www.fiberglassthai.com
นิตยสารไทยคอมโพสิท
ThaiComposites ฉบับที่ 6 มิถุนายน-ธันวาคม 2561 Issue 6, June-December, 2018 ภายใต้การก�ำกับดูแลของ สมาคมไทยคอมโพสิท กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
Composites in Architecture & Construction AW-������ �����������-��61-01.indd 1
13/6/2561 13:39:36
AW-������ �����������-��61-01.indd 2
13/6/2561 13:39:36
AW-������ �����������-��61-01.indd 3
13/6/2561 13:39:36
4
THAI COMPOSITES MAGAZINE
TRAINING PROGRAM
สัมมนา BFML - Bio Fiber Matal Lamonate : วัสดุคอมโพสิทสำ�หรับอนาคต 21 มิถุนายน 2561
ศึกษาดูงาน China Composites Expo 2018 4-7 กันยายน 2561
สัมมนา COMPOSITES IN ARCHITECHTURE & CONSTRUCTION 18-19 กรกฎาคม 2561
ฝึกอบรม การทำ�ผลิตภัณฑ์คอมโพสิท ด้วยระบบ RTM 11-12 กันยายน 2561 สัมมนา งาน A Plas 2018 20 กันยายน 2561 ฝึกอบรม มาสคอท ไฟเบอร์ 26-27 กันยายน 2561
ฝึกอบรม แผ่นหน้าโต๊ะครัว 24 กรกฎาคม 2561
ฝึกอบรม หล่อพระพุทธรูปใส 9-10 ตุลาคม 2561
ฝึกอบรม การทำ�ผลิตภัณฑ์คอมโพสิทด้วยระบบ Spray Up 7-8 สิงหาคม 2561
ฝึกอบรม น�้ำตกเล็ก 24-25 ตุลาคม 2561
ฝึกอบรม การทำ�ชิ้นส่วนรถยนต์ด้วย Silicone Vacuum Bagging 22-23 สิงหาคม 2561
ฝึกอบรม Silicone Vacuum Bagging 7 พฤศจิกายน 2561 ฝึกอบรม Carbon Prepreg 28 พฤศจิกายน 2561
บริษัท บางใหญ่เรซิ่น (2006) จ�ำกัด (ร้ า นนิ ว บางใหญ่ เ รซิ่ น )
จำ�หน่ายวัสดุและอุปกรณ์ไฟเบอร์กลาส งานหล่อเรซิ่น ใยแก้ว ใยผ้าคาร์บอน ใยตาสาน ยางซิลิโคนทำ�พิมพ์ ยางพารา อีพ็อกซี่ โพลียูรีเทนโฟม ขี้ผึ้ง ยาขัด ปูนปลาสเตอร์ แว็กซ์ ผ้าซัต ลูกกลิ้งพร้อมอุปกรณ์
46/3 หมู่ 6 ตำ�บลเสาธงหิน อำ�เภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี โทรศัพท์ 02-9033483 , 02-0100733 แฟกซ์ 02-9031906 www.newbangyairesin.com AW-������ �����������-��61-01.indd 4
13/6/2561 13:39:38
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
5
EDITOR TALK EDITOR'STALK TALK EDITOR
ข ข
อแสดงความยินดีกบั คุณดนู โชติกพานิช ทีไ่ ด้รบั การผลิต และวัสดุคอมโพสิทใหม่ๆ ทั้งในประเทศ และต่าง รวมไปถึ ่นๆ ที่เกี่ยและต่ วข้อางที อแสดงความยิเลืนดีอกกจากคณะกรรมการสมาคมไทยคอมโพสิ บั คุณดนู โชติกพานิช ทีไ่ ด้รบั การผลิต ทและวัประเทศ สดุคอมโพสิ ทใหม่งๆบทความอื ทั้งในประเทศ ง ่เขียนขึ้นโดยผู้ ให้ดเห็ำานรงตำ าแหน่งดนายกสมาคมฯ วาระที ่สรวมไปถึ อง เชี่ยงวชาญในสาขานั การนำ�สายไฟสายโทรศั พ ท์ ่น และสายเคเบิ ล ลงใต้ ดิ น้นโดยผู้ ปีเลื2อ018 แสดงให้ ถึงความชั เจนของการเข้าไปสูทเป็ ่ นประเทศ กจากคณะกรรมการสมาคมไทยคอมโพสิ บทความอื ๆ ที้น่เกีๆ่ยโดยเฉพาะ วข้อ้ งที ่เขียนขึ ซึตื่งนท่เต้าานได้ ชง่วนายกสมาคมฯ ยผลักฒ ดันนาและการใช้ ให้ทางสมาคมฯ ่ร่ยู้จวชาญในสาขานั ักงเสริและ การส่ มการท่องเที ว การส่งเสริมนวัตกรรม ทีช่ ว่ ย ยุ คให้ทีด ่ นำา่ ารงตำ น ของการพั ง านวั่สได้ สอง ดุเป็นทีเชี แหน่ เป็นวาระที ้นๆย่ โดยเฉพาะ ให้อุตบสาหกรรมคอมโพสิ คอมโพสิทไว้ทัวง้ างใจจากหน่ ดบิ และการใช้ งานผลิ อกไป นี้เราจะได้อ่านภาคต่ทอในประเทศมี ของบทความ “บทบาทของ วยงานภาครั อย่ ง อาทิเป็เช่นนแรงผลั กรมกดันในฉบั ซึ่งท่านได้ ช่วยผลักในแง่ ดันให้วตทั ถุางสมาคมฯ ได้เป็ฐนเป็ตทีภัน่รณ ู้จฑ์ักาองสู และ ่ส ดใสอย่ เนื่อง ท ต่ อ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ นอนาคต” อย่างแพร่ ลายมอุมีตกสาหกรรม ารเพิ่มอย่างเป็ นนัยสำ�คัญ ทั้งทาง อนาคตที คออมโพสิ ส่วงหยงานภาครั เสริ กระทรวงอุ ตนสาหกรรม และหน่ วราจะได้ ย วัสอา่าดุงต่ ไว้วางใจจากหน่ ฐ เป็ น อย่ า งสู ง อาทิ เ ช่ กรม ในฉบั บ นี เ ้ นภาคต่ อของบทความ “บทบาทของ ด้านปริมเชื าณและความหลากหลายในการใช้ งาานในวงการ โดย ผศ. ดร.สนติ พีร์ เอมมณี ที่ท่านได้เกริ่นนำาความ อ ่ มโยงพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม สำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น ส่งเสริมต่อุาตงๆสาหกรรม กระทรวงอุ ตอสาหกรรม และหน่วย วัเพืส่ อดุเป็ คอมโพสิ ทต่มอสร้อุตา งความรู สาหกรรมยานยนต์ น การเสริ ้ แ ละประชาสั มใ นอนาคต” พั น ธ์ ที่ เ ห็ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจนคื การใช้ ง านในวงการ จำ า เป็ น และบทบาทในปั จ จุ บ น ั รวมถึ สดุคอม เป็ น ต้ น เชื่อมโยงพั ฒนาอุตเช่สาหกรรม กงานส่ทงเสริ การลงทุน โดย ผศ.กบั ดร.สนติ พีร์ เอมมณี ทีบ่ท่าJEC นได้เGroup กริ่นนำงาอนาคตของวั ความ ข่าวสารให้ สมาชิก สมาคมฯก็ ได้รว ่ มกั อากาศยาน น การใช้วัสสำดุาคนัอมโพสิ เป็นมจำ�นวนมาก ทในทั น พลั และยาน มมนาวิโพสิ ชาการคอมโพสิ ทในอุต สาหกรรมระบบ เป็นต้นถึง 50% โดยน�้ำหนักในเครื่องบิน Boeing รุ่น 787 จำจัาดเป็งานสั นและบทบาทในปั จจุบ้งันอุตสาหกรรมการบิ รวมถึ งอนาคตของวั สดุงคงานลม อม ยนต์้นส่ไว้วนยานยนต์ อย่างน่านติดไปแล้ ตามในตอนที ่แล้วและยาน คงจะได้กล่าวในราย ตลอดปี 2559เช่นทีการใช้ ่ผ่านมา กทิจงในทั กรรม ขนส่ ทางรางและชิ ่อปี 2559 หรือในวงการยานยนต์ วส ั ดุทางสมาคมฯ คาร์บอนไฟเบอร์ยังคงมี โพสิ ้งอุตสาหกรรมการบิ พลัวงเมืงานลม ดทีว่นมกั ่าสนใจ ารูมนาวิ ้มากยิชก่งาการ าเดิมในส่วนของอุต ง่าเสริ ต กให้ ับท่านสมาชิ และทัก้ งไว้ สององค์ น จั ด งานสั วัสดุเพื หลั่อทีกส่่ผในการขึ ้นทางสมาคมฯ รูปชิ้นฒส่นาการผลิ วนบอดียั้รงถยนต์ ซิจุปกกรรม เปอร์ ตลอดปีเป็น2559 นมามการพั คงมี ยนต์ อคืย่อางน่ละเอี ากติรจะร่ ดยตามในตอนที ่แและน่ ล้ว มคงจะได้ ล่ไปกว่ าวในราย คอมโพสิ ครั-สาหกรรมยานยนต์ ง้ ในหัวข้อคอมโพสิทในงานก่ างในวันที่ อนี้ โดยเฉพาะในภาคต่ ้นในวงการก่ งานด้ ยกรรมวิ างๆยดทีทและ การอบรมการผลิ ทบทุ กฒ ยี่หนาการผลิ ้อและทุกคัตนตชิให้ อสร้กางทีธคื ่นำีแอ �บบต่ละเอี เพื่อส่งคาร์ เสริมแการพั กับท่าวนสมาชิ ่นอี่ากสนใจ และน่ารู้มากยิ่งไปกว่ าอเดิสร้มในส่ วนของอุต 18-19 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรม ชาเทรียม ริเวอร์ไซต์ เส้นใยแก้ผลิ วมาผสมเพื ่อูปเสริ มความแข็ งแรงของพื2559 ้นผิว และยั ตลอดปี ง จะเพิ ม ่ ต ภั ณ ฑ์ ร แบบต่ า งๆ การอบรมการผลิตชิ้นงานด้วยกรรมวิธีแบบต่างๆ และ -สาหกรรมยานยนต์ โดยเฉพาะในภาคต่ อนี้ า ค ม ฯ แ ล ะ จุโดยได้ ฬ า ล ง กนอกจากนั ร ณ ์ ม ห า้นวิ ททางสมาคมฯ ย า ลั ย ท า งยัสงม คอนกรีตกิทีจต ่ กรรมการอบรมให้ อ ้ งการตกแต่งให้มล ี เข้วดลายโค้ งนูน่งขึสวยงาม ม ข้ น มากยิ น ้ ในปี 2560 รัฐนันท์ อินทรนิวาส และยั งจะเพิ่ม ขอเชิญท่านสมาชิกและท่านที่สนใจมาร่วมงานดัได้งกล่คุณ ผลิตภัตามการออกแบบของสถาปนิ ณฑ์รูปแบบต่างๆ ตลอดปีกทั2559 าว ง ้ แนวโมเดิ ร น ์ และแนว มีการวางตารางการสอนประจำ าเดือนไว้อย่างหลากหลาย (คุณโบ๊ท) หุ้นส่วนผู้จัดการ หจก. นาวาเลียนคอมโพสิท กิจกรรมการอบรมให้ เข้มข้รวมไปถึ นมากยิง่งการใช้ ขึ้นในปีเส้น2560 ณ ที่นี้ ้น ทางสมาคมฯ ยังได้ คุณรัฐนันท์ อินทรนิวาส แฟนตาซีเฉพาะทาง ใยคาร์บโดยได้ อนมา นอกจากนั อาทิเช่น คอร์สาอบรมการผลิ ตประตูไฟเบอร์ก(คุลาส ของรางวั ่ยมยนคอมโพสิ จากงานท SolidWorks มีการวางตารางการสอนประจำ เดือนไว้ อย่างหลากหลาย ณโบ๊ท)ชิ้นหุ้นเจ้ ส่วานผู ้จัดการลผลงานยอดเยี หจก. นาวาเลี เสริมความแข็งแรงทางโครงสร้ างของอาคาร สะพาน ส่วนประดั บยนต์จากคาร์ บอนไฟเบอร์ เฟอร์ จอร์ แบบ ลอผลงานยอดเยี Thai Userมมนาวิ Conference 2006 โดยสถาบั น SolidWorks ให้รสูปอดคล้ งกับงานสั กำ ่ �ลั งจะจั ดขึน ้ โมงค์สอบรมการผลิ ในวงการขนส่ตงระบบรางที ช่ น ิ้ ส่กวลาส นภายนอก อาทิเช่นและอุคอร์ ประตูไฟเบอร์ ชิ้น นิเเจ้เพื าอ่ ของรางวั ่ยม ชาการที จากงาน SolidWorks ต่าจงๆ จัดสวน ตกเที ซัUser บซ้อนConference Thai บSociety มาเขี ยนบทความแบ่ งปันความรู้ในเรื่องการ เนื้อนหาในวารสารฉบั นี้จึงได้ รวบรวมบทความการนำ� ของตั วรถไฟฟ้ า ชิอุน ้ ปส่บกรณ์ วอนไฟเบอร์ นภายในทั ง้ ทีน ่ งั่ รวมไปถึ และที เ่ ก็บงสันรม้ำาูปภาระ ส่วนประดั บยนต์ ากคาร์ เฟอร์ นิเจอร์ แบบ ยมอั Thai 2006 โดยสถาบั น SolidWorks ทัน้งจนีัดในวงการเรื ้เสวน พื่อส่งเสริ นาและออกแบบผลิ ใSociety ห้กับ ททีออกแบบเรื อสำอาหรั คนทั ไป ให้ ับทัท่ง้่อางการ นสมาชิก และท่านที่ วัภัสณดุฑ์ คอมโพสิ ใ่ มาเขี ช้ในวงการก่ สร้บ างในรู างๆ อม ทีเ่ การพั รือประมงไม้ ในหลายประเทศ ต่างๆ และทางเดิ อุปกรณ์ รวมไปถึ งนำา้ ฒตกเที ยมอันซับซ้อน ตThai ยนบทความแบ่ งปัปน่วแบบต่ ความรู ้ใกนเรื งานโครงสร้ งานผนังใช้เงานหลั งคา งานภายในอาคาร นสมาชิ กนาและออกแบบผลิ และเป็ วยประชาสั ึงศักยภาพอาสำงาสนใจได้ ป็ไปนแนวทางในผลิ ตเรือกให้เและท่ ป็นไปตามหลั วยเรือฒ คอมโพสิ ทเพืนอ ่ การช่ รักษาสิ ง่ ตแวดล้ ทั้งนี้เพืถู่อกส่ทดแทนด้ งเสริท่มาการพั ภัณอฑ์มให้มและ กพัับนธ์ถออกแบบเรื หรั บ คนทั ว ่ ให้ กับกษาต่ ท่านสมาชิ านที่ กการที่ถูก โดยได้ เ สริ ม มุ ม มองของสถาบั น การศึ า งประเทศที ม ่ ี เรื อ ท่ อ งเที ่ ย วต้ อคงเป็ น คอมโพสิ ท เพื่ อ ลดน� ้ ำ หนั กา งสรรค์ ให้ อมโพสิ ทที่สามารถนำ ชิ้นงานได้ ต้อง หรือตนำเรืาไปใช้ แนวทางในการพั ท่านสมาชิ ก ของวั และเป็สนดุการช่ วยประชาสั มพันธ์ถาึงไปสร้ ศักยภาพ สนใจได้ ใสช้ดุเป็คนอมโพสิ แนวทางในผลิ อสให้ เเป็ป็ลันกนไปตามหลั กการทีฒ ่ถูกนาการออกแบบ การนำ�วั ท เข้ า มาเป็ น วั ดุ ห ในการออกแบบ ประหยัดมากมายในหลากหลายอุ น�ำ้ มันและดูแลรักษาง่าย และในวงการพลั ง งาน สาหกรรมแก่ ผู้ ส นใจทั ตภัณนฑ์แนวทางในการพั อื่นที่คล้ายคลึงกัฒนนาการออกแบบ ได้ ท้ายนี้ ผมในฐานะตัวแทน ของวัสลมที ดุคอมโพสิ ามารถนำวายวั ไปสร้ าตงสรรค์ งานได้ ต้สถาปั อง่ วตไปอี หรืกอนำผลิ าเข้ไปใช้ ยกรรม าไว้เใป็นฉบั บด้วย และวารสารฉบับนี้ยัง ่ใบพัด้ดวกัยงทหัทีน่ สลมจะทำ�ด้ สดุค อมโพสิทชิ้ น100% ผู่ค้จล้ัดาทำยคลึ าหนังสือ ขอกล่ าวคำ าว่า “ขอบคุวณแทน ” สำาหรับทุกท่าน มากมายในหลากหลายอุ ต สาหกรรมแก่ ผู้ ส นใจทั ่ ว ไปอี ก ผลิ ตภัณฑ์อื่นอ้ ทีหาที ท้ายนี ้ บก่ผมในฐานะตั คงนำ�เสนอเนื เ่ ข้มข้นงต่กัอนเนืได้ อ ่ งจากฉบั อน ในเรือ ่ ง เพื่อลดน�้ำหนักของใบที ่มีขนาดใหญ่หลายสิ บเมตร วารสารฉบับนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมหลัผูความรู ก้จของสมา ่งเสริอมาวคำ บาสนุ“ขอบคุ น ติดณตาม และติ ารออกแบบเรื เรืสนั ่อาว่งบทบาทของคอมโพสิ ทบใน ด้วย ัดทำา้กหนั งสือที่สขอกล่ ” สำาหรั ทุชกมการจั ท่าน ดทำาวารสาร ่จะใช้่งเป็ของกิ นหนึ่งจในสื กในการให้ วสารใน มาอย่ างต่ อเนืม่อจะสะท้ ง ดเราจะยั ้อทหาทั ้งและติ หมดในเล่ น งคงจัดหาเนื้อหาดีๆ ส่วนอุบตนีคมฯ สาหกรรมในประเทศเองก็ ไม่่อนหลั ้อยหน้ าเช่นกัขน้อมูล วารสารฉบั ้ก็เป็นส่วทีนหนึ กรรมหลั กของสมา ทีอุข่่สตา่งสาหกรรมรถยนต์ เสริม สนับไทยคอมโพสิ สนุน ซึติ่งดเนืตาม ชมการจั ทำาอวารสาร งาวสารใน เหล่มการ าสมาชิไทยคอมโพสิ กให้และผู อย่ างนีางต่ ้มาให้ อ่านอย่งคงจั างต่ดอหาเนื เนื่องแน่ นอนๆ แล้วพบกัน เห็นถึ้สงนใจ การเติทบมาอย่ โตและอนาคตที ฐในการส่ คมฯ โดยความพยายามจากทางภาครั ที่จะใช้แวดวงคอมโพสิ เป็นหนึ่งในสื่อหลัทกในประเทศไทยไปยั ในการให้ ข้อมูลงข่เสริ อเนืท่อ่าสนได้ งดใสของวงการคอมโพสิ เราจะยั ้อทหาดี รวมถึ งแนวโน้ ม บการพั ทัก้งงการออกแบบ หน้บาโลกได้ ทั้งเทคโนโลยี ในระดับประเทศและระดั เป็นอย่างดี ขนส่งระบบราง การปรั ภูมงิทเหล่ ัศฒ น์าขนา องกรุ เทพฯโดย แวดวงคอมโพสิ ทในประเทศไทยไปยั สมาชิ และผู ้สนใจ อย่ างนี้มาให้ท่าใหม่ นได้ฉอบั่าบนอย่ าครั งต่อบเนื ่องแน่นอน แล้วพบกัน รวมถึงแนวโน้ม การพัฒนา ทั้งการออกแบบ เทคโนโลยี ใหม่ฉบับหน้าครับ สมาคมไทยคอมโพสิท
