ข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

Page 1

ขอเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประเภทนักศึกษา สวน ก : ลักษณะทั่วไปของโครงการวิจัย 1. ปการศึกษาที่เสนอขอรับทุน 2558 2. ประเภทการวิจัย ( ) การวิจัยสํารวจ ( ) การวิจัยทดลอง ( ) การวิจัยและพัฒนา ( ) การวิจัยสถาบัน (√) การวิจัยในชั้นเรียน ( ) การวิจัยสิ่งประดิษฐ 3. งบประมาณที่เสนอขอทุน 5,000 บาท 4. ระยะเวลาในการทําวิจัย 6 เดือน (เดือน.พฤศจิกายน.ถึง เดือน.เมษายน.) สวน ข : รายละเอียดการทําวิจัย 1. ชื่อโครงการวิจัย : การออกแบบกราฟฟกบนบรรจุภัณฑเครื่องดื่มตรา”famb herb น้ํามะตูม สมุนไพร” 2. ชื่อผูวิจัย/คณะผูวิจัย : นายปยะวุฒิ ภมรสูตร รหัสประจําตัว 5411301640 สาขาวิชาศิลปกรรม(แขนงออกแบบนิเทศศิลป) ภาควิชามนุษยศาสตร 3. ที่มาและความสําคัญของปญหาการวิจัย สมุนไพรไทยมีบทบาทและอิทธิพลอยางมากตอวิถีชีวิตของคนไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันประเทศ ไทยเปนเมืองเกษตรกรรม มีการเพาะปลูกสมุนไพรและที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ ตามสภาพภูมิอากาศเมืองรอน อยางมากมาย จึงมีการคิดคนที่จะนําสมุนไพรของไทยที่มี คุณสมบัติดานประโยชนและสรรพคุณตางๆ ที่มี อยูมากมายรอบตัว อีกทั้งยังหาไดงายตาม ท อ งตลาดและสภาพแวดล อ มทั่ ว ไปรวมถึ ง ต น ทุ น ที่ ไ ม สู ง นั ก อยางเชน “มะตูม”นํามาคิดคน กรรมวิธีการผลิตเพื่อพัฒนาและตอยอดใหมีความโดดเดนในดานการใช ประโยชนในดานตางๆ ประเทศไทยมีสภาพภูมิอากาศรอน-ชื้น คนไทยนิยมรับประทานอาหารเผ็ดรอนจัด อาหารที่มีไขมัน สูง สวนใหญ จึงทําใหเกิดทองอืด รอนใน กระหายน้ําจากสภาพอุณหภูมิที่รอน จึงไดนําพืชผลสมุนไพรจาก ธรรมชาติที่มีสรรพคุณลดอาการทองอืด รอนใน ดับกระหายน้ํา โดยแปรรูปเปนเครื่องดื่มสมุนไพร มะตูม จึงเปนไมผลยืนตนที่ถูกนํามาผานกรรมวิธีการแปรรูปตางๆเพื่อนํามาทําตากแหง และกรรมวิธี การตางๆเพื่อเอานํามาใชประโยชน “มะตูมตากแหง” มีสรรพคุณมากมายจึง นั้นมาแปลงเปนสินคาเพื่อ ประกอบอาหารตางๆ เชน นําผลมะตูมมาตากแหงเพื่อนํามาตมเปนเครื่องดื่ม นํามาประกอบอาหารตางๆ แกง ลวกจิ้ม เชื่อม เปนตน จากสภาพแวดลอมของไทย มะตูมมีสรรพคุณการอางอิงดังนี้


3.1 ฤทธิ์ชวยปรับสมดุลในรางกาย เครื่องดื่มตรา”น้ํามะตูมสมุนไพร” (ฺBeal Fruit Drink) ซึ่งเปนน้ําสกัดจากผลมะตูม ดื่มแกดับกระหาย แกรอนใน บํารุงธาตุ เจริญอาหาร ชวยขับเสมหะและระบายทองไดดี แกทองอืด ซึ่งมีสารอาหาร ไดแก สาร เมือก(mucilage)ชวยแกโรคลําไส สารเพ็กติน(pectin)มีฤทธิ์ชวยฆาเชื้อโรคในลําไส 3.2 คุณประโยชนทางสารอาหาร ปริมาณคุณคาสารอาหารของผลมะตูมสุกในสวนที่กินได 100 กรัมและสารอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย ประกอบดวย สารอาหาร

ผล(หนวย)

คารโบไฮเดรต

34.7 กรัม

โปรตีน

1.8 กรัม

ไขมัน

0.3 กรัม

น้ําตาล

14.3 กรัม

เยื้อใยในอาหาร

2.9 กรัม

แคลเซียม

85 มิลลิกรัม

ฟอสฟอรัส

50 มิลลิกรัม

เหล็ก

0.6 มิลลิกรัม

วิตามินเอ

92 หนวยสากล(I.U.)

