บ่อทองและการทำเหมืองทองคำในสยามยุคใหม่

Page 31

เมื ่ อ ประเทศเข้ า สู ่ ร ั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ ห ั ว ซึ่ ง ทรงครองราชย์ ต ั ้ ง แต่ ย ั งทรงพระเยาว์ เมื ่ อ พ.ศ. ๒๔๑๑ พระชนมายุ เพี ย ง ๑๕ พรรษา และเจ้ า พระยาบรมมหาศรี ส ุ ร ิ ย วงศ์ เป็ น ผู ้ ส ํ า เร็ จ ราชการในอายุ ๖๕ ปี ความแตกต่า งระหว่ างวั ย การเติ บ โตมาในสั งคมที ่ ก ํ า ลั งเปลี ่ ย นแปลงคื อ ช่ อ งว่ า งอั น ใหญ่ ห ลวง ในขณะที ่ส มเด็ จเจ้า พระยาบรมมหาสุ ร ิ ย วงศ์ ผู ้ ม ี ท ั ้ งอํ า นาจบารมีเหนือกว่าพระบรมวงศานุวงศ์ทั้งปวง

ต่างๆ หรือนวัตกรรมใหม่ๆ มาสู่สังคมสยาม เมื่อประเทศเข้าสู่ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงครองราชย์ ต้ังแต่ยังทรงพระเยาว์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๑ พระชนมายุเพียง ๑๕ พรรษา และเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้สําเร็จราชการใน อายุ ๖๕ ปี ความแตกต่างระหว่างวัย การเติบโตมาในสังคมที่กําลัง เปลี่ยนแปลงคือช่องว่างอันใหญ่หลวง ในขณะที่สมเด็จเจ้าพระยา บรมมหาสุริยวงศ์ผู้มีทั้งอํานาจและบารมีเหนือกว่าพระบรมวงศานุวงศ์ทั้งปวง การดูแลหรือเป็นผู้สําเร็จราชการในระยะท่ียังไม่ทรง บรรลุนิติภาวะก่อนพระชนม์ ๒๐ พรรษา จึงกลายเป็นข่าวลือและ ช่องว่างท่ีน่ากังขาสําหรับชาวบ้านและชาวต่างประเทศตลอดจน ขุนนางที่มิได้เป็นฝ่ายวังหลวงว่าสมเด็จเจ้าพระยาฯ จะยึดอํานาจใน ระหว่างนั้น ! พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ ห ั ว ได้ ร ั บ การศึ ก ษา โดยตรงกับชาวต่างประเทศหลายท่าน และคงได้อิทธิพลจากแนวคิด ทั้งเรื่องการปกครองและการเมืองในทางตะวันตก การได้รับการ บอกเล่าความเปล่ียนแปลงของบ้านเมืองต่างๆ ในระหว่างยังทรง พระเยาว์หรือวัยรุ่น ทั้งด้วยทอดพระเนตรด้วยพระองค์เองเมื่อเสด็จ สิงคโปร์และชวาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๓ การเสด็จอินเดียและพม่า และ แวะท่ีมะละกาและปีนัง ในปี พ.ศ. ๒๔๑๔ สิ่งที่พระองค์เห็นคือ การจั ด ระบบการปกครองบ้ า นเมื อ งในรู ป แบบอาณานิ ค มโดย เฉพาะของอังกฤษและฮอลันดา ! นอกจากนี้พระองค์มีพระราชประสงค์จะปฏิรูปประเทศไทย หลายเร่ือง เช่น ระบบไพร่ ระบบทาส ระบบการจัดเก็บภาษี และ ระบบราชการให้มีคุณภาพยิ่งข้ึน ฯลฯ แต่โครงการปฏิรูปเหล่าน้ีไม่ ได้รับการสนับสนุนจากเสนาบดีข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ ! ในช่ ว งระหว่ า งนั ้ น มี ก ารแปลกฎหมายและรั ฐ ธรรมนู ญ ของ อังกฤษและฝรั่งเศสใน พ.ศ. ๒๔๑๒ โดยพระยาภาสกรวงศ์ ซึ่งกล่าวถึงรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสและมีเรื่องของสภาที่ปรึกษาราชการ แผ่นดิน [Council of State] และในปี พ.ศ. ๒๔๑๕ พระยาภาสกรวงศ์และนายเฮนรี่ อลาบาสเตอร์ ได้ช่วยกันแปลและเรียบเรียง กฎหมายของอังกฤษซึ่งมีเรื่องราวของสภาที่ปรึกษาในพระองค์ [Privy Council] มีการลงความเห็นร่วมกันจากนักประวัติศาสตร์ หลายท่าน ! หลังจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามดึง อํานาจคืนจากสมเด็จเจ้าพระยาฯ และฝ่ายวังหน้า รวมทั้งการเป็น ยุ ว กษั ต ริ ย ์ ซ ึ ่ ง อาจจะมั ่ น พระทั ย ในการจั ด การกิ จ การบ้ า นเมื อ ง ในขณะที ่ ส ั ง คมกํ า ลั ง เปลี ่ ย นแปลงและสภาพสั ง คมในสยามนั ้ น อาจจะเปลี่ยนแปลงได้น้อยกว่าที่พระองค์คาดหวัง ทั้งการเสด็จ

