ระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหารตามมาตรฐาน

Page 1

ระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหารตามมาตรฐาน ISO 22000 : 2005 Food Safety Management System Requirement กัลยาณี ดีประเสริฐวงศ หัวหนากลุมควบคุม สนับสนุน และพัฒนาสถานที่ผลิตอาหาร กองควบคุมอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ปจจุบันธุรกิจตางๆมีการแขงขันสูง การผลิตสินคาที่มีคุณภาพตรงกับความตองการของลูกคา และมีความปลอดภัยที่จะบริโภคกลายเปนขอกําหนดพื้นฐานสําหรับผูผลิต ดังนั้น การนําระบบการบริหาร คุณภาพที่มีประสิทธิภาพเขามาชวยในการประกอบธุรกิจก็จะทําใหองคกรมีความสามารถในการแขงขัน มากขึ้น ซึ่งในอนาคตระบบ GMP/HACCP ไมใชเปนระบบพื้นฐานแลวอาจกลายเปน ISO 22000 ที่เปน พื้นฐานการจัดการดานคุณภาพ และความปลอดภัยของอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ในหวงโซอาหาร ระบบนี้เขามาในประเทศไทยหลายปแลวแตผูประกอบการอาหารเริ่มตื่นตัวขอการรับรอง ระบบ เนื่องจากประเทศคูคาใหความสําคัญในการตองการสินคาที่มาจากประเทศที่มีโรงงานที่มีระบบ Food Safety ประกันความปลอดภัยของสินคาตลอดระบบหวงโซอาหารมากขึ้น ขณะนี้ประเทศไทยมีโรงงานที่ได การรับรองระบบ ISO 22000 : 2005 จากหนวยรับรอง (Certification body : CB) ซึ่งจากเอกชนประมาณ 20 ราย แตยังไมพบขอมูลจากภาครัฐ ISO 22000 เปนระบบคุณภาพที่ตอยอดในเรื่อง ความปลอดภัยอาหาร เปนการรวมเอาระบบ GMP ซึ่งเปนระบบพื้นฐานของอุตสาหกรรมอาหารกับระบบ HACCP ซึ่งเปนระบบวิเคราะหจุดอันตราย แตละขั้นตอนการผลิตและมีการผนวก ISO 9001 เขาไปเสริมในเรื่องการจัดการและระบบเอกสารทําให ระบบนี้เหมาะกับอุตสาหกรรมอาหาร ทั้งนี้เพื่อใหอาหารที่ผลิตมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ขอกําหนดของระบบ มาตรฐานนี้ใชสําหรับระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหารสําหรับองคกรตางๆ ในหวงโซอาหาร ซึ่งตอง จัดใหมีกลไกสามารถควบคุมอันตรายที่เกิดขึ้น เพื่อใหอาหารมีความปลอดภัยตอการบริโภค ขอกําหนดนี้ สามารถประยุกตใชกับทุกองคกร โดยไมจํากัดขนาด ซึ่งองคกรนั้นจะเกี่ยวของในหวงโซอาหาร และการ นําไปใชเพื่อผลิตผลิตภัณฑที่ปลอดภัย เชน โรงงานที่ผลิตภาชนะบรรจุ สารเคมี ผูข นสง ผูใ หบริการจัดเก็บและ การกระจายสินคาที่มีความเกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออมกับหวงโซอาหารก็สามารถนําระบบนี้ไปใชได อยางเหมาะสม ขอกําหนดทั้งหมดในระบบ ISO 22000 มี 8 หัวขอ แตหลักการสําคัญของมาตรฐานระบบ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร ISO 22000 ประกอบดวย 4 หลักการสําคัญคือ โปรแกรมขั้นพื้นฐาน หลักการวิเคราะหอันตรายและจุดวิกฤตที่ตองควบคุม ระบบการจัดการ และการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ ขณะนี้ระบบ ISO 22000 ถูกกําหนดเปนประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 3441 (พ.ศ.2548) เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร-ขอกําหนด สําหรับองคกรในหวงโซอาหารมาตรฐานเลขที่ มอก 22000-2548 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2548 และ

