รายงานสรุปเนื้อเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู

Page 1

1

สรุปเนื้อหารายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับครูหนวยที่ 1-7 สรุปหนวยที่ 1 “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” กําเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มนุษยเปนสัตวสังคมที่มีการตั้งถิ่นฐานอยูกันเปนหมูเหลาตั้งแตโบราณกาลมาแลว หนวยเล็กที่สุดของ สังคมคือครอบครัวขนาดใหญขึ้นมาเปนหมูบาน ตําบล อําเภอ จนในที่สุดเปนเมือง และเปนประเทศตามลําดับ มนุษยแตละหมูเหลามีการติดตอสื่อสารพบปะกัน เพื่อแลกเปลี่ยนอาหาร สิ่งของเครื่องใช ยารักษาโรคที่ชุมชน ของตนไมสามารถผลิตไดหรือผลิตไดไมเพียงพอ ฯลฯ จนเกิดเปนการคาขายระหวางหมูบาน ตําบล เมือง และประเทศขึ้น การติดตอในยุคแรก ๆ เปนการบอกกันปากตอปาก ตอมามีการสื่อสารกันดวยตัวอักษรที่จารึก บนวัสดุตาง ๆ ซึ่งกลายมาเปนการสงจดหมายถึงกัน จากนั้นมีการสื่อสารกันดวยวิธีการที่หลากหลายและมีความรวดเร็วมากขึ้น ทําใหเกิดการพัฒนาอยาง ตอเนื่องของเทคโนโลยีโทรคมนาคม ซึ่งอาศัยหลักวิชาดานวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปลี่ยนคําพูด ขอความหรือภาพ เปนสัญญาณไฟฟาสงไปตามสาย หรือเปลี่ยนเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา เรียกวา คลื่นวิทยุ กระจายไปในอากาศ เมื่อถึงปลายทาง สั ญญาณหรื อคลื่นที่สงไปนั้นจะถูกคืนสภาพใหก ลับเปนเปนคําพูด ขอความหรือภาพเหมือนกับสิ่งที่สงออกไปจากตนทาง พัฒนาการของเทคโนโลยีโทรคมนาคมนี้ ทําใหคนที่อยู คนละซีกโลกกันสามารถรับรูขาวสารของกันและกันไดภายในชั่วพริบตา เพราะอัตราความเร็วของการเดินทาง ของสัญญาณไฟฟาตามสาย หรือของคลื่นวิทยุนั้น อยูในระดับเดียวกับความเร็วของแสง เชน เหตุรายจากการกอ วินาศกรรมโดยใช เครื่องบินโดยสารที่ถูกจี้บังคับมาชนตึกเวิลดเทรดเซ็นเตอรที่นครนิวยอรค เมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 นั้น คนทั้งโลกไดเห็นเหตุการณสดๆ ผานเครือขายขาวโทรทัศนของซีเอ็นเอ็น

ภาพที่ ภาพเหตุการณเครื่องบินพุงชนตึกเวิลดเทรดเซ็นเตอร นครนิวยอรค ที่เครือขาย ขาวโทรทัศนซีเอ็นเอ็นแพรภาพถายทอดสดไปทั่วโลกทันทีที่เกิดเหตุการณ


2

ประวัติโดยยอของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คําว า “เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สาร” ซึ่ง ตรงกั บ คํ า ภาษาอั งกฤษวา (Information and Communication Technology : ICT) เทคโนโลยีสารสนเทศเกิดการจากการรวมกันของเทคโนโลยี 2 ดาน คือ เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีโทรคมนาคม เริ่มจากการประดิษฐโทรเลขของ แซมวล มอรส (Samual Morse) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรที่เราใชกันอยูทุกวันนี้เปนผลมาจากการประดิษฐคิดคนเครื่องมือ ในการคํานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สรางขึ้นในประเทศจีน ยุคคอมพิวเตอรแบงออกไดเปน 5 ยุค คือ ยุคที่ 1 พ.ศ. 2489 - 2501 UNIVAC เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกของโลกที่ถูกใชงานในเชิงธุรกิจ ยุคที่ 2 พ.ศ. 2502 - 2506 มีการนําทรานซิสเตอร มาใชในเครื่องคอมพิวเตอรจึงทําใหเครื่องมีขนาด เล็กลง ยุคที่ 3 พ.ศ. 2507 - 2512 วงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันยอๆ วา "ไอซี" (IC) ยุคที่ 4 พ.ศ. 2513 – 2532 เปนยุคที่นําสารกึ่งตัวมาสรางเปนวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ยุคที่ 5 พ.ศ. 2533 – ปจจุบัน

คันเคาะสัญญาณโทรเลขแบบมอรส

(ก.)

(ข.)

ภาพที่ (ก) ภาพแสดงแปนเคาะโทรเลข มอรส – เวล (Morse – Vail) (ข) ภาพแสดงโทรเลขเครื่องพิมพเอดิสันสตอกพรินเตอร (Edison Stock Printer)


3

ความหมายและความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ คําวา "เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) ประกอบดวยคําวา "เทคโนโลยี" และคํา วา "สารสนเทศ" นํามารวมกันเปน "เทคโนโลยีสารสนเทศ" -เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนําความรูทางดานวิทยาศาสตรมาประยุกตในการพัฒนา เครื่อ งมือ เครื่ อ งใช อุ ปกรณ วิ ธีก ารหรื อ กระบวนการ เพื่ อชว ยในการหรือ แกปญ หาตา งๆทั้ ง นี้เ พื่ อ ใหเ กิ ด ประโยชนตอบุคคล กลุมบุคคล หรือองคกร -สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธที่เกิดจากการนําขอมูลมาผานกระบวนการตางๆอยางมี ระบบ จนไดสิ่งที่เปนประโยชน มีคุณคาและสาระ หรือมีเนื้อหาและรูปแบบที่เหมาะสมตามความตองการของ ผูใช -เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง กระบวนหรือวิธีการการนําความรู ทางดานวิทยาศาสตรมาประยุกตใชเพื่อสรางหรือจัดการกับสารสนเทศอยางเปนระบบและรวดเร็ว เพื่อใหเกิด ประโยชนตอบุคคล กลุมบุคคล หรืองคกร ทั้งนี้เทคโนโลยีสารสนเทศยังตองพึ่งพาเทคโนโลยีดานการสื่อสาร และโทรคมนาคม ซึ่งเปนวิธีการที่จะสงขอมูลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพื่อการแลกเปลี่ยนหรือเผยแพรขอมูลและ สารสนเทศไดอยางรวดเร็วทันตอการใชประโยชนผานอุปกรณสื่อสาร เชน วิทยุ โทรศัพท เครื่องโทรสาร คอมพิวเตอรฯลฯ สรุปไดวา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับขาวสารขอมูล และการสื่อสารนับตั้งแตการสราง การนํามาวิเคราะหหรือการ ประมวลผล การรับและการสงขอมูล การจัดเก็บ และการนําขอมูลกลับไปใชงานใหม ระบบการสื่อสารและ โทรคมนาคมที่เชื่อมโยงอุปกรณคอมพิวเตอรทั่วมุมโลก ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทอยางแพรหลาย เปนที่สนใจของคนทุกมุมโลกทุกสาขา สามารถ นํามาใชในการดําเนินงานและชีวิตประจําวันไดอยางกวางขวางการจัดการเรียนรูและการศึกษาในสมัยนี้จึงมี หลักสูตรที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเขาไปดวย เทคโนโลยีที่มีความสําคัญและเจริญกาวหนาไปอยางรวดเร็วใน ปจจุบัน ไดแก เทคโนโลยีสารสนเทศ เพราะปจจุบันนี้อุปกรณหลายชนิดก็ตองพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม วาจะเปน คอมพิวเตอร โทรศัพท มือถือ อินเทอรเน็ต PDA GPS ดาวเทียมและเมื่อไมนานมานี้มีการออก พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร เปนการบงบอกวาสังคมใหความสําคัญแก คอมพิวเตอรมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศในดานตางๆ เปนอยางมาก ดังนี้ 1) ดานวิชาการ เทคโนโลยีสารสนเทศชวยในการคนควาศึกษาแหลงขอมูล ทําใหการศึกษางายขึ้น และไรขีดจํากัด ผูเรียนมีความสะดวกในการศึกษาคนควาวิจัย


4

2) การดํารงชีวิตประจําวัน ชวยใหมีความสะดวกคลองตัวและรวดเร็วในการทํากิจกรรมตาง ๆ สามารถทํางานไดหลายอยางในเวลาเดียวกัน ชวยใหการทํางานใชเวลานอยลง 3) การดําเนินธุรกิจ ทําใหมีการแขงขันระหวางธุรกิจมากขึ้น ทําใหตองมีการพัฒนาองคกรเพื่อให ทันกับขอมูลขาวสารอยูตลอดเวลา ซึ่งสงผลตอการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง 4) ดานการติดตอสื่อสาร ความเจริญกาวหนาของวิทยาการตางๆ และปรากฏการณโลกไรพรมแดน ทําใหผูคนในสังคมมีการติดตอสื่อสารซึ่งกันและกัน ไดอยางรวดเร็วและกวางขวาง 5) ดานผลผลิต ระบบการทํางานที่ใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ จะชวยใหทํางานไดมากขึ้น หรือ ชวยลดความเสี่ยงในงานบางอยางโดยใชคอมพิวเตอรทํางานแทนซึ่งไดผลถูกตองรวดเร็ว ลักษณะสารสนเทศที่ดี สารสนเทศที่ดีและมีประโยชนในการใชงานควรมีลักษณะดังนี้ ดานเนื้อหา (Content) - ความสมบูรณครอบคลุม (completeness) - ความสัมพันธกับเรื่อง (relevance) - ความถูกตอง (accuracy) - ความเชื่อถือได (reliability) - การตรวจสอบได (verifiability) ดานรูปแบบ (Format) - ชัดเจน (clarity) - ระดับรายละเอียด (level of detail) - รูปแบบการนําเสนอ (presentation) - สื่อการนําเสนอ (media) - ความยืดหยุน (flexibility) ดานประสิทธิภาพ (efficiency) - ประหยัด (economy) - เวลา (Time) - ความรวดเร็วและทันตอเหตุการณ (timely) - การปรับปรุงใหทันสมัย (up-to-date) - มีระยะเวลา (time period) ดานกระบวนการ (Process) - ความสามารถในการเขาถึง (accessibility) - การมีสวนรวม (participation) - การเชื่อมโยง (connectivity)


5

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใชในชีวิตประจําวัน ในสังคมปจจุบันไมวาใครจะอยูที่ใด แมในเมืองหรือชนบทก็ตาม ยอมมีการติดตอสื่อสารกับบุคคลหรือ สังคมอื่นอยูเสมอไมทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรูความคิดเห็น หรือการรับรูขอมูลขาวสารใน ชีวิตประจําวันดวยสื่อตางๆ เชน หนังสือพิมพ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน โทรศัพท โทรสาร ลวนเปน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังใชเทคโนโลยีเครื่องมือหรือกลไกเพื่ออํานวยความสะดวก เชน การถอนเงินจากเครื่องจายเงินอัตโนมัติ (ATM : Automatic Teller/Technology Machine) การสแกน ลายนิ้วมือการเขาปฏิบัติงานในสํานักงาน การจายคาโดยสารรถไฟฟา ผานบัตรแถบแมเหล็ก เปนตน เหลานี้ เปนตัวอยาง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในชีวิตประจําวัน ยิ่งไปกวานั้น ความเจริญกาวหนาของวิทยาการใหมๆ กอใหเกิดเครื่องมือหรือวิธีการ ในการอํานวยความสะดวกในการใชบริการอยางรวดเร็ว เชน การทําบัตรประจําตัวประชาชน สามารถใหบริการ โดยเชื่อมตอ ระบบออนไลน (online system) ซึ่งเปนระบบสายตรงที่มีประโยชนและเปนตัวอยาง ของการใช เทคโนโลยีสารสนเทศที่จําเปน กรณีตัวอยาง เชน การรับบริการรักษาพยาบาลตามโรงพยาบาล ปจจุบันใช เทคโนโลยีสารสนเทศมาบริหารจัดการ โดยผูปวยสามารถบอกชื่อ นามสกุล ที่ถูกตอง เจาหนาที่ก็สามารถ เรียกเวชระเบียนออกมาไดอยางรวดเร็วเพราะโรงพยาบาลมีระบบเครือขายคอมพิวเตอรเชื่อมโยงกันอยางทั่วถึง ทํ า ให เ วชระเบี ย นที่ อ ยู ใ นรู ป แบบของข อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ถู ก ส ง จากคอมพิ ว เตอร แ ม ข า ยไปปรากฏบน จอคอมพิวเตอรในหองตรวจของแพทยไดทันที เมื่อแพทยทําการตรวจวินิจฉัยโรค สามารถสั่งการรักษาหรือสั่ง ยา จากหองแพทยไปสู แผนก X - RAY แผนกจายยา ไดอยางถูกตอง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

กระแสโลกาภิวัตนของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระแสโลกาภิวัตน ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปจจุบันชวยให ความเปนอยู ใน ชีวิตประจําวันของเราสะดวกสบายมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับยุคกอน การเดินทางและติดตอสื่อสารระหวางกัน สามารถทําไดงายขึ้น มีการนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเขามาใชงาน ในทุกสาขาอาชีพ เชน การสื่อสาร การ ธนาคาร การบิน วิศวกรรม สถาปตยกรรม การแพทย การศึก ษา หรือการเรี ยนการสอน ซึ่งส งผลให วิทยาการตางๆ เจริญกาวหนาและทันสมัยอยางรวดเร็ว การติดตามขาวสารที่เกิดขึ้นในสวนตางๆ ของโลกได ทันเหตุการณ สามารถรับรู ขาวสารขอมูลในเวลาเดียวกันไดทั้งที่อยูหางไกลกันคนละสถานที่ เชน การ ถายทอดสด การเสนอขาวเหตุการณสําคัญ รายการแขงขันกีฬา การถายทอดสัญญาณผานระบบดาวเทียมจาก ประเทศตางๆ การใชเครื่องคอมพิวเตอรพิมพรายงาน สรางภาพกราฟก เก็บขอมูล สืบคนขอมูล ฟงเพลง รวมถึงการประยุกตใช ในการเรียนการสอน จึงนับไดวาคอมพิวเตอรเปนองคประกอบหนึ่งที่สําคัญ ตอการ ดํารงชีวิต การศึกษา และการเรียนรูเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศจะชวยใหสามารถใชงานคอมพิวเตอรใหเปน ประโยชนตอการพัฒนาในทุกๆ ดาน ชวยสงเสริมทักษะ และสรางความสนุกสนานเพลิดเพลิน ไปพรอมๆ กัน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะอาศัยองคประกอบตางๆ มากมาย เชน การใชโทรศัพท ต อ งอาศั ย อุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เปลี่ ย นคลื่ น เสี ย งให เ ป น คลื่ น สั ญ ญาณไฟฟ า และจะถู ก เปลี่ ย นให เ ป น


6

ภาพที่ เครื่องมือในการติดตอสื่อสารผานตัวนําสัญญาณที่ตางกัน

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีตอสังคม ในปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีบทบาทที่กอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาสังคมใน หลายดาน ซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้ - ชวยใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการสื่อสารที่รวดเร็วและกวางไกล - ชวยทําใหวิทยาการตางๆ เจริญกาวหนาและทันสมัยอยางรวดเร็ว - การรับรูและแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารของโลกเปนไปอยางสะดวกและรวดเร็ว - สามารถเขาถึงคลังขอมูลขาวสารจํานวนมาก ซึ่งสามารถนํามาประยุกตในการพัฒนาอาชีพและ คุณภาพชีวิต - สนับสนุนการทํางานและกระบวนการผลิต เชน การใชคอมพิวเตอรในการวางแผนการออกแบบ และการควบคุมระบบการทํางาน สงเสริมระบบบริหารจัดการในรูปแบบใหม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ หนวยงานหรือองคกร กระจายโอกาสดานการศึกษา ใหผูเรียนที่อยูหางไกล สามารถเรียนรูผานระบบการสอน ทางไกลหรือผานดาวเทียมได - สามารถเผยแพรสารสนเทศและภูมิปญญาทองถิ่นสูสังคมโลกไดโดยงาย เชน การเผยแพรงาน ในอินเตอรเน็ตตําบล เปนตน - ชวยใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ อยางตอเนื่อง


7

สรุปหนวยการเรียนรูที่ 2 “ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ระบบและวิธีการเชิงระบบ การทํางานใด ๆ ใหประสบผลสําเร็จบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพนั้นยอมเกิดจากพื้นฐานวิธีการ ที่มีลําดับและขั้นตอนชัดเจนสามารถปฏิบัติซ้ํา ๆ ไดหลายครั้งอยางถูกตองและสมเหตุสมผลทุกครั้งไป เราเรียก กระบวนการและขั้นตอนนั้นวา “ระบบ” ระบบ (System) หมายถึง การทํางานขององคประกอบยอย ๆ อยางอิสระแตมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน จนกลายเปนโครงสรางที่สมบูรณของแตละงาน สามารถตรวจสอบและปรับปรุงแกไขไดทุกขั้นตอน ระบบจึง เปนหัวใจสําคัญของงานหรือการดําเนินงานทุกประเภท วิธีการเชิงระบบ (System Approach) วิธีเชิงระบบหรือวิธีระบบคือคําๆเดียวกัน เปนกระบวนการคิดหรือ การทํ างานอย างมีแ บบแผนชั ดเจนในการนําเนื้ อหาความรูดานตาง ๆ ซึ่ งอาจจะเปน วิธีการหรือผลผลิตมา ประยุกตใชอยางเปนขั้นตอน เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้วิธีระบบ ยังเปนการชวยปองกันและแกไขขอบกพรองที่เกิดขึ้นดวย องคประกอบของวิธีระบบ วิธีระบบมีองคประกอบสําคัญ 3 ประการ ไดแก 1) ปจจัยนําเขา (Input) หมายถึง วัตถุสิ่งของตาง ๆ รวมถึงเหตุการณ สถานการณ วัตถุประสงค ปญหา ความตองการ ขอกําหนด กฎเกณฑ อันเปนตนเหตุของประเด็นปญหา 2) กระบวนการ (Process) หมายถึง วิธีการ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน การสรางสรรค การ แกปญหาเกี่ยวกับเนื้อหาและปจจัยนําเขาใหเปนไปตามวัตถุประสงคหรือความตองการ 3) ผลลัพธ (Output) หมายถึง ผลงานที่ไดจากกระบวนการจัดการวัตถุดิบหรือปจจัยนําเขา ผลงาน ที่ไดรับอาจจะเปนวิธีการหรือชิ้นงานก็ได ซึ่งสามารถประเมินผลและตรวจสอบขอมูลยอนกลับ(feedback) ได

ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ การประมวลผลขอมูลขาวสารอยางเปนขั้นตอนและเปน กระบวนการเพื่ อ ให ข อ มู ล ในรู ป ของข า วสารที่ เ ป น ประโยชน สู ง สุ ด และเป น ข อ สรุ ป ที่ ส ามารถนํ า ไปใช สนับสนุนการบริหาร และการตัดสินใจ ทั้งในระดับปฏิบัติการ ระดับกลาง และระดับสูง ระบบสารสนเทศจึง เปนระบบที่จัดตั้งขึ้น เพื่อปฏิบัติการเกี่ยวกับขอมูล ดังตอไปนี้ 1) รวบรวมขอมูลทั้งภายใน ภายนอก ที่จําเปนตอหนวยงาน 2) จัดกระทําเกี่ยวกับขอมูลเพื่อใหเปนสารสนเทศที่พรอมจะใชประโยชนได 3) จัดใหมีระบบเก็บเปนหมวดหมู เพื่อสะดวกตอการคนหาและนําไปใช 4) มีการปรับปรุงขอมูลเสมอเพื่อใหอยูในสภาพที่ถูกตองและเปนปจจุบันตลอดเวลา


8

ในการทํางานใดๆ ใหลุลวงตามวัตถุประสงคและภารกิจที่ไดรับมอบหมาย จะตองมีการวางแผนและ ออกแบบระบบการทํางาน ใหดีที่สุด เพื่อลดปญหาความผิดพลาด และความลาชาของปฏิบัติงาน ระบบ สารสนเทศเป น กระบวนการจั ด การข อ มู ล ข า วสาร ในการดํ า เนิ น งานทั้ ง ส ว นบุ ค คลและองค ก รทํ า งาน สารสนเทศโดยทั่วไปเปนกระบวนการทํางาน ที่ประกอบดวย คน ขอมูล และเครื่องจักร สิ่งที่จําเปนในการ ดํ า เนิ น งานระหว า งองค ป ระกอบสามประการนี้ ได แ ก ก ารสื่ อ สารข อ มู ล ระหว า งกั น เพื่ อ ให ก ารทํ า งาน สอดคลองประสานกันไปในทิศทางที่ตองการ การสื่อสารเปนการถายทอดความรูสึกนึกคิด จากแหลงกําเนิดเนื้อหาสาระไปสูปลายทาง เพื่อความ เขาใจซึ่งกันและกัน การสื่อสารระหวางบุคคล ใชชองทางผานอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย โดยใชสื่อที่เหมาะสม เชน เสียงพูด รู ปภาพ กลิ่น รสชาด ผิวสัมผัส สวนการสื่อสารระหวางคนกับ เครื่องจักร ตองใชโปรแกรม หรือคําสั่งที่เหมาะสมกับเครื่องจักรแตละชนิด ตัวอยางเชน การสื่อสารกับ รถยนตดวยพวงมาลัย เพื่อสั่งการใหไปตามทิศทางที่ตองการ การเหยียบครัช เขาเกียร และคันเรงเพื่อใหรถ เคลื่อนตัวการเหยียบเบรกเพื่อใหรถหยุด ขอมูลที่ถูกปอนเพื่อใหรถยนตตอบสนอง คือ แรงที่กระทําตอพวงมาลัย และคันบังคับของเกียร ครัช หรือเบรก ขอมูลที่เกี่ยวของในการตัดสินใจ ที่จะสั่งรถยนตใหเปนไปตามความ ตองการ คือ สิ่งแวดลอมที่เรามองเห็น ไดยิน ไดกลิ่น ผิวกายสัมผัส หรือลิ้มรส เชน ถนน ทุงนา ทองฟา ตนไม คน บาน ฯลฯ รวมทั้งความตองการภายในของบุคคลและสังคม ขอมูลตางๆ ดังกลาวจะถูกวิเคราะห สังเคราะห จําแนกแยกแยะ และสรุป เปนหมวดหมูหรือเปนสารสนเทศอยางรวดเร็ว เพื่อเปนความรูที่ใช ตัดสินใจในการเดินทาง ดวยรถยนตไปสูจุดหมายปลายทางที่ตองการ ระดับการตัดสินใจในการเดินทาง ขึ้นอยู กั บ ความถู ก ต อ งชั ด เจนของข อ มู ล สารสนเทศผสมผสานกั บ กระบวนการรั บ รู แ ละเรี ย นรู ข องบุ ค คล ประสบการณที่สลับซับซอนลักษณะนี้ เรียกวา ระบบงานสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เปนงานที่เกี่ยวกับ ขอมูล ประเภทตัวอักษร และตัวเลขจํานวนมากมายมหาศาล หาก ดําเนินการดวยมนุษยหรือเครื่องมือพื้นฐาน จะทําใหเสียเวลามาก ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงขอมูล การคิด คํานวณเพื่อประมวลผลจนกลายเปนสารสนเทศ ทําใหเกิดความลาชาและมีโอกาสผิดพลาดไดงาย ปจจุบัน มนุษยไดนําระบบคอมพิวเตอรมาใชในการดําเนินงานสารสนเทศแทบทุกสาขาอาชีพ เนื่องจากคอมพิวเตอรเปน เครื่องไฟฟาระบบดิจิตอลที่มีศักยภาพสูงในการเก็บรวบรวมขอมูลไดจํานวนมาก สามารถจําแนก จัดหมวดหมู เปนสารสนเทศ และนําเสนอไดอยางรวดเร็ว คอมพิวเตอรทํางานไดดวยคําสั่งหรือชุดคําสั่งที่ เรียกวา โปรแกรม ซึ่งโปรแกรมมีลักษณะเปนนามธรรม ไมสามารถจับตองได เปนสื่อประเภท ซอฟตแวร (Software) ในการดําเนินงานที่มีระบบงานใหญ อาจตองใช โปรแกรมหลายโปรแกรมรวมกัน เปนคําสั่งใหครอบคลุมกิจกรรมหรือภาระงาน โปรแกรมอาจจะถูกปอนเขา ทางแปนอักขระ หรือจากแผนดิสก หรือแผนซีดี โปรแกรมคอมพิวเตอรทําหนาที่ คํานวณประมวลผลขอมูล ดวยกรรมวิธีที่กําหนดขึ้นตามจุดประสงคของงาน เพื่อกลั่นกรองขอมูลออกมาเปนสารสนเทศ เพื่อชวยในการ ตัดสินใจกระทําหรือไมกระทําอยางใดอยางหนึ่งไดอยางเหมาะสม