วิตามินบี

11.3 มิลลิกรัม

วิตามินบี2

1.19 มิลลิกรัม

วิตามินซี

8.0 มิลลิกรัม

วิตามินอี ไนอาซิน

0.06 หนวยสากล(I.U.) 1.1 มิลลิกรัม


การเปรียบเทียบคุณคาทางโภชนาการของ(วิเคราะหเฉพาะเนื้อของผลสวนที่รับประทานได)และมะตูม แหง(หั่นเปนชิ้นทั้งเปลือกแลวตากแหง) สารอาหาร โปรตีน

ผลมะตูมสด

มะตูมแหง

รอยละ 3.58

รอยละ 7.05

มีน้ําตาลทั้งหมด (คํานวณเปนน้ําตาลอินเวิรด) รอยละ 14.3

รอยละ 11.9

วิตามินบี1

13.5 ไมโครกรัม

152.3 ไมโครกรัม

วิตามินบี2

0.28 มิลลิกรัม

3.15 มิลลิกรัม

วิตามินอี

0.06 หนวยสากล

0.79 หนวยสากล

แคลเซียม

22.6 มิลลิกรัม

167.7 มิลลิกรัม

แมกนีเซียม

16.5 มิลลิกรัม

125.1 มิลลิกรัม

3.3 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ตานเชื้อแบคทีเรีย ตานเชื้อรา ตานยินส ตานเชื้อมาลาเรีย ฆาไสเดือน ฆาพยาธิ ยับยั้งการหดเกร็งของ ลําไส ยับยั้งการเคลื่อนไหวของลําไส คลายกลามเนื้อเรียบ ตานฮีสตามีน ลดระดับน้ําตาลในเลือด ยับยั้งระดับ น้ําตาลในเลือด เพิ่มระดับอินซูลิน(insulin) ลดระดับไขมันใน ลดการอักเสบ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร เปนตน นอกจากนี้ยังมีการวิจัยพบวา เมื่อนําสารแทนนิน ซึ่งสกัดจากใบมะตูมไปใชทดสอบกับหนูขาวที่เปน โรคเบาหวานทําใหหนูขาวนั้นมีระดับน้ําตาลในเลือดลดลง เนื่องจากเกิดการหลั่งของอินซูลินหรือฮอรโมน ควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดมากขึ้น เอกสารอางอิงขอมูล : ธัญยชนก เจริญกิจ.(2552).ประโยชนมากมาย กับ มะตูม สมุนไพรของไทย สืบคนเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2558 จาก http://www.siamdara.com/ColumnGirl.asp?cid=807 4. วัตถุประสงคการวิจัย 4.1 เพื่อออกแบบบรรจุภัณฑและโลโกผลิตภัณฑเครื่องดื่ม “famb herb น้ํามะตูมสมุนไพร” เปนของตนเอง 4.2 เพื่อผลิตเปนชิ้นงาน “famb herb น้ํามะตูมสมุนไพร” ที่เปนผลิตภัณฑเครื่องดื่มของ ตนเองสําเร็จ


5. สมมติฐานการวิจัย ปจจุบันสมุนไพรไดรับความนิยมจากกลุมวัยรุนไปจนถึงกลุมผูสูงอายุมีมากขึ้น เพราะคนสวนใหญใหความ สนใจในเรื่องของสุขภาพ อาหารและเครื่องดื่มที่รับประทาน อาหารเสริมตางๆที่มีสมุนไพรเปนสวนผสมดังนั้น สมุนไพรไทยอยาง“มะตูม”มีสรรพคุณมากมายและยังสามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคที่เหมาะ กับสภาพภูมิอากาศรอนจึงอยากออกแบบเครื่องดื่ม”น้ํามะตูมสมุนไพร”ที่เปนแบรนดของตนเองใหมีความ ทันสมัย ดื่มงาย พกพาสะดวก 6. นิยามศัพทเฉพาะ การออกแบบกราฟฟกบรรจุภัณฑ หมายถึง การรวมของการใชสัญลักษณ ตัวอักษร ภาพประกอบ ลวดลายและพื้นผิว ซึ่งสวนประกอบทั้งหมดสามารถบงบอกถึง ชื่อ ตราสินคา ลักษณะผลิตภัณฑ ที่บรรจุอยู ภายในไดและสามารถแสดงถึงแหลงที่มาของผลิตภัณฑไดดวย ทําหนาที่เปรียบเสมือนเปนผูขาย ดังนั้นการ ออกแบบจึงตองประกอบไปดวย 7. ขอบเขตการวิจัย 7.1 รายงานวิจัยจํานวน 1 เลม 7.2 ผลงานออกแบบกราฟฟกบรรจุภัณฑและโลโกแบรนด เครื่องดื่มตรา”famb herb น้ํามะตูมสมุนไพร”ที่เปนของตนเอง 8. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 8.1 กระบวนการออกแบบ ออกแบบกราฟฟกบนบรรจุภัณฑและโลโกแบรนดเครื่องดื่มตรา”famb herb น้ํามะตูม สมุนไพร” ที่เสร็จเรียบรอยสมบูรณ สามารถนําไปใชเพื่อใหเกิดประโยชน 8.2 ตนแบบของ บรรจุภัณฑและโลโกแบรนด เครื่องดื่มตรา” famb herb น้ํามะตูมสมุนไพร”ที่เสร็จสมบูรณ


