ThaiSmile Magazine

Page 28

Smile

The Association of Thai Businesses in the UK

Business

HIGH RISK egetable Imports from Thailand อนาคตของผู้ประกอบการไทยในสหราชอาณาจักร เมือ่ วันที่ 23 กันยายน 2553 ทีผ่ า่ นมา สมาคมธุรกิจ ไทยในสหราชอาณาจักร (Association of Thai Businesses in the UK- ATBUK) โดยการสนับสนุนของสถานเอกอัครราชทูต ไทย ประจำ�กรุงลอนดอน ได้จดั สัมมนาในหัวข้อเรือ่ ง “Understanding EU’s Regulation on “High Risk” Vegetable Imports from Thailand, Ways ahead for Thai Businesses in the UK” โดยมีโรงแรม Lancaster, London ให้ความ เอือ้ เฟือ้ ด้านสถานที่ การสัมมนานีม้ ผี เู้ ชีย่ วชาญจากหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง ได้แก่ นาย Alan Curran, Head of Official Controls and Enforcement Strategy Team ของ Food Standard Agency (FSA) ของสหราชอาณาจักร นายอดิสยั ธรรมคุปต์ อัครราชทูต (ฝ่ายการพาณิชย์) สำ�นักงานส่งเสริมการค้าใน ต่างประเทศ (สคร.) และนางพาสินี ณ ป้อมเพชร ผูแ้ ทนจาก สำ�นักงานทีป่ รึกษาเกษตรต่างประเทศ ณ กรุงบรัสเซลส์ มา พูดคุยถึงประเด็นปัญหาการนำ�เข้าสินค้าผักทีม่ ี “ความเสีย่ ง” จากประเทศไทย โดยมีนายวันชัย ภูน่ มุ่ รองประธาน สมาคม ธุรกิจไทยในสหราชอาณาจักร เป็นผูด้ �ำ เนินรายการ ในโอกาส นี้ นายกิตติ วะสีนนท์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงลอนดอน ให้ เกียรติกล่าวเปิดงาน ซึง่ มีผใู้ ห้ความสนใจมาร่วมรับฟังจากภาค เอกชน ร้านอาหาร ร้านค้าปลีก และผูน้ �ำ เข้า การจัดสัมมนาครั้งนี้ริเริ่มโดยสมาคมธุรกิจไทยใน สหราชอาณาจักร จากการเล็งเห็นผลกระทบที่เกิดจากกฎ ระเบียบของสหภาพยุโรป (EC Regulation No. 669/2009) ทีม่ ผี ลบังคับใช้ตง้ั แต่ตน้ ปีน้ี และได้ท�ำ ให้สนิ ค้าผักส่งออกจาก ไทย ประเภทถัว่ ฝักยาว (yard long beans) มะเขือ (aubergines) และผักในตระกูลกระหล่ำ� (brassica vegetables) ต้องถูกตรวจเข้ม ณ ด่านนำ�เข้า โดยสุม่ ตรวจ 50% และล่าสุด สหภาพยุโรปได้ขยายครอบคลุมสินค้าจากไทยเพิม่ เติม ได้แก่ ผักชี (coriander) โหระพา (basil) และสะระแหน่ (mint) โดย สุม่ ตรวจ 10% และไม่เจาะจงประเทศในสินค้าผักสด ได้แก่ โหระพา (sweet basil) กระเพรา (holy basil) และผักชี (coriander) โดยสุม่ ตรวจ 20% ตามลำ�ดับ

28

• 107

มาตรการดังกล่าวได้สง่ ผลกระทบต่อผูป้ ระกอบการในสหราช อาณาจักรทีน่ �ำ เข้าสินค้าผักของไทย และธุรกิจไทยอย่างกว้าง ขวาง โดยเฉพาะเมือ่ คำ�นึงถึงร้านอาหารไทยซึง่ มีอยูป่ ระมาณ 1,550 ร้านทัว่ สหราชอาณาจักร สถานเอกอัครราชทูต พร้อม ด้วยสำ�นักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศจึงจับมือร่วมกัน กับสมาคมธุรกิจไทยในสหราชอาณาจักร (ATBUK) ซึง่ ได้เปิด ตัวอย่างเป็นทางการเมือ่ วันที่ 9 กันยายน 2553 จัดสัมมนา เพือ่ ให้ความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับกฎระเบียบต่าง ๆ เหล่านี้ โดยมุง่ หวังทีจ่ ะให้ขอ้ มูล รวมถึงช่วยหาหนทางแก้ไข และบรรเทาผลกระทบในระยะยาวต่อเอกชนไทย การสัมมนาดังกล่าวทำ�ให้ผเู้ ข้ารับฟังได้รบั ข้อมูลทีถ่ กู ต้องโดยตรงจากทางส่วนราชการของสหราชอาณาจักร โดย นาย Alan Curran ได้บรรยายถึงความเป็นมาของ Regulation 882/2004 ซึง่ เป็นพืน้ ฐานของการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคของ EU และมาตรการสุม่ ตรวจ รวมถึงมาตรฐานการควบคุมสินค้า อาหารจากประเทศทีส่ าม โดยเฉพาะกลุม่ “high risk” โดย อธิบายถึงกลไกการทำ�งานในสหราชอาณาจักรซึง่ มีหน่วยงาน ควบคุมทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ จนท.ด้านสุขอนามัยทีด่ า่ น (port health authorities) และ เจ้าหน้าทีท่ อ้ งถิน่ ทีด่ า่ นตรวจ โดย กระบวนการการบังคับใช้ Regulation 669/2009 มีความ เกี่ยวข้องกับการแจ้ง/ยื่นเอกสารล่วงหน้า (เอกสารรับรอง การแจ้งด่านตรวจที่นำ�เข้าสินค้า ระยะเวลาในการแจ้งด่าน ตรวจล่วงหน้า) ด่านตรวจทำ�การสุ่มตรวจ (มาตรฐานการ ดำ�เนินการสุม่ ตรวจ ความพร้อม/อุปกรณ์/จนท./ขนาดพืน้ ที่ เก็บสินค้า) การดำ�เนินการตรวจเอกสารและตัวอย่างสินค้า (ระยะเวลาการตรวจ การปล่อยสินค้า การขนส่งระหว่าง การรอผลตรวจ) โดยสหราชอาณาจักรจะรายงานต่อคณะ กรรมการยุโรปทุกไตรมาสถึงข้อมูล ขนาด/น้ำ�หนัก จำ�นวน ครัง้ ทีส่ มุ่ ตรวจ ผลของสุม่ ตรวจ นอกจากนีย้ งั มีประเด็นเรือ่ ง ราคาค่าธรรมเนียมในการตรวจด้วย นาย Curran ยอมรับว่า FSA ตระหนักดีถึงปัญหาเรื่องระยะเวลาการตรวจและการ ปล่อยสินค้าทีบ่ างครัง้ นานเกินไปจนมีผลต่อคุณภาพของสินค้า


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.