ความรุ้เกี่ยวกับศิลปะ

Page 1

ศิลปะ ศิลปะ หรือ ศิลป์ (สันสกฤต: शिल्प ศิลฺป) ทั่วๆไปแล้วจะหมายถึงการกระทา หรือขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานศิลปะโดยมนุษย์ คาแปลในภาษาอังกฤษที่ตรงที่สุด คือ Art ศิลปะเป็นคาที่มีความหมายกว้าง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีความหมายเกี่ยวกับการ สร้างสรรค์, สุนทรียภาพ, หรือการสร้างอารมณ์ต่างๆ งานศิลปะ จะรวมถึงชิ้นงานหลายๆชนิดโดยผู้สร้างตั้งใจสร้างชิ้นงานเพื่อสื่อสาร ,สื่ออารมณ์,หรือใช้สัญลักษณ์เพื่อให้ผู้ชมชิ้นงานตีความ ผู้สร้างงานศิลปะ มักเรียก รวมๆ ว่า ศิลปิน ศิลปะอาจรวมไปถึงงานในรูปแบบต่างๆเช่น งานเขียน บทกวี การเต้นรา การ แสดง ดนตรี งานปฏิมากรรม ภาพวาด-ภาพเขียน การจักสาน หรือ อื่นๆ อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่แล้วศิลปะจะหมายถึงงานทางทัศนศิลปะพวก ภาพวาด-ภาพเขียน งาน ประติมากรรม งานแกะสลัก รวมถึง conceptual art และ installation art ศิลปะ(Art) นับว่าเป็นศาสตร์ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ตั้งแต่มีมนุษย์เกิดขึ้น และนับว่าเป็นศาสตร์ของนักปราชญ์ที่เป็นที่ชื่นชม[1] Category: ศิลปะ


ประเภทของศิลปะ ศิลปะ หรือ ศิลป์ (สันสกฤต: शिल्प ศิลฺป) ทั่วๆไปแล้วจะหมายถึงการกระทาหรือขั้นตอนของการสร้างชิ้นงาน ศิลปะโดยมนุษย์ ศิลปะเป็นคาที่มีความหมายกว้าง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีความหมายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์, สุนทรียภาพ, หรือการสร้างอารมณ์ต่างๆ งานศิลปะ จะรวมถึงชิ้นงานหลายๆชนิดโดยผู้สร้างตั้งใจสร้างชิ้นงานเพือ่ สื่อสาร,สื่ออารมณ์,หรือใช้สัญลักษณ์ เพื่อให้ผู้ชมชิ้นงานตีความ ผู้สร้างงานศิลปะ มักเรียกรวมๆ ว่า ศิลปิน ศิลปะอาจรวมไปถึงงานในรูปแบบต่างๆเช่น งานเขียน บทกวี การเต้นรา การแสดง ดนตรี งานปฏิมากรรม ภาพวาด-ภาพเขียน การจักสาน หรือ อื่นๆ อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่แล้วศิลปะจะหมายถึงงานทางทัศนศิลปะพวก ภาพวาดภาพเขียน งานประติมากรรม งานแกะสลัก รวมถึง conceptual art และ installation art View full article »

ศิลปะ หมายถึง ผลแห่งความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่แสดงออกมาในรูปลักษณะต่างๆ ให้ ปรากฏซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ์ ตามประสบการณ์ รสนิยม และทักษะ ของบุคคลแต่ละคน นอกจากนี้ยังมีนักปราชญ์ นักการศึกษา ท่านผู้รู้ได้ให้นิยามความหมายของศิลปะ แตกต่างกันออกไป ศิลปะ คือ การเลียนแบบธรรมชาติ การแสดงออกของบุคลิกภาพทางอารมณ์ของมนุษย์ การ สื่อสารอย่างหนึ่งระหว่างมนุษย์ การระบายความปรารถนาในใจของศิลปินออกมา การแสดงออกของ ผลงานด้านต่างๆที่สร้างสรรค์ จากความหมายและคานิยามทางศิลปะที่ได้นามากล่าวอ้างไว้ข้างต้น จะเห็นได้ว่าผลงานที่เรียกกันว่า เป็น “ศิลปะ”จะมีทัศนะที่แตกต่างกันออกไป ยากที่จะหาข้อสรุปที่แน่นอนหรือกาหนดลักษณะของงาน ศิลปะได้โดยในแต่ละยุคสมัยท่านผู้รู้ได้กาหนดความหมายของศิลปะไปตามบริบทของตนเอง ซึ่งย่อมจะมี


ความแตกต่างหรือเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม และความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม ก็เป็นที่ยอมรับกันในประการหนึ่งว่า ผลงานที่ถือว่าเป็นงานศิลปะจะต้องเป็นงานที่มีการ สร้างสรรค์ ไม่ใช่เกิดขึ้นมาเองกล่าวคือ “จะต้องมีมนุษย์เป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานนั้นๆ ส่วนคาว่า ทัศนศิลป์ ( visual art ) เป็นศัพท์ที่ได้รับการบัญญัติขึ้นใช้ในวงการศิลปะเมื่อ ประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา จุดมุ่งหมายที่บัญญัติศัพท์ “ทัศนศิลป์” ขึ้นมา ก็เพื่อจาแนกความแตกต่างหรือแยก ลักษณะการรับรู้ของมนุษย์ทางด้านศิลปะให้มีความชัดเจนมากขึ้น ทั้งนี้เพราะแต่เดิมนั้นผลงานทางด้าน ทัศนศิลป์จะถูกผนวกรวมเข้าและถือเป็นส่วนหนึ่งของงาน “วิจิตรศิลป์” ซึ่งทาให้เกิดความเข้าใจว่างาน ทัศนศิลป์จะต้องเป็นผลงานที่มีความละเอียดประณีตบรรจง และมีความงดงามเท่านั้น

จิตรกรรม จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภาพ โมนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจาได้มากที่สุดในโลกตะวันตก


จิตรกรรม (อังกฤษ: painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงาม อื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทางานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้น ระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลง บนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้า Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุ ราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดา แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกาลังล่าสัตว์

[แก้] การจาแนก จาแนกได้ตามลักษณะผลงานที่สิ้นสุด และ วัสดุอุปกรณ์การสร้างสรรค์เป็น 2 ประเภท คือ ภาพวาด และ ภาพเขียน 

1. 2. 3. 4. 5.

จิตรกรรมภาพวาด (Drawing) จิตรกรรมภาพวาด เรียกเป็นศัพท์ทัศนศิลป์ภาษาไทยได้หลายคา คือ ภาพวาด เขียน ภาพวาดเส้น หรือบางท่านอาจเรียกด้วยคาทับศัพท์ว่า ดรอวิ้ง ก็มี ปัจจุบนั ได้มีการนาอุปกรณ์ และ เทคโนโลยีที่ใช้ในการเขียนภาพและวาดภาพ ที่ก้าวหน้าและทันสมัยมากมาใช้ ผู้เขียนภาพจึงจึงอาจจะใช้อุปกรณ์ ต่างๆมาใช้ในการเขียนภาพ ภาพวาดในสื่อสิ่งพิมพ์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ภาพวาดลายเส้น และ การ์ตูน จิตรกรรมภาพเขียน (Painting) ภาพเขียนเป็นการสร้างงาน 2 มิติบนพื้นระนาบด้วยสีหลายสีซึ่งมักจะต้องมีสื่อ ตัวกลางระหว่างวัสดุกับอุปกรณ์ที่ใช้เขียนอีก ซึ่งกลวิธีเขียนที่สาคัญ คือ การเขียนภาพสีน้า (Colour Painting) การเขียนภาพสีน้ามัน (Oil Painting) การเขียนภาพสีอะคริลิค (Acrylic Painting) การเขียนจิตรกรรมฝาผนัง (Fresco Painting) จิตรกรรมแผง(Panel Painting) จาแนกตามยุคสมัยและแหล่งสร้างสรรค์ เช่น

    

จิตรกรรมไทย จิตรกรรมยุคกอธิค จิตรกรรมยุคบาโรก จิตรกรรมยุคอิมเพรสชันนิสม์ จิตรกรรมยุคอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลัง


   

จิตรกรรมยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้น จิตรกรรมยุคเรอเนซองส์ จิตรกรรมยุคแมนเนอริสม์ จิตรกรรมสมัยใหม่ยุคพัฒนา

สถาปัตยกรรม

บ้านไม้ทรงไทย สถาปัตยกรรม (อังกฤษ : architecture) หมายรวมถึง อาคารหรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้วย


เนื้อหา [ซ่อน] 

1 องค์ประกอบสาคัญของสถาปัตยกรรม

2 สถาปัตยกรรมไทย

3 สถาปัตยกรรมตะวันตก

4 ดูเพิ่ม

[แก้] องค์ประกอบสาคัญของสถาปัตยกรรม จุดสนใจและความหมายของศาสตร์ทางสถาปัตยกรรมนั้น ได้เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย บทความ De Architectura ของวิทรูเวียส ซึ่งเป็นบทความเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ที่เก่าแก่ที่สุดที่เราค้นพบ ได้กล่าวไว้ว่า สถาปัตยกรรมต้องประกอบด้วยองค์ประกอบสามส่วนหลักๆ ที่ผสมผสานกันอย่างลงตัวและสมดุล อันได้แก่ 

 

ความงาม (Venustas) หมายถึง สัดส่วนและองค์กระกอบ การจัดวางที่ว่าง และ สี,วัสดุและพื้นผิวของ อาคาร ที่ผสมผสานลงตัว ที่ยกระดับจิตใจ ของผู้ได้ยลหรือเยี่ยมเยือนสถานที่นั้นๆ ความมั่นคงแข็งแรง (Firmitas) และ ประโยชน์ใช้สอย (Utilitas) หมายถึง การสนองประโยชน์ และ การบรรลุประโยชน์แห่งเจตนา รวมถึง ปรัชญาของสถานที่นั้นๆ

[แก้] สถาปัตยกรรมไทย ตัวอย่างของสถาปัตยกรรมไทย ได้แก่   

เรือนไทย ซึ่งมีรูปแบบแตกต่างกันในแต่ละภาค วัดไทย รวมถึง อุโบสถ วิหาร หอระฆัง เจดีย์ พระราชวัง ป้อมปราการ

ดนตรี จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา


โน้ตเพลง ดนตรี (อังกฤษ: music) คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรม ศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทานองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้านศิลปะได้แล้ว ยัง สามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงานพิธีการต่าง ๆ ได้[1]

[แก้] ประโยชน์ของเสียงดนตรี พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาด้านอารมณ์ พัฒนาด้านภาษา พัฒนาด้านร่างกาย พัฒนาด้านปัญญา พัฒนาด้านความเป็นเอกบุคคล พัฒนาด้านสุนทรีย์

      

คุณค่าและความหมาย ของศิลปะ 

ศิลปะเป็นคาที่มีความหมายทั้งกว้างและจาเพาะเจาะจง ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ทัศนะของแต่ละคน แต่ละสมัยที่จะกาหนดแนวความคิดของศิลปะให้แตกกต่างกันออกไป หรือแล้วแต่ว่าจะมีใคร นาคาว่า "ศิลปะ" นี้ไปใช้ในแวดวงที่กว้างหรือจากัดอย่างไร

ศิลปะ เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ในสมัยโบราณ นักปราชญ์ได้ให้ความหมายของศิลปะ (Art) ไว้ว่า ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ไม่ได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เพราะฉะนั้น ต้นไม้ ภูเขา


ทะเล น้าตก ความงดงามต่าง ๆ ตามธรรมชาติจึงไม่เป็นศิลปะ ดอกไม้ที่เห็นว่าสวยสดงดงามนักหนา ก็ไม่ได้เป็นศิลปะเลย ถ้า หากเรายึดถือตามความหมายนี้แล้ว สิ่งที่มนุษย์สร้างสร้างขึ้นทั้งหลาย ก็ล้วนแล้วแต่เป็นศิลปะ ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น ภาพวาด ภาพพิมพ์ งานปั้น งานแกะสลัก เสื้อผ้าอาภรณ์ เครื่องประดับ ที่อยู่อาศัย ยานพาหนะ เครื่องใช้สอย ตลอดจนถึงอาวุธที่ใช้รบราฆ่าฟันกัน ก็ล้วนแต่เป็นศิลปะ ทั้งสิ้นไม่ว่ามนุษย์สร้างสิ่งที่ดีงาม เลิศหรูอลังการ หรือน่าเกลียดน่าชังอย่างไรก็ตาม ล้วนแต่เป็น งานศิลปะอย่างนั้นหรือไม่ ?