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc


-2ทางสํานักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม : สมอ. กําลังจะจัดทําเปนคูมือฉบับภาษาไทยใหกับ ผูประกอบการ ซึ่งนาจะเปนประโยชนในทางปฏิบัติใหกับทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ขอกําหนด 8 ขอ กําหนดในระบบ ISO 22000 : 2005 ไดแก ขอบขาย เอกสารอางอิง บทนิยาม ระบบการจัดการความปลอดภัยในอาหาร ความรับผิดชอบของฝายบริหาร การจัดการทรัพยากร การวางแผน และการจัดทําผลิตภัณฑที่มีความปลอดภัย และการรับรองผลการตรวจสอบและการปรับปรุงระบบ ทั้ง 8 ขอกําหนด จะมี 5 หัวขอสําคัญ ซึ่งจะขอสรุปประเด็นที่จะเปนประโยชนในการนําไปประยุกตใชแก ผูประกอบการ และผูตรวจประเมิน ดังตอไปนี้ 1. ระบบการจัดการความปลอดภัยในอาหาร (Food Safety management System) (ขอกําหนดที่ 4) • องคกรตองจัดทําเอกสาร (Document) ซึ่งประกอบดวยเอกสารนโยบายและวัตถุประสงค ดานความปลอดภัยอาหาร เอกสารขั้นตอนการดําเนินการ (Procedure) และบันทึกคุณภาพตามที่มาตรฐานนี้ กําหนด (Record) และเอกสารอื่นๆที่จําเปน • เอกสารดังกลาวตองมี Procedure ควบคุม ซึ่งสอดคลองกับ ISO 9001 : 2000 สรุป ขอกําหนดนี้เนนการจัดทําเอกสารและการควบคุมเอกสาร 2. ความรับผิดชอบของฝายบริหาร (Management Responsibility) (ขอกําหนดที่ 5) • ผูบริหารขององคกรมีความมุงมั่นใหการสนับสนุนดานความปลอดภัยอาหาร • ผูบริหารตองกําหนดนโยบายเปนเอกสาร (ตามขอ 1) และสื่อสารภายในองคกรใหรับทราบ ทั่วถึง ซึ่งนโยบายนี้ตองเหมาะสมกับบทบาทขององคกรในหวงโซอาหาร ตองสอดคลองกับกฎหมาย หรือ ขอบังคับและขอตกลงดานความปลอดภัยอาหารของลูกคา • ผูบริหารตองมีการวางแผนเพื่อบรรลุตามที่กําหนดไวในขอ (1) • พนักงานทุกคนตองไดรับมอบหมายความรับผิดชอบใหรายงานปญหาเกี่ยวกับระบบ ความปลอดภัยอาหารไปยังบุคคลากรที่องคกรแตงตั้ง ซึ่งตองเปนผูที่มีอํานาจและรับผิดชอบการจัดการ และบันทึกรายละเอียดของปญหา • องคกรมีการแตงตั้งบุคคลที่ทําหนาที่เปนหัวหนาทีมความปลอดภัยอาหาร (Food Safety Team Leader) โดยมีหนาที่บริหารทีมจัดระเบียบงาน ดูแลการอบรมและการใหความรูแกสมาชิกในทีม จัดทําระบบความปลอดภัยอาหาร รายงานประสิทธิผลของระบบ รวมทั้งประสานกับหนวยงานภายนอก • องคกรตองมีการสื่อสารภายนอกตลอดหวงโซอาหารใหกับลูกคา ผูบริโภค หนวยงานควบคุม กฎหมาย และหนวยงานใดๆที่มีผลกระทบจากประสิทธิภาพและการปรับเปลี่ยนระบบความปลอดภัยอาหาร • องคกรตองมีการสื่อสารภายในกับบุคคลในองคกร เกี่ยวกับประเด็นที่มีผลกระทบกับ ความปลอดภัยอาหาร โดยเฉพาะทีม Food Safety ตองไดรับขอมูลที่ทันเวลากับการเปลี่ยนแปลงที่มี ผลกระทบกับการผลิต A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc


-3• องคกรตองจัดทํา ถือปฏิบัติ และธํารงรักษา เอกสารวาดวยเรื่องการจัดการสถานการณฉุกเฉิน และอุบัติภัยที่สงผลตอความปลอดภัยอาหาร และที่เกี่ยวของกับบทบาทขององคกรในหวงโซอาหาร • ฝายบริหารสูงสุดตองทบทวนระบบความปลอดภัยอาหาร ตามชวงเวลาที่วางแผน เพื่อใหมั่นใจถึงความเหมาะสม ความพอเพียง และประสิทธิภาพของระบบอยางตอเนื่อง รวมถึงการประเมิน โอกาสในการปรั บ ปรุ ง และความจํา เปน ในการเปลี่ ย นแปลงระบบและนโยบาย และตอ งมีก ารบั น ทึ ก การทบทวนทุกครั้ง สรุป ขอกําหนดนี้เนนองคกรและผูบริหารตองใหความสําคัญกับการจัดทําระบบ การวางแผน การทบทวน รวมทั้งเนนเรื่องการสื่อสาร และการจัดการกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ที่มี ผลกระทบตอความปลอดภัยอาหาร 3. การจัดการทรัพยากร (Resource management) (ขอกําหนดที่ 6) • องคกรตองมอบหมายทรัพยากรในการจัดทํา ถือปฏิบัติ ธํารงรักษา และปรับระบบการ จัดการความปลอดภัยอาหารใหทันสมัยอยางเพียงพอ • ทีม Food Safety และบุคคลใดๆที่ดําเนินกิจกรรมที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยอาหาร ตองมีความสามารถ ผานการใหความรู อบรม มีทักษะและประสบการณ • องคกรตองมอบหมายทรัพยากรเพื่อสนับสนุน การสราง การจัดการ และธํารงรักษา สภาพแวดลอมที่จําเปน เพื่อการประยุกตใชขอกําหนดในมาตรฐาน สรุป องคกรตองมีทรัพยากรทั้งดานวัสดุ สิ่งกอสราง สิ่งแวดลอมที่ดี รวมทั้ง บุ ค ลากรที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ให ก ารดํ า เนิ น การทางด า นความปลอดภั ย อาหารเป น ไปตาม วัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด ซึ่งสอดคลองกับมาตรฐาน 4. การวางแผนและการจัดทําผลิตภัณฑที่มีความปลอดภัย (Planning and realization of safe products) (ขอกําหนดที่ 7) • องคกรตองมีโปรแกรมพื้นฐานดานสุขลักษณะ (Pre-requisite programs) (PRPs) ซึ่ง อาจจะเปน GAP (Good Agriculture Practice), GHP (Good Hygienic Practice), GVP (Good Veterinarian Practice), GDP (Good Distribution Practice), GPP ( Good Production Practice), GTP ( Good Trading Practice) และ GMP (Good Manufacturing Practice) ขึ้นอยูกับประเภทผูประกอบการ ในหวงโซอาหาร และตองจัดทําเปนเอกสาร • องคกรตองมีระบบ HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) โดย - มี Food Safety Team - มีการระบุคุณลักษณะผลิตภัณฑ (Product characteristics) - มีการกําหนดการนําไปใชงาน (Interned use)

