การปรับระดับหมอนรองรับเรือ

Page 1

เอกสารการจัดการความรู้ จากชุมชนนักปฏิบัติ เรื่อง การปรับระดับหมอนรองรับเรือ หมวดการอู่ โรงงานเชือกรอกและการอู่ แผนกเรื อไม้และบริ การ กองโรงงาน กรมโรงงานฐานทัพเรื อสัตหี บ


รายชื่อและภาพสมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ หัวหน้ าชุมชนนักปฏิบตั ิ

ผู้รวบรวมองค์ ความรู้

นายเจริญ บัวแก้ ว

ร.ต.อัครเดช แหยมวิเชียร

เจ้ าขององค์ ความรู้

นายประกิจ ชนประชา


สมาชิกชุมชนนักปฏิบตั ิ

รัตนปาน

นายสงกานต์

นายวัฒนา รุ่งแจ้ ง

นายภูวไนย์ ชินคำา

นายสุ รัตน์ เปี่ ยมสุ ข

นายรวีพนั ธุ์ สุ วรรณศรี

นายกิติพงษ์ หอมมาก


บทนำำ

“หนึ่งพันห้ าร้ อยไมค์ ทะเลไทยมีนาวีนีเ้ ฝ้ า ข้ าศึกฮึ กเข้ าระดมโจมตี นาวีนีร้ บรั บอยู่” คำากล่าวข้างต้นนี้ ...นับได้วา่ เป็ นภารกิจอันสำาคัญยิง่ ต่อกองทัพเรื อ ที่ตอ้ งปกป้ องดูแลรักษาน่านน้าำ ำ จะต้องมีเรื อรบ ที่มีประสิ ทธิ ภาพสูงสุ ด และ และอธิ ปไตยทางทะเล การที่ตอ้ งการดูแลรักษาน่านน้าก็ ำ ้ เอง ที่ทาำ ให้เรื อเกิดการลดประสิ ทธิภาพลง หลังจากการใช้งานจึงส่ งผลให้เรื อ... ภารกิจเหนือสายน้านี ต้องได้รับการตรวจสอบ ซ่อมแซม บำารุ งรักษาอยูเ่ สมอ....... กรมโรงงาน ฯ เป็ นหน่วยงานหนึ่ง ที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่ดาำ เนิ นงานในการซ่อมทำาเรื อ ส่ วนการซ่อมทำาเรื อแต่ละลำานั้น ย่อยขึ้นกับความเสี ยหายของตัวเรื อ หรื อเครื่ องจักรกล....ความ เสี ยหายดังกล่าว จะต้องได้รับการเข้าอู่เพื่อซ่อมแซม...และวิธีการนำาเรื อขึ้นซ่อมนั้น กรมโรงงานฯ ของเราใช้ระบบชานยกเรื อ หรื อ ซิ งโครลิฟท์ (SYNCHROLIFT) ยกเรื อขึ้นจากน้าำ นั้นเอง..... ชุมชน หมอนไม้ ....มุ่งเน้นถึงอุปกรณ์ ขั้นตอน และวิธีการปรับหมอนรองรับเรื อเป็ นหลักสำาคัญ ที่จะเป็ นแรงขับเคลื่อนนำาไปสู่แนวทางปฏิบตั ิ ในการพัฒนาองค์ความรู้ ให้เกิดการประยุกต์ใช้ในด้าน ทักษะ วิเคราะห์ ตลอดจนเป็ นแนวทางให้เกิดกระบวนการคิดสร้างสรรค์ต่อไป.....


ซิงโครลิฟท์ (SYNCHROLIFT) คุณสมบัตซิ ิงโครลิฟท์ (SYNCHROLIFT) คือ ชานยกเรื อโครงสร้างโดยทัว่ ไปทำาด้วยเหล็กมีความ ำ กได้ ตามพิกดั และขีดความสามารถที่สร้างขึ้น ด้านข้างทั้งสองด้านมีกว้าน แข็งแรงสามารถรับน้าหนั ไฟฟ้ าติดตั้งอยูเ่ พื่อใช้สาำ หรับยกชานยกเรื อขึ้นหรื อลง ในการนำาเรื อขึ้นชานยกเรื อจะวางหมอนรองรับ เรื อไว้บนรถแคร่ ตามแบบ DOCKING PLAN ของเรื อนั้นๆ เสร็ จแล้วลากรถแคร่ มาไว้ที่ชานยกเรื อต่อ จากนั้นจะหย่อนชานยกเรื อลงเพื่อนำาเรื อเข้ามาที่ชานยกเรื อให้อยูใ่ นตำาแหน่งนัง่ หมอนแล้วยกชานขึ้น เสร็ จแล้วลากเรื อไปซ่อมทำาที่ลานซ่อมเรื อ