ศิลปะเป็นผลงานการสร้างสรรค์ ในสมัยต่อมา มีผู้ให้ความหมายของศิลปะว่า ศิลปะเป็นผลงานการสร้างสรรค์ ซึ่งในความหมาย นี้ เราต้องมาตีความหมายของคาว่า "การสร้างสรรค์" กัน เสียก่อน การสร้างสรรค์ หรือที่ภาษา อังกฤษเรียกว่า "Cerative" นั้น คือ การทาให้เกิดบางสิ่งบางอย่าง ขึ้นมา ซึ่งบางสิ่งบางอย่างนั้น ไม่เคยมีอยู่มาก่อน ทั้งที่เป็นผลิตผล หรือกระบวนการ หรือ ความคิด ดังนั้น สิ่งที่จะเป็นงานสร้าง สรรค์ได้จะต้องเป็นประดิษฐ์กรรมใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนใน โลก หรือเป็นกระบวนการใหม่ ๆ ที่ สร้างขึ้นมาเพื่อกระทาการบางสิ่งบางอย่างให้ประสบ ผลสาเร็จ หรือเป็นการสร้างแนวคิดใหม่ ที่จะนาไปสู่วิธีการใหม่ ๆ แนวคิดใหม่ ๆ นี้เองที่เป็น จุดเริ่มต้นของการสร้างสรรค์ เพราะแนวคิด ใหม่ จะนาไปสู่การพัฒนากระบวนการ หรือวิธีการใหม่ ๆ ที่ จะนาไปสู่ผลผลิตหรือประดิษฐ์กรรม


ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นมาในโลก และตอบสนองความต้องการในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อแทนที่ ผลผลิต หรือประดิษฐ์กรรมเดิม ที่ตอบสนองได้ไม่พอเพียง หรือไม่เป็นที่พอใจ การสร้างสรรค์ใน อีกความหมายหนึ่งจึงเกิดขึ้น คือ เป็นการทาให้ดีขึ้นกว่าเดิม ซึ่งมีหลาย ๆ วิธี โดยอาจเป็นการปรับ ปรุงกระบวนการใหม่ ให้ได้ผลผลิตมากกว่าเดิม หรือเป็นการปรับปรุงรูปแบบผลผลิตใหม่ โดยใช้ วิธีการเดิม แต่ผลผลิตมีคุณภาพมากขึ้น แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด ๆ ก็ตาม เป็นการกระทาให้เกิดขึ้น จากการใช้แนวคิดแบบใหม่ ๆ ทั้งสิ้น และเป็นผลของวิธีการคิดที่เรียกว่า "ความคิดสร้างสรรค์" ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่อยู่ในมนุษย์ทุกคน และสามารถพัฒนาให้ เกิดขึ้นได้โดยอาศัยสภาพ แวดล้อมที่เหมาะสมและบรรยากาศที่เอื้ออานวย ความคิดสร้างสรรค์ เป็นความคิดที่เกี่ยวข้องกับงาน ศิลปะอย่างแยกกันไม่ออก หรืออาจกล่าวได้ว่า ศิลปะเป็นผลงานจาก ความคิดสร้างสรรค์ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า ศิลปะเป็นผลจากความคิดสร้างสรรค์ ดังนั้น สิ่งใดก็ตามที่มีความคิดสร้าง สรรค์ ก็สามารถสร้างงานศิลปะได้ จากตอนต้นที่กล่าวว่า ศิลปะเป็น สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น แสดงว่า มนุษย์เป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถสร้างงานศิลปะได้ แต่ นอกเหนือจากมนุษย์แล้วจะยัง มีสิ่งอื่น ๆ อีก หรือไม่ที่มี ความคิด สร้างสรรค์ จ าก ประวัติศาสตร์ ของ มนุษย์ และ การศึกษา ค้นคว้า ทาง วิทยาศาสตร์ เราจะพบว่าสัตว์โลกหลาย ๆ ชนิดมีความคิด รู้จักความรักและมีสัญชาตญาณ แต่สิ่ง เหล่านั้นจะจัดเป็นความคิดสร้างสรรค์หรือไม่ สัตว์ทั้งหลายสามารถสร้างหรือกระทาสิ่งใหม่ ๆ เพื่อ ตอบสนองความต้องการได้ดีกว่าเดิมหรือไม่ รู้จักพัฒนาแนวคิด กระบวนการ และผลผลิตให้ดีกว่าเดิมหรือไม่ ? หากเราจะเปรียบเทียบย้อนหลังไปเมื่อหลายหมื่น- แสนปีก่อนหน้านี้ เมื่อมนุษย์ยังอยู่ ในถ้า ยังไม่สรวมเสื้อผ้า เก็บผลไม้กินหรือไล่จับสัตว์กินเป็นอาหารซึ่งมีชีวิตไม่ต่างจากสัตว์ทั้งหลาย ในทุกวันนี้ แต่ปัจจุบัน มนุษย์มีบ้านอยู่สบาย มีเครื่องแต่งกายสวยงาม มีสิ่งอานวยความสะดวก มาก มาย สามารถไปได้ทั้งบนน้า ในน้า ในอากาศและอวกาศ มีเมือง มีระบบสังคม มีระเบียบปฏิบัติร่วม


กัน มีกระบวนการพัฒนามนุษย์ที่จะสืบทอดดารงเผ่าพันธุ์ต่อไป มีจริยศาสตร์ มีศาสนาและพิธีกรรม มีรูปแบบการดารงชีวิตที่แตกต่างกันอย่างหลาหลาย กระจายไปทั่วโลก ขณะที่สัตว์โลกอื่น ๆ ยังคง ดารงชีวิตอยู่เดิม ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก ข้อแตกต่างนี้ บางทีอาจเป็นสิ่งพิสูจน์ได้ว่า มนุษย์ เป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ เพียงหนึ่งเดียวบนโลกนี้ ดังนั้น ศิลปะจึงเป็นเรื่องของมนุษย์ สร้างขึ้น โดยมนุษย์ และเพื่อมนุษย์เท่านั้น จากข้อความข้างต้นที่กล่าวมา เราอาจสรุปได้ว่า ศิลปะเป็นสิ่งที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งในความหมายเช่นนี้ แสดงว่า สิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์คิดค้นกระทาขึ้นมา ทั้งที่เป็นการกระทาใหม่ ๆ หรือเป็นการกระทาสิ่งต่าง ๆให้ดีขึ้นกว่าเดิมล้วนแต่เป็นงานศิลปะทั้งสิ้น อย่างนั้นหรือไม่ ? ถ้าเป็น อย่างนั้น แนวคิดใหม่ ๆ วิธีการใหม่ ๆ ประดิษฐ์กรรมใหม่ ๆ ความเชื่อใหม่ ๆ ศาสนาใหม่ ๆ ตลอด จนถึงการดารงชีวิตแบบใหม่ อาวุธใหม่ ๆ การสร้างความหายนะให้กับผู้อื่นด้วยวิธีการใหม่ ๆ ก็เป็น ศิลปะอย่างนั้นหรือ ? การทาลายล้างด้วยอาวุธใหม่ ๆ รวดเร็ว รุนแรง สร้างความเสียหายใหญ่หลวง จะถูกยกย่องว่าเป็นผลงานศิลปะชั้นเยี่ยมหรือไม่ ?

ศิลปะคือความงาม เมื่อเราพูดถึง ศิลปะ เรามักจะหมายถึง ความงาม แต่ความงามใน ที่นี้เป็นเรื่องของคุณค่า (Value) ที่ เป็นคุณค่าทางสุนทรียะ แตกต่างจากคุณค่าทางเศรษฐกิจ ที่เป็นราคา ของวัตถุ แต่เป็นคุณค่าต่อจิตใจ ความงามเกิดขึ้นด้วยอารมณ์ มิใช่ด้วยเหตุผล ความคิด หรือ ข้อเท็จจริง คนที่เคร่งครัดต่อเหตุผลหรือ เพ่งเล็งไปที่คุณค่าทางวัตถุจะไม่เห็นความงาม คนที่มีอารมณ์ ละเอียดอ่อนไหว จะสัมผัสความงามได้ ง่ายและรับได้มาก ความงามให้ความยินดี ให้ความพอใจได้ทันที โดยไม่ต้องมีเหตุผล ความยินดีนั้น


เกิดขึ้นเองโดยไม่มีการบังคับ ความงามนั้นเกี่ยวข้องกับวัตถุก็จริง แต่มิได้เริ่มที่วัตถุ มันเริ่มที่อารมณ์ ของคน ดังนั้น ความงามจึงเป็นอารมณ์ เป็นสุขารมณ์หรือเป็นอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความสุน เป็น1 ใน 3 สิ่งที่ก่อให้เกิดความสุขกับมนุษย์ ซึ่งได้แก่ ความดี ความงาม และความจริง ผู้ที่ยอมรับและเห็นใน คุณค่าของทั้งสามสิ่งนี้ จะเป็นผู้มีความสุข เนื่องจากความงามเป็นอารมณ์ เป็นสิ่งที่อยู่ในความรู้สึก นึกคิด ความงามจึงเป็นนามธรรม ดังนั้น การสร้างสรรค์งานศิลปะ ก็เป็นการถ่ายทอดความงามผ่าน สื่อวัสดุต่าง ๆ ออกมา เพื่อให้ผู้อื่นได้สัมผัส ได้พบเห็น ได้รับรู้ สื่อต่าง ๆ จะเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ชม เกิดอารมณ์ทางความงามที่แตกต่างกันตามค่านิยมของแต่ละบุคคล ความงามไม่ใช่ศิลปะ เนื่องจากว่า ความงามไม่จาเป็นต้องเกิดจากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ในธรรมชาติก็มีความงามเช่นกัน เช่น บรรยากาศ ขณะที่พระอาทิตย์ขึ้น หรือตกดิน ความสวยงามสดชื่นของดอกไม้ ทิวทัศน์ธรรมชาติต่าง ๆ เป็นต้น งานศิลปะที่ดีจะให้ความพึงพอใจในความงามแก่ผู้ชมในขั้นแรก และจะให้ความสะเทือนใจที่คลี่ คลายกว้างขวางยิ่งขึ้นด้วยอารมณ์ทางสุนทรียะของผลงานศิลปะนั้นในขั้นต่อไป ความงามในงาน ศิลปะออกเป็น 2 ประเภท คือ 1 ความงามทางกาย (Physical Beauty) เป็นความงาม ของรูปทรง ที่กาหนดเรื่องราว หรือเกิดจาก การ ประสานกลมกลืนกัน ของทัศนธาตุ เป็นผลจากการจัดองค์ประกอบ ทางศิลปะ 2 ความงามทางใจ (Moral Beauty) ได้แก่ ความรู้สึก หรืออารมณ์ ที่แสดงออกมาจากงานศิลปะหรือ ที่ผู้ชม สัมผัสได้จาก งานศิลปะนั้น ๆ ในงานศิลปะชิ้นหนึ่ง ๆ มีความงามทั้ง 2 ประเภทอยู่ร่วมกัน แต่อาจแสดงออกอย่างใดอย่างหนึ่ง มากน้อยขึ้นอยู่กับประเภท ของงาน เจตนาของผู้สร้างและการรับรู้ของผู้ชมด้วย ความงามในศิลปะ เป็นการสร้างสรรค์ล้วน ๆ ไม่เกี่ยวข้องกับความงามวัตถุในธรรมชาติ เป็นความงามที่ แสดงออกได้ แม้ในสิ่งที่น่าเกลียด หัวข้อ เรื่องราว หรือเนื้อหาที่ใช้สร้างงานนั้นอาจน่าเกลียด แต่เมื่อเสร็จแล้ว ก็ยังปรากฎความ งาม ที่เกิดจากอารมณ์ที่ศิลปินแสดงออก ดังนั้น ความงามจึงเป็นศาสตร์อย่างหนึ่ง ที่ว่าด้วยความงามที่ศิลปินแสดงออก ในงาน ศิลปะ ซึ่งเรียกว่า "สุนทรียศาสตร์" มีข้อความที่ใช้กัน มาตั้งแต่สมัยเรอเนซองค์จนถึงทุกวันนี้ว่า "ศิลปะมิได้จาลองความงาม แต่สร้างความงามขึ้น" ดังนั้น จึงอาจสรุปได้ว่า "ศิลปะเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดความงาม และความ