อาคารปฏิบัติการไฟเบอร์กลาส ซอยตรีมิตร กล้วยน�้ำไท ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์. 0-2713-5033 โทรสาร. 0-2713-5032 E-mail : thaicomposites@gmail.com www.fiberglassthai.com facebook: www.facebook.com/thaicomposites2538
จุติ เพียรลำา้ เลิศ จุติ เพียรล้ำาเลิอุศปนายกสมาคม อุปนายกสมาคม
TCA - ThaiComposite Magazine #5.indd 5
TCA - ThaiComposite Magazine #5.indd 5
AW-������ �����������-��61-01.indd 5
13/5/2560 16
13/5/2560 16:13:33
13/6/2561 13:39:40
5 8 13 19 24 29
Contents
4 7 10 16 22 26
TRAINING PROGRAM EDITOR'S TALK Board of committee Activities Construction awards Sports and leisure Construction Composites Knowlage Education Composites in the World Market C OMPOSTIES Nano
สมาคมไทยคอมโพสิท อาคารปฏิบัติการไฟเบอร์กลาส กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 Thai Composites Association Fiberglass Lab Center, Department of Industrial Promotion. Soi Trimitr Rama 4 Rd., Klong Toey, Bangkok 10110 Thailand. Tel+662 713 5033 Fax.+662 713 5032 Email. thaicomposites@gmail.com Website. www.berglassthai.com
TCA - T
AW-������ �����������-��61-01.indd 6
13/6/2561 13:39:40
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
7
BOARD OF COMMITTEE คณะกรรมการบริหาร ปี 2560-2561 ดนู โชติกพนิช นายกสมาคมฯ ธนชัย อำานวยสวัสดิ์
จุติ เพียรล้ำาเลิศ
ดร.สนติพีร์ เอมมณี
ณัฐวุฒิ ชัยญาคุณาพฤกษ์
รัฐนันท์ อินทรนิวาส
วรางค์ศิริ ศศิทวีวัฒน์
ประพิณ เพิ่มอารยวงศ์
อุทัย จารุปราโมทย์
อรอนงค์ ใจเย็น
ชัยพล เขมปัญญานุรักษ์
อธิษฐ์ จิรพงศานานุรักษ์
กฤษณะ เลขานุกิจ
จีราภรณ์ วงศ์ชัยพานิชย์
ธวัชชัย จารุกิจจรูญ
ณัฐนันท์ ศิริรักษ์
ณัฐไชย นะวิโรจน์
พรรวดี กราพพ์
อุปนายก
อุปนายก
นายทะเบียน
กรรมการ
TCA - ThaiComposite Magazine #5.indd 7
AW-������ �����������-��61-01.indd 7
อุปนายก
อุปนายก
ประชาสัมพันธ์
กรรมการ
เลขาธิการ
กรรมการ
กรรมการ
เหรัญญิก
กรรมการ
กรรมการ
ปฏิคม
กรรมการ
กรรมการ
13/5/2560 16:08:45
13/6/2561 13:39:40
8
Activities
THAI COMPOSITES MAGAZINE
กิจกรรมพัฒนาผู้น�ำธุรกิจเชิงสร้างสรรค์สาขาออกแบบ ผลิตภัณฑ์พลาสติกและคอมโพสิท สมาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ สถาบันพลาสติก จัดการ สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารในหั ว ข้ อ เรื่ อ ง “Develop Creative Business Leaders in Composites Industrial” ในวันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมรามาดา พลาซ่า กรุงเทพ แม่น�้ำ ริเวอร์ไซต์ (โรงแรมแม่น�้ำเก่า ถนนเจริญกรุง)
โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ เตรียมความพร้อมของผูป ้ ระกอบ การสู ่ ก ารเป็ น ผู ้ นำ�เชิ ง สร้ า งสรรค์ ด ้ า นการออกแบบ ผลิตภัณฑ์คอมโพสิท พร้อมทั้งเสริมองค์ความรู้ที่จำ�เป็น ต่อการพัฒนาธุรกิจ และสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้เพื่อ ประโยชน์ทางการค้า ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพตนเอง เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
CARBON PREPREG สมาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ บริษัท แอบโซลูท คาร์บอน จำ�กัด และ บริษัท อัลฟ่า คอมโพซิชั่น จำ�กัด จัดการฝึกอบรมสัมมนา ในหัวข้อเรื่อง “Carbon Prepreg” เมือ ่ วันพุธที่ 24 มกราคม 2561 ณ อาคารศูนย์ออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ซ.ตรีมติ ร กล้วยน�ำ้ ไท กรุงเทพฯ โดยมีวตั ถุประสงค์ให้ผเู้ ข้าฝึกอบรม เข้าใจคุณสมบัติของวัสดุได้อย่างถูกต้อง รวมถึงกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ จาก Carbon Prepreg โดยท่ า นจะได้ ล งมื อ ปฏิ บั ติ ง านจริ ง ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม กระบวนการจนจบ จากวิทยากรผู้มีประสบการณ์
AW-������ �����������-��61-01.indd 8
13/6/2561 13:39:43
s
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
Product development and i n n ova t i ve d es i g n o f composites material
กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ร่ ว มกั บ สมาคมไทยคอมโพสิท บริษัท คอนกรีต คอมโพสิท และ บริษท ั เอเชีย กังนัม จำ�กัด จัดการฝึกอบรมสัมมนาเชิงปฏิบต ั ก ิ าร ใน หัวข้อ “Product development and innovative design of composites material” ระหว่างวันที่ 26-28 มีนาคม 2561 ณ อาคารออกแบบและพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ซ.ตรี มิ ต ร กล้ ว ยน�้ ำ ไท กรุงเทพฯ โดยมีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นใน การให้เกิดการวิจย ั พัฒนาหรือนวัตกรรม และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ให้กับบริษัท รวม ถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพือ ่ เป็นการปรับ แนวความคิด
9