กรอบแนวคิดการวิจัยเรื่อง การออกแบบกราฟฟกบนบรรจภัณฑเครื่องดื่มตรา”famb herb น้ํา มะตูมสมุนไพร” 1.ผลิตภัณฑเครื่องดื่มน้ําสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

2.บรรจุภัณฑเพื่อการออกแบบ

กระบวนการออกแบบ 3 ส. แนวความคิดการออกแบบ

1.การสืบคนขอมูลเพื่อการออกแบบ

(Idea Design)

(Design Investigation)

1.สรางความนาสนใจ

2.การสรางสรรคเพื่องานออกแบบ

2.ความชัดเจนใน ผลิตภัณฑ 3.ความพึงพอใจของ ผูบริโภค

ผลิตภัณฑเครื่องดื่ม famb herb น้ํามะตูม สมุนไพรเพื่อสุขภาพ

(Design Creation) 3.การสรุปผลงานออกแบบ (Design Conclusion)

9. การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารอางอิง กระบวนการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ (Product Design and Development Process) การพัฒนาผลิตภัณฑคืออะไร? (Who is Development Process ? ) ปั จจุบนั สภาพตลาดมีการแข็งขันสูงและความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีเป็ นไปอย่างรวดเร็ วทําให้ มี ผลิตภัณฑ์ใหม่ในตลาดจานวนมาก ส่งผลให้ วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์สนลง ั ้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่จะอยู่รอดได้ ในตลาด จึงจาเป็ นต้ องมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ มีความใหม่ แตกต่าง และเพื่อให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ สอดคล้ องตรงกับลักษณะความต้ องการของผู้บริ โภคอยูเ่ สมอ เมื่อผู๎ซื ้อไม่ต้องการผลิตภัณฑ์นนั ้ ยอดขายจะตกตํ่าลง ในที่สดุ ผลิตภัณฑ์นนก็ ั ้ จะหายไปจากตลาด แต่จะมีผลิตภัณฑ์ใหม่เข้ ามาสู่ตลาดแทนผลิตภัณฑ์เก่าที่ลํ ้าสมัยซึง่ ผู้ต้องการซื ้ออีกต่อไป ผลิตภัณฑ์ใหม่


ส่วนหนึ่งอาจได้ รับการต้ อนรั บจากตลาด แต่ผลิตภัณฑ์อีกหลายชนิดไมํสามารถเข้ าสู่ตลาดจนลูกค้ า ยอมรับได ผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป วัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์จะประกอบด๎วยวงจร 4 ขันตอน ้ คือ

1. ขั้นแนะนาผลิตภัณฑ (Product Introduction) ผลิตภัณฑใหมที่เริ่มนาออกสูตลาดในครั้งแรกยังไมเปนที่รูจักของผูซื้อหรือผูบริโภค ดังนั้นผูผลิต หรือผูจําหนายตองเสนอ รายละเอียดของสินคา โดยอาศัยในการสงเสริมการตลาด (Promotion) เพื่อติดตอสื่อขาวกับผูบริโภคใหทราบวามีสินคาใหมออกสูตลาด ภาระคาใชจายในการขายของขั้น แนะนาจะสูงผูผลิตที่เปนผูบุกเบิกตลาด (Pioneer) อีกทั้งอยูในภาวะที่มีการเสี่ยงภัยสูงมาก ดังนั้น การจัดกลยุทธการตลาดในขั้นแนะนาผลิตภัณฑจะเนนเรื่องการสงเสริมการตลาดและการสื่อสารให เปนที่รูจักแพรหลาย การสงเสริมการตลาดจะเปนการใหขอมูลเกี่ยวกับสินคา ผานสื่อโฆษณาประเภท ตาง ๆจึงจะเกิดการยอมรับในตัวผลิตภัณฑ์ติดตามมาได 2. ขั้นตลาดเจริญเติบโต (Market Growth) การยอมรับในตัวผลิตภัณฑ์ จะส่งผลให้ ยอดขายเพิ่มสูงขึ ้นและเพิ่มในอัตราที่เร็ ว ดังนันในช่ ้ วง ต้ นของขันเติ ้ บโต ผู้บกุ เบิกตลาดจะได้ รับผลประโยชน์จากกาไรที่คอ่ นข้ างสูง แต่มกั จะมีโอกาสได้ ไม่นานเพราะ คูแ่ ข่งขันทังหลายจะเริ ้ ่มได้ กลิ่นกําไรและทยอยกันเข้ ามาขอส่วนแบ่งตลาด เมื่อเริ่ มมีค่แู ข่งขันเกิดขึ ้น ผู้บุกเบิกจะต้ องเปลี่ยนวิธีการในการส่งเสริ มการตลาดโดย ไม่ จําเป็ นที่จะใช้ ตวั อย่างหรื อสาธิตอีกต่อไป แต่ต้องหันไปเน้ นการสร้ างความชอบตราสินค้ าให้ มาก ขึ ้น (Brand preferences) การโฆษณาจะหันไปเน้ นให้ ลกู ค้ าเจาะจงเลือกซื ้อผลิตภัณฑ์ ของเรา ความต้ องการของผู้ซื ้อแสดงอย่างชัดแจ้ งว่า เป็ นแนวโน้ มที่จะเพิ่มขึ ้นทาให้ มีการกระจาย สินค้ า ก่อให้ เกิดภาพลักษณ์ที่แสดงแนวโน้ มของตลาดที่ดี โดยเฉพาะในกรณีสินค้ าอุปโภค 3. ขั้นตลาดอิ่มตัว (Market Maturity) วงจรขั้นอิ่มตัวเกิดจากผูซื้อสวนใหญไดซื้อผลิตภัณฑมาบริโภคกันทั่วหนา ประกอบกับมีคูแขงขัน มาเสนอขายผลิตภัณฑชนิดเดียวกันเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เปนสวนสงเสริมใหลูกคาตาง ๆ ประกอบกับผู ซื้อเริ่มใหความสนใจนอยลง ยอดขายจะไมเพิ่มขึ้นมากเหมือนขั้นตลาดเจริญเติบโต และในที่สุดอัตรา การเพิ่มจะหยุดนิ่ง หากไมมีการแกไข ความตองการ ในตลาดสินคานี้จะตกต่ําลง อาจเพราะลูกคามี สินคานี้แลว ลูกคาเบื่อหนายแลว การที่มีคูแขงขันเขามาในตลาดมากทาใหผูผลิตทุกรายตองพยายามแยงสวนแบงตลาด ใหมาก ที่สุด จึงตองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑใหแปลกใหมดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อสรางความ แตกตางใหกับตัวผลิตภัณฑ (Product differentiation)