พึงพอใจ" ที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์สืบเนื่องกันมาตั้งแต่อดีตอันยาวนานจนถึงปัจจุบัน และจะสร้างสรรค์สืบต่อไปในอนาคตให้ อยู่คู่กับเผ่าพันธุ์มนุษย์ ไปตราบนานเท่านาน โดยมีการ สร้างสรรค์ พัฒนารูปแบบต่าง ๆ ออกไปอย่างมากมายไม่มีที่สิ้นสุด

ศิลปะในความหมายต่าง ๆ ศิลปะ แต่เดิมหมายถึง งานช่างฝีมือ เป็นงานที่มนุษย์ใช้สติปัญญาสร้างสรรค์ขึ้นด้วย ความประณีตวิจิตรบรรจง ฉะนั้น งานศิลปะจึงไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่เป็น ผลงานที่มนุษย์ใช้ปัญญา ความศรัทธา และความพากเพียรพยายามสร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่ คาว่า Art ตามแนวสากลนั้น มาจากคา Arti และ Arte ซึ่งเริ่มใช้ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ความหมายของคา Arti นั้น หมายถึงกลุ่มช่างฝีมือในศตวรรษที่ 14 , 15 และ 16 คา Arte มีความหมายถึงฝีมือ ซึง่ รวมถึงความรู้ของการใช้วัสดุของศิลปิน ด้วย เช่นการ การผสมสี ลงพื้นสาหรับการเขียนภาพสีน้ามัน หรือการเตรียมและการใช้วัสดุอื่นอีก การจากัดความให้แน่นอนลงไปว่าศิลปะคืออะไรนั้น เป็นเรื่องยาก เพราะว่า ศิลปะเป็นงานสร้างสรรค์ ศิลปินมีหน้าที่ สร้างงานที่มีแนวคิดและรูปแบบแปลกใหม่อยู่ตลอดเวลา ทฤษฎีศิลปะในสมัยหนึ่งอาจ ขัดแย้งกับของอีกสมัยหนึ่งอย่างตรงกันข้าม และทฤษฎีเหล่านั้นก็ล้วนเกิดขึ้นภายหลังผลงานสร้างสรรค์ ที่เปลี่ยนแปลงและก้าวล้าหน้าไปก่อนแล้วทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม ทัศนะเกี่ยวกับ ความหมายของศิลปะ ได้ถูกกาหนดตามการรับรู้ และตามแนวคิดต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง โดย บุคคลต่าง ๆ ซึ่งพอยกตัวอย่างได้ดังนี้

ประวัติศาสตร์ศิลปะ อารยธรรมของมนุษย์ดาเนินมาอย่างยาวนาน มีวิวัฒนาการมาเรื่อย เราอาจจะศึกษา ประวัติศาสตร์ได้จากบันทึกทางตัวอักษร แต่ไม่เสมอไป บางยุคบางสมัย ไม่พบหลักฐานในการใช้ ตัวหนังสือ บางยุคก็เป็นอักษรโบราณที่คนปัจจุบันอ่านไม่ออกแล้ว ดังนั้น การศึกษาประวัติศาสตร์จึงทาได้ อีกทางหนึ่ง นั่นคือ ศึกษาจากหลักฐานทางด้าน ศิลปกรรม เพราะงานศิลปะ เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิต มนุษย์โดยแท้จริง มนุษย์นาศิลปะ มาใช้เพื่อประโยชน์ในการดารงชีวิต ความเชื่อทางศาสนา และการ ตกแต่งประดับประดาเพื่อความสวยงาม หรือแม้กระทั่งความรื่นรมย์ ยุค ก่อนประวัติศาสตร์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ก็คือ ยุคที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษรใช้กัน ได้แก่ ยุคหิน และยุคโลหะ ศิลปกรรมในยุคนี้สร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลใจทางด้านความเชื่อ และสัญชาตญาณ ในระยะแรก ๆ จะเป็น การเลียนแบบธรรมชาติ แล้วต่อมาก็ค่อย ๆ เพิ่มความคิดสร้างสรรค์ของตนลงไป งานทางด้านจิตรกรรมจะปรากฏอยู่ตามฝาผนังถ้า มีทั้งรูปมือ รูปคน รูปลายเรขาคณิต แต่ที่โดด เด่นที่สุดเห็นจะเป็นรูปสัตว์


ด้านประติมากรรม ส่วนใหญ่จะทาขึ้นมาเพื่อประโยชน์ใช้สอย เช่น พวกภาชนะใส่ของ ใบมีดที่ทา จากเปลือกหอยน้าจืด ขวานกาปั้นซึ่งทาจากหิน อาวุธต่าง ๆ ที่ทาจากกระดูกสัตว์ อาทิ ลูกศร ปลายหอก ฉมวก แต่ก็พบรูปแกะสลักหินอยู่เหมือนกัน เชื่อว่าสร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลั กษณ์แห่งความสมบูรณ์ หรือเพื่อ ขอบุตร รูปสลักที่มีชื่อเสียงคือ วีนัสแห่งวิลเลนดอร์ฟ (ออสเตรีย) วีนัสแห่งเวสโทนิค (เชก) และวีนัสแห่งลอเซล (ฝรั่งเศส) สถาปัตยกรรมคงเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่สุด น่าฉงนฉงายเป็นที่สุด เพราะไม่มีใครทราบคาตอบที่แน่ ชัดว่าสร้างขึ้นเพื่ออะไร มีแต่การคาดเดาไปต่างๆนานา สถาปัตยกรรมได้แก่ พวกหินตั้ง (Menhir) เป็นหินก้อนเดียวโดด ๆ วางตั้งอยู่ โต๊ะหิน (Stone hence) ประกอบด้วยหินสองแท่งหรือมากกว่าวางตั้งอยู่ และมีหินก้อนวางพาดอยู่ ข้างบน โครงสร้างลักษณะนี้เรียกว่าโครงสร้างแบบวางพาด ซึ่งจะพบได้ในสถาปัตยกรรมในยุคต่อ ๆ มา หินตั้งล้อม (Stone circle) ประกอบด้วย โต๊ะหินต่อเนื่องกันล้อมเป็นวงกลม Alignments คือ หินตั้งเรียงกันเป็นแถวยาว ยุค อียิปต์ ในยุคอิยิปต์มีตัวอักษรใช้กันแล้ว เรียกว่า อักษรภาพ ดังนั้นจึงจัดอยู่ในยุคประวัติศาสตร์ ศิลปกรรมของชาวอิยิปต์สะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนว่า สร้างขึ้นตามแรงบันดาลใจทางศาสนาและความเชื่อ ศิลปกรรมมีลักษณะมั่นคง ถาวร ดังจะให้คงอยู่จวบจนถึงวันสิ้นโลกอะไรอย่างนั้น ยุคนี้มีสถาปัตยกรรมที่ โดดเด่นมาก คงไม่มีใครไม่รู้จักปิรามิด ปิรามิดที่พบมักจะสร้างเพื่อเก็บ สมบัติและพระศพของฟาโรห์ ซึ่งก็ คือผู้ปกครองประเทศนั่นเอง (มีนักวิชาการบางท่านบอกว่าจุดประสงค์ที่แท้จริงของปิรามิดไม่ได้มีไว้เพื่อฝัง ศพ) แต่ก่อนที่จะมีปิรามิดนั้นยังมี มาสตาบา มาก่อน และนี่แหละคือที่ฝังศพที่เก่าแก่ที่สุด ก่อนที่จะเปลี่ยน มาเป็นปิรามิด นอกจากนี้ยังมีโบสถ์ วิหารสร้างตามภูเขา และใช้โครงสร้างแบบวางพาด ด้านประติมากรรมก็เป็นรูปแกะสลักรูปบุคคลที่เคารพนับถือ ทาไว้เพื่อเคารพบูชา จะใช้วัสดุที่ ทนทานมีคุณค่า ส่วนงานทางด้านจิตรกรรมก็เป็นงานตกแต่งสุสานฝังศพ ทั้งบนหีบศพและตามผนังต่างๆ


แสดงเรื่องราวพิธีกรรมทางศาสนา จนถึงชีวิตความเป็นอยู่ ลักษณะการจัดวางภาพคนจะแสดงให้เห็นทั้ง ด้านหน้าและด้านข้างในเวลาเดียวกัน คือ เห็นลาตัวด้านหน้า แต่ใบหน้า แขน ขา แสดงให้เห็นด้านข้าง อัน เป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นอย่างหนึ่งของศิลปะอิยิปต์ ชนชาวอิยิปต์มีความสามารถในการประดิษฐ์ตกแต่ง เครื่องประดับ รู้จักทาน้ายาเคลือบ รู้จักลงยา และนาลวดลายตามธรรมชาติมาดัดแปลง ประกอบอย่าง เหมาะสม ยุค เมโสโปเตเมีย อาณาจักรนี้ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้าไทกริสและยูเฟรติส ประกอบด้วยชนชาติ ซูเมอเรียน บาบิโลเนีย แอสสิเรีย และเปอร์เซีย ตามลาดับ เริ่มจากซูเมอเรียนและบ าบิโลเนีย ชนกลุ่มนี้เป็นพวกที่วางรากฐาน ความเจริญด้านวัฒนธรรมไว้มากมาย พวกเขารู้จักสร้างกาแพงเมือง (อาจเป็นเพราะมีการสู้รบกันบ่อย) และทานบกั้นน้า มีความสามารถในการเพาะปลูก เมโสโปเตเมียแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนบนคือแอสสิเรีย ส่วนล่างคือบาบิโลน ซึ่งอุดมสมบูรณ์ก ว่าตอนบน เนื่องจากในดินแดนแห่งนี้ประกอบด้วยผู้คนหลาย เผ่าพันธุ์ ต่างความคิด ต่างความเชื่อ จึงมีการสู้รบแย่งชิงอานาจอยู่บ่อยครั้ ง ศิลปกรรมมีความสอดคล้องกับความเชื่อ พวกเขาเชื่อในอานาจของพระเจ้าตามธรรมชาติ เคารพ ดวงดาว แม่น้า ปรากฏการณ์อื่น ๆ ที่หาคาตอบไม่ได้ ในขณะเดียวกันก็เชื่อในสิ่งที่มีเหตุผลด้วยเหมือนกัน งานด้านสถาปัตยกรรมมักสร้างให้สูงใหญ่เหมือนภูเขา นิยมประดับแก้วหินในสถาปัตยกรรมนัน้ ๆ ด้วย สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นได้แก่ ซิกกูรัตแห่งเมืองอูร์ ประติมากรรมมีทั้งแบบนูนต่า นูนสูง และ ลอยตัว ส่วนมากเกี่ยวกับเรื่ องราวกิจกรรมของพระมหากษัตริย์ มีการประดับเปลือกหอย หินสี มี ความสามารถในการแสดงออกและเลือกวัสดุได้อย่างเหมาะสม งานจิตรกรรม เขียนง่าย ๆ ไม่เน้น รายละเอียดไม่มีแสงเงา มีความคล้ายคลึงกับอิยิปต์อยู่เหมือนกันตรงการจัดวาง คือ ภาพหน้าคน แขน ขา จะหันข้างแต่ลาตัวหันด้านหน้า นอกจากนี้พวกเขายังมีอักษรใช้เช่นกัน อักษรของพวกเขาเรียกว่าอักษรลิ่ม ยุค กรีก ศิลปกรรมของกรีกจะยึดมั่นในเหตุผลและความสมบูรณ์ของมนุษย์ ต่างจากพวกอิยิปต์และเมโส โปเตเมียที่ใช้ศิลปกรรมไปในทางบูชา เซ่นสรวง เกี่ยวกับศาสนา พวกกรีกถือว่า ร่างกายของมนุษย์เป็ น ความงามตามธรรมชาติดุจเช่นเดียวกับภูเขา ต้นไม้ สายน้า ดังนั้น ศิลปกรรมของชาวกรีกจึงแสดงถึงความ สมบูรณ์ของร่างกายมนุษย์อย่างชัดเจน งานประติมากรรมภาพคนจะแสดงให้เห็นถึงกล้ามเนื้อและอวัยวะ ต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ที่สุด ปราศจากเครื่องนุ่มห่ม