การผลิตงานไฟเบอร์กลาส ด้วยวิธี
Hand Lay Up สมาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ บริษัท เลิศวัฒนกิจ จำ�กัด จัดการฝึกอบรมในหัวข้อ เรื่อง “การผลิตไฟเบอร์กลาส ด้วยวิธี Hand Lay Up” ระหว่างวันที่ 21 - 25 พฤษภาคม 2561 ณ อาคารปฏิบตั กิ ารไฟเบอร์กลาส ซ.ตรีมติ ร กล้วยน�ำ้ ไท คลองเตย กรุงเทพฯ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมเข้าใจพื้นฐานของการผลิตงาน ไฟเบอร์กลาส ซึง่ สามารถนำ�ไปใช้งานได้จริง โดยท่านจะได้ลงมือปฏิบตั งิ านทุกขัน้ ตอน พร้อมทั้งมีผู้เชี่ยวชาญให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ตลอดการฝึกอบรม
AW-������ �����������-��61-01.indd 9
13/6/2561 13:39:44
10
THAI COMPOSITES MAGAZINE
Construction Awards
อนาคตของวัสดุคอมโพสิท (Composite) ในงานประกาศรางวัลนวัตกรรมด้ า น การก่อสร้าง ปี 2017
ผลงานจำ�นวนมากที่ถูกส่งเข้าร่วมประกวดในงานนวัตกรรมครั้งนี้ถือเป็น หลักฐานที่ชัดเจนว่าวัสดุคอมโพสิทได้ถูกนำ�มาใช้กันอย่างแพร่หลายในงาน ด้านการก่อสร้าง ดังนั้นสำ�หรับบทความฉบับแรก “อนาคตของวัสดุคอมโพสิท ในการก่อสร้าง” (“The Future of Composite in Construction”) นี้ จะพูดถึงการใช้ทั้งหมดนี้ วัสดุคอมโพสิทเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (Glass Fiber Reinforced Polymer: GFRP) ส�ำหรับความท้าทายในการฟื้นฟู ตัวเมือง
เมื่ อ
ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความ ท้าทายในการฟื้นฟูอาคารเก่า (ฐานราก เดิมของอาคารทีมอเมริกาคัพ) การใช้ วัสดุคอมโพสิทจึงกลายเป็นตัวเลือกทีไ่ ด้ รับความนิยมอย่างแพร่หลายในเวลาอัน รวดเร็ ว เนื่ อ งจากมี ข ้ อ ดี ม ากมาย ยก ตัวอย่างเช่น ความใกล้ไกลทะเลของสิ่ง ก่อสร้างจำ�เป็นต้องใช้วัสดุที่ทนต่อการ กัดกร่อนและมีความทนทานสูง นอกจาก นี้ความสะดวกในการผลิต การควบคุม การผลิต และการติดตัง้ ชิน ้ ส่วนสำ�เร็จรูป
AW-������ �����������-��61-01.indd 10
อย่างรวดเร็วทีใ่ ช้งานโดยวัสดุคอมโพสิท ช่วยให้โครงการทั้งหมดสามารถเสร็จได้ ภายในปีเดียว อุ ป กรณ์ แ ผงกั น แดดด้ า นหน้ า อาคาร ประกอบไปด้วย ผนังกรุ แผ่นบานเกล็ด ประกอบ ที่ อ อกแบบมาเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอาคาร ระยะห่างของแผ่นบานเกล็ดถูกคำ�นวณ มาอย่างละเอียดเพื่อให้แสงแดดผ่านเข้า มาได้ในช่วงฤดูหนาว แต่ในขณะเดียวกัน ก็ต้องช่วยป้องกันไม่ให้แสงแดดผ่านเข้า มาในช่วงฤดูร้อนด้วย แผ่นบานเกล็ด เหล่านี้ได้รับประโยชน์จากคุณสมบัติทาง ความร้อนของวัสดุคอมโพสิทเสริมแรง ด้ ว ยเส้ น ใยแก้ ว เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ อะลูมิเนียม จึงทำ�ให้ประสิทธิภาพการใช้ พลังงานของอาคารสูงขึ้นมาก
บริษัท : Owens Corning (France) หุน ้ ส่วน: Polymec SI (Spain), ERRE Arquitectura (Spain), Gazechim Composite Iberica, S.A. (Spain), Miraplas, S.L. (Spain), RTM Bey Consultant (Spain)
13/6/2561 13:39:45
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
11
งานด้านวิศวกรรมโยธา (Civil engineering)
คานหน้าตัดรูปตัวไอทำ�จากวัสดุคอมโพสิท (Composite I-beam) เสริมความแข็งแรงด้วยเส้นใยคาร์บอน
นวัตกรรมนี้ใช้วัสดุคอมโพสิทประเภทเสริมแรง
ด้วยเส้นใยผ้าทอทีม ่ าจากกระบวนการขึน ้ รูปแบบ ใหม่ที่ เรี ย กว่า add-on weaving ซึ่ ง กระบวนการนี้ช่วยเพิ่มอิสระในการผสมผสาน โครงสร้างเส้นใยที่แตกต่างกันในรูปแบบสามมิติ เช่นการทอเส้นใยแบบวางทำ�มุม 00/900 และ +/- 450 โดยมีการเชื่อมต่อกันอย่างเต็มรูปแบบ ระหว่ า งบริ เ วณแถบและครี บ (Webs and Flanges) โครงสร้างที่ผสมผสานกันของเส้นใย ผ้าทอแบบนี้จะช่วยป้องกันความเสียหายที่อาจ เกิดจากการแยกตัวออกเป็นชัน้ ๆ (Delamination) บริเวณข้อต่อระหว่างแถบและครีบ อีกทัง้ ยังช่วย เพิ่มความต้านทานต่อแรงดัดของคานได้อีกด้วย เมื่อเทียบกับคานเหล็กหน้าตัดรูปตัวไอแบบเดิม คานที่ผลิตจากวัสดุคอมโพสิท มีความแข็งแรง ต่อน�้ำหนักสูงขึ้นถึง 2-3 เท่าและยังสามารถดูด ซับพลังงานได้มากกว่าเหล็ก 2-3 เท่าต่อน�้ำหนัก
แผ่นคอนกรีตสมรรถนะสูงทีทำ ่ �จากวัสดุคอมโพสิทแบบพลาสติก เสริมแรงด้วยเส้นใย (Fiber-Reinforced Plastic: FRP)
แผ่นหุ้มโครงสร้างอาคาร (Structural cladding)
ค อ น ก รี ต ส ม ร ร ถ น ะ สู ง
( U l t ra - H i g h Performance Concrete, UHPC) มีพื้นผิวที่ แข็งแรง ทนไฟ และรูปลักษณ์ที่น่าดึงดูดใจ แต่การ ใช้งานส่วนใหญ่ของคอนกรีตสมรรถนะสูงจะถูกใช้ ในรู ป แบบโครงสร้ า งพื้ น ผิ ว ภายนอกซึ่ ง ส่ ง ผลให้ โครงสร้างหนาและมีนำ�้ หนักมาก บริษทั พรีเมียร์คอม โพสิท จึงได้พฒ ั นาวิธกี ารแก้ปญ ั หานีข้ นึ้ โดยใช้แผ่น คอนกรีตสมรรถนะสูง (UHPC) ร่วมกับการใช้แผ่น วัสดุคอมโพสิทแบบพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย (FRP) ในรูปแบบโครงสร้างแซนวิช (Sandwich Structure)
การทดสอบเต็มรูปแบบของการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อรองรับแผ่นดินไหว
หนึ่งในความกังวลหลักของสิ่งก่อสร้างทั่วโลก
คือความทันสมัยของโครงสร้างพื้นฐาน นี่เป็นภัย คุกคามต่อความปลอดภัยของประชาชนและทำ�ให้เกิด ความสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ดังนัน้ การ หาวิธีที่มีประสิทธิภาพในการซ่อมแซมอาคารสะพาน และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ จึงกลายเป็นสิ่งท้าทายสำ�หรับ อนาคตโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยแผ่นดินไหว เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของวัสดุที่ใช้สำ�หรับงาน ปรับปรุง ซ่อมแซม แก้ไขและเสริมความแข็งแรงให้ โครงสร้างอาคาร ที่ทำ�จากวัสดุคอมโพสิทเสริมแรง ด้วยเส้นใยคาร์บอน (Carbon Fiber Reinforced Polymer: CFRP) บริษทั DowAksa Advanced Composites ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคนิคอิสตัน บูล (Istanbul Technical University) ได้ทำ�การ จำ�ลองการเกิดแผ่นดินไหวแบบเต็มรูปแบบ โดยมี อาคารขนาดใหญ่สองแห่งซึง่ สร้างขึน้ โดยใช้รากฐาน
