมาย คู่สญ ั ญาต้องแจ้งเหตุตามข้อ (๒) และ (๓) ให้ส่วนราชการทราบภายใน ๑๕ วันนับแต่เหตุได้สิ้นสุดลง แต่สาํ หรับ (๑) คู่สญ ั ญาอาจไม่ตอ้ งแจ้งเหตุ หากมีหลักฐานชัดแจ้งหรือส่วนราชการทราบดีอยูแ่ ล้วตั้งแต่ตน้ 177


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ วัตถุประสงค์ :: เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุม และจําหน่ ายพัสดุ เมื่อส่วนราชการดําเนิ นการจัดซื้ อจัดจ้างมีการส่งมอบของหรืองานจ้าง ส่วนราชการตรวจรับเสร็จสิ้ น และมีการชําระเงินเรียบร้อยแล้ว กรรมสิทธิ์ ของวัสดุ ครุภณ ั ฑ์หรือสิ่งก่อสร้างตกเป็ นของส่วนราชการนั้น ส่วนราชการ จะต้องมีการควบคุมการใช้พสั ดุน้ัน และเมื่อใดที่พสั ดุหมดความจําเป็ น ส่วนราชการต้องจําหน่ ายพัสดุออกจากบัญชี 178


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ ประกอบด้วยหัวข้อเรือ่ งย่อยดังนี้ ๑) การควบคุม ๑.๑) แนวทางการควบคุม ๑.๒) การตรวจสอบพัสดุประจําปี ๒) การจําหน่าย ๒.๑) ขาย ๒.๒)แลกเปลี่ยน ๒.๓) โอน ๒.๔) ทําลาย 179


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ

๑) การควบคุม เมื่อส่วนราชการจัดหาพัสดุได้แล้ว พัสดุน้ันต้องอยูใ่ นความควบคุม ของเจ้าหน้าที่พสั ดุหรือผูม้ ีหน้าที่รบั ผิดชอบ

180


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ

๑.๑) แนวทางการควบคุม ในส่วนของวัสดุซึ่งเป็ นสิ่งที่ใช้แล้วหมดไปไม่สามารถนํากลับมาใช้ได้อีก จะต้องควบคุมโดยการลงบัญชีวสั ดุ ในลักษณะยอดคงเหลือยกมาบวกซื้ อเพิม่ หักยอด ที่หน่ วยงานภายในขอเบิกไปใช้ การลงบัญชีดงั กล่าวจะต้องลงทุกชนิ ดของวัสดุที่ซื้อมาใช้ และต้องปฏิบตั ิทุกครั้งที่ซื้อเพิ่มหรือมีภายในขอเบิกไปใช้หน่ วยงาน เมื่อดําเนิ นการเช่นนี้ ส่วนราชการจะทราบรายละเอียดของวัสดุทุกชนิ ด คาดการณ์ได้วา่ จะต้องจัดซื้ อเพิ่มจํานวน เท่าไร เพื่อให้ได้รบั วัสดุเมื่อใด จะได้ไม่เป็ นภาระแก่ส่วนราชการในการเก็บรักษาวัสดุ และ ไม่ทาํ ให้วสั ดุมีจาํ นวนไม่เพียงพอกับการขอเบิกไปใช้ของหน่ วยงาน

181


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ ๑.๑) แนวทางการควบคุม ในส่วนของครุภณ ั ฑ์ และสิ่งก่อสร้าง ซึ่งในทางบัญชีถือว่าเป็ นสินทรัพย์ถาวร มีอายุการใช้งานมากกว่า ๑ ปี ใช้แล้วสามารถนํากลับมาใช้ได้อีก จะต้องควบคุม โดยการลงทะเบียนครุภณ ั ฑ์เป็ นรายการ เพื่อให้ทราบว่าครุภณ ั ฑ์แต่ละรายการ อยูใ่ นการครอบครองของหน่ วยงานใด และทําให้ทราบประวัติของครุภณ ั ฑ์น้ันๆด้วย รวมทั้งทําให้ทราบว่าครุภณ ั ฑ์แต่รายการจะหมดอายุการใช้งานเมื่อใด และจะต้อง ขอรับงบประมาณเพื่อทดแทนของเดิมเมื่อใด เจ้าหน้าที่พสั ดุหรือผูม้ ีหน้าที่จะต้องเก็บรักษาพัสดุให้เป็ นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัย และให้ครบถ้วนถูกต้องตรงตามบัญชีวสั ดุ และทะเบียนครุภณ ั ฑ์

182


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ ๑.๒) การตรวจสอบพัสดุประจําปี เพื่อให้ส่วนราชการได้มีการตรวจสอบพัสดุท้งั จํานวน และสภาพของพัสดุ ที่อยูใ่ นความครอบครอง ส่วนราชการจะต้องดําเนิ นการเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวดังนี้ (๑) ก่อนสิ้ นเดือนกันยายนของทุกปี หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ซึ่งมิใช่เจ้าหน้าที่พสั ดุหนึ่ งคนหรือหลายคนเพื่อตรวจสอบพัสดุของหน่ วยงาน ในรอบปี งบประมาณที่ผ่านมา (๑ ตุลาคม ของปี ที่ผ่านมา ถึง ๓๐ กันยายน ของปี ปั จจุบนั ) โดยเริ่มดําเนิ นการตรวจสอบตั้งแต่วนั ที่ ๑ ตุลาคม ของปี ปั จจุบนั (๒) การตรวจสอบตามข้อ (๑) ให้ตรวจสอบว่าการรับ และจ่ายพัสดุถกู ต้อง หรือไม่ โดยตรวจสอบจากบัญชี และทะเบียน รวมทั้งพัสดุคงเหลือในบัญชี และทะเบียนถูกต้อง และมีตวั ตนอยูจ่ ริง ตรวจสอบว่ามีพสั ดุชาํ รุดเสียหาย เสื่อมคุณภาพหรือสูญไปเพราะเหตุใด หรือมีพสั ดุใดที่ไม่จาํ เป็ นต้องใช้ใน ราชการต่อไป 183


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ ๑.๒) การตรวจสอบพัสดุประจําปี เพื่อให้ส่วนราชการได้มีการตรวจสอบพัสดุท้งั จํานวน และสภาพของพัสดุ ที่อยูใ่ นความครอบครอง ส่วนราชการจะต้องดําเนิ นการเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวดังนี้ (๓) ผูไ้ ด้รบั การแต่งตั้งให้ตรวจสอบพัสดุประจําปี จะต้องตรวจสอบพัสดุในแล้วเสร็จ พร้อมจัดทํารายงานเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการภายใน ๓๐ วันทําการ (ต้อง แล้วเสร็จประมาณกลางเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี ) (๔) เมื่อหัวหน้าส่วนราชการได้รบั รายงานตามข้อ ๒ แล้วปรากฏว่ามีพสั ดุชาํ รุด เสื่อมสภาพ หรือสูญไป หรือไม่จาํ เป็ นต้องใช้ในราชการต่อไป ให้ดาํ เนิ นการ ดังนี้ (๔.๑) กรณีเสื่อมสภาพเนื่ องมาจากการใช้ตามปกติ หรือสูญไป ตามธรรมชาติ ให้หวั หน้าส่วนราชการพิจารณาสัง่ การให้ จําหน่ ายต่อไป (๔.๒) กรณีนอกเหนื อจากข้อ (๔.๑) ให้หวั หน้าส่วนราชการแต่งตั้ง กรรมการสอบหาข้อเท็จจริง หากผลการพิจารณาปรากฏว่า จะต้องหาตัวผูร้ บั ผิด ให้หวั หน้าส่วนราชการดําเนิ นการตามกฎ 184 ระเบียบที่เกี่ยวข้องต่อไป


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ ๒) การจําหน่าย การจําหน่ ายพัสดุออกจากบัญชีไม่ได้ หมายถึง การขายเพียงอย่างเดียว แต่ หมายถึงวิธีการที่ส่วนราชการจะตัดรายการพัสดุที่ไม่ตอ้ งการใช้แล้วหรือสูญไปออก จากบัญชีหรือทะเบียนได้อย่างไรบ้าง ดังนั้น เมื่อตรวจสอบพัสดุแล้วพบว่า พัสดุใด หมดความจําเป็ นหรือหากใช้ในราชการต่อไปจะสิ้ นเปลืองค่าใช้จา่ ยมาก ให้ส่วนราชการดําเนิ นวิธีการใดดังนี้ ๒.๑) ขาย ให้ขายโดยวิธีขายทอดตลาดก่อน ๒.๒) แลกเปลี่ยน สามารถแลกเลี่ยนได้เฉพาะวัสดุกบั วัสดุ ครุภณ ั ฑ์กบั ครุภณ ั ฑ์ ๒.๓) โอน ให้โอนแก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่ วยงานของรัฐ หรือองค์กร สาธารณกุศล เช่น วัด สถานศึกษา ฯลฯ ๒.๔) แปรสภาพหรือทําลาย เมื่อจําหน่ ายแล้วให้จา่ ยออกจากบัญชีวสั ดุ หรือ ทะเบียนครุภณ ั ฑ์ และเงินที่ได้รบั จากการจําหน่ ายให้นําส่งเป็ นรายได้ แผ่นดินต่อไป 185