ด้านสถาปัตยกรรม แรก ๆ นิยม เอาไม้มาเป็นวัสดุก่อสร้าง สถาปัตยกรรมของชาวกรีกจะมีไว้รับ ใช้สังคมเป็นส่วนมาก เช่น สถานแสดงกีฬา โรงละคร วิหาร ลักษณะการตกแต่งภายนอกได้แก่หัวเสานั้น มี อยู่ด้วยกัน 3 แบบ ดังนี้ 1. ดอริค มีลักษณะใหญ่ ทรงป้อม 2. ไอโอนิค ลักษณะชะลูด ทรงสูง 3. โครินเธียน มีลักษณะคล้ายทรงของพืช งานด้านจิตรกรรมพบได้บนผนังต่างๆ และบนภาชนะ มีลักษณะเด่นๆคือ 1. แสดงความรู้สึกตื้นลึกด้วยการเขียนซ้อนกั น 2. ใช้สีจากัดและแบน 3. ใช้ลวดลายประกอบกิจกรรมรูปคน 4. เรื่องราวของภาพประกอบในไหเป็นเรื่อง อิเลียดและโอดิสซี แบ่งเป็นตอนๆ 5. นิยมใช้สีดาและสีแดงเขียนด้วยน้ายาเคลือ บ 6. ลักษณะง่าย ชัดเจน

ยุค อีทัสคัน และโรมัน อิทรัสคัน เป็นชนชาติที่อยู่บนแหลมอิตาลี พวกเขามีความเป็นนักรบชั้นยอดในขณะเดียวกันก็เป็น ศิลปินชั้นเยี่ยมด้วย ลักษณะงานทาง สถาปัตยกรรมนิยมวางผังเป็นรูปแบบสี่เหลี่ยมง่าย ๆ ใช้ โครงสร้าง แบบวางพาด (อีกเช่นเคย) มีการนาอิฐมาก่อสร้าง มีการสร้างท่อส่งน้า ท่อระบายน้า ภายหลังพัฒนาจนมี ประตูโค้ง เพดานโค้ง มีการเปลี่ยนแปลงหัวเสามาเป็นแบบของตัวเอง เรียกว่า ทัสคัน งานประติมากรรมมีการเน้นส่วนละเอียด เน้นรูปทรงตามวัสดุ ชานาญการหล่อโลหะโดยเฉพ าะ โลหะสาริด ส่วนงานด้าน จิตรกรรมมีลักษณะเป็นสีแบน เขียนตามผนังประดับที่ฝังศพ ได้รับอิทธิพลมา จากกรีก และอิยิปต์


เมื่ออิทรัสคันเสื่อมอานาจลง พวกโรมันก็เรืองอานาจและเข้าปกครองแหลมอิตาลีแทน โรมันอาจได้ ชื่อว่ายิ่งใหญ่ทางการทหาร แต่ทางด้าน ศิลปกรรมกลับอยู่ภายใต้อิทธิพลของกรีกและอิทรัสคัน ศิลปะของ พวกโรมันคานึงถึงประโยชน์ใช้สอยต่อสาธารณชนมากกว่าความงดงาม สถาปัตยกรรมของพวกเขามีลักษณะโค้ง เป็นโดม รับกับคาน มีการผสมผสานหัวเสาแบบไอโอ นิคกับโครินเธียนเข้าด้วยกัน เป็นหัวเสาแบบคอมโพสิท และยังคิดหัวเสาแบบทัสแคน (ซึ่งคล้ายๆกับหัว เสาดอริค) ขึ้นมาอีกด้วย พวกเขามีโฟรุม คือจัตุรัสที่พบปะและสังสรรค์ของประชาชนทางกฎหมายและธุรกิจต่าง ๆ มีบาสิลิกา เป็นอาคารขนาดใหญ่ ใช้เป็นศาลยุติธรรมหรือประกอบพิธีกรรมต่างๆ มีโคลอสเซียม เป็นสนามกีฬา มีโรงละคร และสถานที่อาบน้า มีการสร้างท่อลาเลียงน้า มี ประตูชัย สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นอีกอย่างก็คือ วิหารแพนธีออน สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้าโรมั น ประติมากรรมของโรมันมีความสาคัญในฐานะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความรู้สึกบน ใบหน้าคนจะแสดงออกได้ดีกว่ากรีก แต่โดยภาพรวมทั้งหมดงานของกรีกจะดูสมบูรณ์แบบกว่า งาน ทางด้านจิตรกรรมใช้ตกแต่งสถาปัตยกรรม มีทั้งภาพระบายสีและงานประดับโมเสค มีการสร้างภาพลวงให้ มีระยะใกล้ไกล มีแสงและเงา ยุค กลาง ยุคกลางนี้บางครั้งก็จะเรียกว่า ยุคมืด นั่นเพราะว่ายังไม่ได้มีการค้นพบลักษณะเด่นๆมากนัก สถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงคือ วิหารเซนต์มาร์ติน ในฝรั่งเศส ซึ่งแสดงว่ายังใช้โครงสร้างแบบวางพาดอยู่ สถาปัตยกรรมที่เป็นส่วนบุคคลมักจะสร้างให้ใหญ่โต มีกาแพงสูงและหนา มั่นคงแข็งแรง พยายามสร้าง ความสมบูรณ์ของชีวิตมากที่สุด ด้านประติมากรรมสร้างเพื่อตกแต่งผนัง ไม่ นิยมสัดส่วนตามธรรมชาติ ด้านจิตรกรรมยังคงเป็น ภาพผนัง มีภาพคนเหมือนบ้าง และมีการจัดทาเอกสารประกอบภาพเขียนระบายสีอย่างงดงาม ยุคกลางนี้ บ้างก็แบ่งสมัยตามกษัตริย์ที่มีอานาจปกครอง เป็นสมัยคาโรลิงเจียน สมัยออตโตเนียน และสมัยโรมาเนสค์ ยุค โกธิค นักวิจารณ์ในยุคฟื้นฟูเห็นว่ายุคนี้เป็นความต่าต้อย ขาดรสนิยมทางศิลปะ เมื่อนาไปเปรียบเทียบ กับกรีก และโรมัน แต่พวกศิลปินเห็นว่านี่เป็นศิลปะแบบใหม่ที่มีแบบเฉพาะของตัวเอง เป็นสิ่งที่น่าชื่นชม


สถาปัตยกรรมนิยมสร้างให้มีรูปทรงสูงชะลูด ใช้โค้งหลังคาแบบต่าง ๆ เพื่อเฉลี่ยน้าหนักของ หลังคาลงบนเสา และผนัง ประติมากรรมส่วนใหญ่ สร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการประกอบสถาปัตยกรรม อีกที เป็นเรื่องราวทางศาสนาและมีลักษณะสูงชะลูด เป็นแบบลอยตัวยื่นออกมาจากผนังหรือกาแพ ง งานจิตรกรรมส่วนใหญ่เป็นการเขียนภาพประกอบหนังสือ และที่โดดเด่นเห็นจะเป็นการเขียน ภาพบนกระจกสี เรียกว่า Stained glass ประดับบริเวณเหนือประตู หน้าต่าง เพื่อให้แสงส่องผ่าน งาน จิตรกรรมในยุคนี้ใช้สีสดใส สว่าง มีลายเส้นวิจิตร และมีองค์ประกอบง่าย ๆ แต่ดึงดูดใจมาก สมัย ฟื้นฟู ในยุคนี้มีศูนย์กลางอยู่ที่อิตาลี เป็นการนา ศิลปะของกรีก และโรมันมาปัดฝุ่นใหม่ อีกทั้งยังมี การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาการด้านอื่นๆทุกแขนง ด้วยความเชื่อที่ว่า มนุษย์คือศูนย์กลางของจักรวาล เป็นผู้ควบคุมธรรมชาติ ยึดมั่นในเหตุผล และถือว่าคุณค่าของมนุษย์อยู่ที่ความรู้ ความคิด ความสามารถ ของตนเอง สถาปัตรยกรรมนาเอาหลังคาโค้ง เสาแบบต่าง ๆ ของกรีกมาปรับปรุง ทาให้มีลักษณะเฉพาะขึ้น ประติมากรรมก็เช่นเดียวกัน และมักสร้างขึ้นประกอบสถาปัตยกรรม จิตรกรรมสมัยนี้เน้นเรื่องราวของชีวิตและสิ่งแวดล้อม ภาพคนจะมีความโดดเด่นเป็นประธานของ ภาพ ด้านหลังอาจจะเป็นภาพภายในตัวอาคาร หรือไม่ก็ภูมิ ประเทศ มีการใช้แสงเงาที่เหมือนจริง เก็บ รายละเอียดของพื้นผิวต่าง ๆ ประณีตงดงาม ศิลปินที่มีชื่อเสียงได้แก่ Davinci , Michelangelo , Raphael เรียกว่า เป็นสามยอดอัจฉริยบุคคลที่ เกิดมาร่วมเมืองร่วมสมัยเดียวกัน สมัย บารอค ศิลปะแบบบารอคจะเน้นหนักไปทางธรรมชาติ แสด ซับซ้อน

งความอ่อนไหว มีลวดลายประดิษฐ์มาก

คาว่า บาโรค มาจากภาษาโปรตุเกส ที่แปลว่า รูปร่างของไข่มุกที่มีสัณฐานเบี้ยว เป็นคาที่ใช้เรียก ลักษณะงานสถาปัตยกรรม และจิตรกรรมที่มีการตกแต่งประดับประดา และให้ความรู้สึกอ่อนไหว หลังจากบารอคก็มีศิลปะแบบ รอคโคโค ตามมา มี ลักษณะคล้ายคลึงกับบาโรคเพียงแต่เน้นที่ ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น จิตรกรที่มีชื่อเสียงในยุคนี้ได้แก่ รูเบนส์ , เรมบรานด์ , เวลาสเควซ เป็นต้น