AW-������ �����������-��61-01.indd 11
และวั ส ดุ เ ดี ย วกั น กั บ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งที่ ใ ช้ กั น มาหลาย ทศวรรษแล้วในประเทศตุรกี โดยอาคารหลังแรกได้ รับการปรับปรุง ต่อเติมโครงสร้างใหม่ดว้ ยวัสดุคอม โพสิทเสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอน ส่วนอาคารหลัง ที่ ส องไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงหรื อ ต่ อ เติ ม ใด ๆ ใน ระหว่างการทดสอบ อาคาร ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ การปรั บ ปรุ ง โครงสร้างเกิดความเสียหาย และยุ บ ตั ว ลง ในขณะที่ อ า ค า ร ที่ ถู ก ป รั บ ป รุ ง โครงสร้ า งด้ ว ยวั ส ดุ ค อม โพสิทเสริมแรงด้วยเส้นใย คาร์บอนนั้นยังคงแข็งแรง อยู่และไม่เกิดความเสียหาย ที่ สั ง เ ก ต เ ห็ น ไ ด ้ จ า ก ตั ว อาคารดังกล่าวเลย
นวั ต กรรมนี้ ไ ด้ ร วมเอาความมี น�้ ำ หนั ก เบาและ เสถียรภาพของโครงสร้างแบบแซนวิชของวัสดุคอม โพสิทแบบพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย เข้ากับความ แข็งแรงทนทานและการทนต่อความร้อนได้ดีของ แผ่นคอนกรีตสมรรถนะสูง ทำ�ให้สามารถสร้างแผ่น โครงสร้างขนาดใหญ่ทมี่ ขี นั้ ตอนการตกแต่งและการ บำ�รุ ง รั ก ษาต�่ ำ ได้ และยั ง ช่ ว ยให้ ก ารติ ด ตั้ ง เป็ น ไป อย่างรวดเร็ว บริษัท: Premier Composite Technologies (United Arab Emirates) หุ้นส่วน: Technische Univerität Chemnitz (Germany)
การซ่อมแซม (Repair) บริษทั : DowAksa Advanced Composites (Turkey) หุน้ ส่วน: Istanbul Technical University (Turkey)
13/6/2561 13:39:45
12
THAI COMPOSITES MAGAZINE
หลังคาไฟเบอร์กลาส (Fibre-Reinforced Plastic: FRP) โครงสร้างแบบฟรีฟอร์มโดยไม่มีแม่พิมพ์
นวัตกรรมนีเ้ กีย่ วข้องกับวัสดุคอมโพสิททีข่ นึ้ รูปผิว ด้านในและด้านนอกทีเ่ สร็จสมบูรณ์รวมถึงโครงสร้าง หลั ก ของหลั ง คา หลั ง คาที่ ทำ�จากวั ส ดุ ค อมโพสิ ท ไฟเบอร์กลาสถูกนำ�มาใช้แทนทีโ่ ครงเหล็กเกือบทัง้ หมด โดยหลังคาที่ทำ�จากวัสดุคอมโพสิทโครงสร้างแบบ แซนวิชนี้ประกอบด้วยแกนกลางที่ทำ�จากแผ่นโฟม หนา มีแผ่นประกบด้านบนและด้านล่างทำ�จากไฟเบอร์ กลาส
ด้านการออกแบบ (Design)
แกนกลางผลิ ต จากโฟมพอลิ เ อทิ ลี น เทเรฟทาเลต (PET) ที่ ไ ด้ จ ากขวดน�้ ำ ที่ นำ�มารี ไ ซเคิ ล โดยจะถู ก แปรรูปเป็นโฟมทีซ่ บั ซ้อนและถูกยึดติดกันเป็นชิน้ ส่วน ย่อยขนาดใหญ่ (โครงสร้างหลักถูกทำ�ขึน้ 26 ชิน้ และ ยาวประมาณ 40 เมตร) จากนั้นจะวางแผ่นไฟเบอร์ กลาสที่ผิวบนและล่างของโครงสร้าง ในพื้นที่ที่ต้อง รับภาระโหลดสูงส่งผลให้โครงสร้างแซนวิชต้องมี ความหนามากกว่า 800 มิลลิเมตร นอกจากนี้ ความ
สมบูรณ์ของโครงสร้างยังทำ�ให้เกิดฉนวนกันความ ร้อนในระดับที่สูงมาก และแต่ละส่วนของหลังคาจะ ประกอบเข้าด้วยกันโดยไม่ตอ ้ งใช้การยึดทางกลใด ๆ เพื่อสร้างเป็นโครงสร้างแผ่นบางอย่างต่อเนื่องและ ให้รูปลักษณ์ที่ไร้รอยต่อ ข้ อ ได้ เ ปรี ย บที่ โ ดดเด่ น ที่ สุ ด ของนวั ต กรรมนี้ คื อ ต้นทุนโดยรวมและเวลาในการสร้างที่ลดลง รวมถึง ลักษณะโครงสร้างน�้ำหนักเบาที่ช่วยคง ความแข็งแรงของตัวหลังคาเองได้ทำ�ให้ ช่วยลดการใช้โครงสร้างรับแรงลงไปได้ มาก ส่ ง ผลให้ พื้ น ที่ ภ ายในกว้ า งขวาง มากขึ้น บริ ษั ท : Optima Projects Ltd (United Kingdom) หุน ้ ส่วน: Janicki Industries (United States)
ด้านพลังงาน (Energy)
SolarClover แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่เหนือกว่า
ซึ่งทั้งหมดนี้ทำ�หน้าที่เป็นโครงสร้างของแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ที่มีประสิทธิภาพสูง โครงสร้างนีม้ ลี กั ษณะเด่นทีสำ่ �คัญคือเป็นโครงสร้าง น�้ำหนักเบา (น�้ำหนักน้อยกว่าแผงเซลล์แสงอาทิตย์ แบบทัว่ ไปถึง 30%) และยังมีความต้านทานการเจาะ ทะลุ ความต้านทานความร้อน ความสามารถในการ ทนไฟและทนความชื้นที่ดี รวมทั้งความสามารถใน การรีไซเคิลด้วย นอกจากนี้ การออกแบบที่เป็น นวัตกรรมใหม่นจี้ ะช่วยลดการใช้โครงจากอะลูมเิ นียม และแผ่นกระจกด้านหน้า โครงสร้างวัสดุคอมโพสิทนี้ ยังช่วยทำ�ให้พลังงานที่ใช้ในการผลิตลดลงและช่วย ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทัง้ ลดค่า ใช้ จ ่ า ยของแผงเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ด ้ ว ย ซึ่ ง นี่ ถื อ เป็นการช่วยส่งเสริมตลาดพลังงานแสงอาทิตย์ให้ ขยายตัวอย่างรวดเร็ว
เมื่อมีการคำ�นึงถึงการสร้างอาคารที่ใช้พลังงาน
ต�่ำกันอย่างต่อเนื่อง การปรับตัวให้เข้าสิ่งแวดล้อม โดยการรวมแหล่ ง พลั ง งานหมุ น เวี ย นเข้ า กั บ ตั ว อาคารจึงได้กลายเป็นส่วนสำ�คัญของอุตสาหกรรม การก่อสร้าง นวัตกรรมนี้ประกอบด้วยแกนกลางที่
AW-������ �����������-��61-01.indd 12
มีโครงสร้างคล้ายรังผึง้ ทำ�จากวัสดุเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic Honeycomb Core) และแผ่นประกบผิวด้านบนและด้านล่างทำ�จากวัสดุ เทอร์ โ มพลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ยแก้ ว (GlassRe i n fo rce d T h e r m o p l a s t i c S k i n )