4. ขั้นยอดขายตกต่ํา (Sale Decline) เมื่อผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ ้นถึงจุดอิ่มตัว หากไม่ได้ รับการแก้ ไข ผลิตภัณฑ์นนจะเริ ั้ ่ มมียอดขายลดลง เรื่ อยๆ อาจเนื่องมาจากผลิตภัณฑ์ใหม่กว่ามาแทนที่ในตลาด ลูกค้ าจึงหันไปซื ้อผลิตภัณฑ์ใหม่ แทน ดังนัน้ การขาดทุนจะเกิดขึ ้นอีกครัง้ หนึ่ง ผู้ผลิตที่มีฐานะการเงินมัน่ คง มีส่วนแบ่งตลาด มากกว่าอาจจะอยู่ในตลาดเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ต่อไป แต่ผ้ ผู ลิตรายเล็กๆ ที่มีทนุ น้ อยจะ ค่อยๆ ถอนตัวออกจากตลาดเพราะไม่สามารถรับภาระการขาดทุนได้ ขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ผลิตภัณฑที่เปนแนวคิดใหมยังไมมีผูใดนาเสนอในตลาดมากอน เปนผลิตภัณฑที่มีโอกาสสูงในตลาด แตมี ความเสี่ยงสูงตํอความลมเหลวดวย ถาพบวาผลิตภัณฑดังกลาวมีลักษณะไมตรงกับความตองการของผูบริโภค ดังนั้นเพื่อความมั่นใจวาผลิตภัณฑใหมจะไดนับวาการยอมรับจากผูบริโภคกิจการจึงควรพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ อย่างเป็ นขันตอน ้ ดังนี ้ 1.การแสวงหาความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑใหม (Exploration) การพัฒนาสินคาใหมจะเริ่มตนจากความคิด (Idea) โดยตองแสวงหาความคิดใหมๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑให ได มากที่สุ ด โดยวัต ถุป ระสงค์ ที่ ชัด เจนในการนํ าเสนอผลิต ภัณ ฑ์ ใ หม่ว่าต้ องการอะไร ทัง้ นี เ้ พราะ วัตถุประสงค์ที่ตา่ งกันจะนาไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แตกต่างกัน กลุ่มเป้าหมายของผลิตภัณฑ์ใหม่ ต่างไปจากเดิม และกลยุทธ์การตลาดของผลิตภัณฑ์ใหม่ก็จะแตกต่างกันด้ วย แนวคิดใหม่ๆ ของผลิตภัณฑ์ อาจมาจากแหล่งแนวคิดต่างๆ กันและแนวคิดสํวนใหญ่ที่ได้ มกั มาจากปั ญหา ข้ อเสนอแนะ คาติชมของ ผลิตภัณฑ์ที่ผ๎บู ริ โภคพบเจอในการบริ โภคผลิตภัณฑ์นนั ้ 2. การกลั่นกรองแนวความคิด (Idea Screening) ความคิดที่ระดมเสาะหาจากแหลงตางๆ จะตองนามากลั่นกรองใหรอบคอบ โดยใหเหลือเฉพาะแนวคิดที่มี ความเปนไปได มีโอกาสประสบความสําเร็จ ปจจัยที่จะนามาประกอบการกลั่นกรองความคิด ได๎แก 1. ภาพลักษณของกิจการ (Image) ความคิดใหมํที่จะนาไปพัฒนาผลิตภัณฑจะต๎องไมํทาลายภาพลักษณ ที่ดีของกิจการ 2. วัตถุประสงคและนโยบายของกิจการ (Objective and Policy) แตละกิจการยอมมีเปาหมายและ วัตถุประสงคในการดาเนินงานธุรกิจที่ตั้งไวลวงหนา การคัดเลือกความคิดจะต๎องพิจารณาความ เหมาะสม ไมขัดกับเปาหมาย วัตถุประสงคและนโยบายของกิจการ 3. ความพรอมของทรัพยากร (Resources) ความคิดในการผลิตสินค๎าใหมยอมนําไปสูการลงทุนใหม ภาระทางการเงิน อุปกรณและแรงงาน ความคิดว่าต้ องใช้ ทรัพยากรอย่างไร ปริ มาณเท่าไหร่ กิจการ มีเงินทุนเพียงพอแก่การลงทุนใหม่หรื อจัดหาได้ อย่างไร 4. ระดับความใหมของความคิด (Degree of Newness) ความคิดที่กาวหนาทันสมัยมากเกินไปอาจจะใช ไมได ผูบริโภคโดยทั่วไปจะยอมรับสิ่งใหมที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง ผลิตภัณฑใหมํที่มีความคลายคลึง