ศิลปะในแบบบาโรค และรอคโคโคนั้นใกล้เคียงกันมาก มีบางคนได้เปรียบเปรยว่า ถ้าบาโรค เหมือนกับบุรุษเพศที่มีความองอาจ สง่างาม รอค โคโคก็เหมือนกับสตรีเพศที่มีความงดงามที่นุ่มนวลและ อ่อนช้อย คากล่าวนี้คงจะพอทาให้เข้าใจถึงศิลปะทั้งสองแบบได้ดียิ่งขึ้ น สมัย คลาสสิก ในสมัยคลาสสิก เป็นยุคที่ยุโรปมีความตื่นตัวในเรื่องประชาธิปไตยเป็นอย่างมาก เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองโดยมีสงครามเป็นแรงผลักดั น ในทางปรัชญาถือว่ายุคนี้เป็นยุคแห่งเหตุผล (แม้ว่าหลาย ๆ คนจะเห็นว่าสงครามเป็นเรื่องไร้เหตุผลก็ตาม) ดังนั้นงานศิลปะในยุคนี้จึงเป็นงานที่เน้นทางด้านเหตุผลด้วยเช่นกั น Jacques Louis David จิตรกรผู้ที่ถือว่าเป็นผู้นาในศิลปะคลาสสิกนี้ กล่าวไว้ว่า ศิลปะคือดวง ประทีปของเหตุผล ลักษณะงานต้องมีความถูกต้องตามหลักกายวิภาค มีความคิดสร้างสรรค์ตามเรื่องราว ที่มีเหตุผล ให้ความสาคัญกับการจัดภาพ สมัยโรแมนติก แนวความคิดของศิลปะโรแมนติกนั้นต่างจากพวกคลาสสิกกันคนละขั้ว เพราะโรแมนติกยึดมั่นใน เรื่องของจิตใจ ถือว่าจิตเป็นตั วกาเนิดของตัณหา อารมณ์ ความรู้สึก ซึ่งเป็นความจริงของมนุษย์มากกว่า การยึดมั่นในเหตุผลตามแนวคิดของคลาสสิก พวกศิลปินเชื่อว่า ศิลปะสร้างสรรค์ตัวของมันเองได้ และต้อง มีคุณค่าทางอารมณ์มากกว่าเหตุผ ล ศิลปะต้องสร้างอารมณ์ร่วมระหว่างผู้เสพและผู้สร้าง มุ่งสร้างศิลปะเพื่ อให้กลมกลืนกับชีวิต มุ่งที่ ความ"กลายเป็น"ตัดกับความ"เป็นอยู่" งานทางด้านจิตรกรรมจะแสดงความตัดกันของน้าหนักแสงและเงา ใช้สีที่ตัดกัน จิตรกรที่สาคัญ ได้แก่ Theodore Gericault , Eugene Deracroix ในงานจิตรกรรมนี้เป็นช่วงเวลาระหว่างค.ศ.18201850 สมัย เรียลลิสม์ ศิลปะมักเปลี่ยนแปลงตัวเองให้กลมกลืนกับสภาพชีวิตในแต่ละยุคสมัย ศิลปะคลาสสิก และโรแมนติก ยังคงยึดแนวของกรีกและโรมันอยู่ไม่น้อ ย


ศิลปินรุ่นหลังเห็นว่า ศิลปะทั้งสองไม่ได้แสดงความกลมกลืนของชีวิต ยังคงลักษณะความเป็นอุดม คติอยู่ หาใช่ความจริงไม่ ดังนั้นการสร้างงานในยุคต่อมา ซึ่งเราเรียกกันว่า เรียลลิสม์ นั้น จึงสร้างงานตามสภาพความเป็น จริงศิลปินเชื่อว่าความงามอยู่ในทุกหนทุกแห่ง ไม่ว่าจะในที่เลิศหรูเช่นพระราชวัง หรือที่เรียบง่ายตามชนบท ก็ตาม อีกทั้งยังเชื่อกันว่าศิลปะนั้นสอนกันไม่ได้ เพราะศิลปะเป็นเรื่องเฉพาะตัวที่ แต่ละคนมีความสามารถ ต่างกัน ศิลปะ คือ การเลียนแบบตามตาเห็น ศิลปินควรบันทึกเหตุการณ์ที่เป็นความจริงในยุคสมัยของตน เอาไว้ ไม่ใช่สร้างงานแบบโบราณนิยม (ถือว่าเป็นการปฏิเสธแนวคลาสสิกและโรแมนติคอย่างเห็นได้ชัด ) ศิลปินอย่าง โกยา อยู่ในช่วงรอยต่อของโรแมนติก และเรียล ลิสม์ งานของเขาแสดงออกทั้งความ เป็นจริงและแสดงออกถึงความสะเทือนอารมณ์ (โรแมนติก) ไปพร้อม ๆ กัน โกยาให้ทัศนะคติไว้ว่า ใน ธรรมชาติไม่มีใครเห็นเส้น มีแต่รูปทรงที่สว่างและมืด ระนาบใกล้ ไกล กลวง และยื่นโปนออกมา ทัศนะ เช่นนี้จะปรากฏได้ชัดในงานยุคหลังถัดจากนี้ไ ป เนื่องด้วยในช่วงเวลานี้ยุโรปได้ตกอยู่ในสภาวะตกต่าทางเศรษฐกิจและสังคม ชนชั้นกรรมาชีพก็ เพิ่มมากขึ้น ศิลปินจึงสะท้อนภาพความลาบากของชนชั้นเหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมล้าในสังคม ศิลปินที่มีชื่อเสียงได้แก่ โดมิเยร์ , มิเลท์ , กูร์เบท์ สมัย อิมเพรสชั่นนิสม์ งานเรียลลิสม์ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ลามไปเหมือนไฟลามทุ่ง จนกลายเป็นแฟชั่นที่นิยม กันทั่วไปจนดูเฟ้อ ในขณะที่คนกาลังเริ่มเบื่อหน่ายพลันเกิดศิลปะแนวใหม่ขึ้นมา นั่นคือ ศิลปะอิมเพรสชั่น นิสม์ เป็นศิลปะที่เขียนภาพทิวทัศน์ได้อย่างสมจริงสมจังที่สุด กล่าวคือ สา มารถสะท้อนบรรยากาศ เวลา ความเคลื่อนไหวของผิวน้า อากาศ ออกมาได้เป็นอย่างดี แต่เทคนิคในการเขียนนั้นหยาบกระด้าง โชว์ฝี แปรงให้เห็นชัด ๆ โดยไม่มีการเกลี่ย ต่างจากการเขียนรูปในแบบเดิม ๆ อย่างสิ้นเชิง จนหลาย ๆ คนปรับตัว รับไม่ทัน อิมเพรสชั่นนิสม์ได้เข้าถึงจุดสุดยอดของเรื่องแสง ก่อนหน้านั้น ศิลปินจะสร้างภาพให้มีระยะตื้นลึก โดยใช้เส้นเป็นสื่อนาสายตา แต่ศิลปินกลุ่มนี้เพิ่มเติมมิติของอากาศลงไป พวกเขานาหลักทฤษฎีสี แสงอาทิตย์มาช่วยให้สีมีความกระจ่างสดใสมากขึ้น พวกเขาจะไม่ใช้สีดา เพราะถือว่าสีดาไม่มีในธรรมชาติ เน้นรูปทรงที่เกิดขึ้นด้วยแสงและเงา รวมทั้งแสงที่สะท้อน และเงาที่ตกทอดด้วย


ศิลปินจะถือธรรมชาติเป็นใหญ่ ขจัดความฝัน จินตนาการหรืออารมณ์ส่วนตัวออกไป ยึดหลัก ทฤษฎีสี เคารพสีแสงที่อยู่ต่อหน้า พยายามจับแสงสีในอากาศให้ได้สภาพของกาลเวลา มุ่งที่ความ ประทับใจในฉับพลัน สมัย โพสท์ – อิมเพรสชั่นนิสม์ หลังจากอิมเพรสชั่นนิสม์ ก็ยังมีโพสท์- อิมเพรสชั่นนิสม์ตามมา ศิลปินกลุ่มนี้ ได้เกิดปฏิกิริยาต่อ งานอิมเพรสชั่นนิสม์ พวกเขาทางานตามความคิด ความเชื่อมั่นของตนเอง ไม่มีความสัมพันธ์หรือจัดเป็น กลุ่ม (ออกจะทะเลาะกันด้วยซ้าไป) งานแตกต่างกันไปคนละอย่าง แต่ในความต่างนั้น มีความเหมือนอยู่ที่แนวความคิดในการค้นหา และเน้นความสาคัญของรูปทรง ใหม่ ๆ สีทุกสีย่อมมีคุณค่าในตัวของมันเอง ภาพจะต้องมีความเป็นเอกภาพ และที่สาคัญก็คือ มีการ แสดงออกของอารมณ์เฉพาะตน นักวิจารณ์ศิลปะผู้หนึ่งชื่อว่า โรเจ อร์ ฟราย ได้กล่าวไว้ว่า ศิลปินกลุ่มนี้ไม่ยอมรับความเชื่อในการ เขียนภาพให้มีรายละเอียด หรือการเลียนแบบธรรมชาติ ศิลปินกลุ่มนี้พยายามสร้างรูปทรงใหม่ขึ้นมา โดยที่ รูปทรงนั้นมีความสัมพันธ์ต่อชีวิตจริง มีการตัดทอนรูปทรงให้ง่ายขึ้น ภาพทุกภาพแทนที่จะบอกให้ผู้ดูทราบ ว่าเป็นภาพอะไร อยู่ที่ไหน กลับกระตุ้นผู้ดูให้รู้สึกอย่างไรแทน คล้ายกับมีความรู้สึกคล้อยตามเสียงดนตรี มากกว่าที่จะเข้าใจตามรูปถ่าย (ในสมัยนั้นมีการผลิตกล้องถ่ายรูปแล้ว จริง ๆผลิตมาตั้งแต่ช่วงโรแมนติค ตอนปลายนั่นแหละ) ศิลปินที่มีผลงานโดดเด่นได้แก่ พอล เซซานน์ (ผู้รับอิทธิพลแนวคิดมาจากโกยาแบบเต็มๆ) , วิน เซนต์ ฟาน กอห์ก , พอล โกแกง , ตูลูส โลแตรค สมัย นีโอ – อิมเพรสชั่นนิสม์ นีโออิมเพรสชั่นนิสม์ เป็นงานที่เกิดขึ้นจากแนวคิดทางทฤษฎีวิทยาศาสตร์ ซึ่งกล่าวถึงแสงว่าเป็น ทั้งพลังงานและอนุภาค นีโออิมเพรสชั่นนิสม์ใช้แนวคิดที่ ว่าแสงเป็นอนุภาค มาสร้างงานในลักษณะการ แต้มสีเป็นจุดเล็ก ๆ ลงบนภาพ โดยใช้สีบริสุทธิ์ที่ไม่มีการผสม แต่พวกเขาจะให้สีผสมกันที่สายตาผู้ดู เช่น ว่าถ้าต้องการสีเขียว เขาก็จะแต้มสีน้าเงินกับสีเหลืองคละเคล้ากัน แล้วสีทั้งสองก็จะมาผสมกันเป็นสีเขียวที่ สายตาเอง ผู้นาในแนวนี้ได้แก่ จอร์จ เซอราท์


ศิลปินที่ร่วมกลุ่มได้แก่ พอล ซียัค , แมกซีมิเลียน ลูซ , อองรี เอ็ดมองด์ กรอส พวกเขาเชื่อในทฤษฎี ของล็อกเคน รูด ที่บอกว่า การผสมสีในดวงตาจะเกิดผลให้ความสว่างสดใสยิ่งกว่าการผสมสีบนจานสี เป็น ที่น่าเสียดายที่ศิลปินกลุ่มนี้มีอายุเพี ยงเจ็ดปี เนื่องจากจอร์จ เซอราท์ผู้นากลุ่มได้เสียชีวิตลงนั่นเอง