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc


-4- มีการจัดทําแผนภูมิกระบวนการผลิต (Flow diagrams) และตองอธิบายมาตรการควบคุม หรือวิธีการปฏิบัติที่อาจสงผลตอความปลอดภัยอาหาร เพื่อนําไปวิเคราะหอันตรายในขั้นตอนตอไป - การวิเคราะหอันตราย (Hazard analysis) ทีม Food Safety ตองประเมินอันตราย เพื่อกําหนดชนิดอันตรายที่จําเปน ตองควบคุมใหอยูในระดับที่กําหนดเพื่อสรางความมั่นใจถึงความปลอดภัย อาหาร รวมถึงมาตรการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ - การประเมินอันตราย (Hazard assessment) อันตรายแตละชนิดตองถูกนํามาประเมิน เพื่อพิจารณาความจําเปนในการกําจัดหรือลดลงสูระดับที่ยอมรับได เพื่อใหสามารถผลิตอาหารปลอดภัย โดยอาจใชการพิจารณาความรุนแรง (severity) และโอกาสในการเกิดอันตราย (likelihood of occurrence) - การสราง HACCP plan ซึ่งตองถูกจัดทําเปนเอกสาร โดยแตละจุดวิกฤตที่กําหนด ตองประกอบดวย อันตรายที่ถูกควบคุม มาตรการควบคุม ขอบเขตวิกฤต วิธีการเฝาระวัง การแกไขและ มาตรการแกไข • องคกรตองมีการวางแผนการตรวจสอบ (Verification planning) โดยกําหนดวัตถุประสงค วิธีการ ความถี่ และผูรับผิดชอบ และผลการทวนสอบตองมีการบันทึกและสื่อสารไปยัง Food Safety ทีม • องคกรตองมีระบบการสอบกลับ (Tracibility system) โดยระบุรุนสินคา และเชื่อมโยงไปยัง วัตถุดิบ กระบวนการผลิต รวมทั้งการสงมอบที่เกี่ยวของ และมีการจดบันทึก • องคกรตองมีมาตรการการควบคุมความไมสอดคลอง (Control of nonconformity) โดยมี การแกไข (Corrections) เมื่อขอบเขตวิกฤตของจุด CCP (Critical Control Point) เกิดการเบี่ยงเบน และ ตองมีมาตรการแกไข (Corrective Action) และจัดการกับผลิตภัณฑที่ไมปลอดภัย (Handing of potentially unsafe products) เพื่อปองกันสินคาเหลานั้นเขาไปสูหวงโซอาหาร และควรมีการประเมินเพื่อ ปลอยสินคา (Evaluation for release) เมื่อมีหลักฐานที่แสดงวามาตรการควบคุมมีประสิทธิภาพ หรือผล การสุมตัวอยางการวิเคราะห แสดงวารุนที่ไดรับผลกระทบ มีความสอดคลองกับระดับการยอมรับคาความ ปลอดภัย แตหากพบวาผลิตภัณฑนั้นไมสามารถปลอยไดตองมีการกําจัด (Disposition of nonconforming products) ซึ่งอาจจะนําไปแปรรูปใหม หรือนําไปผานกระบวนการเพิ่มเติมภายในหรือภายนอกองคกร เพื่อ ลดอันตรายลงถึงระดับที่ยอมรับได หรือทําลายทิ้ง หรือกําจัดเปนของเสีย • องคกรตองมีการเรียกคืนสินคา (withdrawals) เพื่อชวยใหการเรียกคืนสินคาที่ไมปลอดภัย เปนไปอยางสมบูรณและทันตอเวลา องคกรตองแตงตั้งบุคลากรที่มีอํานาจในการเรียกคืน ตองมีขั้นตอน การปฏิบัติและแจงหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ ทั้งราชการ ลูกคา และผูบริโภค สินคาที่ถูกเรียกคืนตองเก็บกักไว จนกวาจะถูกนํามาทําลาย หรือถูกนําไปใชเพื่อเจตนาอื่น หลังผานการประเมินวาปลอดภัย องคกรตองมี การตรวจสอบวิธีการเรียกคืน เทคนิคที่เหมาะสม เชน Mock Recall หรือการซอม