บริ ษั ท : Armageddon Energy (United States) หุ ้ น ส่ ว น: EconCore (Belgium), DuPont Performance Polymers (Switzerland)
13/6/2561 13:39:46
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
13
SPORTS AND LEISURE
ด้านกีฬาและสันทนาการ
กระดานโต้คลื่น (Surfboard)
ประวัติศาสตร์และอนาคต ของการออกแบบ กระดานโต้คลื่น ปัจจุบัน อุตสาหกรรมกระดานโต้คลื่นพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับ ช่ ว งเวลาที่ กระดานโต้ค ลื่น ไฟเบอร์ก ลาสรุ่นแรกถูกนำ�เข้าสู่ตลาดในช่วง ปลายของทศวรรษที่ 40 (ค.ศ. 1940 - 1949) โดยมันเปรียบเสมือน เป็นแหล่งรวมนวัตกรรมใหม่ ๆ และเทคนิคการผลิตรูปแบบต่าง ๆ สำ�หรับ วัสดุคอมโพสิทไปแล้ว ตลอดจนถึงกีฬาทางน�้ำชนิดต่าง ๆ ที่ต้องใช้แผ่น กระดานโต้คลื่น อย่างเช่น การเล่นวินด์เซิร์ฟ (Windsurfing) ไคท์เซิร์ฟ วิ่ง (Kitesurfing) และการเล่น Stand Up Paddle Board (SUP) ซึ่ง เป็นกีฬาทางน�้ำที่ผู้เล่นจะใช้ไม้พายในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ขณะกำ�ลังยืน อยู่บนกระดานโต้คลื่น
การโต้คลืน่ ถูกพูดถึงครัง้ แรกในสมัย
ศตวรรษที่ 6 แถบภูมิภาคโอเชียเนียใน มหาสมุทรแปซิฟิก นักโต้คลื่นในยุคนั้นใช้ กระดานไม้ เ นื้ อ แข็ ง ที่ มี ค วามยาวถึ ง 8 เมตร จากแผ่นไม้ขนาดใหญ่สก ู่ ารเป็นกระดาน โต้คลื่นที่สั้นและเบากว่า ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในแง่ ของวัสดุทใี่ ช้หรือรูปแบบของกระดานโต้คลืน่ มาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว จนกระทั่ง กระดานไม้บล ั ซ่าแบบกลวงทีม ่ น ี ำ�้ หนักเบา
AW-������ �����������-��61-01.indd 13
เริ่มปรากฏตัวขึ้นในทศวรรษที่ 20 และ 30 กระดานโต้คลื่นรูปร่างต่าง ๆ ได้รับ การพัฒนาปรับปรุงเพือ ่ ให้มป ี ระสิทธิภาพ มากขึ้น และการติดตั้งครีบ (Fin) ที่เพิ่ม ขึ้นมา (ครีบคือกระดานที่มีรูปทรงและ ความยาวหลากหลาย โดยทั่วๆ ไปจะติด อยูท ่ างกึง่ กลางด้านหลังใกล้กบ ั ส่วนหาง ของกระดานโต้คลื่น) มันช่วยเพิ่มความ สามารถในการควบคุมและความคล่องตัว ของกระดานโต้คลื่น อย่างไรก็ตามการ พัฒนาทีก ่ า้ วกระโดดอย่างแท้จริงเกิดขึน ้ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อมีการนำ�
นายดนู โชติกพนิช ประธานกรรมการบริหาร บริษัท คอบร้า อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด วัสดุคอมโพสิทมาใช้ โดยเป็นวัสดุคอมโพสิท แบบที่ แ กนกลางทำ�จากโฟมโพลี ยู รี เ ทน (Polyurethane Foam, PU Foam) หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า โฟมพียู หุ้มผิวด้วย ผ้าไฟเบอร์กลาสที่มีน�้ำหนักเบาและเรซิ่น โพลีเอสเตอร์ ตั้ ง แต่ ท ศวรรษที่ 50 กระดานโต้ ค ลื่ น เกือบทุกชิน ้ ในยุคนัน ้ ต้องมีสว่ นผสมของ วั ส ดุ โ พลี ยู รี เ ทนเและโพลี เ อสเตอร์ กระดานโต้คลืน ่ ได้ถก ู สร้างขึน ้ จนกระทัง่ มี การผลิ ต วั ส ดุ ที่ แ กนกลางทำ�จากโพลิ
13/6/2561 13:39:46
14
THAI COMPOSITES MAGAZINE
สไตรีน (Polystyrene, EPS) มาใช้แทน ห่วงโซอุปทานของโพลียรู เี ทนหรือโฟมพียู (PU Supply Chain) หยุดชะงักทันที เนือ ่ งจากการปิดตัวลงของบริษท ั คลาร์ก โฟม (Clark Foam) ซึ่ ง เป็ น ผู ้ จั ด จำ�หน่ายแผ่นโฟมพีอีที่ใหญ่ที่สุดของโลก ในปี ค.ศ. 2006 กระดานโต้คลื่นที่แกน กลางทำ�จากโพลีสไตรีน (EPS-Cored Boards) แบบทั่วไปยังใช้ผ้าไฟเบอร์กลาส หุ้มอยู่ แต่โพลีเอสเตอร์ไม่ได้ถูกนำ�มาใช้ แล้ ว เนื่ อ งจากสไตรี น ละลายโฟมโพลี สไตรีน (EPS Foam) ทำ�ให้ผู้ผลิตหันมาใช้ เรซิ่ น อี พ็ อ กซี่ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง กว่ า ท้ายทีส ่ ด ุ แล้ว การเปลีย ่ นไปใช้โพลีสไตรีน และอีพอ็ กซี่ ทำ�ให้สามารถผลิตกระดานโต้คลืน ่ ทีม ่ น ี ำ�้ หนักเบาและทนทานมากขึน ้ น�ำ้ หนัก แกนกลางลดลงถึง 65% โดยประมาณ และความยื ด หยุ ่ น ของเรซิ่ น แบบใหม่ นี้ ช่วยให้กระดานโต้คลื่นสามารถกลับคืนสู่ รูปร่างเดิมได้ดก ี ว่าแบบทีใ่ ช้โพลีเอสเตอร์ เนือ ่ งจากความนิยมทีเ่ พิม ่ สูงขึน ้ อย่างต่อ เนื่ อ งของการโต้ ค ลื่ น โดยเฉพาะใน ทศวรรษที่ 90 ทำ�เกิดความต้องการที่ เพิ่ ม ขึ้ น สำ�หรั บ การผลิ ต ในปริ ม าณมาก ของกระดานโต้คลืน ่ ทีส ่ ามารถแข่งขันด้าน ราคาได้ และจุดนีเ้ องทีทำ ่ �ให้บริษท ั คอบร้า อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย) หันมาให้ความสนใจตลาด ของกระดานโต้ ค ลื่ น บริ ษั ท คอบร้ า ก่อตัง้ ขึน ้ ในปี พ.ศ. 2521 เป็นผูผ ้ ลิตแผ่น กระดานโต้คลื่น (วินด์เซิร์ฟ) ปัจจุบันเป็น บริษัทชั้นนำ�ของโลกและเป็นบริษัทเดียว ในประเทศไทยทีผ ่ ลิตและส่งออกอุปกรณ์
กีฬาทางน�ำ้ หลากหลายแบรนด์ รวมถึงยัง เป็นผู้จัดจำ�หน่ายวัสดุผสมสำ�หรับงาน ด้ า นต่ า ง ๆ อี ก มากมาย อาทิ เ ช่ น โครงสร้างสถาปัตยกรรม สินค้าหรูหรา และชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ สำ�หรั บ แบรนด์ รถยนต์ระดับพรีเมียมในยุโรป บริษท ั คอบร้า เริม ่ ต้นผลิตกระดานโต้คลืน ่ เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ภายใต้ชื่อ Surftech Tuflite โดยเป็นกระดานโต้ คลื่นที่มีโครงสร้างแบบแซนด์วิชทำ�จาก โฟมพีวซี ี (Polyvinylchloride, PVC) ซึ่ ง ถื อ เ ป ็ น น วั ต ก ร ร ม ใ ห ม ่ ที่ ทำ�ใ ห ้ กระดานโต้คลื่นที่ผลิตได้มีน�้ำหนักเบาและ มีความแข็งแรงมากขึ้น การคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมอย่าง ต่อเนื่อง บริษัท คอบร้า ยังคงคิดค้น วิจัยและ พัฒนาวัสดุใหม่ ๆ รวมถึงโครงสร้างที่ เบากว่าเดิมอย่างต่อเนื่อง ไฮไลต์เด่น ๆ ได้แก่ การผลิตกระดานโต้คลื่นรุ่นแรกที่ แกนกลางทำ�จากโฟมโพลีสไตรีน (EPSCored Board) ประกบผิวด้านบนและ ล่างด้วยแผ่นพลาสติก และเรซิ่นอีพอกซี่ ให้กับบริษัท เอ็น.เอส.พี. จำ�กัด ในปี พ.ศ. 2545 และการผลิตกระดานโต้คลื่นแบบ ที่แกนกลางมีลักษณะกลวงทำ�จากโฟม โพลีสไตรีน (Extruded Polystyrene, XPS) สำ�หรับบริษท ั โซโลมอน เทคโนโลยี ไทยแลนด์ จำ�กั ด ในปี พ.ศ.2545 กระดานโต้ ค ลื่ น รุ ่ น แรกที่ มี โ ครงสร้ า ง แกนกลางเป็ น แบบดู อั ล -คอร์ ซึ่ ง เป็ น การผสมผสานกันของวัสดุสองชนิดคือ