หน่วยที่ ๖ การควบคุม และการจําหน่ายพัสดุ ๒) การจําหน่าย การควบคุมและการจําหน่ายพัสดุ พัสดุของส่วนราชการไม่ว่าจะได้มาด้วย ประการใด ดําเนินการควบคุมและเก็บรักษา โดยการจัดทําบัญีวสั ดุและทะเบียน ครุภัณฑ์ หน่วยงานทีต่ ้องการใช้พสั ดุ ดําเนินการเบิก-จ่าย ส่วนราชการดําเนินการตรวจสอบพัสดุประจําป ดําเนินการจําหน่ายในกรณีที่ปรากฏว่า มีพัสดุหมดความจําเปน หรือหากใช้ราชการต่อไปจะ สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก หรือสูญไป โดยไม่มีผู้รับผิดในกรณีดังกล่าว ลงจ่ายพัสดุทจี่ ําหน่ายแล้วออกจากบัญชีหรือทะเบียนควบคุม

186


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน วัตถุประสงค์ :: เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเหตุแห่งการทิ้ งงาน การพิจารณาให้เป็ นผูท้ ิ้ งงาน และผลของการเป็ นผูท้ ิ้ งงาน

187


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน

ประกอบด้วยหัวข้อเรือ่ งย่อยดังนี้ ๑) ความหมายของผูท้ ้ ิงงาน ๒) เหตุแห่งการทิ้งงาน ๓) การดําเนินการให้เป็ นผูท้ ้ งงาน ิ ๔) การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน

188


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน

๑) ความหมายของผูท้ ้ ิงงาน เมื่อส่วนราชการดําเนิ นการจัดซื้ อจัดจ้าง ในบางครั้งเมื่อได้ผชู ้ นะในการเสนอราคา หรือได้ค่สู ญ ั ญากับทางราชการแล้วก็ตาม แต่ก็ยงั ไม่อาจจะถือได้วา่ ส่วนราชการนั้น จะประสบความสําเร็จในการจัดซื้ อหรือจัดจ้างในครั้งนั้นเสมอไป ด้วยเหตุที่วา่ ผูช้ นะการเสนอราคาไม่เข้าทําสัญญา หรือเข้าทําสัญญาแล้วแต่ไม่สามารถทํางาน ให้แล้วเสร็จตามสัญญา มีอยูเ่ ป็ นจํานวนไม่น้อย ซึ่งทําให้ส่วนราชการต้องดําเนิ นการ ให้ผชู้ นะในการเสนอราคาหรือคู่สญ ั ญาเป็ นผูท้ ิ้ งงานของทางราชการ ทั้งนี้ เพื่อลงโทษ และป้องกันมิให้ผปู ้ ระกอบการรายนั้นก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการได้อีก

189


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน

๒) เหตุแห่งการทิ้งงาน ๒.๑) ผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกแล้วไม่มาทําสัญญา หรือข้อตกลงภายในเวลา ที่ทางราชการกําหนด ส่วนราชการประกาศจัดซื้ อจัดจ้างดําเนิ นการจนกระทัง่ ได้ตวั ผูจ้ ะมาลงนามในสัญญากับทางราชการแล้ว และส่วนราชการผูว้ า่ จ้าง ให้มาทําสัญญาหรือข้อตกลงแต่ปรากฏว่า ผูป้ ระกอบการรายนั้นไม่มาทําสัญญา หรือข้อตกลง ๒.๒) คู่สญ ั ญาหรือผูร้ บั จ้างช่วงที่ทางราชการอนุ ญาตให้รบั ช่วงงานได้ไม่ปฏิบตั ิตาม สัญญา เมื่อส่วนราชการได้ลงนามในสัญญาแล้วปรากฏว่าผูป้ ระกอบการซึ่งเป็ น คู่สญ ั ญาไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาโดยไม่มีเหตุอนั ควร เช่น งานจ้างก่อสร้างเมื่อลงนาม ในสัญญาแล้ว คู่สญ ั ญาไม่เข้าทํางาน โดยไม่มีเหตุผลของการไม่เข้าทํางาน หรือมี เหตุผลแต่ฟังไม่ขึ้น ฯลฯ 190


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน ๒) เหตุแห่งการทิ้งงาน ๒.๓) คู่สญ ั ญาไม่แก้ไขความชํารุดบกพร่องที่เกิดขึ้ นภายในระยะเวลาที่กาํ หนด ไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง หรือพัสดุที่ซื้อหรือจ้างไม่ได้มาตรฐาน หรือวัสดุที่ใช้ไม่ได้ มาตรฐานหรือไม่ครบถ้วนตามที่กาํ หนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง ทําให้งาน เสียหายอย่างร้ายแรง ๒.๔) งานก่อสร้างสาธารณูปโภคมีขอ้ บกพร่องหรือไม่ได้มาตรฐานหรือ ไม่ครบถ้วน ๒.๕) งานจ้างที่ปรึกษาหรือการจ้างออกแบบ และควบคุมงานที่มีขอ้ บกพร่องผิดพลาด หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการอย่างร้ายแรง ๒.๖) ผูก้ ระทําการขัดขวางการแข่งขันราคาหรือกระทําการโดยไม่สุจริต ในการเสนอราคา เช่น การเสนอเอกสารอันเป็ นเท็จหรือใช้ชื่อบุคคลธรรมดาหรือ นิ ติบุคคลอื่นมาเป็ นผูเ้ สนอราคาแทน 191


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน ๓) การดําเนินการให้เป็ นผูท้ ้ งงาน ิ ๓.๑) เมื่อส่วนราชการระดับกรมหรือจังหวัดเจ้าของเรื่องที่จะดําเนิ นการ จัดทํา รายงานเรื่องที่อยูใ่ นหลักเกณฑ์การลงโทษให้เป็ นผูท้ ิ้ งงาน จะต้องให้ค่กู รณี มีโอกาสที่จะได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ และมีโอกาสโต้แย้ง และแสดง พยานหลักฐานของตน โดยให้ส่วนราชการระดับกรมหรือจังหวัด มีหนังสือ แจ้งเหตุที่จะมีการพิจารณาลงโทษให้ผปู้ ระกอบการทราบ และขอให้ชี้แจง เหตุผลข้อเท็จจริง พร้อมยืน่ เอกสารหลักฐานประกอบ (ถ้ามี) ภายใน ระยะเวลาที่กาํ หนดแต่จะต้องไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั หนังสือ แจ้ง ทั้งนี้ โดยแจ้งไปด้วยว่า ถ้าไม่ชี้แจงภายในกําหนดเวลาจะถือว่าไม่มี เหตุผลอันสมควร และจะพิจารณาไปตามข้อเท็จจริงของทางราชการแต่เพียง ฝ่ ายเดียว

192


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน ๓) การดําเนินการให้เป็ นผูท้ ้ งงาน ิ ๓.๒) ในกรณีที่ผปู ้ ระกอบการเป็ นนิ ติบุคคล ถ้าการกระทําเกิดจากผูบ้ ริหารให้ลงโทษผูบ้ ริหาร (ผูบ้ ริหาร หมายถึง หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ ีอาํ นาจ ในการดําเนิ นงานในกิจการของนิ ติบุคคล) จะต้องแจ้งให้หนุ ้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการ ผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหารหรือผูม้ ีอาํ นาจในการดําเนิ นงานในกิจการของบุคคลนั้น โดยให้ ส่วนราชการแจ้งให้บุคคลดังกล่าวทราบหลักเกณฑ์การพิจารณาลงโทษผูท้ ิ้ งงาน และให้ ชี้ แจงเหตุผลข้อเท็จจริงภายในเวลาที่กาํ หนดพร้อมกันไปด้วย ๓.๓) สําหรับการทิ้ งงานตามข้อ ๒.๖) นั้น กําหนดให้ส่วนราชการตรวจสอบข้อเท็จจริงว่าบุคคล หรือนิ ติบุคคลดังกล่าว กระทําการขัดขวางการแข่งขันราคาหรือกระทําการโดยไม่สุจริต ในการเสนอราคาสมควรเป็ นผูท้ ิ้ งงานหรือไม่ ให้แจ้งเหตุที่สงสัยไปให้ผเู ้ สนอราคา หรือ เสนองานที่ถกู สงสัยทราบพร้อมทั้งให้ชี้แจงภายในเวลาที่กาํ หนดไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน และ ให้ดาํ เนิ นการต่อไปตามหลักเกณฑ์การพิจารณาลงโทษผูท้ ิ้ งงานดังกล่าวข้างต้น อย่างไรก็ดี กรณีนี้ถ้าผูก้ ระทําการนั้นมิใช่เป็ นผูร้ ิเริ่มให้มีการกระทําการดังกล่าว และให้ความร่วมมือ เป็ นประโยชน์ต่อการพิจารณาของทางราชการนั้นได้รบั การยกเว้นไม่เป็ นผูท้ ิ้ งงานได้ 193