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc


-5สรุป ขอกําหนดนี้เปนขอหลักการที่เนนจุดสําคัญของการควบคุมความปลอดภัย ของอาหาร คือ GMP/HACCP รวมถึงระบบการจัดการสินคาเมื่อไมสอดคลองกับมาตรฐาน การสอบกลับสินคา และการเรียกคืนสินคา 5. การรับรองผล การทวนสอบ และการปรับปรุงระบบความปลอดภัยอาหาร (Validation Verification and Improvement of FSMS) (ขอกําหนดที่ 8) • กอนการประยุกตใชมาตรการควบคุมใน PRPs และแผน HACCP หรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ องคกรตองทําการรับรอง (Validate) เพื่อใหแสดงวา มาตรการนั้นๆสามารถใหผลคาที่ตั้งไวในการควบคุม อันตราย มีประสิทธิภาพ และมีความสามารถเพื่อใหผลิตภัณฑบรรลุตามที่กําหนด หากไมเปนไปตาม ที่คาดหมาย ตองไดรับการปรับเปลี่ยนและประเมินใหม • องคกรตองแสดงหลักฐานเพื่อยืนยันวาวิธีการเฝาระวัง การตรวจวัด และอุปกรณ มีความเหมาะสมที่สามารถใหผลการตรวจสอบที่นาเชื่อถือ เครื่องมืออุปกรณตองมีการสอบเทียบ มีการ จัดเก็บและรักษาบันทึกผลการสอบเทียบและทวนสอบ • องคกรตองมีการทวนสอบระบบการจัดการดานความปลอดภัยอาหาร เชน ตรวจประเมิน ภายใน (Internal audit) หากพบวาการทวนสอบใหผลไมสอดคลองตามแผน ตองลงมือดําเนินการแกไข และตองมีการวิเคราะหผลลัพธจากกิจกรรมการทวนสอบ และรายงานผูบริหารเพื่อนําเขาสูการประชุม ทบทวนฝายบริหาร และใชเปนขอมูลปรับระบบใหทันสมัย • ผูบริหารระดับสูงตองมั่นใจวาระบบมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง ทันสมัย กิจกรรมเพื่อ การปรับระบบใหทันสมัยตองไดรับการบันทึกในรูปแบบที่เหมาะสม และนําเขารายงานเพื่อพิจารณาในการ ประชุมทบทวนฝายบริหาร สรุป องคกรตองมีการยืนยันคาตัวเลขตางๆที่ใช หรือมาตรฐานที่นํามาอางอิง วาเหมาะสมกับองคกร สามารถลดขจัดอันตราย มีการทวนสอบอุปกรณ เครื่องมือที่สําคัญๆ โดย การสอบเทียบ และมีการทวนสอบระบบ เชน การตรวจประเมินภายใน เปนตน เนื่องจากระบบ ISO 22000 : 2005 เปนระบบที่ประสานรวมกันระหวางระบบ ISO 9001 และ ระบบ HACCP ซึ่งผูเขียนไดจัดทําเปนตารางเปรียบเทียบระหวาง 3 ขอมาตรฐาน ตามภาคผนวกใน เอกสารแนบทาย เพื่อใหผูอานมีความเขาใจในเรื่องระบบการบริหารคุณภาพและความสอดคลองหรือความ เชื่อมโยงกันในแตละระบบไดชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้น องคกรหรือหนวยงานที่มีระบบคุณภาพอยางหนึ่งอยางใดแลว การที่จะพัฒนาโดยนํา ระบบ ISO 22000 มาดําเนินการ จะสามารถประยุกตใชไดงายขึ้นและหากมีการทวนสอบรวมทั้งปฏิบัติ อยางตอเนื่องจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการผลิตสินคาเพื่อใหเกิดความปลอดภัยแกผูบริโภคอยางยั่งยืน ตอไป

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc


-6เอกสารอางอิง 1. Food safety management system-Requirements for any organizations in the food chain : International standard ISO 22000 : First edition 2005 2. Codex Alimentarius Food Hygiene, Third edition, 2003

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc


ภาคผนวก ตารางเปรียบเทียบขอกําหนดระหวาง ISO 22000 : 2005 ISO 9001 : 2000 และระบบ HACCP ISO 22000 : 2005

ISO 9001 : 2000

Introduction

0 01 02 03 04

Scope

1

Normative references Terms and definitions Food safety management system General requirements Documentation requirements

2 3 4 4.1 4.2

1 1.1 1.2 2 3 4 4.1 4.2

General Control of documents Control of records Management responsibility Management commitment Food safety policy Food safety management system planning Responsibility and authority Food safety team leader Communication

4.2.1 4.2.2 4.2.3 5 5.1 5.2 5.3

4.2.1 4.2.2 4.2.3 5 5.1 5.3 5.4.2

5.4 5.5 5.6

5.5.1 5.5.2 5.5

External communication

5.6.1

7.2.1

5.6.2

7.2.3 5.5.3 7.3.7

Internal communication

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc

Introduction General Process approach Relationship with ISO 9004 Compatibility with other management systems Scope General Application Normative references Terms and definitions Quality management system General requirements Documentation requirements

General Control of documents Control of records Management responsibility Management commitment Quality policy Quality management system planning Responsibility and authority Management representative Responsibility, authority and communication Determination of requirements related to the product Customer communication Internal communication Control of design and development changes