9

ระบบสารสนเทศเปนงานที่เกี่ยวกับขอมูลประเภทตัวอักษรและตัวเลขจํานวนมากมายมหาศาล หาก ดําเนินการดวยมนุษยหรือเครื่องมือพื้นฐานจะทําใหเสียเวลามากในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงขอมูล การคิด คํานวณเพื่อประมวลผลจนกลายเปนสารสนเทศ ทําใหเกิดความลาชาและมีโอกาสผิดพลาดไดงาย ปจจุบัน มนุษยไดนําระบบคอมพิวเตอรมาใชในการดําเนินงานสารสนเทศแทบทุกสาขาอาชีพ เนื่องจากคอมพิวเตอร เปนเครื่องไฟฟาระบบดิจิตอลที่มีศักยภาพสูงในการเก็บรวบรวมขอมูลไดจํานวนมาก สามารถจําแนก จัด หมวดหมูเปนสารสนเทศ และนําเสนอไดอยางรวดเร็ว คอมพิวเตอรทํางานไดดวยคําสั่งหรือชุดคําสั่งที่เรียกวา โปรแกรม ซึ่งโปรแกรมมีลักษณะเปนนามธรรม ไมสามารถจับตองได เปนสื่อประเภท ซอฟตแวร (Software) ในการดําเนินงานที่มีระบบงานใหญอาจตองใช โปรแกรมหลายโปรแกรมรวมกันเปนคําสั่งใหครอบคลุมกิจกรรมหรือภาระงาน โปรแกรมอาจจะถูกปอนเขา ทางแปนอักขระหรือจากแผนดิสกหรือแผนซีดี โปรแกรมคอมพิวเตอรทําหนาที่คํานวณประมวลผลขอมูลดวย กรรมวิธีที่กําหนดขึ้นตามจุดประสงคของงาน เพื่อกลั่นกรองขอมูลออกมาเปนสารสนเทศ เพื่อชวยในการ ตัดสินใจกระทําหรือไมกระทําอยางใดอยางหนึ่งไดอยางเหมาะสม

องคประกอบของระบบสารสนเทศ การจําแนกองคประกอบระบบสารสนเทศมีหลายวิธีขึ้นอยูกับเกณฑหรือวัตถุประสงคของแตละงาน ใน ที่นี้จําแนกเปน 2 ประเภท ไดแก องคประกอบหลัก และองคประกอบดานตาง ๆ องคประกอบหลักของระบบสารสนเทศ องคประกอบหลักของระบบสานสนเทศมีองคประกอบหลัก 2 สวน ไดแก ระบบการคิด และระบบของ เครื่องมือ ระบบการคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการจัดลําดับ จําแนก แจกแจง และจัดหมวดหมูขอมูล ตาง ๆ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและเผยแพร ระบบการคิดจึงเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญของงานสารสนเทศทั้ง ระดับพื้นฐานและระดับสูงที่มีความสลับซับซอนจนตองใชทักษะการจัดการและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูง เขามาใชในการดําเนินงาน ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณหรือเครื่องมือที่นํามาใชในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร สารสนเทศใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ ปจจุบันคอมพิวเตอรและเครือขายอินเตอรเน็ตเปนเครื่องมือใน การจัดการสารสนเทศที่นิยมใชอยางแพรหลายในองคกร หนวยงาน หรืองานธุรกรรมตาง ๆ แทบทุกวงการ จน ทําใหคอมพิวเตอรและเครือขายอินเตอรเน็ตกลายเปนสัญลักษณของสารสนเทศ องคประกอบดานตาง ๆ ของระบบสารสนเทศ เนื่องจากสารสนเทศ เปนวิธีการหรือกระบวนการในการจัดการขอมูลที่เกี่ยวของกับงานตาง ๆ ดังนั้น องคประกอบสารสนเทศของงานแตละดานจึงแตกตางกัน ดังนี้ 1 องคประกอบของสารสนเทศดานจุดมุงหมายในการแกปญหา มี 4 ประการ ไดแก ขอมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู (Knowledge) ปญญา (Wisdom) ที่ชวยแกปญหาในการดําเนินงาน


10

Wisdom

m Knowledge Information

Data

แผนภาพองคประกอบดานจุดมุงหมายในการแกปญหา

2 องคประกอบของสารสนเทศดานขั้นตอน ในการดําเนินงานมี 3 ประการ คือ ขอมูลนําเขา (Input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ (Output) การทํางานจะเริ่มตั้งแตการเปลี่ยนขอมูลดิบที่เขามาสูการ คํานวณประมวลผลหรือการกลั่นกรองจนไดชิ้นงานหรือผลลัพธ (output) และจัดเก็บเพื่อนําออกมาเผยแพรใน ลักษณะของสารสนเทศตอไป Input

Process

Output

แผนภาพที่ 2.2 องคประกอบดานกระบวนการในการดําเนินงาน

3.2.3 องคประกอบของสารสนเทศในหนวยงาน ไดแก บุคคลหรือองคกร เทคโนโลยี ขอมูล และระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี

สารสนเทศ

ขอมูล

บุคคล/องคกร

แผนภาพองคประกอบของสารสนเทศในหนวยงาน

4. องคประกอบระบบสารสนเทศทั่วไป (Information Process Systems) ประกอบดวย 5 องคประกอบดังนี้ คือ เครื่องคอมพิวเตอรและเครือขายสื่อสารขอมูล (hardware) ขอมูล(data) สารสนเทศ (information)โปรแกรมหรือซอฟตแวร (software) บุคลากรดานคอมพิวเตอร (Peopleware)


11 Hardware

Data

Peopleware

Information

Softwar

แผนภาพองคประกอบระบบสารสนเทศทั่วไป

ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ การจัดระบบสารสนเทศเปนการกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานและการแกปญหาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของงานสารสนเทศ โดยการรวบรวมและวิ เ คราะห ป ญ หา ข อ มู ล วิ ธี ก าร ทรั พ ยากร เพื่ อ แก ป ญ หาและ ประเมินผลลัพธที่ไดใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งประกอบดวย 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การวิเคราะหระบบ (System Analysis) วิธีการวิเคราะหระบบสารสนเทศ แบงออกเปน 4 หนวยยอยคือ 1) วิธีวิเคราะหแนวทางการปฏิบัติงาน (Mission Analysis) คือ การพิจารณาทิศทางในการ ดําเนินการและจุดมุงหมายของระบบสารสนเทศ เพื่อบรรลุจุดมุงหมายที่ตั้งไว ผูวิเคราะหตองรูถึงองคประกอบ ของกระบวนการแก ป ญ หาด ว ยสารสนเทศ โดยกํ า หนดจุ ด มุ ง หมายของการปฏิ บั ติ ง านอย า งกว า ง ๆ ให ครอบคลุมสภาพปญหาไปสูสภาพที่พึงประสงค เพื่อเปนเกณฑวางานนั้นสําเร็จดีหรือไมมีปญหาอุปสรรค ขอบกพรองหรือไมอยางไร 2) วิเคราะหหนาที่ (Functional Analysis) เปนการกําหนดหนาที่โดยละเอียดตามที่กําหนดไวใน แนวทางปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารสนเทศ 3) วิเคราะหงาน (Task Analysis) เปนการกําหนดสิ่งที่ตองการกระทําตามหนาที่ที่ไดกําหนดไวใน ขั้นการวิเคราะหหนาที่ การวิเคราะหหนาที่และงานเปนสิ่งขยายขั้นการวิเคราะหแนวทางปฏิบัติงาน 4) วิเคราะหวิธีการและสื่อ (Method-Means Analysis) เปนการกําหนดหลักการปฏิบัติ กลวิธี และ สื่อที่จะนําไปสูจุดมุงหมาย หรือสิ่งที่ตองการ ขั้นที่ 2 การสังเคราะหระบบ (System Synthesis) วิธีการสังเคราะหระบบชวยเกลี่ยน้ําหนักเนื้อหาหรือภาระงานของขั้นตอนตาง ๆ ใหมีความสมดุลในการ แกปญหาซึ่งมีขั้นตอนยอยดังนี้ 1) การเลือกวิธีการหรือกลวิธี เพื่อหาชองทางไปสูจุดมุงหมายแลวทดสอบและทดลองกลวิธี เพื่อ ปรับปรุงใหเหมาะสมกับสารสนเทศที่วิเคราะหและสังเคราะหไว 2) ดําเนินการแกปญหาดวยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยเลือกกลวิธีที่เหมาะสมที่ วางแผนแลวกอนใชกลวิธีนั้นดําเนินการแกปญหา


12

3) ประเมินผลประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยการแกปญหาแลวประเมินผลเพื่อหาประสิทธิภาพ ของผลลัพธได ขั้นที่ 3 การสรางแบบจําลอง (Construct a Model) แบบจําลองเปนการถายทอดความรูสึกนึกคิดออกมาเปนภาพที่มองเห็นไดอยางชัดเจน ซึ่งอาจเปนภาพ ลายเสน หรือรูปสามมิติ แบบจําลองระบบทําใหเขาใจโครงสราง องคประกอบ และขั้นตอนในการดําเนินงาน สามารถตรวจสอบหรือทํานายผลที่จะเกิดขึ้นกอนที่จะนําระบบไปใชจริง ระบบการทํางานแมจะมีจุดมุงหมาย อยางเดียวกัน แตอาจจะมีแบบจําลองระบบไมเหมือนกัน

ประเภทของระบบสารสนเทศ การจําแนกสารสนเทศตามจํานวนคนที่เกี่ยวของในองคกร แบงได 3 ระดับ คือ ระบบสารสนเทศระดับ บุคคล ระบบสารสนเทศระดับกลุม และระบบสารสนเทศระดับองคกร 1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานใหแตละบุคคล ในหนาที่ รับผิดชอบ ปจจุบันคอมพิวเตอรสวนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แตมีความสามารถในการประมวลผลดวย ความเร็วสูงขึ้น ประกอบกับมีโปรแกรมสําเร็จที่ทําใหใชงานไดงาย กวางขวางและคุมคามากขึ้น เชน พนักงาน ขายควรมีขอมูลเกี่ยวกับลูกคาเปนอยางดี มีการจัดเก็บขอมูลของลูกคา เชน ชื่อ ที่อยู ความสนใจในตัวสินคา หรือขอมูลอื่น ๆ ที่จะสนับสนุนงานขาย จัดการและควบคุมการทํางานของตนเองได เชน ระบบวิเคราะหขอมูล การขาย 2. ระบบสารสนเทศระดับกลุม คือ ระบบสารสนเทศที่ชวยเสริมการทํางานของกลุมบุคคลที่มีเปาหมาย การทํางานรวมกันใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เตรียมสภาวะแวดลอมที่จะเอื้ออํานวยประโยชนในการทํางาน ร ว มกั น เป น กลุ ม โดยทํ า เป า หมายของธุ ร กิ จ ดํ า เนิ น ไปได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล มี ก ารใช ท รั พ ยากรร ว มกั น โดยเฉพาะขอมูลและอุปกรณเทคโนโลยีพื้นฐาน เชื่อมตอกันดวยเครือขายแลน การประยุกตใชคอมพิวเตอรใน ลักษณะการทํางานกลุม สามารถใชกับงานตาง ๆ เชน ระบบบริการลูกคา การประชุมผานเครือขาย ระบบการ ไหลเวียนอัตโนมัติของเอกสาร ระบบการจัดตารางเวลาของกลุม ระบบการบริหารโครงการของกลุม 3. ระบบสารสนเทศระดับองคกร คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดําเนินงานขององคกรในภาพรวม เพื่ออํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานรวมกันของหลายแผนก โดยการใชขอมูลที่เกี่ยวของรวมกันดวยวิธี สงผานถึงกันจากแผนกหนึ่งขามไปอีกแผนกหนึ่ง ระบบนี้สามารถสนับสนุนงานในระดับผูปฏิบัติการและการ ตัดสินใจ โดยอาจนําขอมูลมาแสดงสรุปในแบบฟอรมที่ตองการ หัวใจสําคัญของระบบสารสนเทศระดับ องคกรคือ ระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในองคกรที่จะตองเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอรของแตละแผนกเขา ดวยกัน เพื่อใหเกิดการใชขอมูล และทรัพยากรรวมกัน