สมัย โฟวิสม์ ณ งานแสดง ศิลปะที่ซาลงโดตอน ในปีค .ศ.1905 การแสดงครั้งนี้เป็นการแสดงผลงานที่คละเคล้า กันไประหว่างงานยุคเก่าและงานยุคใหม่ ในงานยุคเก่าคือ ผลงาน ประติมากรรมแบบ Renaissance ของ ศิลปินโดนาเตลโล กับงานยุคใหม่โดยจิตรกรร่วมสมัยในยุคนั้นซึ่งมีรูปแบบและสีสันที่รุนแรง ดุดัน อันเป็น ลักษณะตรงกันข้ามกับศิลปะ Renaissance เลยทีเดียว ดังนั้นเมื่อนักวิจารณ์ที่ชื่อ หลุยส์ โวเซลล์ได้เข้ามาชมงานจึงเกิดความรู้สึกว่า ผลงานของโดนาเตล โลอยู่ท่ามกลางสัตว์ป่า(fauv) ซึ่งสัตว์ป่าในที่นี้ หลุยส์ โวเซลล์หมายถึง ผลงานศิลปะร่วมสมัยที่แสดงอยู่ ร่วมกันนั่นเอง แม้เขาวิจารณ์ด้วยความรู้สึกกระแทกแดกดันมากกว่าชื่นชม แต่กลุ่มศิลปินเหล่านี้กลับเห็นดี เห็นงามกับคาวิจารณ์ของเขาไปเสียนี่ ดังนั้นพวกเขาจึงยินดีใช้ชื่อกลุ่ มว่า Fauvism ไปเสียเลย ศิลปะแนวนี้เกิดขึ้นที่ฝรั่งเศสโดย อองรี มาติสส์ คือผู้นาของกลุ่ม งานของพวกเขาเป็นการหา แนวทางใหม่ให้กับโลกศิลปะ ฉีกกฎเกณฑ์เก่า ๆ อันคร่าครึ สร้างงานตามสัญชาตญาณการแสดงออกอย่าง เต็มที่ ใช้สีสดใส รุนแรง มีลีลาสนุกสนาน มีการตัดเส้นอย่างเ ด่นชัด แม้ว่าจะใช้สีตัดกันอย่างรุนแรงแต่ก็เข้า กันได้อย่างประสานสัมพันธ์ ผลงานโดดเด่นที่ความคิดสร้างสรรค์ของศิลปินซึ่งแสดงออกอย่างเสรี มาติสส์ ได้รับแนวคิดจาก เซซานน์ ทางรูปทรงและความรู้สึก แล้วนามาปรับปรุงใหม่ "สิ่งที่ข้าพเจ้าฝันถึงคือ ศิลปะแห่งความสมดุล คว ามบริสุทธิ์และความสงบ โดยไม่พะวงถึงเรื่องราว ศิลปะที่ข้าพเจ้าต้องการเป็นศิลปะที่เหมาะสมสาหรับทุกคน ไม่ว่าจะอยู่ในอาชีพใด ศิลปะคล้ายกับเก้าอี้ โยกอย่างดีที่ให้ความสบาย คลายความเมื่อยล้าของร่างกายอย่างไรอย่างนั้น " "โลกภายนอกที่เห็นชัดเจนนี้มีอยู่ในจิตใจของศิล ปิน และความรู้สึกของสีขึ้นอยู่กับประสบการณ์ ความสัมพันธ์ของรูปและสีต้องสมดุลกันตามที่ศิลปินต้องการ" "ในการมองภาพจิตรกรรม ควรจะลืมเสียเถิดว่ามันเป็นเรื่องอะไร"


"นั่นไม่ใช่รูปผู้หญิง แต่เป็นรูปเขียนผู้หญิง " เหล่านี้ คือความคิดของ อองรี มาติสส์ ซึ่งทาให้เราได้ เห็นว่าเขาเป็นคนหัวก้าวหน้า กล้าคิด กล้าทาขนาดไหน มิหนาซ้ายังกล้าวิจารณ์งานในแบบ นีโอ- อิมเพรส ชั่นนิสม์อีกว่า การใช้สีแต้มจุดแบบนั้นเป็นเพียงกลวิธี หาใช่ความสุนทรีย์ไม่

สมัย เอ็กซเพรสชั่นนิสม์ ในช่วงเวลาเดียวกันกับที่ กลุ่มโฟวิสม์ อุบัติขึ้นที่ฝรั่งเศสนั้น ที่เยอรมัน ก็มีกลุ่มเอ็กซเพรสชั่นนิสม์ เกิดขึ้นมาใหม่เหมือนกัน โดยศิลปินกลุ่มนี้ได้รับอิทธิพลแนวคิด คตินิยมต่อจากฟาน กอห์ก และโกแกง โดยตรง นั่นคือการแสดงออกถึงอารมณ์ภายในอันเร่าร้อนรุนแรง การใช้สีและการตัดเส้นรอบนอก เพื่อให้ รูปทรงดูเด่นชัดและแข็งกร้าว พวกเขาสะท้อนแนวคิดที่เกี่ยวกับสังคม การเมือง แสดงความสกปรก ความ หลอกลวง ความเลวร้ายของสังคม ต่างจาก โฟวิสม์ ซึ่ง กลุ่มโฟวิสม์ ที่ฝรั่งเศสไม่ได้เน้นเนื้อหาตรงนี้ ทว่าความคิดที่สอดคล้องต้องกันของทั้งสองกลุ่มก็คือ พวกเขาคิดว่า ศิลปกรรมของยุโรปโดยทั่วไป มีแนวโน้มการแสดงออกไปในด้านที่หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับความจริ ง ศิลปินต่างเสแสร้งและปิดบังโลกแห่งความเป็นจริง คานึงถึงความงามแต่อย่างเดียว ทาให้มันดูสูง สง่า เป็นของเข้าใจยาก ศิลปินทั้งสองกลุ่มไม่ได้ยึ ดแนวทางดั้งเดิม เรียกว่า พวกเขามีความคิดเป็นปฏิปักษ์ ต่อความงามทางศิลปะก็ว่าได้ แล้วหันมาเสนองานที่กล้าเผชิญหน้าตรง ๆ ระหว่างโลกและมนุษย์ แต่การแสดงออกของทั้งสองกลุ่มก็มีแนวทางแตกต่างกัน โฟวิสม์ใช้อารมณ์สร้างรูปแบบส่วนเอ็กซ เพรสชั่นนิสม์ปล่อยให้รูปแบบแสดงอารมณ์ พวกเอ็กซเพรสชั่นนิสม์แบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งชื่อกลุ่มสะพาน (die brucke) ประกอบด้วย Ernst Ludwig Kirchner,Karl Schmidt Rottluff,Eric Hegkel,Max Pechstein,Emile Nolde ส่วนกลุ่มที่ สองคือกลุ่มนักขี่ม้าสีน้าเงิน (Der Blaue Reiter) ประกอบด้วย Franz Marc,Wassily Kandinsky,Paul Klee,Lyonel Feiniger,August Macke,Heinrick Campendonk


หลักสุนทรียภาพของพวกเขาอยู่ที่การแสดงออกอย่างรุนแรงเกินความจริง มีการบิดผันรูปทรงต่าง ๆ ให้ดูหมุนเวียน มีการเคลื่อนไหว แสดงเส้นอย่างเด่นชัด ชอบใช้สีดา (ต่างจากอิมเพรสชั่นนิสม์ที่ไม่ใช้สีดา เพราะถือว่าสีดาไม่มีอยู่ในธรรมชาติของแสง) และใช้สีที่ตัดกันอย่างรุนแรง ชอบในรูปทรงง่าย ๆ แต่ สามารถสร้างอารมณ์อย่างถึงขีดสุด

สมัย คิวบิสม์ มันเริ่มต้นมาจาก พอล เซซานน์ ที่ค้นหาความงามจากรูปทรงต่าง ๆใ นธรรมชาติ เซซานน์ ว่า ศิลปินควรดูความงามของธรรมชาติจากรูปทรงของเหลี่ยม ลูกบาศก์ ค้นหาโครงสร้างตามความจริงที่เป็น แท่ง ๆ มากกว่าจะไปเน้นที่รายละเอีย ด พาโบล ปิกัสโซ นาแนวความคิดนี้มาพัฒนาต่อจนเป็นรูปแบบของตนเองและทาให้เขาโดดเด่นเป็น ผู้นาในศิลปะแนวนี้ เขาสร้างรูปทรงเป็นแบบเรขาคณิต หาโครงสร้างมาแยกย่ อยแล้วประกอบเข้ากันใหม่ ใช้สีแบน ๆ บางทีเอาด้านหน้าและด้านหลังมาประกอบพร้อม ๆ กันเพื่อให้ผู้ดูได้เห็นวัตถุนั้นทั้งสองด้านใน คราวเดียวกัน เป็นการแก้ปัญหาของภาพเขียนที่มีเพียงสองมิติและตาเห็นได้แค่ด้านเดียว หลัก สุนทรียศาสตร์อยู่ที่ กฎของการควบคุมความรู้สึก อ ารมณ์การแสดงออกต้องมีการพิจารณากลั่นกรอง เสียก่อน ใช้สีมัว ไม่สด ไม่รุนแรง คิวบิสม์แบ่งออกได้เป็นสามยุค ในยุคแรก คิวบิสม์วิเคราะห์ งานมุ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์รูปทรงให้ พัฒนานอกเหนือจากสภาพที่เป็นอยู่ในธรรมชาติ เน้นเรื่องน้าหนัก ความแข็งแรงของวัตถุและปริมาต

ศิลปินจะมองสิ่งต่าง ๆ คล้ายผลึกแก้วหรือเพชรได้รับการเจียระไนให้เกิดเหลี่ยมเป็นแง่เป็นมุม และยังทาให้ โปร่งแสงแสดงรอยที่ซ้อนทับกัน เพื่อทาให้เกิดมิติ ในยุคแรกนี้ยังมีร่องรอยของธรรมชาติปรากฏอยู่ ยุคที่สอง ยุคทองของคิวบิสม์วิเคราะห์ ศิลปินจะจาแนกวัตถุออกเป็น ส่วนต่างๆ ขยายให้เกิดมุม เด่นชัดขึ้น แล้วก็ผสมผสานวัตถุต่าง ๆ ให้ประสานสัมพันธ์กันทั้งภาพ ไม่แสดงส่วนละเอียด สีในภาพเป็นสี เทาอมน้าตาล นาวัตถุที่ถูกมองจากมุมมองที่ต่างกัน ทั้งเบื้องบน ด้านข้าง ด้านหน้า หรือด้านใด ๆ ก็แล้วแต่ มารวมกันให้เกิดเอกภาพ อยู่ในองค์เดี ยวกัน ทางด้านรูปทรงก็ถูกทาลายจนเกือบอยู่ในสภาพนามธรรมอยู่ แล้ว ยุคที่สาม คิวบิสม์สังเคราะห์ ผลงานในยุคนี้เริ่มมีการนาวัสดุต่าง ๆ มาคละเคล้าปะติดรวมกันกับ การวาดภาพ วัสดุเหล่านี้อาจเป็นกระดาษ ผ้า ฯลฯ วิธีเช่นนี้เรียกว่า Collage มีการเขียนตัวหนังสือหรือชไม่