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน ๓) การดําเนินการให้เป็ นผูท้ ้ งงาน ิ ๓.๔) เมื่อส่วนราชการได้รบั คําชี้ แจงจากผูป้ ระกอบการแล้ว ให้หวั หน้าส่วนราชการทํา รายงานไปยังปลัดกระทรวงเจ้าสังกัดโดยเร็ว พร้อมทั้งเสนอความเห็นของตน เพื่อประกอบการพิจารณาของปลัดกระทรวงเจ้าสังกัดว่า ผูป้ ระกอบการดังกล่าว สมควรเป็ นผูท้ ิ้ งงานหรือไม่ดว้ ย ๓.๕) เมื่อปลัดกระทรวงเจ้าสังกัดพิจารณาแล้วเห็นว่า ผูป้ ระกอบการดังกล่าวสมควรเป็ น ผูท้ ิ้ งงานให้ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัดส่งชื่อผูป้ ระกอบการไปยัง ปลัดกระทรวงการคลัง ผูร้ กั ษาการตามระเบียบเพื่อพิจารณาสัง่ ให้เป็ นผูท้ ิ้ งงานต่อไป

194


หน่วยที่ ๗ การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน ๔) การลงโทษผูท้ ้ ิงงาน ห้ามส่วนราชการก่อนิ ติสมั พันธ์กบั ผูท้ ิ้ งงานที่ปลัดกระทรวงการคลังผูร้ กั ษาการ ตามระเบียบได้ระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผูท้ ิ้ งงาน และได้แจ้งเวียนชื่อแล้ว ทั้งในส่วนของเป็ นผูท้ ิ้ งงานด้วยตัวเองไม่วา่ จะเป็ นบุคคลธรรมดา และนิ ติบุคคล ด้วยเหตุแห่งการทิ้ งงานตามข้อ ๒) และเป็ นผูบ้ ริหารของนิ ติบุคคลตามข้อ ๓.๒) ด้วย การพิจารณาลงโทษผูท้ ิ้ งงาน นอกจากจะเป็ นผูท้ ิ้ งงานของส่วนราชการแล้ว ยังหมายรวมถึงผูท้ ิ้ งงานของรัฐวิสาหกิจ และองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ให้อยูใ่ นบัญชี รายชื่อผูท้ ิ้ งงานด้วย กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง เป็ นหน่ วยงานแจ้งเวียนบัญชีรายชื่อผูท้ ิ้ งงาน ให้กบั ส่วนราชการและหน่ วยงานภาครัฐต่างๆ ได้รบั ทราบอยูเ่ ป็ นประจํา และสามารถ ค้นหารายชื่อผูอ้ ยูใ่ นบัญชีรายชื่อผูท้ ิ้ งงานได้ในเว็บไซต์ www.gprocurement.go.th 195


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ วัตถุประสงค์ :: เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการจัดซื้ อจัดจ้างด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิ กส์ ซึ่งเป็ นวิธีการจัดหาที่แยกเป็ นระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ออกมาต่างหากเป็ น การเฉพาะจากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่ แก้ไขเพิม่ เติม

196


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙

ประกอบด้วยหัวข้อเรือ่ งย่อยดังนี้ ๑) ขอบเขตของระเบียบ ๒) คณะกรรมการ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ ๓.๑) การเตรียมดําเนินการ ๓.๒) การยืน่ ซองข้อเสนอด้านเทคนิค ๓.๓) การเสนอราคา 197


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑) ขอบเขตของระเบียบ ๑.๑) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ใช้บงั คับกับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และ หน่ วยงานอื่นของรัฐ ๑.๒) ใช้กบั การจัดซื้ อจัดจ้างซึ่งมีวงเงินตั้งแต่ ๒ ล้านบาทขึ้ นไป ดังนั้น การจัดซื้ อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ถือได้วา่ เป็ นวิธีการจัดหาพัสดุ ที่มาแทนการจัดหาพัสดุโดยวิธีประกวดราคาตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

198


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑) ขอบเขตของระเบียบ ๑.๓) ไม่รวมการจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน การซื้ อหรือการจ้างโดย วิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ ดังนั้น หากส่วนราชการจัดจ้างที่ปรึกษา จ้างออกแบบ และควบคุมงาน การซื้ อหรือการจ้างโดยวิธีพิเศษ การซื้ อหรือการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ ในวงเงินเท่าใดก็ตามให้ปฏิบตั ิตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยมิตอ้ งคํานึ งถึงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วย การพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑.๔) ให้ใช้ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ควบคู่กบั ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยในเรื่องใดที่มีได้กาํ หนดไว้ในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการ พัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ให้ใช้ตามที่ระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมกําหนด เช่น การจัดทํา 199 รายงานขอซื้ อขอจ้าง สัญญา และหลักประกัน การตรวจรับ ค่าปรับ ฯลฯ


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒) คณะกรรมการ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ กําหนดให้การจัดซื้ อจัดจ้างในแต่ละครั้ง จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ ๒ คณะคือ

200


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒) คณะกรรมการ ๒.๑) คณะกรรมการกําหนดร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference) และ ร่างเอกสาร การประกวดราคา หัวหน้าส่วนราชการเป็ นผูแ้ ต่งตั้ง องค์ประกอบ และ จํานวนเป็ นไปตามที่ส่วนราชการเห็นสมควร โดยมีหน้าที่ดงั นี้ (๑) ร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference) และร่างเอกสาร การประกวดราคาเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่ออนุ มตั ิ (๒) เมื่อหัวหน้าส่วนราชการอนุ มตั ิแล้วให้นําสาระสําคัญของร่างฯ ลงเว็บไซต์ ของหน่ วยงาน และของกรมบัญชีกลางเพื่อให้สาธารณชนเสนอความเห็น และ วิจารณ์อย่างน้อย ๓ วัน (๓) คณะกรรมการต้องนําคําวิจารณ์หรือข้อเสนอแนะมาพิจารณา แต่จะแก้ไขร่างฯ หรือไม่ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของคณะกรรมการตามที่เห็นสมควร แล้วจึงเสนอ หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาต่อไป 201


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒) คณะกรรมการ ๒.๒) คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการ อธิบดีกรมบัญชีกลางเป็ นผูแ้ ต่งตั้ง แต่ขณะนี้ ได้มีมติคณะรัฐมนตรีผ่อนผันให้หวั หน้าส่วนราชการเป็ นผูแ้ ต่งตั้งคณะกรรมการเช่นเดียวกับ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ทั้งนี้ เพื่อความ คล่องตัว และรวดเร็วยิง่ ขึ้ น องค์ประกอบของคณะกรรมการมีจาํ นวนไม่ตาํ ่ กว่า ๕ คนแต่ไม่เกิน ๗ คน โดยมีบุคคลภายนอกที่มิได้เป็ นข้าราชการอย่างน้อย ๑ คนร่วมเป็ นกรรมการด้วย โดย คณะกรรมการมีหน้าที่ดงั นี้ (๑) รับซองข้อเสนอด้านเทคนิ คของผูย้ นื่ ข้อเสนอ (๒) พิจารณาข้อเสนอด้านเทคนิ ค โดยพิจารณาจาก (๒.๑) คุณสมบัติของผูป้ ระสงค์จะเสนอราคา และยืน่ เอกสารต่าง ๆ ครบถ้วนหรือไม่ (๒.๒) ข้อเสนอด้านเทคนิ คมีความเหมาะสมหรือไม่ (๒.๓) เป็ นผูเ้ สนอราคาที่มีผลประโยชน์รว่ มกันหรือไม่ (๓) ติดตามดูแลการเสนอราคาทุกขั้นตอนที่อยูใ่ นอํานาจหน้าที่ของตนให้เป็ นไปด้วย ความเรียบร้อย สุจริต เป็ นธรรม 202