13

ขอมูลและสารสนเทศ ดังที่กลาวมาแลววาการทํางานใด ๆ ที่ไดผลดีจําเปนตองมีขอมูลที่ถูกตองครอบคลุมและตรงประเด็น ประกอบการตัดสินใจในการเลือกวัตถุดิบ เนื้อหาสาระ บุคลากร และวิธีการปฏิบัติไดอยางเหมาะสม โดยการ จําแนกแจกแจง จัดหมวดหมูและการประมวลผลขอมูลที่เกี่ยวของทุกดานอยางเปนระบบที่เรียกวาสารสนเทศ จึงนับไดวาขอมูลและสารสนเทศมีประโยชนตอการดําเนินงานของบุคคลและหนวยงาน 1 ขอมูล (data) ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงที่ปรากฏใหเห็นเปนประจักษสามารถรับรูไดดวยประสาทสัมผัสทั้งหา ทั้งที่ สามารถนับไดและนับไมได มีคุณลักษณะเปนวัตถุสิ่งของ เหตุการณหรือสถานการณ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติและเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น และตองเปนสิ่งมีความหมายในตัวมันเองซึ่งอาจจะอยูในรูปของรูปภาพ แสง สี เสียง รส นอกจากนี้ขอเท็จจริงอาจจะอยูในรูปของคุณสมบัติเปนน้ําหนัก แรง อุณหภูมิ จํานวน ซึ่ง สามารถแทนคาดวยตัวเลข ตัวอักษรขอความก็ได อยางไรก็ตามขอมูลที่นํามาใชใหเกิดประโยชนมีหลายระดับ ตั้งแตขอมูลเบื้องตนหรือขอมูลดิบจนถึงขอมูลสารสนเทศ ซึ่งแตละอยางมีความหมายดังนี้ ขอมูลดิบ (raw data) หมายถึง วัตถุสิ่งของ เหตุการณ สถานการณ ที่มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติอยู ในสภาพเดิ ม มี ค วามอิ ส ระเป น เอกเทศในตั ว มั น เองยัง ไม ผา นการกลั่ น กรอง ไม ไ ดถู ก นํ า ไป แปรรู ปหรื อ ประยุกตใชกับงานใด ๆ การตีความขอมูลดิบเกิดจากพฤติกรรมการรับรูการเรียนรูหรือประสบการณในการ สั ง เกต การวั ด การนั บ การสั ม ผั ส จั บ ต อ ง หรื อ กรรมวิ ธี อื่ น ๆ จนสามารถระบุ ไ ด ชั ด เจนว า ข อ มู ล นั้ น มี คุณลักษณะหรือคุณสมบัติเปนอยางไร มีชื่อเรียกวาอะไร ขอมูลดิบทุกชนิดที่อยูลอมรอบตัวเรามีจํานวนมากมายมหาศาลแตละชนิดลวนมีศักยภาพและ ความสําคัญในตัวมันเองทั้งสิ้น แตขอมูลดิบบางชนิดอาจจะไมจําเปนไมมีประโยชนสําหรับบุคคลบางคน บาง กลุม บางงาน หรือบางสถานการณ ดังนั้นการนําขอมูลดิบไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุดจึงขึ้นอยูกับการ ใชวิจารณญาณในการวิเคราะหองคประกอบตางๆที่เกี่ยวของอยางรอบดานผสมผสานอยางสอดคลองกับเนื้อหา สาระ วัตถุประสงค และธรรมชาติของบุคลากร ขอมูลดิบที่ดีจะตองมีคุณสมบัติถูกตอง (accurate) ตองปรากฏใหเห็นอยางถูกตองตามความเปน จริง ไม ผิด พลาดคลาดเคลื่ อ นจากความเป น จริง ไมใ ช ภ าพลวงตาหรือ ความคิ ด เพ อฝ น ตามจิน ตนาการ มี คุณลักษณะเฉพาะที่ชัดเจนแนนอนสามารถระบุไดวาสิ่งนั้นคืออะไร เชน กอนหิน ตนไม ทอนฟน ตนขาว ฟาง น้ํา น้ํารอน น้ําเย็น ทราย จาน ชาม ถวย บาน วัด เสียงนก เสียงคน พายุ ลม ฝน หนัก เบา ฯลฯ ดังนั้นขอมูลที่ดีตองมีคุณสมบัติชัดเจนปราศจากขอสงสัยในการตีความ 2 สารสนเทศ (informational) สารสนเทศ หมายถึง ขอมูลที่ผานการกลั่นกรองโดยการจําแนกแจกแจง จัดหมวดหมู การคํานวณและ ประมวลผลแลว สามารถนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในการดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพตอไปได อยางไรก็ตามสารสนเทศที่ประกอบดวยเนื้อหาสาระพื้นฐานทั่วไปอาจกลายเปนขอมูลสําหรับงานสารสนเทศ


14

2.1 คุณสมบัติของขอมูลสารสนเทศที่ดี ขอมูลสารสนเทศที่ดีจะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1) ความถูกตอง (accurate) ขอมูลสารสนเทศที่ดีตองแสดงใหเห็นถึงความเชื่อมโยงสัมพันธของ องคประกอบที่เกี่ยวของอยางถูกตองตามความเปนจริง ไมผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากความเปนจริง สามารถ อางอิงไดจากแหลงขอมูลอื่นโดยเฉพาะขอมูลดิบ สามารถแสดงขั้นตอนหรือกระบวนการดวยสื่อที่เหมาะสม เชน ตัวอักษรข อความ รูปภาพ แผนภูมิ แผนภาพ ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสีย ง เป นตน ดังนั้ นข อมูล สารสนเทศที่ดีตองมีคุณสมบัติถูกตองชัดเจนปราศจากขอสงสัยในการตีความ สามารถนําไปประยุกตใชในการ ตัดสินใจไดอยางสะดวกรวดเร็ว 2) ทันเวลา (timeliness) ข อมูลสารเทศตองมีลักษณะเปน ปจ จุบัน เสมอ สามารถปรั บปรุง เปลี่ยนแปลงใหทวงทันเวลาและเหตุการณอยูตลอดเวลา นอกจากนี้ยังมีการบันทึกและจัดเก็บขอมูลในอดีตที่ ผานมาอยางเปนระบบใหเปนหมวดหมู สามารถสืบคนไดงาย สะดวก และรวดเร็ว 3) สอดคลองกับงาน (relevance) ขอมูลสารสนเทศตองสอดคลองและครอบคลุมกับงานที่กําลัง ดําเนินการอยู ไมใชขอมูลอื่นที่ไมเกี่ยวของ 4) สามารถตรวจสอบได (verifiable) ขอมูลสารสนเทศที่ดีตองสามารถตรวจสอบไดวาถูกตอง นาเชื่อถือหรือไม สามารถอางอิงและตรวจสอบได 5) มีความสมบรูณครบถวน (integrity) ขอมูลสารสนเทศที่ดีจะตองมีเนื้อหาสาระรวมถึงขั้นตอน และกระบวนการหรือวิธีการครอบคลุมการดําเนินงานโดยรวม สรุปไดวา สารสนเทศ คือ ขอมูลที่ถูกกลั่นกรองดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อใหมีคุณคาและมีความหมายตอการ ประยุกตใชงานสําหรับบุคคลหรือองคกร สารสนเทศอาจอยูในรูปของภาพ แสง สี เสียง รูปราง รูปทรง ตัวเลข ตัวอักษรขอความ ฯลฯ ผูใชสามารถนําไปใชไดอยางสะดวกสบายและรวดเร็ว ประโยชนและคุณคาของ สารสนเทศจะนําไปสู “ความรู” ที่มีประโยชนตอไป 2.2 ชนิดของขอมูล ขอมูลมีหลายชนิดขึ้นอยูกับเกณฑในการจําแนก ในที่นี้จําแนกขอมูลตามลักกษณะการจัดเก็บซึ่ง แบงออกเปน 4 ชนิด คือ 1) ขอมูลที่เปนตัวเลข (Numeric type) ใชระบุความหมายของสิ่งตาง ๆ ในเชิงปริมาณ เชน ราคาสินคา จํานวนสิ่งของ ความสูง โดยระบุเปนตัวเลขเทานั้น เชน 15.75 (บาท) 1,750 (กลอง) 175.3 (ซ.ม.) 10111000 (เลขฐานสอง เทากับ 184 ของเลขฐานสิบ) เปนตน


15

2) ขอมูลที่เปนตัวอักขระ (Character type) ใชบรรยายความหมายหรือแทนขอมูลบางอยาง เชน รถยนต เกวียน น.ส . ศรีสมร เปนตน 3) ขอมูลที่เปนตัวอักษรเลข (Alphanumeric type) หมายถึงมีทั้งตัวอักษร ตัวเลข และตัวสัญลักษณพิเศษ (เชน !,.?%$#@-+) ปนกัน ใชบรรยายหรือสื่อความหมายตางๆ ไดตามแตจะกําหนด เชน A4 $500.00 4) ขอมูลมัลติมีเดีย (multimedia) หรือสื่อประสม เชน ภาพ เสียง ขอความ ปนกัน เปนตน เปนขอมูล อีกประเภทหนึ่งที่กลาวถึงกันมาก แตความจริงแลวขอมูลชนิดนี้ถูกจักเก็บในคอมพิวเตอรในรูปของขอมูล ประเภทใดประเภทหนึ่งในสามประเภทแรก 3 ความรู (Knowledge) ความรู เปนสภาวะทางสติปญญาของมนุษยในการตีความสิ่งเราทั้งที่อยูภายในและภายนอกดวยความ เขาใจสาระของเนื้อหา กระบวนการ และขั้นตอน อาจอยูในรูปของขอมูลดิบหรือสารสนเทศระดับตาง ๆ หรือ อาจอยูในรูปของอารมณความรูสึกและเหตุผล คุณสมบัติของความรูอาจใหทั้งประโยชนและโทษตอตนเอง สังคม และสิ่งแวดลอม ดังนั้นการใชความรูใหเปนประโยชนจําเปนตองกํากับดวยสติปญญา ทุกยุคทุกสมัยทั้ง ในอดีตปจจุบันและอนาคต “ความรู” มีความสําคัญตอมนุษย สังคม และสิ่งแวดลอมเสมอ มนุษยใชความรูใน การแกปญหา การสรางสรรคผลงาน และการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมแบบยั่งยืน เพื่อใหมนุษยและประชาคม โลกไดอยูรวมกันอยางมีความสุขโดยทั่วหนา อยางไรก็ตามกระแสโลกาภิวัตนที่แผขยายไปทั่วทุกมุมโลก นําพา ความรูและเทคนิคตาง ๆ ทําใหสังคมยุคใหมนี้ไดชื่อวา สังคมแหงความรู (knowledge Society) โดยแสดง ความสัมพันธระหวางขอมูล สารสนเทศ ความรู และกิจกรรมตางๆ ทั้งฝายผูผลิตขอมูลและผูบริโภคสารสนเทศ จึงเปนสิ่งที่นาศึกษา เพื่อใหทราบวาเราจะสรางองคความรูจากขอมูลและสารสนเทศอยางไร

แผนภาพที่ ความสัมพันธระหวางขอมุล สารสนเทศ และความรู

จากแผนภาพแสดงถึงแหลงผลิตขอมูล ซึ่งอาจเกิดจากธรรมชาติหรือกระบวนการที่มนุษยสรางขึ้น ขอมูล อาจไดมาโดยการสราง การคนพบ การรวบรวม และการจัดเก็บ เมื่อผานการประมวลแลวก็จะกลายเปน สารสนเทศ ซึ่งตองมีการจัดการสารสนเทศ (Information Management) เชน การจัดระบบสารสนเทศ การ สื่อสาร การนําเสนอสารสนเทศ เพื่อสามารถนําไปใชประโยชนได เมื่อนําสารสนเทศไปใชงานก็จะเกิดองค ความรู ซึ่งเปนสุดยอดของประโยชนที่ไดจากระบบจัดการสารสนเทศการสรางความรูจากสารสนเทศจะตองมี