ก็ใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ ปะลงผืนผ้าใบทาให้เกิดอารมณ์ทางด้าน Novel Tactile Value (แปลว่า คุณค่า ในการรับรู้ด้วยการนาอักษรมาเป็นสื่อนาความเข้าใจ) การจัดภาพในยุคนี้เป็นอิสระกว่าเดิม มีการ สังเคราะห์ในเรื่องของเส้นให้มีความใกล้ชิดกับเส้ นเรขาคณิตมากขึ้น กล่าวคือเส้นตรง โค้งเป็นระเบียบ โดยไม่มีเส้นแบบอ่อนไหวที่ไม่เป็นระเบียบ ให้ความสาคัญกับ การจัดวาง กลายเป็น"การเล่นของวุฒิปัญญา" สมัย ฟิวเจอริสม์ ศิลปะเพื่ออนาคต ฟิวเจอริสม์ ถือเป็นคาประกาศของการสิ้นสุดยุคสมัย ศิลปกรรมในอดีต และ เป็นการเกิดใหม่ของศิลปะอีกยุคหนึ่ง ศิลปินกลุ่มนี้เกิดขึ้นที่อิตาลี นับถือความเร็วเป็นพระเจ้า ว่ากันว่า รถจักรยานยนต์ที่ส่งเสียงคารามกึกก้องราวกับปืนกลนั้น มีความสวยงามยิ่งกว่ารูปประติมากรรมสลักหิน อ่อนที่ชื่ออนุสาวรีย์ชัยชนะแห่งซาโมเธรสเสียอีก (ว่าเข้าไปนั่น) พวกเขาคัดค้านความคิดในสุนทรียภาพ ตามแบบฉบับของคลาสสิกโบราณ ดังนั้นจึงควรรื้อเมืองโบราณ เผาพิพิธภัณฑ์และห้องสมุดซึ่งเป็นที่รวม ความคิดมอมเมาประชาชนในยุคปัจจุบันของคนโบราณเสียให้หมด (อะไรจะขนาดนั้น) พวกเขาชิงชัง ความคิดอันเพ้อฝัน ความงามของพวกเขาขึ้นอยู่กับสิ่งที่เป็นวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อย่างพวก เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องบิน สิ่งที่เคลื่อนไหวด้วยความเร็ว พวกเขายึดหลักอยู่สอง ประการคือ ความเคลื่อนไหวของร่างกายในอากาศ และความเคลื่อนไหวของวิญญาณในร่างกาย (สุดท้าย ศิลปะก็หนีไม่พ้นเรื่องของจิตวิญญาณอยู่ดี) ศิลปินใช้วิธีวาดให้เกิดภาพลวงตา ซึ่งคิดขึ้นมาจากทฤษฎีวัตถุที่ประจักษ์แก่สายตา โดยผ่านการ ทดลองให้เห็นจริงมาแล้ว จากภาพถ่ายหรือภาพยนตร์ พวกเขาค้นหาความจริงของการเปลี่ยนรูปทรง ซึ่งจะ สูญเสียความมีปริมาตรเมื่อรูปทรงนั้น ๆ เคลื่อนไหว ศิลปินที่เป็นผู้นาของกลุ่มคื อ Umberto Boccioni พวก เขาถือว่า รูปทรงที่ได้รับการถ่ายทอดให้เหมือนจริงตามแบบทั้งหมด เป็นสิ่งที่น่าดูถูกเหยียดหยาม รูปทรงที่ เกิดจากความคิดสร้างสรรค์จึงจะเป็นสิ่งที่น่ายกย่องแสนประเสริ ฐ ผลงานแสดงออกถึงความวุ่นวายของชีวิตในยุคใหม่ ให้ความสาคัญกับการจัดองค์ประ กอบของภาพ ลัทธิกลศาสตร์ ที่ว่าด้วยการเคลื่อนไหวของจักรวาล ต้องมีอยู่ในงานจิตรกรรม พร้อมกับการแสดง ความเคลื่อนไหว พวกเขากล่าวว่า คาว่า "คนบ้า" เป็นคาที่นามาใช้เป็นเครื่องมือปิดปากพวกหัวก้าวหน้า ทั้งหลาย ดังนั้นควรพิจารณาด้วยความเป็นธรรม บ็อชชินี่บอกว่างานของพวกเขาไม่ใช่การก่อรูปของร่างกาย แต่เป็นการก่อรูปของการกระทาของ ร่างกาย หมายความว่างานทุกชิ้นจะต้องแสดงให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวนั่นเอง แต่กลุ่มฟิวเจอริสม์นี้มีอายุ


สั้น เนื่องจากช่วงนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ.1914) ผู้นากลุ่มคือบ็อชชินี่ถูกเกณฑ์ไปเป็ นทหาร เขา ได้รับบาดเจ็บต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล และเสียชีวิตลงในปี 1916 ผู้ที่เคยร่วมอุดมการณ์ต่างก็แยก ย้ายไปหาแนวทางอื่นในการทางานของตนต่อไป

ศิลปะ นามธรรม สุดยอดของงานที่ดูแล้วไม่รู้เรื่องที่สุดก็คืองานในแนว แอบสแตรก นี่เอง การแสดงออกของงาน นามธรรมมีหลักกว้าง ๆ อยู่สองแนวคือ 1. ตัดทอนสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ตามธรรมชาติ ให้มีรูปทรงที่ง่ายหรือเหลือแต่แก่นแท้ 2. สร้างรูปทรงที่ไม่ต้องการเสนอเรื่องราวใดๆเป็นพื้นฐาน อย่างเช่น รูปทรงเรขาคณิต มาใช้ในการ สร้างงาน ศิลปะนามธรรมนี้ยังแบ่งออกเป็นสองแบบด้วยกัน ได้แก่ แบบโรแมนติก เป็นงานที่แสดงความรู้สึก อย่างมีอิสระ มีอารมณ์เป็นพื้นฐาน แสดงความรู้สึกภายในออกมาเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า In formalist (ไม่มี ระเบียบกฎเกณฑ์) แบบคลาสสิก ซึ่งมีสิ่งดลใจจากรูปทรงเรขาคณิต มีการวางแผน มี กฎเกณฑ์ กฎที่ว่าอาจคิดขึ้นเองได้ พวกนี้เรียกว่า Formalist (มีระเบียบกฎเกณฑ์) Wassily Kandinsky (คนเดียวกับที่อยู่ในกลุ่มนักขี่ม้าสีน้าเงินนั่นแหละ) นับเป็นคนแรกที่ทางานใน แนวนี้ เขามีหลักในการทางานด้วยการใช้สีสดบริสุทธิ์ เน้นเรื่องสีและรูปทรง ที่จะเป็นหลักการติดต่อ ระหว่างเจตนากับวิญญาณของมนุษย์ ทางด้านองค์ประกอบ มีจุดประสงค์ในการรวมตัวของสีและรูปทรงที่ดารงอยู่อย่างอิสระ การ รวบรวมไว้โดยความจาภายในใจ และกลับฟื้นมาอีกในรูปทรงทั้งหมด ซึ่งเรียกว่า ภาพ เขากล่าวว่างานศิลปะประกอบด้วยสองสิ่งคือ สิ่งที่อยู่ภายใน กับ สิ่งที่อยู่ภายนอก สิ่งที่อยู่ภายใน คืออารมณ์ ความรู้สึกในวิญญาณของศิลปิน


ความรู้สึกนี้มีความยิ่งใหญ่ต่อการปลุกเร้า ความรู้สึกให้คล้ายคลึงกับที่มีอยู่ในผู้ชม (ผู้ชมคือสิ่งที่ อยู่ภายนอก) เมื่อความรู้สึกของทั้งสองคือฝ่ายศิลปินและผู้ชมมีความคล้ายกันและมีค่าเท่าเทียมกัน ย่อม หมายความว่างานศิลปะชิ้นนั้น ๆ ประสบความสาเร็จ สิ่งที่อยู่ภายในนั้นต้องมีอยู่ งานศิลปะเป็นเพียงสิ่ง สมมติ ดังนั้น สิ่งที่อยู่ภายในจะเป็นสิ่งกาหนดงานศิลปกรรม กาเนิดแห่งแรงดลใจมาจาก ความประทับใจในธรรมชาติ จิตไร้สานึกที่แสดงออกอย่างฉับพลัน และงานที่ถูกทาแล้วทาอีกเป็นเรื่องราวที่อวดภูมิปัญญา สิ่งนี้เขาเรียกว่า องค์ประกอบ ศิลปะ ดาดา ดาดาอิสม์ เป็นศิลปะอีกกลุ่มหนึ่งที่มีปฏิกิริยาต่อต้านคัดค้านศิลปกรรมเก่า ๆ ในอดีต พวกเขาคิด ว่าสิ่งเหล่านั้นล้วนแล้วแต่มีจิตใจคับแคบ ดังนั้นต้องสร้างสรรค์งานแนวใหม่ซึ่งเป็นปฏิปักษ์กับศิลปะแบบ เก่า แนวความคิดของกลุ่มนี้อยู่บนพื้นฐานทางอามรณ์ อันต้องการปลดเปลื้องความคิดผิด ๆ แบบเก่า ให้หมดไป และเป็นผลมาจากความเสื่อมโทรมในสังคมและศิลปะวิทยา สืบเนื่องจากสงคราม โลกครั้งที่หนึ่ง การแสดงออกของศิลปินกลุ่มนี้ออกไปทางแดกดัน เยาะเย้ย ถากถาง มองโลกในแง่ร้าย เห็นว่าโลกนี้เลว สมควรถูกทาลายได้แล้ว พวกเขาแนะให้มีการสร้างงานที่ผิดหลักความจริง สร้างศิลปะอยู่ที่การโกหก หลอกลวงเป็นสาคัญ พวกเขาไม่เชื่อหลักตรรกวิทยา หากแต่ต้องกา รปลดปล่อยจิตไร้สานึกให้แสดงพฤติกรรมอย่าง อิสระเต็มที่ แม้ว่าจิตไร้สานึกจะมีแนวโน้มเอียงไปในทางวิตถาร ดูพิลึก พิสดารก็ตาม พวกเขายังได้รับ อิทธิพลมาจากพวกฟิวเจอริสม์ ในเรื่องของความเร็วและเครื่องจักรกลด้วย แต่สิ่งที่แตกต่างออกไปคือ ฟิว เจอริสม์ยังคงมีรูปแบบการแสดงออกแบบเก่า ส่วนพวกดาดาชอบการประชดประชัน ดูถูกเหยียดหยาม ศิลปะ เซอร์เรียลลิสม์ หลาย ๆ คนคงเคยได้ยินคาว่า เซอร์ กันมาบ้าง แต่งตัวเซอร์ ๆ ทาตัวเซอร์ ๆ อะไรทานองนี้ คาว่า เซอร์ นี่ก็มาจากศิลปะแนวเซอร์เรียลิสม์ นี่เอง มีความหมายว่าเหนือความจริง เพราะศิลปะแนวนี้ ถ่ายทอด เรื่องราวเหนือธรรมชาติ ถ่ายทอดสิ่งที่อยู่ในความฝันออกมา ว่ากันว่า ความฝันนั้นเป็นสิ่งที่จริงแท้เสียยิ่ง กว่าความจริง เป็นสุดยอดของความเป็นจริง เซอเรียลิสม์ได้วิวัฒนาการมาจากพวกดาดาอิสม์ในเรื่องราว ของการมองความจริงอันพิสดาร ศิลปินมองเห็นว่าโลกความเป็ นจริงที่เห็นอยู่เป็นภาพมายาทั้งหมด (แต่ กลับเห็นความฝันเป็นเรื่องจริง ออกจะสับสนอย่างไรไม่รู้ )


นี่เป็นการเคลื่อนไหวของศิลปะแบบหนึ่ง ที่มีความคิดพ้องตามทฤษฎีของ ซิกมันด์ ฟรอยด์ ที่ว่า มนุษย์ทุกคนอยู่ภายใต้อิทธิพลของจิตไร้สานึก ซึ่งเราฝังความอยากอันมิได้ขัด เกลาเอาไว้ จนเกิดทาให้รู้สึก ว่าความป่าเถื่อนยังมิได้หายไปจากมนุษย์ หากแต่หลบอยู่ในส่วนลึกของจิตใจ งานเซอร์เรียลิสม์มีความสาคัญอยู่ที่ การแสดงออกของจิตใต้สานึกอย่างอิสระ ปราศจากการควบคุมของเหตุผล มีความฝันและอารมณ์ จินตนาการ ค่อนข้างโน้มเอียงไปในทาง กามวิสยั หลักการของเซอร์เรียลิสม์ คือ จินตนาการเป็นส่วนสาคัญของการแสดงออก จินตนาการ คือ จิตไร้สานึก และจิตไร้สานึกเป็นภาวะของความฝัน ที่มีขบวนการต่อเนื่องกันซึ่งนาไปสู่การสร้างสรรค์งาน ศิลปะได้ สิ่งที่เราเห็นจากโลกภายนอกขณะตื่น เป็นเพียงปรากฏการทางการแทรกแซง ความงามของพวกเขาคือ ความมหัศจรรย์ ความมหัศจรรย์เพียงอย่างเดียวที่สามารถสร้างศิลปะ ให้สมบูรณ์ได้ และยังให้ความรู้สึกที่เต็มไปด้วยความหมายต่อความรู้สึกของมนุษย์ ศิลปะ ซูพรีมาตีสม์