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙

๓) ขั้นตอนการดําเนินการ การดําเนิ นการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ มีข้นั ตอนสรุปได้ดงั นี้

203


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ ๓.๑ การเตรียมดําเนิ นการ เป็ นการเตรียมการก่อนที่ส่วนราชการจะประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง โดยดําเนิ นการดังนี้ (๑) ส่วนราชการแต่งตั้งคณะกรรมการร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference) และร่างเอกสารการประกวดราคา (๒) คณะกรรมการร่าง TOR จัดทําร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่ออนุ มตั ิ (๓) เมื่อหัวหน้าส่วนราชการอนุ มตั ิแล้ว ให้นําสาระสําคัญของร่าง TOR ลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่ วยงาน และของกรมบัญชีกลาง (www.gprocurement.go.th) เพื่อให้สาธารณชนวิจารณ์ และเสนอแนะ เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า ๓ วัน 204


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ ๓.๑ การเตรียมดําเนิ นการ เป็ นการเตรียมการก่อนที่ส่วนราชการจะประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง โดยดําเนิ นการดังนี้ (๔) คณะกรรมการร่าง TOR พิจารณาข้อวิจารณ์และข้อเสนอแนะ หากเห็นสมควรปรับปรุงก็ให้ดาํ เนิ นการ เมื่อแล้วเสร็จเสนอหัวหน้าส่วนราชการ เห็นชอบ (๕) เมื่อหัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบแล้วให้นําลงเว็บไซต์ของหน่ วยงาน และ ของกรมบัญชีกลาง (www.gprocurement.go.th) (๖) ส่วนราชการเสนออธิบดีกรมบัญชีกลางเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคา ตามโครงการ ขณะนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติผ่อนผันให้การแต่งตั้งคณะกรรมการ ประกวดราคาตามโครงการเป็ นอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการ

205


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ ๓.๒) การยืน่ ซองข้อเสนอด้านเทคนิ ค (๑) ให้ผปู้ ระสงค์จะเสนอราคายืน่ ข้อเสนอด้านเทคนิ คต่อคณะกรรมการประกวดราคา ตามโครงการ (๒) คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการพิจารณาคัดเลือกเบื้ องต้น เพื่อหาผูม้ ีสิทธิเสนอราคา โดยผูผ้ ่านการคัดเลือกเบื้ องต้นจะต้องเป็ นผูย้ นื่ ข้อเสนอ ด้านเทคนิ คที่มีคุณสมบัติครบถ้วน ข้อเสนอด้านเทคนิ คมีความเหมาะสม และไม่ เป็ นผูเ้ สนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (๓) คณะกรรมการแจ้งผูผ้ ่านการคัดเลือกเบื้ องต้นให้เป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคาด้วย ระบบอิเล็กทรอนิ กส์

206


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ ๓.๒) การยืน่ ซองข้อเสนอด้านเทคนิ ค (๔) ผูย้ นื่ ข้อเสนอด้านเทคนิ คที่ไม่ผ่านการคัดเลือกเบื้ องต้น ให้อุทธรณ์ ต่อหัวหน้าส่วนราชการได้ภายใน ๓ วันนับจากวันที่ได้รบั การแจ้งผล (๕) หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแจ้งผลการอุทธรณ์ให้ผอู ้ ุทธรณ์ทราบภายใน ๗ วัน

207


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ ๓.๓) การเสนอราคา (๑) ส่วนราชการแจ้งวันเวลา และสถานที่ในการเสนอราคาให้กบั ผูม้ ีสิทธิเสนอราคา ทุกรายทราบ สําหรับรายชื่อผูใ้ ห้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส์ และรายชื่อ สถานที่ในการเสนอราคา จะต้องเป็ นรายชื่อผูใ้ ห้บริการฯ และรายชื่อสถานที่ที่ กรมบัญชีกลางได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้วเท่านั้น โดยส่วนราชการสามารถตรวจสอบ ได้ในเว็บไซต์ www.gprocurement.go.th (๒) ในวันที่เสนอราคา ให้ผเู้ สนอราคาแต่ละรายส่งผูแ้ ทนเพื่อมาเสนอราคา ด้วยระบบอิเล็กทรอนิ คส์รายละไม่เกิน ๓ คน (๓) ให้ผแู้ ทนผูม้ ีสิทธิเสนอราคาเข้าประจําในสถานที่ที่กาํ หนด โดยมีเจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้าประจําด้วย (๔) คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการจะตรวจสอบควบคุม กํากับดูแล อยูใ่ นสถานที่ของคณะกรรมการ 208


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ ๓.๓) การเสนอราคา (๕) เมื่อเริ่มกระบวนการเสนอราคา ผูแ้ ทนผูม้ ีสิทธิเสนอราคาเริ่มเสนอราคา ด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ โดยเสนอราคาได้หลายครั้ง โดยในช่วง ๓-๕ นาที สุดท้ายของการเสนอราคา ระบบจะไม่แสดงสถานะว่าผูม้ ีสิทธิเสนอราคารายใด เป็ นผูเ้ สนอราคาตํา่ สุด (๖) เมื่อสิ้ นสุดเวลาการเสนอราคา หากปรากฏว่ามีผเู ้ สนอราคาตํา่ สุดเท่ากัน หลายราย ให้ต่อเวลาการเสนอราคาไปอีกครั้งละ ๓ นาที จนกระทัง่ ได้ผเู ้ สนอ ราคาในระบบตํา่ ที่สุดเพียงรายเดียว (๗) ให้คณะกรรมการประชุมทันทีที่กระบวนการเสนอราคาสิ้ นสุดลงเพื่อพิจารณา ว่าจะรับการเสนอราคารายใด และรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อเห็นชอบ 209


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ ๓.๓) การเสนอราคา (๘) เมื่อหัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบแล้ว ให้คณะกรรมการแจ้งผลการพิจารณาให้ ผูม้ ีสิทธิเสนอราคาทุกรายทราบ (๙) หากผูม้ ีสิทธิเสนอราคาไม่เห็นด้วยกับผลการพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการ ให้ผมู้ ีสิทธิเสนอราคาอุทธรณ์ผลกาพิจารณาต่อคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ (กวพ.อ) ภายใน ๓ วันนับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้ง (๑๐) กวพ.อ ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน

210


หน่วยที่ ๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓) ขั้นตอนการดําเนินการ

การดําเนินการตามระเบียบฯ ๒๕๔๙ ๑ ๖ ๑๑

๑๒

๒ ๓ ๑๔

๑๓

๔ ๕

๑๕

๑๖ ๑๗

ดําเนินการตาม ระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติมต่ อไป

๙ ๑๐

ดําเนินการตามระเบียบ พัสดุฯพ.ศ.๒๕๓๕ และ ทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติมต่ อไป

ดําเนินการตาม ระเบียบฯ ๒๕๔๙ 211


สรุป วัตถุประสงค์ :: เพื่อสรุปใจความสําคัญ และทบทวนความรู ้

212


สรุป

ในการจัดหาพัสดุของภาครัฐ จะต้องมีการดําเนิ นการจัดหาตามวิธีการ และขั้นตอน โดยมีระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุเป็ นแนวทางใน การดําเนิ นการดังกล่าว ซึ่งเอกสารประกอบชุดวิชาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีชุดนี้ ได้รวบรวมการจัดซื้ อจัดจ้างและการบริหารพัสดุในเรื่องต่างๆ สามารถสรุปได้ดงั นี้

213


สรุป ๑. หลักการการจัดซื้อจัดจ้างและการบริการพัสดุ หลักการของการจัดซื้ อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ประกอบด้วย ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม ซึ่งหลักการดังกล่าว ผูป้ ฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการพัสดุควรต้องคํานึ งถึงอยูต่ ลอดเวลาในการปฏิบตั ิงาน ซึ่ง ขอบเขตการจัดซื้ อจัดจ้างและการบริหารพัสดุสามารถแบ่งออกเป็ น ๕ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ การกําหนดความต้องการและการของบประมาณ ระยะที่ ๒ การเตรียมการจัดซื้ อจัดจ้าง ระยะที่ ๓ การจัดซื้ อจัดจ้าง ระยะที่ ๔ การบริหารสัญญา และ ระยะที่ ๕ การควบคุมและจําหน่ ายพัสดุ 214