16

ในรูปที่มีลูกศรเสนทึบ แสดงวาเมื่อมีการจัดการที่ดี ขอมูลจะถูกแปรไปเปนสารสนเทศและความรู สวน ลูกศรเสนประแสดงวาเราอาจใชความรูยอนไปสรางสารสนเทศและขอมูลใหมๆ ไดเชนกัน วงรีสองวงที่ลอม อยูและทาบทับกันตรงกลาง แสดงวามีขอบเขตงานที่ทับซอนกัน คือ มีงานของฝายผลิตขอมูลและสารสนเทศ แ ละกลุมผูบริโภคขอมูลและสารสนเทศ กลุมผูบริโภคเปนผูนําสารสนเทศไปใชใหเกิดความรู จึงเห็นไดวา สาร สนทศเปนสิ่งที่เกี่ยวของทั้งกลุมผูผลิตและผูบริโภค ทั้งสองฝายจึงตองทํางานใหสอดคลองและประสานกัน จึง จะเกิดคุณประโยชนสูงสุด 4 การประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ การสรางสารสนเทศไดตองอาศัยกระบวนการรวบรวมและการประมวลผลโดยมีวิธีการจัดการดังนี้ 6.4.1 ขั้นตอนการประมวลผลขอมูล (Data processing steps) เนื่องจากขอมูลในโลกนี้มีมากมาย หลายชนิดดังกลาวแลว การจะหาขอมูลที่ดีไดจะตองมีการประมวลผลตามขั้นตอนตาง ๆ ที่เหมาะสม ดังนี้ 1) การรวบรวมขอมูล (Data collection) หมายถึงการเก็บขอมูลจํานวนมากจากแหลงกําเนิด (capturing) มาทําการเขารหัส (Coding) ในรูปที่เหมาะสมตอการจัดเก็บ และการบันทึก (recording) ในสื่อที่ สามารถเก็บขอมูลไวไดนาน ๆ เชน จดบันทึกในกระดาษ รวบรวมแฟม เก็บเขาตู หรือบันทึกลงจานแมเหล็ก โดยระบบคอมพิวเตอร นอกจากนี้ ตองทําการตรวจสอบแกไข (validating and editing) ขอมูลที่ไดกอนนําไป เก็บ เพื่อใหขอมูลที่ครบถวนและถูกตองแมนยําอยางแทจริง 2) การบํารุงรักษาและประมวลผลขอมูล (Data Maintenance Processing) เปนกระบวนการเก็บ รักษาขอมูลไวใหใชไดตลอดไป ซึ่งอาจประกอบดวยปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยตลอดเวลา (updating) ทําการ แยกประเภท (classifying) จัดเรียงขอมูล (sorting) และคํานวณหาขอมูลใหมจากขอมูลที่มีอยูแลว (calculating) เพื่อใหใชงานไดหลากหลายมากขึ้น 3) การจัดการขอมูล (Data Management) คือการสรางระบบจัดการขอมูลจํานวนมาก ใหสามารถ นํามาใชงานไดอยางรวดเร็วทันเวลา ซึ่งประกอบดวยการจัดเก็บไวในแฟมขอมูลอยางเปนระบบ ทั้งแบบแฟม กระดาษหรื อ แฟ ม ในคอมพิ ว เตอร การสร า งฐานข อ มู ล คื อ ระบบเก็ บ ข อ มู ล ขนาดใหญ ที่ มี ก ารจั ด ระบบ บํารุงรักษาไมใหผิดเพี้ยนหรือสูญหาย และการสรางระบบคนหาขอมูล (retrieving) อยางมีประสิทธิภาพ สามารถสืบคนไดเร็ว และมีขอมูลสะสมใหเลือกใชมากมาย การจัดการขอมูลอยางเปนระบบ เริ่มตนที่การสราง ฐานขอมูล (Database) ซึ่งจะตองออกแบบใหสอดคลองกับวัตถุประสงค ปจจุบันนี้มีซอฟตแวรหรือโปรแกรม สําเร็จรูปที่สามารถจัดการขอมูลที่อยูในฐานขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ เรียกวา ระบบจัดการฐานขอมูล (Database Management System) ซึ่งมีทั้งชนิดสําหรับฐานขอมูลขนาดใหญที่ใชรวมกันทั้งองคกร เชน Oracle และชนิดสําหรับฐานขอมูลขนาดเล็ก เชน Microsoft Access เปนตน


17

4) การควบคุมขอมูล (Data Control) เปนการปองกันรักษาขอมูลที่จัดเก็บไวแลวใหปลอดภัย ไมใหขอมูลที่มีคาถูกขโมยไปใชงานอยางไมถูกตอง รวมทั้งหามาตรการในการประกันขอมูลความปลอดภัยของ ขอมูล ใหถูกตองแมนยํา ไมมีการดัดแปลงแกไขอยางผิด ๆ ทําความสมบูรณถูกตองของขอมูลใหคงอยูตลอดไป 5) การสรางสารสนเทศ (Information Generation) เปนการตีความหมายของขอมูลที่ไดมาแลว คนหาความหมายหรือความสําคัญที่มีคุณคาของขอมูลที่ไดโดยการนําไปประมวลผลดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง เชน การ คํานวณ การเรียงขอมูล (sorting) การคนหา (searching) และการแยกประเภท จากนั้นนํามาสรุป ตีความหมาย อธิบายความหมาย และรวบรวมเอาไว ซึ่งจะไดสิ่งที่เรียกวา สารสนเทศ และจะตองมีการจัดทํารายงานเกี่ยวกับ สารสนเทศที่คนพบหรือที่สรางขึ้น รวมทั้งทําการเผยแพร สื่อสารขอมูลและสารสนเทศไปกับผูที่เกี่ยวขอสนใจ ในคุณคาของสารสนเทศนั้น เชนนี้จึงจะเกิดประโยชนตอมวลมนุษยชาติ 6.4.2 วิธีการเก็บขอมูล (Data Collection Methods) ขอมูลอาจเกิดขึ้นไดเองหรือ เกิดจากการสราง การทดลอง และการประมวลผลก็ได เมื่อตองการไดความรู หรือตองการทราบความหมายหรือคุณคาสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง เราตองเก็บขอมูลของสิ่งนั้น เพื่อนํามาประมวลผลใหเปนสารสนเทศ วิธีการเก็บขอมูลสามารถทําไดหลาย วิธี ตัวอยางเชน การสํารวจดวยแบบสอบถาม การสัมภาษณผูที่เกี่ยวของหรือเปนเจาของขอมูล การนับจํานวน หรือวัดขนาดดวยตนเอง หรือโดยใชอุปกรณอัตโนมัติ 1) การสํารวจดวยแบบสอบถาม ในการสํารวจขอมูลความคิดเห็น อาจจําเปนตองทําแบบสอบถาม เพื่อใหงายตอการตอบและรวบรวมขอมูล ดังตัวอยาง แบบสอบถามความนิยมของผูใชบริการสํานักวิทยบริการ ในแผนภาพที่ 2.6 2) การสั ม ภาษณ ผู ที่ เ กี่ ย วข อ ง หรื อ เป น เจ า ของข อ มู ล อาจใช วิ ธี เ ก็ บ ข อ มู ล ด ว ยการแจก แบบสอบถามใหกับกลุมเปาหมายที่เราตองการทราบขอมูล ผูตอบจะเขียนตอบหรือไมก็ได ในทางปฏิบัติพบวา แบบสอบถามที่แจกไปจะไดรับตอบกลับมาเพียงประมาณ 10% เทานั้น จึงเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพคอนขางต่ํา นอกจากนี้ในบางกรณีแบบสอบถามอาจไมเหมาะสม เพราะคําถามบางคําถามไมมีความชัดเจนเพียงพอ ผูตอบ แตละคนอาจมีความเขาใจไมตรงกัน การเก็บขอมูลโดยวิธีสัมภาษณจะแกไขจุดบกพรองเหลานี้ได โดยผูเก็บ ขอมูลออกไปสัมภาษณแหลงขาว หรือแหลงขอมูลเอง หรือถาตองการขอมูลจํานวนมาก ก็จางคนหลาย ๆ คน ไปสัมภาษณก็ได ซึ่งจะตองเตรียมหัวขอที่จะสัมภาษณใหดี ตรงเปาหมายที่ตองการใหมากที่สุด ในบางกรณีที่ ถูกสัมภาษณไมเขาใจคําถาม ผูสัมภาษณตองสามารถอธิบายใหชัดเจนได


18

แผนภาพ ตัวอยางแบบสอบถามขอมูลเกี่ยวกับความนิยมของผูใชบริการของสํานักวิทยบริการ

3) การนับจํานวนหรือวัดขนาดของตนเอง หรือโดยใชอุปกรณอัตโนมัติ ขอมูลบางอยางจําเปนตองมีผู ที่เกี่ยวของไปนับหรือวัดดวยตนเอง เชน จํานวนตนไมในปา ความสูงของตนไม ความสูงของนักเรียน จํานวน ปลาในบอเลี้ยงปลา เปนตน ในการเก็บขอมูลทางวิทยาศาสตร อาจตองมีเครื่องมือวัดพิเศษเขาชวย เชน เครื่องวัดความเขมของแสง เครื่องวัดแรงดัน เครื่องวัดอุณหภูมิ เครื่องวัดความชื้น โดยเครื่องมือเหลานี้ มีอุปกรณพิเศษ เปนตัวรับรู ปริมาณของสิ่งที่ตองการวัด เรียกวา ตัวตรวจจับสัญญาณ หรือ เซนเซอร (sensors) หรือทรานซดิวเซอร (transducers) อุปกรณเหลานี้จะแปลงปริมาณความรอน หรือความเขมของแสง ออกมาเปนพลังงานไฟฟา ซึ่ง จะใหคาการวัดไฟฟา เชน แรงดันไฟฟา ความตานทานไฟฟา ที่สัมพันธกับคาที่ตองการวัด จากนั้นภายใน เครื่องมือวัดก็จะมีสิ่งที่แปรผลที่ไดจากตัวจับสัญญาณออกมาเปนตัวเลขหรือสิ่งอื่นที่มนุษยเขาใจความหมายได ตัวอยางตัวตรวจจับสัญญาณ


19

ภาพ แอลดีอาร (LDR-Light Dependent Resistor)

เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่เปลี่ยนความตานทาน ของการไหลของกระแสไฟฟาตามความเขมของแสง โดยมีความตานทานลดลงถาแสงมากขึ้น ถือวาเปน เซ็นเซอรที่ใชเก็บขอมูลความเขมของแสง

ภาพฟอสเซนเซอร (Force Sensor) และเพรส เซอรเซนเซอร(Pressure Sensor) คือตัวตรวจจับ แรงกดหรือความดันจากอากาศหรือน้ํา ทําจากสารกึ่งตัวนําที่สรางเปนตัวตานทานปเอโซ

ภาพ เทอรมิสเตอร (Thermistor) เปน อุปกรณอิกเล็กเทอรนิกสที่เปลี่ยนความตานทาน ตอการไหลของกระแสไฟฟาตามอุณหภูมนิยมใช เก็บขอมูลของอุณหภูมิ

ภาพตัวตรวจจับความชื้น (Humidity Sensor) มีวงจรรวมภายในตัว ใชตรวความชื้น โดยใชหลักการของตัวเก็บประจไฟฟา

ซึ่งจะเปลี่ยนความตานทานเมื่อถูกกด

เครื่องคอมพิวเตอรและเครือขายสื่อสารขอมูล หมายถึง คอมพิวเตอรที่เปนเครื่องประมวลผลขอมูล ซึ่งมี อยู 2 ประเภทดวยกัน คือ 1. สถานีงาน (workstation) หมายถึงคอมพิวเตอรที่ใชงาน ณ จุดที่จัดไวใหผูใชมาใชรวมกันหรือจัดไว ใหผูใชมาใชรวมกัน หรือจัดไวที่โตะทํางานของผูใชแตละคน บางทีเรียกวา คอมพิวเตอรสวนบุคคล ( Personal Computer หรือเรียกยอๆวา PC ) หมายถึงคอมพิวเตอรที่ผูใชใชสวนตัว มีหลายแบบ เชน คอมพิวเตอรตั้งโตะ (Desktop Computer) ที่มีจอแสงคลายโทรทัศนและเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใกลเคียงกับหนังสือสามารถนําติด ตัวไปใชที่ใดก็ได เรียกวา คอมพิวเตอรโนตบุค (Notebook Computer) เปนเครื่องขนาดใหญที่ใชรวมกันหลายคนเปนเครื่องที่ใชเก็บฐานขอมูลหรือโปรแกรมสําเร็จประยุกต (Application package) จํานวนมากที่สามารถใชรวมกันโดยการสั่งงานดวยคอมพิวเตอร เครื่องบริการจะมี โปรแกรมควบคุมการทํางานซึ่งเรียกวา ระบบปฏิบัติการเครือขาย ที่มีระบบการทํางานและชื่อเครื่องหมาย


20

2. เครือขายสื่อสารขอมูล คือ เครือขายคอมพิวเตอรซึ่งใชเชื่อมโยงคอมพิวเตอรที่เกี่ยวของกันใหสามารถ ใชขอมูลรวมกันหรือแลกเปลี่ยนกันได โดยใชสายสื่อสารขอมูลที่ทําจากทองแดงหรือเสนใยแกวนําแสง นิยม แบงเครือขายตามขนาดพื้นที่และจํานวนเครื่องที่ใชงาน ไดแก 1. แลน (LAN = Local Area Network) คือเครือขายบริเวณเฉพาะที่ จํากัดเขตเฉพาะภายในบริเวณ อาคารหรือกลุมอาคารที่อยูใกลกัน เนื่องจากขอจํากัดของตัวกลางที่ใชสงขอมูล เชน ภายในรั้วโรงเรียนหรือ มหาวิทยาลัย เปนตน 2. แวน (WAN = Wide Area Network) คือเครือขายบริเวณกวาง ระยะทางมากกวา 10 กิโลเมตรขึ้น ไปจนมากกวาหลายพันกิโลเมตร ปกติเชื่อมโยงดวยระบบสื่อสารสาธารณะ เชน สายโทรศัพท เครือขายเสนใย แกวนําแสง หรือเครือขายสัญญาณดาวเทียม เปนตน 3. อินเทอรเน็ต (Internet) คือเครือขายขนาดใหญ ประกอบดวยเครือขายแวนจํานวนมาก ซึ่งครอบคลุม พื้นที่กวางไกลทั่วโลก

