JOURNAL OF THAI HYDROLOGIST ASSOCIATION 2014

Page 174

การศึกษาแผนระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

ปริมาณน�า้ หลากในรอบ 1,000 ปี และ 10,000 ปี มีอตั ราน�า้ หลากสูงสุด 2,199 และ 3,255 ลบ.ม.ต่อวินาที ตามล�าดับ มีระดับน�า้ สูงสุด 156.83 และ 159.10 ม.รทก. ตามล�าดับ ท�าให้ปริมาณ น�า้ หลากไหลผ่านอาคารระบายน�า้ ล้นและอาคารระบายน�า้ ล้นฉุกเฉิน และช่วยลดความต่างระดับน�า้ เหนือน�้าและท้ายน�้า ท�าให้ลดผลกระทบของสภาวะน�้าเอ่อในพื้นที่เหนือเขื่อน ดังแสดงในรูปที่ 13 และสรุปผลดังตารางข้างล่างนี้

รูปที่ 13 การระบายน�้าหลากผ่านอาคารระบายน�้าล้น และอาคารระบายน�้าฉุกเฉิน

7. แผนการระบายน�้าหลังโครงการแล้วเสร็จ โครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน เป็นการก่อสร้างเขื่อนยกระดับน�้าในน�้าหินบุน เพื่อผลิต กระแสไฟฟ้า มีการเก็บกักน�้าตามล�าน�้า ท�าให้เกิดผลกระทบกับหมู่บ้านตามล�าน�้าในพื้นที่ตอนบน น้อย ในช่วงน�า้ หลากมีการระบายน�า้ ผ่านอาคารระบายน�า้ ล้น ท�าให้ระดับน�า้ เหนือน�า้ กับระดับน�า้ ท้าย น�้าแตกต่างกันน้อยมาก จากเหตุการณ์น�้าท่วมในปี พ.ศ.2556 ที่เกิดบริเวณพื้นที่ก่อสร้างโครงการ เพือ่ ให้เกิดผลกระทบต่อพืน้ ทีเ่ หนือน�า้ น้อยทีส่ ดุ จึงได้ศกึ ษาแผนการระบายน�า้ และก�าหนดแผนการ ระบายน�้า ดังนี้

173


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.