หรือสัมพันธกับผลิตภัณฑเดิมอัตราการยอมรับจะสูงกวาผลิตภัณฑไมคุนเคย ดังนั้นผูผลิตคานึงถึงถึง ระดับความใหมที่ตลาดเปาหมายจะยอมรับได 3. การพัฒนาดานผลิตภัณฑ (Product Development) เปนขั้นตอนที่มีความสําคัญ เนื่องจากมีการ เปลี่ยนความคิดใหเปนตัวผลิตภัณฑที่มีตัวตน ขั้นตอนการพัฒนาดานผลิตภัณฑจะเกี่ยวของกับการหา กรรมวิธีการผลิตการเลือกวัตถุดิบ ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ สูตรในการผลิต วิธีการผลิตให้ ได้ คุณภาพ ประสิทธิภาพ รู ปแบบ ตามความต้ องการของตลาด ดังนั้นเมื่อแนวคิดผานขั้นตอนนี้ไปยอม หมายถึงกิจการมีผลิตภัณฑใหมอยูในมือเพื่อรอการจัดจาหนาย เพียงแตปริมาณสินคาที่ผลิตขึ้นมายังคงมี จานวนนอย เนื่องจากยังไมมีความมั่นใจตอการตอบรับของตลาดมากนัก ประเภทและลักษณะของบรรจุภัณฑ การบรรจุภณ ั ฑ์ หรื อการบรรจุหีบห่อ เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการตลาด เนื่องจากในปั จจุบนั นี ้บริ ษัทต่างๆ ได้ พฒ ั นาตัวสินค้ าและบริ การจนมีคณ ุ ภาพทัดเทียมกันเกือบทุกตรายี่ห้อ โดยการพัฒนา รู ปแบบของการบรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อช่วยทังในด้ ้ านการเก็บรักษา การขาย การตลาด การโฆษณา การบรรจุ ภัณฑ์จงึ เข้ ามามีบทบาททางการตลาดเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ที่ดีและเหมาะสม จะช่วยให้ การดําเนินการจัดจําหน่าย การกระจายสินค้ าดาเนินไปได้ ด้วยดี สะดวกรวดเร็ว ประหยัด ขอมูลเบื้องตนที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบบรรจุภัณฑ สินคา การออกแบบตองเริ่มตนดวยมีขอมูลทางดานสินคาอยางเพียงพอ ไดแก ประเภทของสินคา คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี ขนาด รูปทรง ปริมาตร สวนประกอบหรือสวนผสม คุณคําทางโภชนาการ กระบวนการผลิตหรือกรรมวิธีการแปรรูปอาหาร การตรวจสอบคุณภาพ ขอแนะนาในการบริโภค และสินคา จะเสื่ อมคุ ณภาพจากปฏิ กิริ ย าอะไรเพื่ อจะไดน ามาออกแบบโครงสรา งบรรจุภัณฑ ใหล วดลายสีสัน อยา ง เหมาะสม สรางการยอมรับจากผูซื้อและการสรางจุดขายของสินคา (Unique Selling Point) ประโยชนและความตองการของผูบริโภค การกําหนดเปาหมายของผูบริโภคและการวิจัยตลาดยอมสามารถ ประเมินวาจุดขายของสินคาสามารถสนองความตองการของผูบริโภค การนําไปปรุงรวมกับอาหารชนิดอื่น และโอกาสในการบริโภคหรือฤดูในการเลือกซื้อ ข๎อมูลเหลานี้จะชวยใหสามารถออกแบบบรรจุภัณฑให สอดคลองกับความตองการของผูบริโภค เชน การบรรจุรวมหอ การออกแบบบรรจุภัณฑและลวดลายให สอดคลองกับเทศกาล การตลาด การพัฒนาบรรจุภัณฑใหสนองกับความตองการของกลุมเปาหมาย จาเปนตองวิเคราะหจุดยืนของ สินคาและบรรจุภัณฑเทียบกับคูแขงขันที่มีกลุมเปาหมายเดียวกัน ฝายการตลาดมีหน๎าที่เปนผูหาขอมูลดังกลาว และปอนให๎ฝายที่เกี่ยวของ เชํน ข๎อมูลของปริมาณสินคาที่จะบรรจุ ขนาด จานวน บรรจุภัณฑตอหนวยขนสง อาณาเขตของตลาด เปนตน