บทสรุป ระบบ (System) หมายถึง การทํางานขององคประกอบยอย ๆ อยางอิสระแตมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน จนกลายเปนโครงสรางที่สมบูรณของแตละงาน วิธีการเชิงระบบ (System Approach) วิธีเชิงระบบหรือวิธี ระบบคือคําๆเดียวกัน เปนกระบวนการคิดหรือการทํางานอยางมีแบบแผนชัดเจนในการนําเนื้อหาความรูดาน ตาง ๆองคประกอบของวิธีระบบ วิธีระบบมีองคประกอบสําคัญ 3 ประการ ไดแก 1) ปจจัยนําเขา (Input) หมายถึง วัตถุสิ่งของตาง ๆ อันเปนตนเหตุของประเด็นปญหา 2) กระบวนการ (Process) หมายถึง วิธีการ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน 3) ผลลัพธ (Output) หมายถึง ผลงานที่ไดจากกระบวนการจัดการวัตถุดิบหรือปจจัย นําเขา ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ การประมวลผลขอมูลขาวสารอยางเปนขั้นตอนและเปน กระบวนการเพื่อใหขอมูลในรูปของขาวสารที่เปนประโยชนสูงสุด องคประกอบของระบบสารสนเทศ การ จําแนกองคประกอบระบบสารสนเทศมีหลายวิธีขึ้นอยูกับเกณฑหรือวัตถุประสงคของแตละงาน ในที่นี้จําแนก เปน 2 ประเภท ไดแก องคประกอบหลัก และองคประกอบดานตาง ๆ องคประกอบหลักของระบบสารสนเทศ องคประกอบหลัก ของระบบสานสนเทศมีองคประกอบหลัก 2 ส วน ไดแ ก ระบบการคิด และระบบของ เครื่องมือ ระบบการคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการจัดลําดับ จําแนก แจกแจง และจัดหมวดหมู ขอมูลตาง ๆ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและเผยแพร ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณหรือเครื่องมือที่ นํามาใชในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพรสารสนเทศใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ องคประกอบดาน ตาง ๆ ของระบบสารสนเทศแตละดานมีดังนี้ องคประกอบของสารสนเทศดานจุดมุงหมายในการแกปญหา มี 4 ประการ ไดแก ขอมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู (Knowledge) ปญญา (Wisdom) ที่ชวย แกปญหาในการดําเนินงาน องคประกอบของสารสนเทศดานขั้นตอน ในการดําเนินงานมี 3 ประการ คือ ขอมูล


21


22

สรุปหนวยการเรียนรูที่ 3 “คอมพิวเตอรละระบบคอมพิวเตอร” เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานในปจจุบัน เปนอุปกรณที่ไดรับการพัฒนามาอยางตอเนื่องมาหลายรอยป เริ่มจากการสรางอุปกรณที่ไมมีกลไกซับซอน จนกลายมาเปนเครื่องคอมพิวเตอรมีศักยภาพสูงที่นํามาใชงานใน ชีวิตประจําวันในขณะนี้คอมพิวเตอร (Computer) คือ อุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic device) ที่มนุษยใช เปนเครื่องมือในการจัดการกับขอมูล (Data) ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณอื่นที่ใชแทนความหมายในสิ่ง ตาง ๆ โดยปฏิบัติงานภายใตการควบคุมของชุดคําสั่งที่อยูในหนวยความจําของคอมพิวเตอร สวนประกอบของ คอมพิวเตอรประกอบดวย 1. คอมพิวเตอรฮารดแวร หมายถึง สวนที่ประกอบเปนเครื่องคอมพิวเตอรรวมอุปกรณ ตอพวงตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได เชน ตัวเครื่อง จอภาพ คียบอรด และ เมาท เปนตน ซึ่งสามารถจําแนกหนาที่ของฮารดแวรตาง ๆ ออกเปนสวนสําคัญ 5 สวน คือ หนวยรับขอมูลเขา (Input Unit) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หนวยความจํา (Memory Unit) หนวย แสดงผล (Output Unit) อุปกรณตอพวงอื่นๆ (Peripheral Equipment) ประโยชนที่เราไดรับจากการนํา คอมพิวเตอรในการนํามาใชงาน คือ มีความเร็วในการทํางานสูง มีประสิทธิภาพในการทํางานสูง มีความถูกตอง แมนยําตามโปรแกรมที่สั่งงานและขอมูลที่ใช เก็บขอมูลไดมาก สามารถโอนยายขอมูลจากเครื่องหนึ่งไปอีก เครื่องหนึ่งโดยผานระบบเครือขายไดอยางรวดเร็ว ระบบคอมพิวเตอร หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอรทําการ ใด ๆ กับขอมูลใหอยูในรูปแบบที่เปนประโยชนตามความประสงคของผูใชมากที่สุด เชน การตรวจสอบขอมูล ประชาชนจากระบบทะเบียนราษฎร ของสํานักทะเบียนราษฎร กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย ระบบ คอมพิวเตอรที่สามารถทํางานอยางมีประสิทธิภาพจะประกอบดวยองคประกอบของระบบคอมพิวเตอรสําคัญ 4 สวน คือ ฮารดแวร (hardware) หรือสวนเครื่อง ซอฟตแวร (software) หรือสวนชุดคําสั่ง ขอมูล (data) บุคลากร (people) บุคลากรคอมพิวเตอร (Peopleware) หมายถึงกลุมบุคคลที่ทํางานเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและโปรแกรม เชน นักเขียนโปรแกรม (Programmer)ผูดูแลระบบ (System Administrator) ผูดูแลระบบ หรือ แอดมิน (อังกฤษ: System administrator, systems administrator หรือ sysadmin) เปน บุคคลที่ถูกวาจางเพื่อที่จะดูและ จัดการระบบหรือเครือขายคอมพิวเตอร นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) บุคลากรดานการวิเคราะหและ ออกแบบระบบงาน จะมีหนาที่วิเคราะหความตองการของผูใชรวมไปถึงผูบริหารของหนวยงานนั้น ๆ ดวยวา ตองการระบบโปรแกรมหรือลักษณะงานแบบไหน อยางไร เพื่อจะพัฒนาระบบงานใหตรงตามความตองการ มากที่สุด นักเขียนโปรแกรม (Programmer) เมื่อนักวิเคราะหระบบทําการวิเคราะหระบบงานเสร็จสิ้น ก็จะสง ตอมายังผูที่ชํานาญในเรื่องของการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะเพื่อสรางระบบงานนั้นใหออกมาใชงานไดจริง ๆ วิศวกรระบบ (System Engineer) คือ บุคลากรที่ทําหนาที่ออกแบบ สราง ซอมบํารุงและดูแลรักษาฮารดแวร คอมพิวเตอรใหสามารถทํางานไดตามที่ตองการ วิศวกรเครือขาย (Network Engineer) เปนผูออกแบบและ ดูแลระบบเครือขายคอมพิวเตอร CNE (Computer Network Engineering) กําลังเปนที่ตองการอยางมากใน ปจจุบัน ผูใชคอมพิวเตอรระดับสูง (Super User) หมายถึง ผูใชงานคอมพิวเตอรที่สามารถประยุกตโปรแกรม เพื่อสรางผลงานตาง ๆ ตามตองการ ผูใชคอมพิวเตอรทั่วไป (User) หมายถึง ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป สามารถทํางานตามหนาที่ในหนวยงานนั้นๆ


23

สรุปหนวยที่ 4 “ซอฟตแวร (Software)” ซอฟตแวร หมายถึงชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใชสั่งงานใหคอมพิวเตอรทํางาน ประเภทของซอฟตแวร ซอฟตแวรระบบ (System Software) ซอฟทแวร ระบบเปนโปรแกรมที่บริษัทผูผลิตสรางขึ้นมาเพื่อใชจัดการ กับระบบ หนาที่การทํางานของซอฟตแวรระบบ คือ ดําเนินงานพื้นฐานตาง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร ซึ่ง ซอฟทแวรระบบมีลักษณะแตกตางกันดังนี้ ระบบปฏิบัติการ (Operating Software หรือ OS) เปนซอฟตแวรที่ ควบคุมกิจกรรมทั้งหมดของคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติการที่นิยมใชมากที่สุดในขณะนี้ คือ 1) ระบบปฏิบัติการ ดอส(DOS) 2) ระบบปฏิบัติการแบบวินโดวส 3) ระบบปฏิบัติการยูนิกส (UNIX) 4) ระบบปฏิบัติการแมค (MAC OS) ตัวแปลภาษา ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นมาทุกภาษาจะตองมีตัวแปลภาษาสําหรับแปลภาษา ภาษา ระดับสูงซึ่งเปนที่รูจักและนิยมกันมากในปจจุบัน เชน ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษาซี และภาษาโลโก ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) เปนโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อการใชงานเฉพาะเรื่องตามที่เรา ตองการเชน งานพิมพเอกสาร ซอฟตแวรสําเร็จ ซอฟตแวรสําเร็จ (package) เปนซอฟตแวรที่มีความนิยมใชกัน สูง ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ เปนโปรแกรมที่ทําหนาที่ชวยในการทํางานของระบบคอมพิวเตอรในหนาที่เฉพาะ ดานบางอยาง เชน การตรวจหาและกําจัดไวรัสคอมพิวเตอร การจัด เรียงขอมูลในฮารดดิสก เปนตน ความ จําเปนของการใชซอฟตแวร ซอฟตแวร เปนชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใชสั่งงานใหคอมพิวเตอรทํางานตาม ตองการซอฟทแวรและภาษาคอมพิวเตอร เราใชคอมพิวเตอรทํางานในการจัดการสารสนเทศเรื่องตาง ๆ ได อยางถูกตองแมนยําโดยการกําหนดวิธีการหรือขั้นตอนใหคอมพิวเตอรทํางานไดตามความตองการ


24

สรุปหนวยที่ 5 “ระบบเครือขายคอมพิวเตอร” ในปจจุบันการใชคอมพิวเตอรถือวาเปนสวนหนึ่งของเครื่องใชประจําสํานักงาน เริ่มจากการใชในงาน พิมพเอกสาร เก็บขอมูล เปนเครื่องที่ใชทํางานคนเดียว เมื่อสํานักงานหรือองคกรนั้นมีขนาดใหญขึ้นเริ่มมีการใช คอมพิวเตอรหลายรูปแบบ บางครั้งอาจมีการทํางานเหมือนกันหรือแตกตางกันก็ได องค ป ระกอบของการส ง ข อ มู ล จากเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร เ ครื่ อ งหนึ่ ง ไปยั ง อี ก เครื่ อ งหนึ่ ง จะต อ งมี องคประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ ผูสง (Sender) ผูรับ (Receiver) และตัวกลางในการสงสัญญาณ ซึ่งทําหนาที่ใน การนําขอมูลจากผูสงไปใหถึงผูรับ

ประโยชนของระบบเครือขายคอมพิวเตอร ในยุคแรก ๆ ของการใช คอมพิวเตอรนั้น คอมพิวเตอรแตละเครื่ องจะแยกการทํางานโดยลําพัง เมื่อ ตองการนําขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง มาใชทํางานในคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่ง ก็ตองอาศัย วิธีการที่ยุงยาก เชน นําเอกสารที่พิมพ (Pinter) ออกมาจากเครื่องแรกไปปอนใหมทางแปนพิมพของเครื่องที่สอง หรือบันทึกขอมูลจากเครื่องแรกลงในแผนบันทึกขอมูล (Diskette) แลวจึงคอยนําไปเปดในเครื่องที่สอง ตอมามี การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรหลายเครื่องเขาดวยกัน จึงทําใหเกิดการสื่อสารขอมูลระหวางคอมพิวเตอรที่รวดเร็วขึ้น ทําใหคอมพิวเตอรหลายเครื่องที่ตอรวมเครือขายกันนั้นสามารถทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ อาจสรุป ไดดังตอไปนี้ 1)ระบบเครือขายในบริเวณเฉพาะที่ การเชื่อมตอเครือขายใหประโยชนในดานการใชขอมูลรวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชขอมูลในฐานขอมูลเดียวกันทําใหไดขอมูลที่ถูกตองและเปนปจจุบันมากที่สุด และ ยังใหประโยชนในการใชทรัพยากรรวมกัน เชน อุปกรณประเภทเครื่องพิมพ (Pinter) เครื่องกราดตรวจ (Scanner) นอกจากนี้ยังทํางานเอกภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น 2) ระบบเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต เนื่ อ งจากระบบนี้ เ ป น ระบบใหญ ที่ มี ก ารเชื่ อ มต อ โยงกั น ทั่ ว โลก ผลประโยชนและผลกระทบจึงมีกวางไกลมาก สิ่งที่เรารูจักและนํามาใชประโยชนทุกวันนี้เปนเพียงจุดเริ่มตน เทานั้น ยังมีการพัฒนาอยางตอเนื่องซึ่งจะนํามาซึ่งสิ่งใหม ๆ อีกมากมาย ตัวอยางประโยชนที่เรานํามาใชใน ปจจุบัน ไดแก การสื่อสารดวยไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail) การสืบคนขอมูลจากเว็บไซต การศึกษาแบบ ELearning การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) และการธนาคารอิเล็กทรอนิกส (E-Banking) 3) ระบบเครือขายรวมปฏิบัติ เปนระบบเครือขายที่ทําใหเกิดการรวมพลังของคอมพิวเตอรเครือขายมา ทํางานรวมกัน ขณะที่มีการนําระบบนี้มาใชในงานวิจัยเพื่อถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย คอมพิวเตอรสวนบุคคลที่ กระจายอยูในประเทศตาง ๆ ทั่วโลกสามารถสมัครเขารวมโครงการวิจัยได และ แตละเครื่องจะไดรับสวนแบบ ของงานคํานวณมาทํา สมรรถนะของคอมพิวเตอรทั้งหมดในเครือขายจึงยิ่งกวาซุปเปอรคอมพิวเตอรใด ๆ ใน โลก ทําใหงานวิจัยสามารถสําเร็จลุลวงไดในเพียงไมกี่ป แทนที่จะตองใชเวลานานนับสิบ ๆ ป