ซิงโครลิฟท์ ของ กรมโรงงาน ฐานทัพเรือสั ตหีบ มี ๒ ขนาด

ำ กยกสู งสุ ดได้ ๑,๖๑๗ ตัน ความเร็ วเลื่อนชาน ๔๕ ซม/นาที ขนาด ๙๕๐ ตัน น้าหนั ชานยกเรื อกว้าง ๑๒.๒ ม. ยาว ๖๗.๐๐ ม. ระบบเลื่อนทางดิ่ง ๙.๑๕ ม. เริ่ มก่อสร้างเมื่อ ๑๑ ก.ค. ๒๕๑๑ และ เริ่ มใช้งานเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓

ชุดเรือที่ขนึ้ ซ่ อมทำา ต.91-99 ต.11-19 ต.81-83 กร.305-307 กร.301-303 ร.ล.ราชฤทธิ์,วิทยาคม, อุดมเดช ร.ล.คลองใหญ่ ,ตากใบ,เทพา,สั ตหีบ ร.ล.สู้ ไพรินทร์ ,ปราบปรปักษ์ ,หาญหักศัตรู พ่าย


ซิงโครลิฟท์ ของ กรมโรงงาน ฐานทัพเรือสั ตหีบ มี ๒ ขนาด

ขนาด ๑๒๕ ตัน น้ำ าหนักสู งสุ ดได้ ๑๕๕ ตัน ความเร็วเลือ่ นชาน ๔๕ ซม/นาที ชานยกเรือ กว้ าง ๘.๕๐ ม. ยาว ๓๕.๐๐ ม. ระบบเลือ่ นทางดิ่ง ๖.๑ ม. เริ่มก่ อสร้ างเมือ่ ๑๕ ธ.ค. ๒๕๐๙ และ เริ่มใช้ งานเมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๑ ชุดเรือทีข่ นึ้ ซ่ อมทำา ต.221-229 กร.206-208 พ.51-54 ฐท.14-16 PCF. ●


การวางหมอนรับเรือ การวางหมอนรับเรื อเพื่อรับการซ่อมทำานั้น เราจะต้องศึกษาจากแบบเรื อเข้าอู่ (DOCKI PIAN) ของเรื อแต่ละลำาก่อนทุกๆครั้ง เพื่อให้ทราบถึงขนาดความกว้าง – ยาว นั้นมีขนาดเท่าใดและวางหมอนลักษณะใด เพื่อกำาหนดจุดนัง่ หมอนของเรื อ ที่จะ ทำาการขึ้งซิ งโครลิฟท์ ก่อนการปรับระดับเส้นฐานของหมอนกลาง (BASE LINE, BL) ำ ากระดูกงู และต้องทราบด้วยว่า เราจะต้องทราบก่อนว่า หางเสื อ หรื อใบจักร สิ่ งใดต่ากว่ กว่าเท่าไร เรื อจะมีการชักเพลาหรื อไม่ เพื่อจะได้ปรับเส้นฐาน (BASE LINE, BL) ให้ สู งพอกับความต้องการดังกล่าว


ชนิดของหมอนมี ๒ ชนิด

๑. หมอนกลาง (หมอนหลัก) ซึ่งจะอยูบ่ ริ เวณกึ่งกลาง เป็ นหมอนซึ่งรองรับกระดูก ำ กของเรื อทั้งลำา โดยจะเป็ นหมอนที่รองรับน้าหนั

๒. หมอนข้ าง (หมอนเสริม) ซึ่ งจะอยูบ่ ริ เวณ ด้านซ้าย – ขวา ของหมอนกลาง เป็ น หมอนซึ่ งรองรับเรื อทางด้านข้าง โดยจะเป็ นหมอนที่ใช้ในการพยุงเรื อ มิให้ลม้ ไป ด้านใดด้านหนึ่ง โดยการวางหมอนนั้น ต้องให้ตรงกับบริ เวณฝากั้นห้อง

หมอนข้ าง

หมอนข้ าง หมอนกลาง

หมอนกลางหรื อหมอนหลัก และหมอนข้างหรื อหมอนเสริ ม


การเตรียม เครื่องมือ เครื่องใช้

๑.ชะแลง ๕.ค้ อน ๙.ลูกดิง่ ๑๓.ขวาน

๒.พะเนิน ๖.ตะปู ๑๐.เลือ่ ย

๓.สายยางวัดระดับ ๗.ชอล์ ค ๑๑.เหล็กฉาก

๔.ตลับเมตร ๘.เอ็น ๑๒.ระดับน้ำ า


การเตรียม เครื่องมือ เครื่องใช้

หมอนไม้

หมอนลิม่

ลิม่ เล็ก


รถโฟคลิฟท์ (FOLK LIFT) เป็ นเครื่ องมือทุ่นแรงสำาหรับใช้ในการยก เคลื่อนย้ายอุปกรณ์ต่างๆ ในการเตรี ยม เครื่ องมือ เครื่ องใช้จากโรงงานไปยังลานซ่อมเรื อเป็ นเครื่ องมือที่มีความจำาเป็ นอย่างมาก ในการยกเลื่อนเคลื่อนย้าย สิ่ งของต่างๆ ที่มีนาหนั ้ ำ กจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในการตั้ง หมอนรองรับเรื อ จำาเป็ นอย่างมากที่จะต้องใช้รถโฟคลิฟท์ ในการช่วยปฏิบตั ิงาน