ระบบขนสงสินคาและคลังสินคา ศึกษาวิธีและอุปกรณการขนยายและการเก็บคงคลัง เชน การใชกะบะเปน พาหนะสําหรับใชในระบบการขนยาย ความจําเปนในการใชสัญลักษณรหัสแทงบนบรรจุภัณฑขนสง เปนตน กฎหมาย การออกแบบกราฟฟกของผลิตภัณฑอาหารเปนไปตามขอบังคับ โดยเฉพาะอยางยิ่งตองสอดคลอง กับขอบังคับของสานักงานอาหารและยา (อย.) นอกจากนี้ยังตองศึกษาการใชสัญลักษณเกี่ยวกับสิ่งแวดล๎อม เปนตน ปจจัยอื่นๆ สภาวะคูแขงขันรวมกระทั่งถึงการเคลื่อนไหวของคูแขง สถานะของผลิตภัณฑตามวัฏจักรชีวิต ผลิตภัณฑ เปนตน ประเภทบรรจุภัณฑแบงตามหนาที่ของบรรจุภัณฑ พิจารณาตามหนาที่ของบรรจุภัณฑ ไดแก การปองกัน การรักษาคุณภาพ ความสะดวกในการใชงาน ความ ประหยัดในการขนสง การออกแบบกราฟฟกใหสอดคลองกับความตองการ การใชฉลากและสวนประกอบของ ฉลาก สามารถแบงบรรจุภัณฑออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ • บรรจุภัณฑเฉพาะหนวย (Individual Package) คือ บรรจุภัณฑที่สัมผัสอยูกับผลิตภัณฑชั้นแรก เปนสิ่งที่บรรจุผลิตภัณฑเอาไวเฉพาะหนวย โดยมีวัตถุประสงคขั้นแรกคือ เพิ่มคุณคําในเชิงพาณิชย (To Increase Commercial Value) เชน การกําหนดใหมีลักษณะพิเศษเฉพาะหรือทาใหมีรูปรางที่ เหมาะแกการจับถือ และอานวยความสะดวกตอการใชผลิตภัณฑภายใน • บรรจุภัณฑชั้นใน (Inner Package) คือ บรรจุภัณฑที่อยูถัดออกมาเปนชั้นที่สอง มีหนาที่รวบรวม บรรจุภัณฑขั้นแรกเขาไวดวยกันเปนชุด ในการจําหนายรวมตั้งแต 2 – 24 ชิ้นขึ้นไป โดยมี วัตถุประสงคขั้นแรก คือ การปองกันรักษาผลิตภัณฑจากนา ความชื้น ความรอน แสง แรง กระทบกระเทือน และ อํานวยความสะดวกแกการขายปลีกยอย เปนตน ตัวอยางของบรรจุภัณฑ ประเภทนี้ ไดแก กลองกระดาษแข็งที่บรรจุเครื่องดื่มจํานวน 1 โหล , สบู 1 โหล เปนตน บรรจุภัณฑชั้นนอกสุด (Out Package) คือ บรรจุภัณฑที่เปนหนวยรวมขนาดใหญที่ใชในการขนสง โดยปกติแลวผูซื้อจะไมไดเห็นบรรจุภัณฑประเภทนี้ เนื่องจากทาหนาที่ปองกันผลิตภัณฑในระหวาง การขนสงเทานั้น ลักษณะของบรรจุภัณฑประเภทนี้ ไดแก หีบ ไม ลัง กลองกระดาษขนาดใหญที่ บรรจุสินคาไวภายใน ภายนอกจะบอกเพียงข๎อมูลที่จาเปนตอการขนสงเทานั้น เชน รหัสสินคา (Code) เลขที่ (Number) ตราสินคา สถานที่สง เปนตน ประเภทบรรจุภัณฑแบงตามคุณสมบัติทางกายภาพของบรรจุภัณฑ พิจารณาถึงคุณสมบัติทางกายภาพของบรรจุภัณฑ สามารถแบงบรรจุภัณฑออกเปน 3 ประเภทใหญๆ ดังนี้ - บรรจุภัณฑแข็งตัว (Rigid Packaging) เชํน แกว กระปองโลหะ (can) และขวด พลาสติก สํวนมากเปน พลาสติกฉีด บรรจุภัณฑชนิดนี้มีความแข็งแรง คงรูปไดดี ลาเลียงบนสายพาน (conveyor) ไดสะดวก จึง เหมาะสาหรับการใชงานกับเครื่องบรรจุของเหลวดวยระบบสุญญากาศ และระบบที่ใชความดันได •