25

ประเภทของระบบเครือขายคอมพิวเตอร เครือขายสื่อสารของคอมพิวเตอรอาจมีขนาดใหญ หรือขนาดเล็กอาจเปนสวนบุคลหรือสาธารณะ และ อาจจะเปนแบบไรสายหรือใชสายหรือใชทั้งสองแบบรวมกัน ในทํานองเดียวกันเครือขายขนาดเล็กอาจจะมีการ เชื่อมตอกับเครือขายขนาดใหญ เครือขายคอมพิวเตอรที่นิยมใชงานในปจจุบันสามารถแยกได 3 ประเภทใหญ ดังนี้ 1) เครือขายแลนหรือเครือขายบริเวณเฉพาะที่ (LAN หรือ Local Area Network) เปนเครือขายที่นิยมใช ภายในสํานักงานอาคารเดียวกัน และองคกรที่อยูในบริเวณเดียวกันหรือใกลกัน เปนเครือขายระยะใกลการ เชื่อมตอสามารถใชสายเคเบิล สายโคแอกซ หรือสายใยแกว ชวยเพิ่มประสิทธิ์ภาพในการทํางานขององคกรและ สามารถใชอุปกรณตางๆ รวมกันได ตัวอยางของเครือขายนี้ไดแก เครือขายคอมพิวเตอรมหาวิทยาลัย โรงเรียน และบริษัทหรือหางรานตางๆ

ภาพ ระบบแลนหรือเครือขายบริเวณเฉพาะที่

2) เครือขายแมนหรือเครือขายบริเวณนครหลวง (MAN หรือ Metropolitan Area Network)เปนเครือขายที่ มีการเชื่อมตอระหวางผูใชที่อยูในเขตเมืองเดียวกันเปนเครือขายขนาดกลางที่สรางขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวก แกประชาชนของเมืองนั้นหรือเขตการปกครองนั้น เชน เครือขายของรัฐตางๆ ในประสหรัฐอเมริกา


26

ภาพ ระบบเครือขายแบบแมนหรือเครือขายบริเวณเมืองหลวง

3) เครือขายแวนหรือเครือขายบริเวณกวาง (WAN หรือ Wide Area network) เปนเครือขายคอมพิวเตอรที่ เชื่อมโยงระบบเขาดวยกันในระยะไกล ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ ระหวางประเทศ หรือทั่วโลก โดยอาศัย อุปกรณดาวเทียม สายเสนใยแกวนําแสง หรือคลื่นไมโครเวฟ เปนตัวกลางในการสื่อสาร ระบบเครือขาย ประเภทนี้ที่เรารูจักกันดีก็คือเครือขายอินเตอรเน็ต

ภาพ ระบบเครือขายแวนหรือเครือขายบริเวณกวาง

รูปแบบการเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอร การเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อใชงานรวมกัน จะมีองคประกอบหลัก 2 สวนดวยกันคือ สวนของ ฮารดแวรหรือสวนเครือขายเชิงกายภาพ และสวนของซอฟตแวรหรือสวนการจัดการ 1 ฮารดแวรหรือสวนเครือขายเชิงกายภาพ หรืออุปกรณเครือขายไดแก สายนําสัญญาณ แผนวงจร เครือขาย ตัวเครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณอื่น ๆ ที่เครือขายใชในการรับ-สงขอมูล เครือขายเชิงกายภาพ (Physical Networking) หรือ ฮารดแวร สวนเครือขายเชิงกายภาพหรืออุปกรณ ทางดานฮารดแวร ในสวนนี้เราคงเขาใจงาย เนื่องจากเปนสวนที่สามารถมองเห็นได คือสวนของฮารดแวร คอมพิวเตอร อันไดแก สายนําสัญญาณ แผนวงจรเครือขาย (LAN Card) ตัวเครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณ ฮับ


27

ลักษณะสถาปตยกรรมเครือขายเชิงกายภาพ (Physical Topologies)สิ่งที่เขางายที่สุดของระบบเครือขาย ทางดานกายภาพคือ สายไฟฟาหรือสายเคเบิล เราเรียกกันวาสายโคแอกซ (coaxial cabies) หรือสาย RG 58 สายสัญญาณเสนนี้จะเชื่อมโยงเขากับแผนวงจรเครือขาย หรือที่เราเรียกกวาแลนการด ที่ติดตั้งอยูภายในเครื่อง คอมพิวเตอร จากอุปกรณทั้ง 2 อยางที่กลาว ถึงเราสามารถสรางเครือขายคอมพิวเตอรที่มีลักษณะสถาปตยกรรม เครือขายแบบบัส (bus topology) หรือเรียกการเชื่อมตอแบบ10BASE2 ดังแสดงในรูป

ภาพ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรที่มีสถาปตยกรรมเครือขายแบบบัสหรืออีเทอรเน็ต 10BASE2 .

นอกจากนี้ ยังมีสถาป ตยกรรมเครือขา ยไดอีก หลายวิธี เชน สถาปตยกรรมเครื อข า ยแบบดาว (Star Topology) ซึ่งเปนการเชื่อมโยงที่มีโครงสรางการกระจายแบบดาว นอกจากนี้ยังมีสถาปตยกรรมเครือขายแบบ วงแหวน และสถาปตยกรรมเครือขายแบบตนไม (Tree Topology) หรือแบบโครงสรางรูปตนไม เปนตน การ ทํางานของสถาปตยกรรมเครือขายทั้งหมดที่กลาวถึงมีความแตกตางกันเมื่อใชงาน การสรางเครือขายแบบ อินเทอรเน็ต มักจะเปนสถาปตยกรรมเครือขายแบบบัส แบบดาว และแบบตนไม สวนเครือขายแบบ วงแหวน โทเค็นจะเปนสถาปตยกรรมเครือขายแบบวงแหวน

ภาพที่การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเพื่อสรางเครือขายแบบดาว หรือเครือขายอีเทอรเน็ต


28

ภาพการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเพื่อสรางเครือขายแบบวงแหวน หรือวงแหวนโทเค็น

ภาพการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเพื่อสรางเครือขายแบบตนไม (ทรี)

การทํางานของเครือขายทั้งหมดที่กลาวถึงมีความแตกตางกันในการใชงาน เครือขายแบบบัส (bus) จะใช สายสัญญาณชนิด 10Base2 เครือขายแบบดาวและแบบตนไม ใชสายสัญญาณชนิด 10Base-T สวนเครือขายแบบ วงแหวน สายสัญญาณ 10Base2 สวนเครือขายแบบวงแหวน เชนวงแหวน FDDI จะใชสายใยแกวนําแสง เปนตน สายสัญญาณ 10Base2 เปนสายมาตรฐานแบบเกามีลักษณะคลายสายเคเบิลทีวี สวนสาย 10Base-T หรือสายยูทีพี (UTP Unshielded Twisted-Pair) มีลักษณะคลายสายโทรศัพทจํานวนสายภายในไมนอยกวาแปด เสน ซึ่งสายสัญญาณ 10Base2 และ 10Base-T ไมสามารถใชรวมกันได 2 ซอฟแวรหรือสวนการจัดการเชิงตรรกะ เปนซอฟแวรที่กําหนดกฎเกณฑในการจัดการเกี่ยวกับอุปกรณ ทําใหสามารถทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ ซอฟแวรหรือสวนการจัดการเครือขายเชิงตรรกะ เปนซอฟแวรเครือขายที่กําหนดกฎเกณฑในการบริหาร จัดการเกี่ยวกับอุปกรณที่ และการควบคุมการถายโอนขอมูลของเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องบริการ (Server) และ เครื่องรับบริการ (Client) ใหสามารถทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนเกณฑวิธีการทํางานของ เครือขายใหคอมพิวเตอรสื่อสารกันไดภายใตมาตรฐานเดียวกัน เชน การใชโปรแกรม เครือขายโนเวลส (Novell’s Netware) จะอาศัย Net Ware Directory Services ในการบริหารจัดการกับเครื่องคอมพิวเตอรและ เครื่องพิมพ ถาใชโปรแกรมของไมโครซอฟตเพื่อควบคุมการทํางานเชนเดียวกัน จะใช Domain ในการ บริหารจัดการ เปนตน


29

สรุปหนวยที่ 6 “อินเทอรเน็ต” ความหมายและความเปนมาของอินเทอรเน็ต คําวาอินเทอรเน็ต มาจากคําเต็มวา International Network หรือเขียนแบบยอวา Internet หมายความวา เครือขายนานาชาติหรือเครือขายสากล คือเครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญที่เชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรทั่ว โลกเข าด ว ยกั น โนป จ จุ บัน มี เ ครื่ อ งคอมพิว เตอร ที่เ ชื่อ มโยงกัน อยู ม ากกว า 60 ล า นเครื่อ งมาเชื่ อ มโยงและ แลกเปลี่ยนขาวสารกัน การที่คอมพิวเตอรที่แตกตางกันหลายชนิดจํานวนมากมายทั่วโลกเชื่อมโยงกันไดจะตอง ใชเกณฑวิธีหรือโพรโทคอล (Protocol) เดียวกันจึงจะเขากัน และเกณฑวิธีที่นํามาใชกับการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตในปจจุบันมีชื่อเรียกวาทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ความสําคัญของอินเทอรเน็ต ในปจจุบันอินเทอรเน็ตมีบทบาทและมีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของคนเราเปนอยางมาก เพราะทํา ใหวิถีชีวิตเราทันสมัยและทันเหตุการณอยูเสมอ เนื่องจากอินเทอรเน็ตจะมีการเสนอขอมูลขาวปจจุบัน และสิ่ง ตาง ๆ ที่เกิด ขึ้นใหผูใชทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอรเน็ตจะมี มากมายหลาย รูปแบบเพื่อสนองความสนใจและความตองการของผูใชทุกกลุม อินเทอรเน็ตจึงเปนแหลงสารสนเทศสําคัญ สําหรับทุกคนเพราะสามารถคนหาสิ่งที่ตนสนใจไดในทันทีโดยไมตองเสียเวลาเดินทางไปคนควาในหองสมุด หรือแมแตการรับรูขาวสารทั่วโลกก็สามารถอานไดในอินเทอรเน็ตจากเว็บไซตตาง ๆ ของหนังสือพิมพ ดานการศึกษา อินเทอรเน็ตมีความสําคัญ ดังนี้ 1) สามารถใชเปนแหลงคนควาหาขอมูล ไมวาจะเปนขอมูลทางวิชาการ ขอมูลดานการบันเทิง ดานการแพทย และอื่น ๆ ที่นาสนใจ 2) ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต จะทําหนาที่เปรียบเสมือนเปนหองสมุดขนาดใหญ 3) นักศึกษาสามารถใชอินเทอรเน็ตติดตอกับมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อคนหาขอมูลที่ กําลังศึกษาอยูได ทั้งที่ขอมูลที่เปนขอความเสียง ภาพเคลื่อนไหวตาง ๆ ดานธุรกิจและการพาณิชย อินเทอรเน็ตมีความสําคัญ ดังนี้ 1) คนหาขอมูลตาง ๆ เพื่อชวยในการตัดสินใจทางธุรกิจ 2) สามารถซื้อขายสินคา ทําธุรกรรมผานระบบเครือขาย 3) เปนชองทางในการประชาสัมพันธ โฆษณาสินคา ติดตอสื่อสารทางธุรกิจ 4) ผูใชที่เปนบริษัท หรือองคกรตาง ๆ ก็สามารถเปดใหบริการ และสนับสนุนลูกคาของตนผาน ระบบเครือขายอินเทอรเน็ตได เชน การใหคําแนะนํา สอบถามปญหาตางๆใหแกลูกคา แจกจายตัวโปรแกรม ทดลองใช (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware)


30

ดานการบันเทิง อินเทอรเน็ตมีความสําคัญ ดังนี้ 1) การพักผอนหยอนใจ สันทนาการ เชน การคนหาวารสารตาง ๆ ผานระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต ที่เรียกวา Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพและขาวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบที่ จอคอมพิวเตอรเหมือนกับวารสารตามรานหนังสือทั่ว ๆ ไป 2) สามารถฟงวิทยุหรือดูรายการโทรทัศนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตได 3) สามารถดึงขอมูล (Download) ภาพยนตรมาดูได