สรุป ๒. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม การจัดหาพัสดุภาครัฐแบ่งออกเป็ น ๗ ประเภท ได้แก่ การจัดทําเอง การ ซื้ อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การเช่า และการ แลกเปลี่ยน ซึ่งการจัดหาแต่ละประเภทมีข้นั ตอนการดําเนิ นการที่สาํ คัญ ๕ ขั้นตอน คือ การรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ การดําเนิ นการจัดหาพัสดุ การขอ อนุ มตั ิ การทําสัญญา และการตรวจรับ โดยที่จะต้องดําเนิ นการในแต่ละขั้นตอน ตามลําดับอย่างเคร่งครัด ไม่สามารถดําเนิ นการสลับขั้นตอนกันได้ สําหรับการจัดหาพัสดุท้งั ประเภทการซื้ อการจ้าง และการจ้างที่ปรึกษา ผูป้ ฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้องกับงานพัสดุจะต้องตรวจสอบการมีผลประโยชน์ร่วมกัน

215


สรุป ๓. การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดซื้ อจัดจ้างตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มีวธิ ีการจัดหา ๕ วิธี ได้แก่ วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ ซึ่งในการดําเนิ นการซื้ อหรือจ้างผูด้ าํ เนิ นการจะ เป็ นบุคคลหรือคณะกรรมการขึ้ นอยูก่ บั วิธีการดําเนิ นการจัดหาในแต่ละวิธี สําหรับอํานาจในการสัง่ ซื้ อ/สัง่ จ้าง เป็ นอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง และรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ซึ่งจะต้องพิจารณาวงเงินสุทธิในการจัดซื้ อจัดจ้าง และ วิธีการจัดหาประกอบกัน และเมื่อผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างดําเนิ นการตามสัญญาจัดซื้ อจัดจ้างแล้ว เสร็จ ส่วนราชการจะต้องดําเนิ นการตรวจรับพัสดุ โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผูต้ รวจรับ พัสดุหรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุผมู้ ีหน้าที่บริหารสัญญา สําหรับกรณีจา้ งก่อสร้างส่วน ราชการต้องแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการจ้าง และผูค้ วบคุมงานเพื่อบริหารสัญญาให้ผรู ้ บั จ้าง ดําเนิ นการตามสัญญาจ้าง ทั้งนี้ ส่วนราชการจะต้องถือปฏิบตั ิตามระเบียบดังกล่าวทุกขั้นตอน หากละเว้นใน 216 เรื่องใดเรื่องหนึ่ งจะถือว่าปฏิบตั ิไม่ถกู ต้องตามระเบียบฯ


สรุป ๔. การจ้างที่ปรึกษา การจ้างที่ปรึกษาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มีความหมายแตกต่างจ้างการจ้างทัว่ ไป กล่าวคือ การจ้างที่ปรึกษาเป็ น งานในลักษณะที่ส่วนราชการไม่สามารถคิดขึ้ นเองได้ตอ้ งอาศัยผูม้ ีความรูค้ วามสามารถ และ ประสบการณ์มาดําเนิ นการ เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่ส่วนราชการจะได้นํามาใช้ประโยชน์กบั หน่ วยงานต่อไป วิธีการดําเนิ นการการจ้างที่ปรึกษามี ๒ วิธี ได้แก่ วิธีตกลง และวิธีคดั เลือก โดยที่ อํานาจในการสัง่ จ้างที่ปรึกษาเป็ นอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง และรัฐมนตรี เจ้าสังกัด ซึ่งจะต้องพิจารณาวงเงินสุทธิในการจัดจ้างครั้งนั้นๆ สําหรับอัตราค่าจ้างที่ปรึกษาให้ เป็ นไปตามความเหมาะสมและประหยัด

217


สรุป ๕. การบริหารสัญญา ภายหลังที่ส่วนราชการดําเนิ นการจัดหาพัสดุจนได้ตวั ผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างแล้ว จะเข้าสู่กระบวนการลงนามในสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือ โดยหัวหน้าส่วนราชการ เป็ นผูม้ ีอาํ นาจลงนามในสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือที่กล่าวมาในข้างต้น ซึ่งจะมี คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผูต้ รวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการ ตรวจการจ้าง และผูค้ วบคุมงาน(กรณีงานจ้างก่อสร้าง)ผูท้ าํ หน้าที่บริหารสัญญา ให้ผขู ้ ายหรือผู ้ รับจ้างปฏิบตั ิตามสัญญาทุกประการ หากไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาจะต้องดําเนิ นการคิดค่าปรับ หรือแก้ไขสัญญาหรือบอกเลิกสัญญาแล้วแต่กรณี

218


สรุป ๖. ควบคุมและการจําหน่ายพัสดุ เมื่อผูบ้ ริหารสัญญาตรวจสอบแล้วว่าผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้าง ส่งมอบวัสดุ ครุภณ ั ฑ์ หรือ สิ่งก่อสร้าง ถูกต้องตรงตามที่กาํ หนดในสัญญาทุกประการจะถือว่าส่วนราชการได้รบั มอบพัสดุเรียบร้อยแล้ว ส่วนราชการจะต้องมีการควบคุมการใช้พสั ดุ การบํารุงรักษาเพื่อให้ พัสดุมีความคงทนและมีคุณภาพที่ดีตลอดอายุการใช้งาน และหากพัสดุหมดความจําเป็ น ส่วนราชการต้องพิจารณาจําหน่ ายพัสดุน้ันๆ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ

219


สรุป ๗. การลงโทษผูท้ ้ งงาน ิ เมื่อส่วนราชการดําเนิ นการจัดซื้ อจัดจ้างแล้ว ได้ผชู้ นะในการเสนอราคาหรือ ได้ค่สู ญ ั ญากับทางราชการ แต่ปรากฏว่าผูช้ นะการเสนอราคาไม่เข้าทําสัญญาหรือเข้า ทําสัญญาแล้วแต่ไม่สามารถทํางานให้แล้วเสร็จตามสัญญา ส่วนราชการจะพิจารณาผูช้ นะ ราคาหรือคู่สญ ั ญาเป็ นผูท้ ิ้ งงานของทางราชการ ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการลงโทษ และป้องกันมิให้ ผูป้ ระกอบการรายนั้น ก่อความเสียหายแก่ทางราชการได้อีก

220


สรุป ๘. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็ น วิธีการจัดหาพัสดุที่แยกออกมาต่างหากเป็ นการเฉพาะจากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งระเบียบฯ ให้ใช้บงั คับกับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และ หน่ วยงานอื่นของรัฐ โดยใช้กบั การจัดซื้ อจัดจ้างที่มีวงเงินตั้งแต่ ๒ ล้านบาทขึ้ นไปไม่รวมการจ้างที่ปรึกษา การ จ้างออกแบบ และควบคุมงาน การซื้ อหรือการจ้างโดยวิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ ในกรณีที่ระเบียบสํานักนกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ มิได้กาํ หนดให้หน่ วยงานที่ถือปฏิบตั ิใช้ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติมกําหนด เช่น การจัดรายงานขอซื้ อขอจ้าง สัญญา และหลักประกัน การตรวจรับ ค่าปรับ เป็ นต้น สําหรับการดําเนิ นการตามระเบียบฯ มีข้นั ตอนในการดําเนิ นการ ได้แก่ การเตรียมการก่อนที่สว่ นราชการจะประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง การยืน่ ซองข้อเสนอด้านเทคนิ ค การเสนอราคา โดยที่ระเบียบฯ จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ ๒ คณะ ได้แก่ คณะกรรมการกําหนดร่างของเขตของงาน 221 และคณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการ


แบบประเมินหลังการศึกษา วัตถุประสงค์ :: เพื่อวัดความเข้าใจหลังเข้าศึกษาบทเรียน

222


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

๑. “พัสดุ” หมายความว่า ก. วัสดุ ข. ครุภณ ั ฑ์ ค. ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ง. ถูกทุกข้อ

223


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว

๒. หลักการสําคัญของการจัดซื้ อจัดจ้าง ก. โปร่งใส ข. ตรวจสอบได้ ค. มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม ง. ถูกทุกข้อ

224


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓. การจัดซื้ อจัดจ้างโดยให้มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม หมายความว่า ก. ให้ระบุชดั เจนว่าต้องการซื้ อของยีห่ อ้ อะไร ข. ให้ระบุชดั เจนว่าต้องการซื้ อของจากบริษัท ข. ค. กําหนดคุณสมบัติไม่เข้ากับรายใดรายหนึ่ งหรือ กําหนดคุณลักษณะเฉพาะไม่ให้เข้ากับยี่ หอ้ ใดยี่ หอ้ หนึ่ ง ง. กําหนดคุณลักษณะให้เข้าเสนอราคาได้นอ้ ยราย 225