HACCP : 2003

Establish and record keeping documentation step 12


-2ISO 22000 : 2005 Emergency preparedness and response Management review General Review input Review output Resource management Provision of resource Human resource General Competence, awareness and training Infrastructure Work environment Planning and realization of safe products General Prerequisite programmes (PRPs)

ISO 9001 : 2000 5.7

5.2

Customer focus

5.8 5.8.1 5.8.2 5.8.3 6 6.1 6.2 6.2.1 6.2.2

8.5.3 5.6 5.6.1 5.6.2 5.6.3 6 6.1 6.2 6.2.1 6.2.2

6.3 6.4 7

6.3 6.4 7

Preventive action Management review General Review input Review output Resource management Provision of resource Human resource General Competence, awareness and training Infrastructure Work environment Product realization

7.1 7.2 7.2.1 7.2.2

7.1 6.3 6.4 7.5.1

7.2.3

8.5.3 7.5.5 7.3

7.3

Planning of product realization Infrastructure Work environment Control of production and service provision Preventive action Preservation of product Design and development

Preliminary steps to enable hazard analysis General Food safety team

7.3.1 7.3.2

Product characteristics

7.3.3

7.4.2

Purchasing requirements

Intended use

7.3.4

7.2.1

Flow diagrams, process step and control measures

7.3.5

7.2.1

Determination of requirements related to the product Determination of requirements related to the product

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc

HACCP : 2003

Assemble HACCP team step 1 Describe product step 2 Identify intended use step 3 On-site confirmation of flow diagram step 4, 5


-3ISO 22000 : 2005

ISO 9001 : 2000

Hazard analysis

7.4

7.3.1

Design and development planning

General

7.4.1

Hazard identification and determination of acceptable levels Hazard assessment Selection and assessment of control measures Establishing the operational prerequisite programmes (PRPs) Establishing the HACCP plan HACCP plan

7.4.2

7.5

7.3.2

Design and development inputs

7.6 7.6.1

7.3.3 7.5.1

Design and development outputs Control of production and service provision

Identification of critical control points (CCPs) Determination of critical limits for critical control points System for the monitoring of critical control points

7.6.2

7.6.4

8.2.3

Monitoring and measurement of processes

Actions when monitoring results exceed critical limits Updating of preliminary information and documents specifying the PRPs and the HACCP plan Verification planning

7.6.5

8.3

Control of nonconforming product

7.7

4.2.3

Control of documents

7.8

7.3.5

Traceability system Control of nonconformity Corrections Corrective actions

7.9 7.10 7.10.1 7.10.2

7.5.3 8.3 8.3 8.5.2

Design and development verification Identification and traceability Control of nonconforming product Control of nonconforming product Corrective actions

HACCP : 2003 List all potential hazard step 6 Conduct a hazard analysis Consider control measures

7.4.3 7.4.4

7.6.3

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc

Determine CCPs step 7 Establish critical limits for CCP each step 8 Establish a monitoring system for each CCP step 9 Establish corrective actions step 10 Establish documentation and record keeping step 12 Establish verification procedures step 11


-4ISO 22000 : 2005 Handling of potentially unsafe products Withdrawals Validation, verification and improvement of the food safety management system General Validation of control measure combinations

Control of monitoring and measuring Food safety management system verification Internal audit Evaluation of individual verification results

Analysis of results of verification activities Improvement Continual improvement Updating the food safety management system

ISO 9001 : 2000 7.10.3

8.3

Control of nonconforming product

7.10.4 8

8.3 8

Control of nonconforming product Measurement, analysis and improvement

8.1 8.2

8.1 8.4 7.3.6 7.5.2

8.3

7.6

8.4

8.2

General Analysis of data Design and development validation Validation of processes for production and service provision Control of monitoring and measuring devices Monitoring and measurement

8.4.1 8.4.2

8.2.2 7.3.4

Internal audit Design and development review

8.2.3 8.4.3

8.4

Monitoring and measurement of processes Analysis of data

8.5 8.5.1 8.5.2

8.5 8.5.1 7.3.4

Improvement Continual improvement Design and development review

A:\16ก.ค.(กัลยาณี) ISO 22000 (แกไขแลวเมือ่ 10 ตค.50).doc

HACCP : 2003


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.