- บรรจุภัณฑกึ่งแข็ง (Semi-Rigid Packaging) เชน ขวดพลาสติกแบบขึ้นรูปดวยการเปา ถาดโฟม ถ๎วย ไอศกรีม ขึ้นรูปดวยความรอนและสุญญากาศ บรรจุภัณฑชนิดนี้มีขอจากัดในการรับแรงอัดและแรงดันจึงบรรจุ แบบกระบอกสูบอัดใสในถุงบรรจุภัณฑ - บรรจุภัณฑออนนุม (Flexible Packaging) เชน ซองและถุง บรรจุภัณฑประเภทนี้ไมสามารถรักษามิติหรือ รูปทรงไดจึงต๎องมีอุปกรณชวยในระหวางทาการบรรจุของเหลว และมักใชระบบการบรรจุแบบกระบอกสูบอัด ใสในถุงบรรจุภัณฑ หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ การออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑที่ดี ควรออกแบบและการจัดวางรูปประกอบตัวอักษร ลวดลาย ถอยคํา เครื่องหมายหรือตราสัญลักษณทางการคา โดยใชหลักวิชาการทางศิลปะ การจัดภาพองคประกอบศิลปเพื่อให ผลงานมีความประสานกลมกลืนกันอยางสวยงามและสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่วางไว ซึ่งขอมูลประกอบการ ออกแบบบรรจุภัณฑควรจะมี ได๎แก • • • • •

ขอมูลดานการตลาด ได๎แกํ สถานที่จัดจําหนาย ฤดูกาล รูปแบบการกระจายสินคา (ปลีก/สง) พฤติกรรมผูบริโภค ปริมาณและมูลคาของสินคาในตลาด (สวนแบงทางการตลาด ) ขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ไดแก ประวัติความเปนมา คาอธิบาย จุดเดน ประโยชน ขนาดปริมาณบรรจุ ความถี่/ปริมาณการใช๎ที่ใชตอครั้ง ราคาและตนทุน ขอควรระวัง

ขั้นตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ 1. กําหนดกลุมเปาหมาย ถือเปนเรื่องสําคัญของการออกแบบบรรจุภัณฑ เพราะกลุมเปาหมายสามารถ สงผลกระทบตอผลิตภัณฑได๎โดยตรง ผูประกอบการจะตองศึกษาและเรียนรูความตองการของตลาด และความตองการของผูบริโภค โดยกาหนดกลุมเปาหมายใหชัดเจน เพื่อที่จะไดสามารถออกแบบ บรรจุภัณฑใหตรงตอความตองการของกลุมเปาหมายใหมากที่สุด ตัวอย่างกลุ่มเป้าหมาย เช่น วัยรุ่ น วัยทํางาน แม่บ้าน เด็ก เป็ นต้ น 2. กําหนดชื่อตราสินคา (Brand) ตราสินคาใช๎เปนชื่อหรือเครื่องหมายสาหรับการเรียกขานผลิตภัณฑ ผูประกอบการจะต๎องทาการกําหนดชื่อตราสินคาใหเรียบรอยกํอนการออกแบบบรรจุภัณฑ โดย กําหนดใหชื่อตราสินคามีความเปนเอกลักษณ ชัดเจน นาสนใจ ที่สําคัญจะตองเปนที่จดจําไดงายแก


ผูบริโภคตราสินคาที่ดี ลักษณะที่ดีของตราสินคาที่ดีจะตองสั้น กะทัดรัด จดจาได๎งาย ออกเสียงไดงาย มีความโดดเดนเปนเอกลักษณเฉพาะตัว แปลเปนภาษาตางประเทศไดงายมีความหมายที่เหมาะสม สามารถบอกถึงคุณสมบัติที่สําคัญของผลิตภัณฑ และสอดคลองกับคํานิยมและวัฒนธรรมของกลุม ลูกคาเปาหมายสามารถนาไปจดทะเบียนการคาไดโดยตองไมซ้ํากับของเดิมที่มีอยู 3. วัสดุที่ใชทาบรรจุภัณฑ ในการออกแบบบรรจุภัณฑ วัสดุมีความจาเปนอยางยิ่ง การที่ผูประกอบการ ตัดสินใจวาจะใชวัสดุอะไรมาผลิตเปนบรรจุภัณฑนั้น ควรคํานึงถึงความปลอดภัยของผูบริโภค ความ รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม และคุณสมบัติของวัสดุแตละประเภทที่จะนามาผลิตบรรจุภัณฑเปนสําคัญ เนื่องจากวัสดุแตละชนิดแตละชนิดจะมีคุณสมบัติที่เปนขอดีและขอเสียในการคุมครองผลิตภัณฑใหคง คุณภาพ การยืดอายุผลิตภัณฑ และการนากลับมาใชใหม (Recycle) ที่แตกตางกันไป 4. รูปทรง บรรจุภัณฑ ควรออกแบบใหมีรูปรางสวยงาม สามารถสรางความประทับใจให๎กับผูบริโภค ถึงแมผูบริโภคจะยังมิไดสัมผัสกับตัวผลิตภัณฑที่อยูภายใน รูปทรงของบรรจุภัณฑสามารถสรางความ เปนเอกลักษณได๎ กลําวคือเมื่อผูบริโภคเห็นรูปทรงสามารถรับรูไดทันทีวาเปนผลิตภัณฑอะไรและมีชื่อ ตราสินคาอะไร หรือจะเปนผลิตภัณฑเดียวแตกตางกันที่ชื่อตราสินคา 5. สีสันและกราฟก คือการรวมของการใชสัญลักษณ ตัวอักษร ภาพประกอบ ลวดลายและพื้นผิว ซึ่ง สวนประกอบทั้งหมดสามารถบํงบอกถึงชื่อตราสินคา ลักษณะผลิตภัณฑ ที่บรรจุอยูภายในไดและ สามารถแสดงถึงแหลงที่มาของผลิตภัณฑไดดวย