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔. ข้อใดต้องดําเนิ นการเป็ นลําดับแรก ก. การกําหนดความต้องการ และการของบประมาณ ข. การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของของที่จะจัดซื้ อ ค. การดําเนิ นการจัดซื้ อ ง. การตรวจรับของ

226


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕. ข้อใดดําเนิ นการเป็ นลําดับสุดท้ายของการบริหารพัสดุ ก. การลงทะเบียนครุภณ ั ฑ์ ข. การบริหารสัญญา ค. การจําหน่ ายพัสดุออกจากบัญชี ง. การบํารุงรักษา

227


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖. ข้อใดที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ก. ส่วนราชการดําเนิ นการเบิกจ่ายเงินให้กบั ผูข้ าย ข. ส่วนราชการริบหลักประกันซองแล้วนําส่งเป็ นรายได้แผ่นดิน ค. ส่วนราชการจัดซื้อเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ จํานวน ๕ เครื่ อง โดยใช้จา่ ยจากงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ง. ส่วนราชการนําข้อมูลหลักผูข้ ายลงทะเบียนในระบบ GFMIS 228


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๗. หากส่วนราชการต้องการจัดหารถยนต์เพือ่ มาใช้ใน ราชการสามารถดําเนิ นการได้โดยวิธีใด ก. ซื้ อ ข. เช่าซื้ อ ค. เช่า ง. ข้อ ก และ ค

229


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๘. ส่วนราชการได้รบั งบประมาณเพื่อจ้างผูม้ ีประสบการณ์ และมีความรูค้ วามสามารถมาจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการในอนาคต ๕ ปี ข้างหน้า ส่วนราชการ จะต้องดําเนิ นการจัดหาด้วยวิธีใด ก. การจ้างเหมา ข. การจ้างทําของ ค. การจ้างที่ ปรึกษา ง. การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน 230


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๙. ขั้นตอนการจัดหาพัสดุใดต้องดําเนิ นการเป็ นขั้นตอนแรก เสมอ ก. การทําสัญญา ข. การรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ ค. การตรวจรับ ง. การประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง

231


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๐. จงเรียงลําดับการดําเนิ นการจัดหาพัสดุ ๑) การทําสัญญา ๒) การรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ ๓) การตรวจรับ ๔) การประกาศจัดซื้ อจัดจ้าง ก. ๑) ๒) ๓) ๔) ข. ๑) ๓) ๒) ๔) ค. ๔) ๒) ๑) ๓) ง. ๒) ๔) ๑) ๓) 232


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๑. เมื่อส่วนราชการดําเนิ นการจัดหาพัสดุจนได้ตวั ผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างแล้ว ส่วน ราชการจะต้องเสนอผูม้ ีอาํ นาจอนุ มตั ิการจัดซื้ อจัดจ้างครั้งนั้น ผูม้ ีอาํ นาจ อนุ มตั ิได้แก่ ก. ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง ข. หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด ค. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ง. ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ รองหัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ 233


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๒. ผูล้ งนามในสัญญาจัดซื้ อจัดจ้างคือ ก. เจ้าหน้าที่พสั ดุ ข. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ค. ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ ง. หัวหน้าส่วนราชการ

234


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๓. ส่วนราชการทําสัญญาจ้างเหมาทําความสะอาด คณะกรรมการที่มีหน้าที่ตรวจว่าผูร้ บั จ้างดําเนิ นการ ตามสัญญาหรือไม่ คณะกรรมการชุดนั้นเรียกว่า ก. คณะกรรมการตรวจการจ้าง ข. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ค. คณะกรรมการตรวจความถูกต้องของสัญญา ง. คณะกรรมการตรวจรับสัญญา 235


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๔. ผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกันมีได้ในด้านใดบ้าง ก. ด้านการบริหาร ข. ด้านทุนหรือความเป็ นเจ้าของกิจการ ค. ด้านการบริหาร และด้านทุนประกอบกัน ง. ถูกทุกข้อ

236


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๕. บริษัท ก และบริษัท ข ยืน่ ข้อเสนอต่อส่วนราชการเดียวกัน และเป็ นการจัดซื้ อ ครั้งเดียวกัน ปรากฏว่า นาย ก ถือหุน้ ในบริษัท ก ร้อยละ ๓๐ และนาย ก เป็ น ผูจ้ ดั การของบริษัท ข ข้อเท็จจริงดังกล่าวอยูใ่ นเกณฑ์การพิจารณาข้อใดที่ถือว่า ถูกต้อง ก. บริษัท ก และบริษัท ข ถือว่ามีผลประโยชน์รว่ มกันจะต้องตัดตกทัง้ คู่ ข. บริษัท ก และบริษัท ข ถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันจะต้องตัดบริษัท ก ตก ค. บริษัท ก และบริษัท ข ถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันจะต้องตัดบริษัท ข ตก ง. บริษัท ก และบริษัท ข ไม่ถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกันผ่านการพิจารณาทั้งคู่ 237


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๖. วิธีซื้อ และวิธีจา้ งตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมมีกี่วธิ ี ก. ๓ วิธี ข. ๔ วิธี ค. ๕ วิธี ง. ๖ วิธี

238


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๗. ส่วนราชการจ้างซื้ อเครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์วงเงิน ๑๗๐,๐๐๐ บาท ดําเนิ นการโดยวิธีใด ก. ตกลงราคา ข. สอบราคา ค. ประกวดราคา ง. คัดเลือก

239


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๘. ส่วนราชการจะจ้างผูร้ กั ษาความปลอดภัยจากองค์การ ทหารผ่านศึก ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติให้สิทธิพเิ ศษแก่ องค์การทหารผ่านศึกในเรื่องดังกล่าว ส่วนราชการจะ ดําเนิ นการจ้างด้วยวิธีใด ก. สอบราคา ข. ประกวดราคา ค. วิธีพิเศษ ง. วิธีกรณีพิเศษ 240


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๑๙. ข้อใดมิใช่ข้นั ตอนการดําเนิ นการจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา ก. จัดทํารายงานขอซื้ อขอจ้างเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ ข. จัดทําประกาศจัดซื้อจัดจ้าง ค. ทําสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือ ง. ตรวจรับพัสดุ

241


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๐. ข้อใดมิใช่เงื่อนไขในการจัดซื้ อโดยวิธีพิเศษ ก. เหตุเร่งด่วนเนื่ องจากเกิดอุทกภัย ข. เป็ นเหตุผลในเชิงเทคนิ คจึงมีความจําเป็ นต้องระบุยหี่ อ้ เป็ นการเฉพาะ ค. เหตุเร่งด่วนมิฉะนั้นงบประมาณของส่วนราชการจะถูกพับไป ง. จําเป็ นต้องซื้ อโดยตรงจากต่างประเทศ

242


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๑. คณะกรรมการชุดใดมติที่ประชุมต้องเอกฉันท์ ก. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ข. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ค. คณะกรรมการตรวจการจ้าง ง. ถูกทัง้ ข้อ ข และ ค

243


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๒. การจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีใดคณะกรรมการรับ และเปิ ด ซองมีหน้าที่ในการพิจารณาผลการจัดซื้ อจัดจ้างด้วย ก. สอบราคา ข. ประกวดราคา ค. วิธีพิเศษ ง. วิธีกรณีพิเศษ

244


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๓. การจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีใดคณะกรรมการรับ และเปิ ด ซองแยกต่างหากจากคณะกรรมการพิจารณาผลการ จัดซื้ อจัดจ้าง ก. สอบราคา ข. ประกวดราคา ค. วิธีพิเศษ ง. วิธีกรณีพิเศษ 245


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๔. หลักของการพิจาณาผลการจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคา และวิธี ประกวดราคาคือ ก. ผูเ้ สนอราคารายใดเสนอของที่ดีที่สุดจะได้รบั การคัดเลือก ข. ผูเ้ สนอราคารายใดที่เสนอของจํานวนมากที่สุดจะได้รบั การคัดเลือก ค. ผูเ้ สนอราคารายใดที่ เสนอถูกต้องตรงตามเอกสารสอบราคาหรือ เอกสารประกวดราคาทุกประการและเป็ นผูท้ ี่ เสนอราคาตํา่ สุด ง. ผูเ้ สนอราคาที่เสนอราคาตํา่ สุด 246