รูปสี่เหลี่ยมสีขาว บนพื้นจัตุรัสสีขาว เพียงเท่านี้เองที่ผู้ชมต่างมองเห็น มันคืออะไร ภาพนี้ไม่ได้บอก เรื่องราวใด ๆ เลย ไม่มีสมุด ไม่มีต้นไม้ ไม่มีคน ซูปรีมาติสม์ เป็นรูปแบบของศิลปะที่แสดงความรู้สึกบริสุทธิ์อย่างสูงส่ง ปรากฏเป็นศิลปะที่ ก่อให้เกิดความสร้างสรรค์ ไม่คานึงถึงรูปร่างแท้จริงของวัตถุที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา แต่คานึงถึงความรู้สึกของ วัตถุนั้น ๆ เป็นส่วนใหญ่ เมื่อไม่คานึงถึงรูปร่าง เห็นว่ารูปร่างนั้นไม่แน่นอน การเขียนภาพจึงยึดบริเวณว่าง เป็นหลัก เรื่องราวที่แสดงจะเกี่ยวกับอวกาศ แรงดึงดูด แม่เหล็กไฟฟ้า เรขาคณิต ทิศทาง และลักษณะ พื้นผิว Kashmir Malevich เป็นศิลปินผู้วางแนวทาง เขาวางทฤษฎีไว้ว่ า กาหนดวิธีเขียน และกรรมวิธีอื่น ๆ อยู่ในรูปทรงเรขาคณิตแบบง่าย เช่นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม หรือกากบาท ศิลปินยึดหลักที่ว่า ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในโลก ไม่มีความหมายในตัวเองเลย จุดสาคัญส่วนใหญ่คือ ความรู้สึกของผู้ดูเมื่อพบ สิ่งต่าง ๆ ในโลกรอบ ๆ ตัวต่างหาก คว ามรู้สึกนี้จะปรากฏเด่น สร้างความคิดสร้างสรรค์ สะเทือนใจมนุษย์ มากกว่ารูปร่างของวัตถุนั้นๆ ศิลปะสมัยก่อน เป็นศิลปะที่สอนคนส่วนใหญ่ มีความมุ่งหมายเพื่อสนองความไม่อุ่นใจของมนุษย์ แต่ซูปรีมาติสม์เป็นศิลปะที่เกี่ยวข้องกับโลกแห่งความรู้สึก ซึ่งเป็นสิทธิของแต่ละบุ คคลจะพึงใช้ความรู้สึก ของตนสร้างความสดชื่นให้ชีวิต


ดังนั้นภาพ Suprematism ผู้ชมต้องปล่อยความคิดให้มีอิสรเสรี สร้างความรู้สึกร่วมไปกับมัน การตีความภาพนั้นขึ้นอยู่กับภูมิปัญญาและประสบการณ์ของตน ผู้ชมจะไม่ถูกบังคับให้ต้องเห็น อย่างที่ศิลปินอยากให้เห็น ศิลปิน จะปล่อยให้ผู้ชมมองเห็นได้อย่างเสรีโดยไม่มีการครอบงาความคิดจาก รูปทรงวัตถุ

ศิลปะ ป๊อป อาร์ต ศูนย์กลางความเจริญทางด้านศิลปวัฒนธรรมอยู่ที่ยุโรปยาวนานร่วม ๆ พันปี นับตั้งแต่ยุคกลางมา แต่พอมาถึงศตวรรษที่ 20 ฝั่งเอมริกาก็มีความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจ และวัฒนธรรมของอเมริกาก็ส่งผล กระทบต่อคนทั้งโลกอย่างไม่น่าเชื่อ ด้วยวงการภาพยนตร์ฮอลลีวูด เป็นสื่อนา ภาพยนตร์นี้ก่อให้เกิดดารา แฟชั่น การโฆษณา และเพลงประกอบ ซึ่งล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อชีวิตคนรุ่นใหม่ไปทั่วทั้งโลก ป็อบอาร์ตถือกาเนิดขึ้น ป็อบอาร์ต เป็นแบบอย่างของ ศิลปะที่สะท้อนพลังสภาพแท้จริงของสังคม ปัจจุบัน ตามความรู้สึกความเข้าใจของสามัญชนทั่วไป ในชั่วขณะหนึ่ง เวลาหนึ่ง เป็นศิลปะที่เกี่ยวกับ ความชุลมุนวุ่นวายของสังคม พลุ่งประดุจพลุ ชอบวันนี้ พรุ่งนี้ลืมอะไรทานองนี้ กลุ่มศิลปินที่สร้างสรรค์งานชนิดนี้เชื่อว่า ศิลปะสร้างขึ้นจากสิ่งสัพเพเหระ ของชีวิตประจาวัน เป็น การแสดงความรู้สึกของประสบการณ์ที่พบเห็นของศิลปินในช่วงเวลานั้น ขณะนั้น ณ ที่แห่งนั้ น เรื่องราวที่ศิลปินนาเสนอมีแตกต่างกันไป เช่นบางคนเขียนเรื่องเกี่ยวกับ ดารายอดนิยม บ้างก็เขียน เรื่องเครื่องจักร บ้างก็เขี ยนภาพโฆษณา เรื่องง่าย ๆ ใกล้ ๆ ตัวจึงทาให้หลาย ๆ คนเห็นว่างานแนวนี้ไม่ควร ค่าแก่คาว่าศิลปะ เพราะมันเป็นความนิยมแค่ชั่ววันชั่วคืน ตื่นเต้นฮือฮาพักหนึ่งก็จางหาย อย่างไรก็ตามกลุ่มที่นิยมในแนวนี้ก็ยังคงยืนยันว่ามันคือศิลปะ เขาอ้างว่า สิ่งเหล่านี้เป็นศิลปะ แน่นอน เพราะผลงานนั้นกระตุ้นให้เราตอบสนองทางความรู้สึกอย่างนั้น ที่จริงแล้ว สิ่งที่เรารู้ว่าเป็นศิลปะ คือ สิ่งที่ศิลปินสร้างสรรค์ พวกเขามีความเชื่อเกี่ยวกับสุนทรียภาพว่า สุนทรียภาพ คือความรู้สึกที่เกี่ยวข้อง กับสภาพต่าง ๆ ที่ปรากฏในโลกของอุตสาหกรรม โลกชนบท และโลก เศรษฐกิจ ศิลปินพยายามตอบสนอง โลกที่แวดล้อมภายนอกเหล่านี้โดยแสดงความรู้สึกด้วยภาพ ซึ่งใช้วิธีการของแอบแสตรกบ้าง เอ็กซเพรสชั่น นิสม์บ้าง คิวบิสม์บ้างตามความเหมาะสม


ศิลปะ อ๊อป อาร์ต

ศิลปะอ๊อปอาร์ต เป็นศิลปะที่มุ่งถึงสายตา การมองเห็น เรื่องตาเป็นเรื่องสาคัญข องศิลปะแบบนี้ การรับรู้ทางตา เป็นปัญหาที่พยายามค้นคว้ากันอยู่เสมอ นักจิตวิทยาบางคนพยายามที่จะทดลองหา ข้อเท็จจริงว่า ตาหรือสมองกันแน่ ที่เป็นสื่อกระตุ้นประสาทการรับรู้ต่าง ๆ ของมนุษย์ โดยพยายามที่จะหา ข้อมูลเพื่อแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างการเห็น การคิด ความรู้สึกและความจา แต่ก็ไม่สามารถ วิเคราะห์ออกจากกันได้ว่าอันไหนสาคัญกว่ า เมื่อยังหาข้อสรุปไม่ได้ ว่าตาหรือสมองสาคัญกว่ากัน ศิลปินอ๊อปอาร์ต จึงเลือกเชื่อตามความคิด ของตนว่า ตามีความสาคัญกว่า เน้นการเห็นด้วยตา เป็นข้อสมมติฐานในการแสดงออกทางศิลปะ แนวคิด ของงานอยู่บนความเชื่อที่ว่า จิตรกรรมประกอบด้วยเส้น และสี ซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญ เส้นและสีต้องมี การแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่เลียนแบบธรรมชาติ เส้นและสีต้องมีความกลมกลืนกัน จิตรกรรมปรากฏบนระนาบผิวหน้าของผ้าใบ ซึ่งเป็นบริเวณที่รวบรวมรูปแบบและความรู้สึกของ จิตรกรรม ดั งนั้นระนาบผิวหน้าจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ต้องไม่ลอกเลียนแบบธรรมชาติไม่ลอกเลียน วิชา เปอร์สเปคตีฟ (เป็นเรื่องของเส้นสายตาที่มองใกล้ ไกล สิ่งที่อยู่ใกล้ใหญ่ สิ่งที่อยู่ไกลเล็กเป็นต้น ) แต่ จะต้องรู้สึกตื้นลึกด้วยตัวมันเอง ศิลปินที่พยายามแสดงความรู้สึกของตนอย่ างเสรี จะยึดรูปทรงง่าย ๆ เป็นหลัก ยิ่งง่ายยิ่งเป็นสากล สียิ่งบริสุทธิ์ก็ยิ่งเป็นสากล สีที่บริสุทธิ์คือแม่สีเบื้องต้นที่ไม่ได้เกิดจากการผสมจากสีอื่ น อ๊อปอาร์ตได้รับอิทธิพลจากกลุ่มฟิวเจอริสม์ ซึ่งย้าเน้นถึงความเคลื่อนไหว ความเร็ว และ วิทยาศาสตร์แขนงฟิสิกส์เป็นอันมาก อ๊อปอาร์ดจะเน้นความเคลื่อนไหวของรูปแบบให้เป็นจิตรกรรม โดย วิธีการซ้าๆกันของส่วนประกอบทางศิลปะ เพื่อให้ผู้ดูตระหนักในความเปลี่ยนแปลงของรูปแบบศิลปะที่ สะท้อนภาพสังคมปัจจุบัน แบบอย่างของอ๊อปอาร์ดนอกจากจะเป็นจิตรกรรมแล้ว ในวงการอุตสาหกรรมแบบอย่างของออป อาร์ตก็มีส่วนร่วมในชีวิตประจาวันอยู่มาก ในรูปแบบของลายผ้า การตกแต่ง เวที การจัดร้านต่างๆเป็นต้ น ศิลปะยังคงดาเนินต่อไปอย่างสอดคล้องต่อชีวิตประจาวัน การเปลี่ยนแปลง คือ นิรันดร์ การจะโหย หาให้อนุรักษ์แต่ของดั้งเดิมอย่างไม่ลืมหูลืมตานั่นเพราะขาดความเข้าใจเกี่ยวกั บศิลปะ หากจะอนุรักษ์แบบ นั้นก็ต้องอนุรักษ์วิถีชีวิตด้วย เมื่อวิถีชีวิตเปลี่ยน ศิลปะจะไม่เปลี่ยนได้อย่างไร มันผิดหลักธรรมชาติของ มนุษย์ ปัญหาจึงอยู่ที่จะปรับเปลี่ยนศิลปะไปในทิศทางใด เพื่อให้สอดคล้องกับชีวิตของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างดีที่สุดต่างหาก



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.