โฟมโพลี ยู รี เ ทน (Polyurethane, PU) และโฟมโพลีสไตรีน (Polystyrene, EPS) เพื่อที่จะนำ�ข้อดีของวัสดุทั้งสอง ชนิดมาใช้ผลิตเป็นกระดานโต้คลืน่ เซิรฟ ์ เทค ในปี พ.ศ. 2553 กระดานโต้คลื่นแบบ ทีแ่ กนกลางทำ�จากโฟมโพลีสไตรีนรุน ่ แรก ที่ บ ริ ษั ท คอบร้ า ผลิ ต ได้ มี ค วามยาว 1.80 เมตร น�้ำหนักไม่เกิน 3 กิโลกรัม แ ล ะ ล ่ า สุ ด ก ร ะ ด า น โ ต ้ ค ลื่ น Haydenshapes Hypto Krypto ซึ่ ง เป็ น รุ ่ น ที่ ช นะการประกวดรางวั ล กระดานโต้คลื่นแห่งปี เนื่ องจากการที่ มี ฐ านข้ อ มู ล ขนาดใหญ่ เกี่ยวกับโครงสร้างแกนกลาง เรซิ่น และ วั ส ดุ เ สริ ม แรงรู ป แบบต่ า งๆ จึ ง ทำ�ให้ บริษัท คอบร้า สามารถให้คำ�แนะนำ�เกี่ยว กับโครงสร้างทีเ่ ฉพาะเจาะจงตลอดจนถึง รูปร่างที่สลับซับซ้อนในโรงงานได้ และ สำ�หรั บ การผลิ ต กระดานโต้ ค ลื่ น ที่ มี รูปร่างพิเศษตามความต้องการของลูกค้า สามารถทำ�ได้ โ ดยตรงจากไฟล์ CAD ของลูกค้าเลย ในบทสรุปเบื้องต้นอาจ กล่ า วได้ ว ่ า สิ่ ง สำ�คั ญ ที่ นั ก ออกแบบ กระดานโต้คลื่นกำ�ลังพยายามคิดค้นและ พั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งก็ คื อ การเพิ่ ม ประสิทธิภาพให้ยอดเยีย ่ ม นอกเหนือจาก การพยายามที่จะสร้างแรงยกทางอุทก พลศาสตร์ (Hydrodynamic Lift) และลดแรงต้านให้เหลือน้อยทีส ่ ด ุ ตัวแปร ที่ ใ ช้ ใ นการออกแบบกระดานโต้ ค ลื่ น ที่ สำ�คัญที่สุดอาจจะเป็นความยืดหยุ่น
กระดานโต้คลื่นเซิร์ฟเทค ที่มีโครงสร้างแกนกลางเป็นโฟมแบบฟิวชั่น ดูอัล-คอร์ ซึ่ง เป็นการผสมผสานกันของวัสดุสองชนิดคือโพลียูรีเทนและโพลิสไตรีน
AW-������ �����������-��61-01.indd 14
13/6/2561 13:39:46
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
ลักษณะทางกายภาพของกระดานโต้คลืน ่ และแนวทางใหม่ในการยืดหยุ่น กระดานโต้ ค ลื่ น จะโต้ ค ลื่ น ได้ ก็ ต ่ อ เมื่ อ กระแสน�้ ำ บนผิ ว หน้ า คลื่ น มากระทบกั บ ฐานด้านล่างของกระดานและม้วนเข้ามาที่ บริเวณขอบราวด้านใน ในขณะเดียวกัน กระแสน�้ ำ ที่ กำ�ลั ง เคลื่ อ นที่ ขึ้ น นี้ จ ะถู ก บังคับให้ไหลไปตามฐานด้านล่างถึงส่วน ท้ายของกระดาน ด้วยวิธีการที่กล่าวมา นี้จะทำ�ให้เกิดแรงยกและแรงผลักดันให้ กระดานโต้ ค ลื่ น เคลื่ อ นที่ ไ ปข้ า งหน้ า ได้ ขณะที่นักโต้คลื่นต้องใช้แรงผลักดันและ พลังงานศักย์โน้มถ่วง (Gravitational Potential Energy) นีใ้ นตอนทีพ ่ วกเขา กำ�ลังพุ่งตัวลงสู่คลื่น ซึ่งจะทำ�ให้เกิดการ หมุนทีด ่ า้ นล่างด้วยความเร็วสูง ส่งผลให้ กระดานโต้คลื่นโค้งงอและเกิดการสะสม พลังงานขึ้น โดยพลังงานนี้สามารถถูก ปล่อยออกมาได้เมื่อเร่งความเร็วอย่าง กะทันหัน และกระดานโต้คลื่นจะกลับเข้า สูร่ ป ู ร่างปกติเมือ ่ ไม่มก ี ารหมุนแล้ว ดังนัน ้ ความยื ด หยุ ่ น ของกระดานโต้ ค ลื่ น และ ความสามารถในการโค้งงอและกลับคืนสู่ รูปร่างเดิมได้ของวัสดุคอมโพสิทโดยเกิด ความล้า (Fatigue) น้อยที่สุด จึงเป็น กุญแจสำ�คัญในการออกแบบกระดานโต้คลื่น ทีส ่ ามารถเร่งความเร็วได้ดโี ดยปราศจาก การหมุน และสามารถโต้คลื่นได้อย่างต่อ เนื่อง ตัวยึดตามแนวยาวแบบเดิมที่เสริมความ แข็งแรงด้วยแกนกลางแบบผสมของวัสดุ สองชนิดคือโพลียูรีเทนและโพลิสไตรีนซึ่ง โดยทั่วไปแล้วมันจะทำ�ให้กระดานโต้คลื่นมี ความแข็งมากขึน้ ซึง่ ส่งผลให้กระดานโต้คลืน่ ขาดความยืดหยุน่ กระดานโต้คลืน ่ แบบใหม่ บางชนิ ด จึ ง ย้ า ยตำ�แหน่ ง ของตั ว ยึ ด ไป ทางขอบด้านข้างเพือ ่ ทีจ ่ ะควบคุมการโค้ง งอในบริเวณที่กระดานโต้คลื่นสัมผัสกับ ผิวน�้ำตอนที่เกิดการหมุนได้ อย่างไร ก็ตาม บริษัท คอบร้า ได้ร่วมมือกับภาค อุตสาหกรรมและลูกค้าต่าง ๆ ของเขา เพื่อพัฒนาวิธีที่แยบยลมากมายในการ สร้างสิง่ ทีเ่ รียกว่า Parabolic stringers ซึ่งเป็นตัวยึดลักษณะพาราโบลา มาใช้ใน กระดานโต้คลื่นของพวกเขา
15
บริษัทเฮย์เดนเชฟ (Haydenshapes) นำ�เสนอโครงสร้างทีพ ่ วกเขาผลิตขึน ้ ทีช่ อ ื่ ว่า “ฟิวเจอร์เฟล็กซ์” (FutureFlex) เป็นการรวมเอาแกนกลางที่ทำ�จากโพลี สไตรี น ที่ มี ค วามหนาแน่ น สู ง เข้ า กั บ โครงสร้ า งแบบไร้ ตั ว ยึ ด ซึ่ ง มี โ ครง คาร์บอนไฟเบอร์ล้อมรอบขอบด้านข้าง ของกระดานโต้ ค ลื่ น ส่ ง ผลให้ มี ค วาม ยืดหยุน ่ และการตอบสนองทีด ่ ขี น ึ้ บริษท ั เจ.