A STUDY OF THE LOCAL WISDOM TRANSMISSION PROCESS OF CHIANG MAI LOCAL ARTISANS

Page 7

การใชอุปกรณเพิ่มลวดลายแบบตาง ๆ ในวิธีการสอนของครูชางแตล ะคนก็จ ะแตกตางกันไป บางคนใหลูกศิษย เริ่มตัดจากลายงายหรือตุงแบบงายๆกอน ซึ่งเริ่มแรกจะตองเริ่มจากการหัดเขียนลายไทยเบื้องตน การหัดผูกลาย แลวจึงหัดลายเมือง (ลายพื้นเมืองภาคเหนือ) ลายพมา ลายประยุกต ซึ่งการหัดฉลุลายไมวาจะเปนการฉลุจ ากสิ่ว จากกรรไกร หรือจากใบมีด หากทําจนชํานาญ จนคลองแคลวแลวก็ส ามารถทํางานศิล ปะพื้นบานชนิดอื่นไดอีก เชน การทําโคมตาง ๆ จนไปถึงขั้น การทําปราสาทศพ ซึ่งตองอาศัยความอดทน การจดจําวิธีการทํางาน การได ติดตามครูผูสอนทํางาน หรือถายทอดความรูในที่ตาง ๆ ก็จ ะเกิดการซึมซับ สามารถเดินรอยตามครูชางที่ไดสั่ง สอนมา และสามารถไปถายทอดตอไดอีก จนเกิดเปนสายชางขึ้น 2.4 ขั้นตอนการตกแตงและนําไปใช ในเรื่องของการทําตุงกระดาษ การตกแตงหรือการนําไป ประกอบ จัดเปนขั้นตอนสุดทายในการสอนทําตุง ซึ่งจะมีการประเมินผลงานของศิษยที่ท ํางานไปดวย การตกแตง นั้นอยูที่ความคิดสรางสรรคของแตละคน อยางเชน การทําตุงคาคิง ซึ่งใชในงานมงคล ใชในการทําบุญ สืบ ชะตา อาจมีการประดับ ประดาเพิ่มเติมใหมีความวิจิตรสวยงาม แสดงใหเห็น วา การตกแตงตุงในขั้น ตอนสุดทายก็มี ความสําคัญเชนกัน เพราะการถวายหรือ การใชงานตุงนั้น จะตอ งวางรูป แบบการนําเสนอใหโดดเดน อยูในที่ที่ เหมาะสมคูควร วัสดุที่ใชตอ งเหมาะสม ไมลดคุณคาของงานตุงที่ทําไว ซึ่งผูเรียนสวนใหญก็ไมมีใครคิดแหวก แนวจากครูบ าอาจารย เนื่องดวยอาจมีขอจํากัดทางความเชื่อในการทําหรือการใชตุงกระดาษ 3. ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการถายทอด: ชางฝมือ จริยธรรม คุณ คาและความภูมิใจ จากกระบวนการถ ายทอดภูมิป ญ ญาในการทํา ตุง ดวยการฉลุล ายกระดาษ สิ่งที่ไดรับ จาก กระบวนการดังกลาวคือ ผลผลิตของการถายทอด จากการประเมินดวยตัวของผูถายทอดความรู พบวาจะเกิดชาง พื้นบานที่มีความสามารถในการทําตุงกระดาษดวยวิธีการฉลุลายที่ไดรับ การถายพัฒนาทักษะ ความคิดสรางสรรค และการรั บ รู คุ ณค างาน ผา นกระบวนการขั ดเกลาทางสั ง คม ที่ ส อดแทรกอยูใ นกระบวนการถ ายทอดตลอด ขั้นตอน ซึ่งนอกเหนือจากการสอนใหทํางานชางเปนแลว ยังเปนการสอดแทรกจริยธรรมไปพรอมๆกัน ซึ่งมนุษย เองก็มีการเรียนรูอยูตลอดเวลาและยังสามารถถายทอดความรู คานิยมทางสังคมใหคนอีกรุนหนึ่งได จากการเกิด ปฏิสัมพันธระหวางบุคคลกับ สิ่งแวดลอ มในการเรียนรู อีกทั้งยังทําใหเ กิดความภาคภูมิใจในงานของศิษยแ ละ ความภาคภูมิใจในตัวศิษย ดังที่แมครูบัวไหล คณะปญญา ไดพ ูดถึง นพดล คํามูล ศิษยที่ไดท ําการเรียนรูการทําตุง และโคมจากแมครูบัวไหล โดยที่นพดลตั้งหนาตั้งตาฝกฝนอยูเชนนี้เ ปนเวลาถึง 8 ป เกิดการซึมซับ รูป แบบและ ลวดลายดั้งเดิมของแมครูบัวไหลไวอยางลึกซึ้ง จนสามารถพัฒนารูปแบบลวดลายเฉพาะตัวขึ้นมาได ซึ่งทุกวัน นี้ เองนพดลก็ไดถูกรับ เชิญใหไปเปนวิท ยากรใหความรูเรื่องงานศิลปะพื้นบานกับ สถาบันที่ส นใจ จนสามารถกาว ไปเปนพอครูสลาทําตุง ทําโคมอีกรุน ไดแลว ในดานคุณคาในตัวผลงาน จากบรรดาศิษ ยนับ ไมถวนของพอ ครู เบญจพล สิทธิป ระณีต นอ ยคนที่จะยึดมั่นในการที่จะเรียนรูแ ละมีความตั้งใจจริงในการสืบ สานงานการทําตุง กระดาษ เชนเดียวกันกับ เฉลิมพล อาทิตยสาม ซึ่งกอนที่จะรูจักกับพอครูเบญจพล เฉลิมพลเองนั้น ก็มีพ รสวรรค สวนตัวในการทําตุงและโคมอยูแลว และมีความสนใจมาตั้งแตสมัยชั้นมัธยมตนที่เชียงราย เมื่อ มาเรียนทําตุงแบบ ลานนากับ พอครูเบญจพลที่เชียงใหม ก็ไดนําลายตุงที่เรียนรูมาปรับใชใหมีสีสันในรูปแบบของตน ขณะเดียวกันก็ ไมทิ้งเอกลักษณลานนาดั้งเดิม ซึ่ง เฉลิมพลเองก็เปนความภาคภูมิใจของพอครูเ บญจพล หากมีงานที่ตอ งเรงหรือ ทําไมท ัน เฉลิมพลเองก็จะถูกเรียกใหมาชวยงานเสมอ หรือแมกระทั่งการไดไปแสดงผลงานดวยกัน ซึ่งเฉลิมพลก็ เปนตัวอยางจากการที่กระบวนการถายทอดนั้นไดสอดแทรกจริยธรรม พรอมทั้งความคิดความอาน ความอดทน ในการฝกฝน การรูจักแบงปนกับ เพื่อนที่รวมรับ การถายทอด และสิ่งสําคัญ คือ ความออ นนอ มถอมตน ที่มีตอ ครูผูส อน ไมเ วน แมครูผูสอนที่เ ปนผูห ญิงแบบแมครูบัวไหล ความออนโยนของผูห ญิงสูงวัยที่ส ะทอนไดจ าก


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.