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๕. ในการซื้ อหรือจ้างครั้งเดียวกัน ได้กาํ หนดข้อห้ามการแต่งตั้งกรรมการไว้อย่างไร ก. ห้ามแต่งตั้งผูท้ ี่เป็ นกรรมการเปิ ดซองสอบราคาเป็ นกรรมการพิจารณาผล ข. ห้ามแต่งตั้งผูท้ ี่เป็ นกรรมการเปิ ดซองประกวดราคาเป็ นกรรมการพิจารณาผล ค. ห้ามแต่งตัง้ ผูท้ ี่ เป็ นกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเป็ นกรรมการ ตรวจรับพัสดุ ง. ถูกทุกข้อ 247


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๖. ส่วนราชการจะต้องแต่ต้งั ผูค้ วบคุมงานสําหรับการ จัดซื้ อจัดจ้างในงานอะไร ก. จัดซื้ อระบบคอมพิวเตอร์พร้อมติดตั้งระบบงาน ข. จ้างเหมาบริการทําความสะอาด ค. จ้างที่ปรึกษา ง. จ้างก่อสร้าง

248


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๗. การจ้างก่อสร้างอาคารสํานักงานโดยวิธีประกวดราคา ในราคา ๖๑ ล้านบาท ผูม้ ีอาํ นาจอนุ มตั ิคือ ก. หัวหน้าส่วนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด ง. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ

249


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๘. การซื้ อหมึกพิมพ์คอมพิวเตอร์โดยวิธีพิเศษในราคา ๑.๕ ล้านบาท ผูม้ ีอาํ นาจอนุ มตั ิคือ ก. หัวหน้าส่วนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด ง. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ

250


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๒๙. คณะกรรมการทุกคณะควรแต่งตั้งผูช้ าํ นาญการ หรือ ผูท้ รงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุหรืองานจ้างนั้นๆ เข้าร่วมเป็ น กรรมการด้วย ยกเว้น ก. คณะกรรมการเปิ ดซองประกวดราคา ข. คณะกรรมการจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ค. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ง. คณะกรรมการตรวจการจ้าง 251


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๐. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ก. ตรวจรับพัสดุให้เป็ นไปตามที่กาํ หนดในสัญญาทุกประการ ข. เมื่อตรวจถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้รบั พัสดุไว้ และมอบให้ เจ้าหน้าที่พสั ดุต่อไป ค. แก้ไขข้อกําหนดในสัญญา ง. ถูกทุกข้อ

252


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๑. การจ้างที่ปรึกษามีกี่วธิ ี ก. ๒ วิธี ข. ๓ วิธี ค. ๔ วิธี ง. ๕ วิธี

253


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๒. ส่วนราชการใดมีหน้าที่รบั จดทะเบียนที่ปรึกษา ก. สํานักบริหารหนี้ สาธารณะ กระทรวงการคลัง ข. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ค. สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ง. ธนาคารแห่งประเทศไทย

254


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๓. การจ้างทัว่ ไปต่างกับการจ้างที่ปรึกษาอย่างไร ก. การจ้างทัว่ ไปมีวงเงินสูงกว่าการจ้างที่ปรึกษา ข. การจ้างทัว่ ไปเป็ นการจ้างทําของแต่การจ้างที่ ปรึกษาเป็ นการจ้างเกี่ ยวกับแนวคิด ค. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข ง. ผิดทั้ง ข้อ ก และ ข

255


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๔. ข้อใดมิใช่การดําเนิ นการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคดั เลือก ก. เปิ ดซองข้อเสนอด้านเทคนิ ค และราคาพร้อมกัน และเลือกผูเ้ สนอ ราคาตํา่ สุด ข. แยกข้อเสนอเป็ น ๒ ซอง คือ ซองข้อเสนอด้านเทคนิ ค และซอง ข้อเสนอด้านราคา ค. พิจารณาซองข้อเสนอด้านเทคนิ คก่อน ง. ผิดทุกข้อ 256


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๕. ข้อใดใช้สาํ หรับการจ้างที่ปรึกษาที่ลกั ษณะงานมีความยุง่ ยากซับซ้อน ก. เลือกผูเ้ สนอราคาตํา่ สุด ข. เลือกข้อเสนอด้านเทคนิ คที่ ดีที่สุด ค. เลือกผูม้ ีประสบการณ์สงู สุด ง. เลือกผูเ้ สนอที่ปรึกษาที่มีจาํ นวนสูงสุด

257


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๖. ผูม้ ีอาํ นาจลงนามในสัญญาจัดซื้ อจัดจ้างคือ ก. หัวหน้าส่วนราชการ ข. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ค. ผูอ้ าํ นวยการกองพัสดุ ง. เจ้าหน้าที่พสั ดุ

258


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๗. ข้อใดที่ตอ้ งทําเป็ นสัญญาไม่สามารถทําเป็ นข้อตกลงเป็ นหนังสือได้ ก. การซื้ อการจ้างโดยวิธีตกที่มีวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ข. การจัดหาที่คสู่ ญ ั ญาสามารถส่งมอบพัสดุได้ครบถ้วนภายใน ๕ วันทําการ ค. การจ้างโดยวิธีประกวดราคา ง. การซื้ อการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ และการจัดหาจากส่วนราชการ

259


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๘. การแก้ไขสัญญาจะดําเนิ นการได้ต่อเมื่อ ก. แก้ไขเพื่อให้ผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้างปฏิบตั ิตามสัญญาได้ ข. แก้ไขเพื่ อให้เป็ นประโยชน์แก่ทางราชการ ค. แก้ไขเพื่อให้คณะกรรมการตรวจรับสามารถรับของได้ ง. แก้ไขเพื่อให้คสู่ ญ ั ญาไม่ตอ้ งถูกปรับ

260


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๓๙. การบอกเลิกสัญญาในกรณีที่ผรู้ บั จ้างไม่สามารถทํางาน ได้ตามระยะเวลาของสัญญา และค่าปรับเกินกว่าร้อยละ เท่าใดส่วนราชการจึงบอกเลิกสัญญาได้ ก. ร้อยละ ๕ ข. ร้อยละ ๑๐ ค. ร้อยละ ๑๕ ง. ร้อยละ ๒๐ 261


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๐. การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายระยะเวลาของสัญญาดําเนิ นการได้ เฉพาะเหตุที่เกิดจาก ก. เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของส่วนราชการ ข. เหตุสุดวิสยั ค. เหตุเกิดจากพฤติการณ์ที่คสู่ ญ ั ญาไม่ตอ้ งรับผิดตามกฎหมาย ง. ถูกทุกข้อ

262


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๑. เมื่อส่วนราชการจัดซื้ อกระดาษ และตรวจรับถูกต้องแล้วจะต้อง ดําเนิ นการต่อไปอย่างไร ก. เก็บรักษาไว้อย่างปลอดภัย ข. ลงบัญชีรบั วัสดุเท่ากับจํานวนที่ซื้อ ค. ส่งต่อให้ผเู ้ บิก ง. ถูกทัง้ ข้อ ก และ ข

263


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๒. การตรวจสอบพัสดุตอ้ งดําเนิ นการเป็ นประจําอย่างไร ก. ทุก ๖ เดือน ข. ทุกปี ค. ทุก ๒ ปี ง. ทุก ๓ ปี

264


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๓. เมื่อพัสดุใดหมดความจําเป็ นที่จะใช้ในราชการจะต้องดําเนิ นการอย่างไร ก. ขายทอดตลาด ข. แจกจ่ายให้เจ้าหน้าที่นําไปใช้ส่วนตัว ค. เก็บรักษาไว้ ง. ขายลดราคาให้เจ้าหน้าที่

265


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๔. ทําไมต้องมีการกําหนดให้ส่วนราชการต้องตรวจสอบพัสดุประจําปี ก. เพื่อตรวจสอบการรับจ่ายพัสดุวา่ ถูกต้องหรือไม่ ข. เพื่อตรวจสอบว่าพัสดุคงเหลือตามบัญชี และทะเบียนมีตวั ตนอยูจ่ ริงตามนั้น ค. เพื่อตรวจสอบว่ามีพสั ดุใดชํารุดหรือเสื่อมสภาพไปบ้าง ง. ถูกทุกข้อ

266


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๕. การตัดวัสดุออกจากบัญชีหรือตัดครุภณ ั ฑ์ออกจากทะเบียนจะกระทําได้เมื่อใด ก. เมื่ อมอบให้กบั องค์กรสาธารณกุศลแล้ว ข. เมื่อตรวจสอบแล้วไม่มีพสั ดุอยูจ่ ริง ค. เมื่อพัสดุน้ันสูญหายไป ง. เมื่อบุคคลอื่นนําพัสดุออกไปใช้

