ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Page 1

ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์[2][3] เป็นเครื่องจักรแบบ สั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดาเนินการกับลาดับตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจารูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดาเนินการคานวณเกี่ยวกับตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัว ดาเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลาดับของตัวดาเนินการโดยยึด สารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นาเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และ ส่งผลจากการคานวณตัวดาเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดาเนินการกับคาสั่งต่างๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คาสั่งต่างๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคาสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อม รอบๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมาก เท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน[4] คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit) โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วน เล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคาว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึง เครื่องบินขับไล่ และของเล่นชนิดต่างๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม


ไอบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็ม และสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) ประเภทของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่น ปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภทดังต่อไปนี้ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาด ใหญ่ สามารถคานวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะ แวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการ คานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้ภายในเวลา ไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มี


หน่วยประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่ง สามารถทางานหลายอย่างได้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง และมี ประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถ ให้บริการผู้ใช้จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อย แบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จาก ทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงินแบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการบริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก


มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้ หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่เทียบเท่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ จึงทาให้มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสาหรับ แผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC) ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น เช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะ มีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพงและมีขนาดกระทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยัง เหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบสาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และ สานักงานสาหรับที่บา้ น เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทางบประมาณรายรับรายจ่าย ของครอบครัวช่วยทาการบ้านของลูกๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การสือ่ สารแบบ อิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทางบันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอน นักเรียนในการค้นคว้าข้อมูลจากทั่วโลกสาหรับที่สานักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ ในการช่วยพิมพ์จดหมายและข้อมูลอื่นๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทานายยอดซื้อขาย ล่วงหน้า


โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop) โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติด ตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอๆกับสมุดที่ทาด้วย กระดาษ

เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop) เน็ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และ เล็กกว่าโน้ตบุ๊ค ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา


แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer) แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ต คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ ในขณะเคลื่อนที่ได้ ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทางานเป็นอันดับแรก มีคีย์บอร์ด เสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลในการใช้งานแทนที่แป้นพิมพ์คีย์บอร์ด และมีความหมาย ครอบคลุมถึงโน๊คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอแบบสัมผัสและมีแป้นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วย ไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม [21]


ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น 1. การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทา บัตรประจาตัวประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษีภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต เก็บ ทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบการเสียภาษี 2. งานสายการบิน การสารองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร 3. ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล 4. ธุรกิจการนาเข้าสินค้าและส่งออก การทาธุรกิจแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5. ธุรกิจธนาคาร ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคาร อิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ 6. วิทยาศาสตร์และการแพทย์ การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้ วิจัย คานวณ และ การจาลองแบบ 7. งานสถาปนิก ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทาแบบจาลองสามมิติ 8. งานภาพยนตร์ การ์ตูน แอนิเมชัน ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัวการ์ตูน จาลองตัวการ์ตูนสามมิติ การตัดต่อภาพยนตร์ 9. งานด้านสถิติ ช่วยเก็บบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ จาลองแบบข้อมูล และการเผยแพร่ข้อมูล 10. ด้านนันทนาการ ช่วยให้ความบันเทิง ดูหนัง ฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ เล่นเกม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.