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนกลางหรื อหมอนหลัก

1. ดูแบบเรื อที่ตอ้ งการปรับ


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนกลางหรื อหมอนหลัก

2.ต่อรถหรื อแคร่ รับเรื อให้ได้ความยาวตามเรื อที่จะขึ้น


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนกลางหรื อหมอนหลัก

3. ตั้งหมอนกลางหรื อหมอนหลัก หัวเรื อ – ท้ายเรื อ ตีไม้ประกับทั้ง 2 ด้าน

หมอนกลาง


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนกลางหรื อหมอนหลัก

4. ขึงเอ็นจากหมอนหัวเรื อไปหาหมอนท้ายเรื อ


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนกลางหรื อหมอนหลัก

5. จัดหมอนลิ่มสวนเข้าหากันให้ได้ความสูงตามเอ็นที่ขึงไว้


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนกลางหรื อหมอนหลัก

6. ตีไม้ประกับหมอนให้แน่นทุก ตัว


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนกลางหรื อหมอนหลัก

7. ตรวจสอบด้วยสายตาอีกครั้ง


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนข้าง หรื อหมอนเสริ ม

1. วัดกึ่งกลางจากหมอนหลักออกมาให้ได้ระยะตามแบบเรื อ


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนข้าง หรื อหมอนเสริ ม

2. วำงหมอนข้ำงให้ได้ตรงตำมจุดที่กำำ หนด


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนข้าง หรื อหมอนเสริ ม

3. ตั้งหมอนข้ำงตำมควำมสูงที่คำำ นวณได้จำกแบบเรื อ


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนข้าง หรื อหมอนเสริ ม

4. ตีไม้ประกับทั้ง 2 ด้าน ให้แน่น


ขั้นตอนการทำางานวิธีการปรับหมอนข้าง หรื อหมอนเสริ ม

5. ตรวจสอบด้วยสายตาอีกครั้ง


หลักสำ าคัญของการวางหมอน ๑. ต้ องตั้งหมอนให้ ได้ ระดับจริงๆ ทั้งสองข้ าง ๒. อย่ าตั้งหมอนข้ างสู งกว่ าความสู งทีก่ าำ หนดโดยเด็ดขาด ๓. ต้ องลดความสู งของหมอนข้ างลง ๒ ซ.ม.ทุกครั้ง เพือ่ กันยุบ


ตีไม้ ประกับ ลดลง 2 ซ.ม.

การนั่งหมอนข้ าง หรือหมอนเสริม

ตีไม้ ประกับ ลดลง 2 ซ.ม. การนั่งหมอนหลัก หรือหมอนกลาง


คำำ แนะนำำ ก่อนกำรปรับหมอนเรือทุกครั้ง ให้เตรียมกำรหำไม้เนือ ้ อ่อนไว้ สำำหรับรองชิมไว้ เพือ ่ เสริมควำมสูงที่ไม้หมอนทีป ่ รับระดับ ควำมสู งไม่ได้ง เนือ ่ งจำกไม้หมอนต่ำงๆ มีขนำดคงที่ ข้อ ควรระวั ตำำแหน่งหมอนท้ำยเรือสุดขณะทีเ่ รือขึ้นซิงโครลิฟท์และ ปลำยกระดูกงูเสริม ต้องเล็งให้ตรงกับเครื่องหมำย ของ ตำำแหน่งเครื่องหมำยทีอ ่ ยูบ ่ นซิงโครลิฟท์ เทคนิค หำกหมอนที่เรำปรับ ไม่ได้ตำมขนำดที่ต้องกำร ควรมีไม้ เนือ ้ อ่อนไว้สำำหรับรองชิม (ไม้บำง) เสริมเพือ ่ ให้ได้ตำม ขนำดที ่ต้องกำร เอกสำรอ้ ำ งอิง ตำำรำวิชำชีพช่ำง อร.ช่ำงกำรอู่ ฯ กรมอู่ทหำรเรือ (จัด พิมพ์ เมือ ่ กันยำยน ๒๕๔๘ )


การปรับหมอนทีแ่ ล้วเสร็จ เรือพร้ อมขึน้

125 T

950T


แบบเรือ 950 ตัน ทีเ่ ข้ ารับการซ่ อมทำา












แบบเรือ 125 ตัน ทีเ่ ข้ ารับการซ่ อมทำา










ตอบข้อ ชัก ถำม


จบกำรนำำ เสนอ

ขอขอบคุณ คณะผู้จ ัด ทำำ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.