267


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๖. หากต้องการตรวจสอบบัญชีรายชื่อผูท้ ิ้ งงานของทางราชการ สามารถตรวจสอบ ได้จากเว็บไซต์ ก. www.cgd.go.th ข. www.gprocurement.go.th ค. www.egp.go.th ง. www.procure.go.th

268


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๗. บริษัท ก มีคาํ สัง่ ให้เป็ นผูท้ ิ้ งงาน ส่วนราชการจะซื้ อของจากบริษัท ก ได้หรือไม่ ก. ไม่ได้ เพราะห้ามส่วนราชการก่อนิ ตสิ มั พันธ์กบั ผูถ้ กู ทิ้งงาน ข ไม่ได้ เพราะบริษัท ก ถูกปิ ดไปแล้วจากการเป็ นผูท้ ิ้ งงาน ค. ได้ เพราะบริษัท ก ยังไม่ถกู ปิ ดกิจการ ง. ได้ เพราะบริษัท ก ยังคงชําระภาษีครบถ้วนถูกต้อง

269


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๘. ข้อใดมิใช่เหตุแห่งการทิ้ งงาน ก. ได้รบั การคัดเลือกแล้วไม่ไปทําสัญญา ข. เสนอราคาโดยใช้เอกสารอันเป็ นเท็จ ค. ไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาได้โดยไม่มีเหตุอนั ควร ง. ไม่สามารถเริ่ มการก่อสร้างได้เนื่ องจากไม่ได้รบั การส่งมอบพื้นที่

270


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๔๙. บริษัท ก เป็ นผูท้ ิ้ งงานตามสัญญาของส่วนราชการแห่งหนึ่ ง ข้อใดถูก ก. ส่วนราชการทัง้ หมดทัว่ ประเทศไม่สามารถทําสัญญากับบริษัท ก ได้อีก ต่อไป ข. ส่วนราชการอื่นยังสามารถทําสัญญากับบริษัท ก ได้ต่อไป ค. ส่วนราชการทั้งหมดยังคงทําสัญญากับบริษัท ก ได้ต่อไป ง. ส่วนราชการที่ทาํ สัญญากับบริษัท ก เท่านั้นที่ไม่สามารถทําสัญญากับ บริษัท ก ได้อีกต่อไป 271


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๐. ผูม้ ีอาํ นาจออกคําสัง่ เป็ นผูท้ ิ้ งงานของทางราชการคือ ก. ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด ข. ปลัดกระทรวงการคลังผูร้ กั ษาการตามระเบียบ ค. รัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด ง. หัวหน้าส่วนราชการ

272


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๑. ในเรื่องการจัดซื้ อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุส่วนราชการต้องปฏิบตั ิตามข้อใด จึงถูกต้อง ก. ปฏิบตั ิตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม ข. ปฏิบตั ิตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ค. ปฏิบตั ติ ามทัง้ ข้อ ก และ ข ควบคู่กนั ง. ปฏิบตั ิตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุที่หวั หน้าส่วนราชการกําหนด 273


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๒. การจัดซื้ อจัดจ้างทัว่ ไปในวงเงิน ๒.๐ ล้านบาท ต้องดําเนิ นการตามระเบียบใด ก. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ข. ประกวดราคาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ค. สอบราคาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ง. สอบราคาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙

274


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๓. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ใช้บงั คับกับการจัดหาพัสดุโดยวิธีใด ก. การจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ ข. การประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ ค. การจ้างที่ปรึกษา ง. การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน

275


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๔. ส่วนราชการต้องดําเนิ นการข้อใดเป็ นลําดับแรกเมื่อจะจัดซื้ อระบบ คอมพิวเตอร์ในวงเงิน ๑๐ ล้านบาท ก. จัดทํารายงานขอซื้ อระบบคอมพิวเตอร์ ข. ประกาศประกวดราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ค. แต่งตัง้ คณะกรรมการร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารประกวดราคา ง. นําร่างขอบเขตของงานและร่างเอกสารประกวดราคารับฟั งคําวิจารณ์

276


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๕. คณะกรรมการร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารประกวดราคามีหน้าที่ ก. จัดทําร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารประกวดราคา ข. จัดทํารายงานขอซื้ อระบบคอมพิวเตอร์ ค. จัดทําประกาศประกวดราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ง. จัดทํารายงานการพิจารณาผลการประกวดราคา

277


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๖. ส่วนราชการจะต้องนําสรุปสาระสําคัญของร่างขอบเขตของงานลงประกาศที่ใด เพื่อให้สาธารณชนวิจารณ์ ก. เว็บไซต์ของส่วนราชการ ข. เว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง www.gprocurement.go.th ค. เว็บไซต์ของส่วนราชการ และของกรมบัญชีกลาง www.gprocurement.go.th ง. หนังสือพิมพ์ ๓ ฉบับ 278


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๗. คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการต้องมีบุคคลภายนอกอย่างน้อยกี่คน ก. ๑ คน ข. ๒ คน ค. ๓ คน ง. ๔ คน

279


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๘. ข้อใดจึงถือว่าเป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคาในการจัดซื้ อจัดจ้างครั้งนั้นๆ ก. ผูย้ นื่ ข้อเสนอด้านเทคนิ คทุกราย ข. ผูซ้ ื้ อซองทุกราย ค. ผูท้ ี่ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ง. ผูผ้ า่ นการคัดเลือกเบื้องต้นจะต้องเป็ นผูย้ นื่ ข้อเสนอด้านเทคนิ คที่ มี คุณสมบัติครบถ้วน ข้อเสนอด้านเทคนิ คมีความเหมาะสม และไม่เป็ น ผูเ้ สนอราคาที่ มีผลประโยชน์รว่ มกัน 280


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๕๙. ส่วนราชการเลือกสถานที่เสนอราคาอย่างไร ก. ต้องเป็ นสถานที่ ที่ ขึ้นทะเบียนไว้กบั กรมบัญชีกลาง ข. ต้องเป็ นสถานที่ที่ขึ้นทะเบียนไว้กบั ส่วนราชการ ค. สถานที่ของทางราชการแห่งใดก็ได้ ง. สถานที่ใดก็ได้แล้วแต่เห็นสมควร

281


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๐. มีผใู้ ดอยูใ่ นห้องเสนอราคาของผูม้ ีสิทธิเสนอราคาได้บา้ ง ก. เจ้าหน้าที่ของรัฐ ข. ผูแ้ ทนผูม้ ีสิทธิเสนอราคา ค. คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการ ง. ผูแ้ ทนผูม้ ีสิทธิเสนอราคา และเจ้าหน้าที่ ของรัฐ

282


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๑. หากผูย้ นื่ ข้อเสนอด้านเทคนิ คไม่ผ่านการพิจารณาให้เป็ นผูม้ ีสิทธิเสนอราคา สามารถอุทธรณ์ผลการพิจารณาต่อใคร ก. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ข. หัวหน้าส่วนราชการ ค. ปลัดกระทรวง ง. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด

283


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๒. เมื่อเสนอราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์แล้ว หากผูม้ ีสิทธิเสนอราคาไม่เห็น ด้วยกับผลการพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการ สามารถอุทธรณ์ผลการ พิจารณาต่อใคร ก. หัวหน้าส่วนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ง. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ 284


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๓. การนําสรุปสาระสําคัญของร่างขอบเขตของงานลงในเว็บไซต์เพื่อรับฟั ง คําวิจารณ์ ต้องลงเว็บไซต์อย่างน้อยกี่วนั ก. ๓ วัน ข. ๔ วัน ค. ๕ วัน ง. ๖ วัน

285


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๔. ในการเสนอราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ เมื่อหมดเวลาหากมีการเสนอราคา ตํา่ สุดเท่ากันหลายรายต้องดําเนิ นการอย่างไร ก. ยกเลิกการเสนอราคา ข. ต่อเวลาไปอีก ๓ นาที ค. รีบแจ้งหัวหน้าส่วนราชการ ง. นัดวันเสนอราคาใหม่

286


แบบประเมินหลังการศึกษา คําอธิบาย :: ขอให้เลือกคําตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว ๖๕. ในส่วนที่ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุดว้ ยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ไม่ได้กาํ หนดไว้ เช่น การตรวจรับ การทําสัญญา การปรับ ฯลฯ ส่วนราชการต้องปฏิบตั ิอย่างไร ก. ดําเนิ นการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่ แก้ไขเพิ่ มเติม ข. ดําเนิ นการตามที่หวั หน้าส่วนราชการเห็นสมควร ค. ดําเนิ นการตามระเบียบที่ส่วนราชการกําหนด ง. ไม่ตอ้ งดําเนิ นการใดๆ 287


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.