ประโยชนอินเทอรเน็ต ในการใชอินเทอรเน็ตนั้นกอใหเกิดประโยชนหลายดานดวยกันสามารถสรุปที่สําคัญไดดังนี้ 1. ใชแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร สะดวกและรวดเร็ว 2.ใชสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ ทั่วโลกได 3. ใชแลกเปลี่ยนขอมูลกับเครื่องคอมพิวเตอรตางระบบได 4. สามารถสงขอมูลไดหลายรูปแบบ 5. ใหความบันเทิงในรูปแบบตางๆ เชน การฟงเพลง เลนเกมส เปนตน 6. ใชสื่อสารดวยขอความ ซึ่งเปนการพูดคุยกันระหวางผูใชอินเทอรเน็ตโดยการพิมพขอความ โตตอบ 7. ใชสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส 8. ซื้อขายสินคาและบริการ

การใชอินเทอรเน็ต การใชงานอินเทอรเน็ต ผูใชสามารถใชบริการจากผูใหบริการอินเทอรเน็ต ที่เราเรียกวา ไอเอสพี (ISP หรือ Internet Service Provider)โดยการติดตอขอใชบริการผานตัวแทนไอเอสพีตาง ๆ ไดโดยตรง สําหรับ ประเทศไทยเรามี ไ อเอสพี อ ยู ม ากกว า 15 แห ง ซึ่ ง ไอเอสพี คื อ บริ ษั ท หรื อ องค ก รที่ ใ ห บ ริ ก ารทางด า น อินเทอรเน็ต รวมถึงศูนยคอมพิวเตอรของสถาบันการศึกษาดวย จะทําหนาที่เชื่อมตอระบบเครือขายจาก ประเทศไทยไปตางประเทศ โดยผานเครือขายดาวเทียมหรือสายใยแกวนําแสงของการสื่อสารแหงประเทศไทย ตัวอยางไอเอสพีในประเทศไทย มีดังนี้ 1) บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย ชื่อเว็บไซต www.inet.co.th 2) บริษัท ล็อกซเลย อินฟอรเมชัน ชื่อเว็บไซต www.loxinfo.co.th 3)บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเทอรเน็ต ชื่อเว็บไซต www.ksc.net.th 4)บริษัท สามารถอินโฟเน็ต จํากัด ชื่อเว็บไซต www.samart.co.th 5)บริษัท เอ-เน็ต จํากัด ชื่อเว็บไซต www.a-net.net.th


31

ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต การติดตอเครื่องคอมพิวเตอรผานระบบการสื่อสารโทรคมนาคมเขาสูระบบอินเทอรเน็ต เพื่อใชบริการ ตางๆ จากอินเทอรเน็ต สามรถทําได 2 วิธี ดังนี้ การติดตอโดยใชสายโทรศัพทผานอุปกรณโมเดม (Modem) ไปยังเอสไอพีที่เราเปนสมาชิกอยู โม เดม คือ อุปกรณ แปลงสัญญาณคอมพิวเตอรใ หเปน สัญญาณโทรศัพ ทและแปลงสั ญญาณโทรศัพ ทให เ ปน สัญญาณคอมพิวเตอร การติดตอผานเครือขายแลน วิธีนี้จะสะดวกมากกวาวิธีอื่นการรับสงขอมูลมีความเร็วสูง นิยมใชใน หนวยงานที่มีขนาดใหญ เชน มหาวิทยาลัย กระทรวง ทบวงกรมตาง ๆ ใชงานไดพรอมกันครั้งละหลาย ๆ คน โดยหนวยงานเหลานั้นจะตองมีการเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานสายสัญญาณใยแกวนําแสงหรือสายวงจรเชา (leased line) กับไอเอสพี

องคประกอบของระบบเครือขายอินเทอรเน็ต การใหบริการอินเทอรเน็ตมีหลายรูปแบบ และมีการเปลี่ยนแปลงและเกิดขึ้นใหมตลอดเวลา สามารถ สรุปที่มีการใชประโยชนมากที่สุดดังตอไปนี้ 1. การใหบริการเวิลดไวดเว็บ(World Wide Web หรือ www) เปนบริการระบบขาวสารที่มีขอมูล อยูทุกแหงในโลก ซึ่งขอมูลตาง ๆ เหลานั้น สามารถอยูในหลายรูปแบบแตกตางกัน 2. การใหบริการไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail หรือ E-mail) เปนบริการรับ-สง จดหมายอิเล็กทรอนิกส หรืออีเมลล 3. การแลกเปลี่ยนขาวสารแบบกลุม (Unsent Newsgroup) เปนบริการที่ใชในการแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารและ แสดงความคิดเห็นรวมกันระหวางผูสนใจในเรื่องเดียวกัน 4. การซื้อขายสินคาและบริการ (Electronic Commerce หรือ E-Commerce) เปนบริการที่จัดทําขึ้น เพื่ออํานวยความสะดวกในการซื้อขายทางอินเทอรเน็ต เปนธุรกิจที่นิยมในปจจุบัน 5. การบริการการโอนถายขอมูล (Internet Relay Chat หรือ IRC) เปนบริการโอนถายขอมูล เครือขายอินเทอรเน็ตระหวางแหลงขอมูลที่มีอยูในเครื่องคอมพิวเตอรตาง ๆ ทั่วโลก 6. การสื่อสารโตตอบดวยขอความ (Internet Relay Chat หรือ IRC) เปนบริการที่ใหผูใช อินเทอรเน็ตในสวนตาง ๆ ของโลกสามารถติดตอพูดคุย โตตอบดวยขอความผานระบบอินเทอรเน็ต

การเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรเขาสูระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ผูใชบริการอินเทอรเน็ตหลายคนอาจเขาสูอินเทอรเน็ตโดยผานทางระบบเครือขายของสํานักงาน บริษัท หรือสถานศึกษาของตน ซึ่งตามปกติแลวหากเปนหนวยงานหรือสํานักงานใหญๆ จะตอคอมพิวเตอรเปนระบบ ภายในองคกร (LAN) ซึ่งมักจะเชื่อมตอกับผูใหบริการ (ISP) ผานสายนําสัญญาณความเร็วสูง (High-Speed


32

การเชื่อมตอระบบอินเทอรเน็ตผานทางผูใหบริการ ผูใหบริการเชื่อมตอเขาระบบอินเทอรเน็ต เรียกวา ISP (Internet Service Provider) หรือที่เรียกกัน วา ไอเอสพี จะเปนองคกรที่ทําการติดตั้งและดูแลเครื่องใหบริการ (Server) ที่ตอตรงเขากับระบบ อินเทอรเน็ต การเชื่อมตอผานทาง ISP ยังแบงลักษณะการเชื่อมตอออกเปน 2 ประเภท ตามความตองการใชงานดังนี้ 1) การเชื่อมตอแบบองคกร เปนองคกรที่มีการจัด ตั้งระบบเครือขายใชงานภายในองคกรอยูแลว จะ สามารถนําเครื่องแมขาย (Server) ของเครือขายนั้นเขาเชื่อมตอกับ ISP เพื่อเชื่อมโยง เขาสูระบบ อินเทอรเน็ตได เลย 2) การเชื่อมตอสวนบุคคล เปนการเชื่อมตอของบุคคลธรรมดาทั่วไปซึ่งสามารถขอเชื่อมตอเขาสูระบบ อินเทอรเน็ตไดโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชอยู อาจจะเปนที่บานหรือที่ทํางาน เชื่อมตอผานทางสายโทรศัพท ผานอุปกรณที่เรียกวา โมเดม (Modem) ซึ่งคาใชจายไมสูงมากนัก เรามักเรียกการเชื่อมตอแบบนี้วา การเชื่อมตอ แบบ Dial-Up โดยผูใชตองสมัครเปนสมาชิกของ ISP เพื่อขอเชื่อมตอผานทาง SLIP หรือ PPP account TCP/IP : ภาษาหลักในอินเทอรเน็ต หลักการทํางานของโปรโตคอล TCP/IP จะแบงขอมูลที่เครื่องคอมพิวเตอรสงไปยังเครื่องอื่นเปน สวนยอย ๆ (เรียกวา แพ็คเก็ต : packet ) และสงไปตามเครือขายอินเทอรเน็ต โดยการกระจายแพ็กเก็ตเหลานั้น ไปหลายทาง โดยในแตละเสนทางจะไปรวมกันที่จุดปลายทาง และถูกนํามารวมกันเปนขอมูลที่สมบูรณอีกครั้ง หนึ่ง SLIP/PPP : ชวยสื่อสารผานสายโทรศัพท ในการสงขอมูลในระบบอินเทอรเน็ตนั้น จําเปนตองสงผานทั้งในระบบสายสัญญาณ 6 สาย ใน ระบบ LAN และระบบสายโทรศัพทประกอบกัน ดังนั้นเพื่อใหการสื่อสารเปนไปไดอยางราบรื่น จึงตองมี โปรโตคอล เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งไดแก โปรโตคอล SLIP (Serial Line Internet Protocol) และ PPP (Point-to-Point Protocol) ซึ่งทํางานบน TCP/IP อีกทีหนึ่ง SLIP โปรโตคอล SLIP ไดถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให TCP/IP สามารถสื่อสารผานสายโทรศัพทเพื่อสงผาน ขอมูลระหวางระบบแลน (LAN) กับระบบแวน (WAN) ไดซึ่งก็ไดรับความนิยม และเปนที่ใช กันอยาง แพรหลายโดยเฉพาะในระบบ UNIX ไดนําโปรโตคอลนี้ติดตั้งไวเปนสวนหนึ่งของระบบ นั่นหมายความวาทุก เครื่องที่ใชระบบ UNIX จะมีโปรโตคอล SLIP อยูในตัวและสามารถใชงานไดทันที PPP เนื่องจากปรากฎวาโปรโตคอล SLIP เกิดมีปญหาไมเขากันกับโปรโตคอลบางตัวที่ระบบแลน (LAN) นั้นใชอยูเดิมจึงไดมีการพัฒนาโปรโตคอลขึ้นมาใหมในชื่อ PPP เพื่อแกปญหาดังกลาว


33

IP address : ระบุที่อยูของเครื่องคอมพิวเตอร เมื่ อ เราต อ งการสื่ อ สารกั บ คอมพิ ว เตอร เ ครื่ อ งอื่ น เราก็ จ ะต อ งการที่ อ ยู ข อง เครื่ อ งนั้ น ๆ บน อินเทอรเน็ต ที่เรียกวา ไอพี แอดเดรส (IP address) Domain Name : อินเทอรเน็ตแอตเดรส โดเมนเนมมาใช กลาวคือการนําตัวอักษรที่จําไดงายมาใชแทน IP address อินเทอรเน็ตแอตเดรส จะไมซ้ํากันและเพื่อสะดวกในการจดจําชื่อโดเมน ดังนั้นโดเมนเนม มักนิยมตั้งใหสอดคลองกับชื่อของบริษัท หรือชื่อองคกรผูเปนเจาของเหลานี้เปนตน


34

สรุปหนวยที่ 7 “การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน” แหลงขอมูลการสืบคนบนเครือขายอินเทอรเน็ต หลักการคนหาขอมูลความรูผานเครือขายคอมพิวเตอร คําวา ขอมูลความรูในที่นี้ จะรวมหมายถึงตั้งแตขอมูลพื้นฐาน และขอมูลที่ผานการประมวลผลและ/หรือ จัดหมวดหมูแลวซึ่งเรียกวา สารสนเทศ ตลอดจนถึงขอมูลเชิงลึกที่มีการวิเคราะหซึ่งควรจะเรียกไดวาความรู ทั้งหมดนี้เปนสิ่งที่เราสามารถคนหาไดจากเครือขายคอมพิวเตอร ตอไปนี้เราจะใชคําวาขอมูลในความหมาย กวางที่รวมทั้งขอมูล สารสนเทศ และความรูดวย หลักการคนหาขอมูลมีดังตอไปนี้ 1. ตองมีความรูเบื้องตนเกี่ยวกับขอมูลที่ตองการ คือ 1) รูวาขอมูลที่ตองการนั้นเปนขอมูลเกี่ยวกับเรื่องอะไร 2) รูวาแหลงขอมูลที่มีขอมูลนั้น นาจะเปนหนวยงานใด 3) รูวาสําคัญที่เกี่ยวของกับขอมูลนั้น มีอะไรบาง 2. ตองรูจักวิธีเขาเว็บไซตตาง ๆ 3. ตองรูจักวิธีใชโปรแกรมสืบคนขอมูล หรือ เซิรจเอ็นจิน (Search engine) 4. ตองรูจักใชดุลพินิจวา 1) ขอมูลที่ไดมาเปนขอมูลที่ตรงกับความตองการหรือไม 2) ขอมูลที่ไดมาเปนขอมูลที่เชื่อถือไดหรือไม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.