28

ประพาสในต่างประเทศช่วงนี้และเอกสารดังกล่าวน่าจะเป็นแรง บั น ดาลใจให้ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ ห ั ว จั ด ตั ้ ง “สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน” และ “สภาที่ปรึกษาในพระองค์” ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗ และทรงตั้งขุนนางระดับพระยา ๑๒ ท่านเป็น “เคาน์ซิลลอร์” ให้มีอํานาจขัดขวางหรือคัดค้านพระราชดําริได้ ทรงตั้งพระบรมวงศานุวงศ์ ๑๓ พระองค์และขุนนางอีก ๓๖ ท่านที่ มีสติปัญญาและมีความสนิทสนมกับพระองค์ ทรงแถลงถึงความ มุ่งหมายเพ่ือช่วยถวายความคิดเห็นท่ีจะแก้ไขปรับปรุงเปล่ียนแปลง ในเวลาต่อไป ! การปรับปรุงระบบการออกกฎหมาย การปกครอง การปรับ เปล่ียนกฎเกณฑ์ทางสังคมโดยมีสภาที่จงรักภักดีต่อพระองค์นั้น ถือ เป็นการสร้างสภาการปกครองประเทศใหม่ซ้อนกับการปกครองรูป แบบเดิมท่ีกําลังมีการเปลี่ยนแปลงไป ถือเป็นการคานอํานาจ เพ่ ื อ การเปลี ่ ย นแปลงต่ อ เชื ้ อ พระวงศ์ แ ละขุ น นางผู ้ ใ หญ่ อ ั น มี สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์และขุนนางตระกูลบุนนาคและ กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เป็นต้น ! ซึ่งหนังสือพิมพ์ในยุคนั้นเรียกกลุ่มสภาที่ปรึกษาทั้งหลายว่า “กลุ่มสยามหนุ่ม” [Young Siam] โดยมี ‘หนังสือพิมพ์ดรุโณวาท’ ที่แปลว่าคําสั่งสอนของคนหนุ่ม ที่มักมีบทความไม่ลงชื่อกระทบ กระเทียบในรูปแบบของนิทานการเมืองเรื่องของ “คนแก่” ที่ยังหวง อํานาจไม่ยอมวางมือให้ “เด็ก” และโจมตีการดํารงตําแหน่งวังหน้า ของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญอย่างรุนแรง ซ่ึงพระองค์ท่านก็ ทรงรู้ตัวและพยายามอยู่นิ่งเฉยไม่เป็นที่เพ่งเล่ง ! จนเกิดความขัดแย้งสําคัญซึ่งเป็นการระแวงและต้องการลด ทอนปรามอํานาจของวังหน้า สมเด็จกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่เรียกว่า “วิกฤตการณ์วังหน้า” เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๕ ภายหลัง วิกฤตการณ์ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗-๒๔๑๘ เมื่อเกิดระเบิดข้ึนที่ตึกดิน ในวังหลวงไฟไหม้ลุกลามไปถึงพระบรมมหาราชวังและทําให้โรง แก๊สในพระบรมมหาราชวังระเบิด ภายหลังจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายไป สร้างใหม่แถวหน้าวัดสุทัศน์ฯ ซึ่งทางวังหลวงเข้าใจว่าวังหน้าเป็น ผู้วางระเบิดและไม่ส่งคนมาช่วยดับไฟ ส่วนกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญก็เสด็จหลบหนีไปอยู่ในสถานกงสุลอังกฤษไม่ยอมเสด็จ ออกมา เหตุการณ์ตึงเครียดนี้กินเวลาถึงสองสัปดาห์จนกระทั่ง สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เดินทางกลับจากราชบุรีเข้ามา ไกล่เกลี่ย โดยฝ่ายอังกฤษและฝรั่งเศสถือว่าเหตุการณ์ครั้งนั้น เป็นการเมืองภายในของสยามและไม่ได้เข้ามาก้าวก่าย ! หลังจากเหตุการณ์ครั้งนี้วังหน้า สมเด็จกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญไม่มีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินแต่อย่างใด จนกระทั่งเสด็จทิวงคต เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ พระชนมายุ ๔๖ พรรษา


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.