9.เอกสารอางอิงของโครงการวิจัย ALL IDEASTUDIO.(2555).ความหมายการออกแบบกราฟฟกบนบรรจุภัณฑ สืบคนเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2558 http://www.allideastudio.net/graphic-packaging-design.php Mccathy & Pereault, Jr. (Basic Marketing, 1991 - P. 342).(2534).การพัฒนาผลิตภัณฑคืออะไร? (Who is Development Process ? ) สืบคนเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2558 http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sms/market/Unit4/Subm2/U421-1.htm BannerOnline.Net.(2553).ขั้ น ตอนการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม สื บ ค น เมื่ อ 2 พฤศจิ ก ายน 2558 www.banneronline.net/SMEs/BusinessPlanning_SMEs_Chapter_32.html กรมสงเสริมการสงออก.(2551).ประเภทและลักษณะของบรรจุภัณฑ สืบคนเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2558 http://www.mew6.com/composer/package/package_7.php สืบคนเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2558 https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/kanjannee/home/bth-thi-4prapheth-khxng-brrcuมหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง.(2553).หลักการออกแบบบรรจุภัณฑและขั้นตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ สืบคนเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2558 จากhttp://netra.lpru.ac.th/~weta/m4/m4_print.html


10. ระเบียบวิธีวิจัย งานวิจัยดังกลาวนี้เปนการคนควากระบวนการออกแบบที่มีความสอดคลองกับกลุมผูบริโภคดังนั้นจึง ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลอง โดยมีรายละเอียดการดําเนินงาน ดังนี้ 10.1 ประชากร โครงการวิจัย การออกแบบบรรจุภัณฑเครื่องดื่ม”น้ํามะตูมสมุนไพร” 10.2 ตัวอยางและการสุมตัวอยาง การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงทดลองทางการออกแบบบรรจุภัณฑเครื่องดื่ม”น้ํามะตูม สมุนไพร” ดังนั้น กลุมตัวอยางจึงใชวิธีเจาะจง 10.3 การออกแบบการทดลอง (ถาเปนการวิจัยทดลอง) - สรุปหลักการและขอมูลทางการออกแบบบรรจุภัณฑจากรายงานการวิจัยที่ เกี่ยวของ - แบบรางทางความคิด (Idea Sketch) - แบบที่ทําการสรุป (Concept Sketch) - ออกแบบเครื่องมือการเก็บขอมูลโดยผานการตรวจคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญใน สาขาที่เกี่ยวของ จํานวนไมต่ํากวา 3 ทาน - ดําเนินการออกแบบและทดลองใชกับกลุมผูบริโภค - สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ 10.4 ขั้นตอนการพัฒนา (ถาเปนการวิจัยและพัฒนา) 10.5 เครื่องมือการพัฒนา การสรางและการวิเคราะหคุณภาพเครื่องมือการวิจัย 10.6 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช 11. แผนการดําเนินงานตลอดโครงการ 11.1 ผูวิจัยศึกษาจากแหลงขอมูลอางอิงพื้นฐานและปญหาตางๆ เพื่อถายทอดองคความรู ดานการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ “famb herb เครื่องดื่มน้ํามะตูมสมุนไพร”เพื่อสุขภาพ 11.2 ลงมือSkecthแบบราง แลวนําไปสแกน เพื่อวาดเสนลงในโปรแกรม Illustrator กําหนดแบบArt work เพื่อใหผลงานถูกตองและสมบูรณแบบ 11.3 เมื่อผลงานสมบูรณนําพิมพเพื่อทําผลิตตนแบบจริงผลิตภัณฑเครื่องดื่ม “famb herb น้ํามะตูมสมุนไพร”เพื่อสุขภาพ


12. รายละเอียดงบประมาณของโครงการวิจัย งบประมาณ 500 บาท จําแนกตามประเภทตางๆ(ปงบประมาณ2558) ลําดับ

รายการคาใชจายตางๆ

จํานวน/ หนวย

จํานวนเงิน

ก.คาตอบแทน 1

คาพิมพเอกสาร

3 ชุดขึ้นไป

40 บาท

2

คาพิมพ 4 สี ออฟเซท Art Work

7 แผน

70 บาท

ข.หมวดคาใชสอย 1

คาเดินทางตามที่สถานที่ตางๆ

3 เที่ยว

50 บาท

2

มะตูมตากแหง.

1 กก.

120 บาท

ค.คาวัสดุ 1

คากระดาษสติ๊กเกอรขนาด A4

7 แผน

100 บาท

2

คาขวดพลาสติก ขนาด 350 มล.

13 ขวด

120 บาท

รวมคาใชจายทั้งหมด

500 บาท

ลงชื่อ.....................................................นักศึกษา (.....................................................)


แบบร่ างทางความคิด (Idea Sketch)



แบบที่ทําการสรุป (Concept Sketch)


ขนาดขวด ความสูง 16.5 cm. รอบขวด 25 cm. กนขวดกวาง 6 cm. /ฉลากขวด 12x25 cm.

แบบ 3D


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.