เอส. อุตสาหกรรม จำ�กัด ได้ใช้แผ่น ไฮบริ ด ลามิ เ นตที่ ทำ�จากเส้ น ใยแก้ ว คาร์บอน และอินนีกรา (Innegra) เพื่อ มาผลิ ต เป็ น โครงสร้ า งด้ า นนอกของ กระดานโต้คลืน ่ แบบไร้ตวั ยึด และต่อมาได้ กลายมาเป็นกระดานโต้คลื่นยอดเยี่ยม แห่งปี 2016 ในชื่อรุ่น Black Box โดย ใช้ HyFi Technology ในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา กระดานโต้คลื่นเซิร์ฟเทคยังคง ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยการ ปรับเปลี่ยนสัดส่วนการผสมของวัสดุที่ ใช้ทำ�แกนกลางอย่างโพลียูรีเทนและโพลี สไตรีน ให้แตกต่างกันเพื่อหาสัดส่วนที่ดี ที่ สุ ด ที่ จ ะช่ ว ยเพิ่ ม ความยื ด หยุ ่ น และ สมรรถนะของกระดานโต้ ค ลื่ น จาก เทคโนโลยีแกนแบบไฮบริดนี้ หนึ่งสิ่งที่มั่นใจได้เลยก็คือ นักออกแบบ กระดานโต้คลื่นจะไม่มีวันหยุดแสวงหา กระดานโต้ ค ลื่ น ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบซึ่ ง ต้ อ ง รวมคุณสมบัตใิ นเรือ ่ งของความยืดหยุน ่ ความเร็ว และความรูส ้ ก ึ เพลิดเพลินเข้าไว้ ด้วยกัน การผลิตกระดานโต้คลื่นด้วย เครื่องจักรกลแบบอัตโนมัติ CNC ช่วย ให้ผู้ผลิตสามารถรักษาส่วนแบ่งทางการ ตลาดส่วนใหญ่ของพวกเขาไว้ได้ แต่กย ็ งั มี ส ่ ว นแบ่ ง ทางการตลาดในด้ า นที่ เ ป็ น กระดานโต้คลื่นแบบสั่งผลิตขึ้นเป็นพิเศษ และแบบที่ต้องใช้ทักษะความเชี่ยวชาญที่ ละเอี ย ดประณี ต ในการผลิ ต สำ�หรั บ อุตสาหกรรมวัสดุคอมโพสิทขั้นสูง การ ผลิ ต กระดานโต้ ค ลื่ น ทำ�ให้ เ กิ ด สภาพ แวดล้อมทีท ่ า้ ทาย รวมถึงช่วยให้เกิดการ พัฒนาและการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ รวดเร็วกว่าผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เนื่องด้วย การถูกผลักดันขีดจำ�กัดอย่างต่อเนื่อง ให้ พั ฒ นากระดานโต้ ค ลื่ น ที่ ต ้ อ งทั้ ง มี น�้ำหนักเบาและมีสมรรถนะที่ยอดเยี่ยมไป พร้อม ๆ กัน ข้อมูลเพิม ่ เติม : www.cobrainter.com
AW-������ �����������-��61-01.indd 15
13/6/2561 13:39:47
16
THAI COMPOSITES MAGAZINE
CONSTRUCTION
จากวัสดุคอมโพสิทที่แกนกลางเป็นแผ่นใยไม้อัด (Fiberboard) สู่วัสดุคอมโพสิทที่แกนกลางเป็นโครงสร้างรังผึ้ง (Honeycomb cores) ส�ำหรับประตูที่ถูกสั่งท�ำขึ้นเป็นพิเศษ
เกร็ก ริงเน็ค ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัทไรโนคอร์ คอมโพสิทโซลูชั่น
บริ ษั ท เฟร็นสตอร์ วินโดว์แอนด์ดอร์
(Fenstür Windows and Doors) ผูผ ้ ลิตและ ผู ้ ค ้ า ปลี ก โดยตรงของประตู ไ ม้ แ ละหน้ า ต่ า งไม้ สำ�หรั บ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ในระดั บ ไฮเอนด์ แ บบที่ สั่ ง ทำ� พิเศษ บริษัทเฟร็นสตอร์ เริ่มเปลี่ยนมาใช้แกน กลางโครงสร้างรังผึ้งที่ผลิตโดยบริษัทไรโนคอร์ คอมโพสิทโซลูชั่น (ตั้งอยู่ที่เมืองอาร์มสตรอง บริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา) แทนแกนกลาง ที่เป็นแผ่นใยไม้อัดในประตูไม้แบบเดิม วัสดุคอม โพสิทแบบแกนกลางเป็นโครงสร้างรังผึ้งมีข้อดี หลายอย่าง ที่สำ�คัญที่สุดก็คือน�้ำหนักของประตู ที่ลดลงไปได้มากกว่าครึ่งหนึ่ง ซึ่งช่วยให้ง่ายต่อ การขนย้ายและการติดตัง้ ในบริเวณทีก ่ อ ่ สร้าง อีก ทั้งได้ประโยชน์จากการที่ช้ินส่วนถอดสามารถ ประกอบได้ ยกตัวอย่างเช่น การใช้อุปกรณ์ที่มี ขนาดเล็ ก ลงและเบาลงเพื่ อ แขวนประตู ไ ด้ นอกจากนั้ น แกนกลางแบบใหม่ นี้ ยั ง ช่ ว ยเพิ่ ม ความสามารถในการคงขนาดและการต้านทาน ความร้อนให้ดีขึ้นอีกด้วย (ค่า R อยู่ระหว่าง 3.15 ถึง 3.19 ต่อความหนา 2.5 เซนติเมตร) และมั น ยั ง ได้ รั บ การพิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า เป็ น วั ส ดุ ที่ สามารถนำ�มาทดแทนได้ในกระบวนการผลิตโดย ไม่ จำ�เป็ น ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นอะไรเพิ่ ม เติ ม รวมถึ ง กาวที่ใช้ในการผลิตด้วย ความร่วมมือกันนีเ้ ริม ่ ต้นขึน ้ ตามคำ�แนะนำ�ของคน งานก่อสร้างในท้องถิ่นที่กำ�ลังทำ�งานในโครงการ สิง่ ก่อสร้างสำ�หรับทีอ ่ ยูอ ่ าศัยทีม ่ บ ี ริษท ั เฟร็นสตอร์ เป็นผู้ผลิตประตูแบบสั่งทำ�พิเศษสำ�หรับห้องเย็น ในที่ พั ก อาศั ย แบบที่ ค นสามารถเดิ น เข้ า ออกได้ เจ้าของบ้านผู้เป็นนักล่าสัตว์ตัวยงต้องการห้อง เย็นแบบที่มีประตูซ่อนไว้เพื่อเก็บซากสัตว์ที่ล่ามา ได้ รวมถึงอาหารและไวน์ด้วย ประตูขนาดใหญ่ พิเศษนี้ถูกออกแบบมาให้ผสมผสานเข้ากับผนัง
AW-������ �����������-��61-01.indd 16
บทความนี้เป็นกรณีศึกษาเกี่ยวกับการนำ�แกนกลางแบบโครงสร้างรังผึ้งของวัสดุ คอมโพสิทมาใช้แทนแกนกลางแบบที่เป็นแผ่นใยไม้อัด ในโครงสร้างประตูแบบสั่ง ทำ�พิเศษที่เป็นสินค้าระดับไฮเอนด์ ผลิตภัณฑ์แรกเป็นประตูขนาดใหญ่สำ�หรับห้อง เย็นในที่พักอาศัยแบบที่คนสามารถเดินเข้าออกได้ ซึ่งน�้ำหนักของประตูลดลงได้ มากกว่าครึง่ หนึง่ โดยการเปลีย ่ นมาใช้วส ั ดุคอมโพสิททีแ ่ กนกลางเป็นแบบโครงสร้าง รังผึง้ นีถ ่ อ ื เป็นเรือ ่ งสำ�คัญมากเนือ ่ งจากผิวด้านในของประตูตอ ้ งสัมผัสกับสภาวะ ที่เย็นและแห้ง ขณะที่ด้านนอกของประตูต้องสัมผัสกับสภาวะที่อบอุ่นและชื้นซึ่ง อาจเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาด้านเสถียรภาพในการคงขนาด (Dimensional Stability)
เมื่อปิด ดังนั้นมันจึงต้องใช้บานพับแบบถ้วยและ แกนหมุนทีถ ่ อดออกได้มาทำ�หน้าทีเ่ ป็นตัวยึด ผิว ด้านในของประตูดา้ นทีต ่ อ ้ งสัมผัสกับความเย็นทำ� ด้ ว ยไม้ เ บิ ร ช์ เ พื่ อ ให้ เ ข้ า กั บ การตกแต่ ง ภายใน ของห้องเย็น ในขณะทีผ ่ ว ิ ด้านนอกทำ�ด้วยไม้เนือ ้ แข็งเพื่อให้กลมกลืนกับพื้นและผนังภายในห้อง ความแตกต่างกันของอุณหภูมิ และความชื้น ประตูต้องถูกสร้างขึ้นก่อนที่ผนังด้านนอกของ ห้องจะถูกปิดด้วยไม้เนื้อแข็ง ไม้ที่ใช้ทำ�ผิวด้าน ข้ า งของประตู ถู ก ซื้ อ มาจากร้ า นค้ า ปลี ก ของ
บริษท ั เฟร็นสตอร์ ไม้เหล่านัน ้ ถูกนำ�มาวางเรียงไว้ ตรงข้ามประตูและทำ�เครือ ่ งหมายไว้ แผ่นไม้ถก ู ตัด เป็นชิ้นเล็ก ๆ รูปร่างต่าง ๆ ตามแบบ และถูกทำ� สัญลักษณ์ไว้ เพื่อทำ�ให้มันสามารถประกอบเข้า กับผนังทีอ ่ ยูต ่ ด ิ กันทีผ ่ ว ิ ประตูดา้ นนอกทีเ่ ป็นด้าน สัมผัสความร้อนของประตูได้ ความพยายามนี้ ช่วยให้คนงานสามารถสร้างผนังที่กลมกลืนกับ ผิวด้านนอกของประตูได้ และเพือ ่ ทำ�ให้ลายไม้เรียง รายไปบนผนั ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมถึ ง ยั ง ทำ�ให้ ประตูสามารถผสมผสานเข้ากับผิวด้านนอกของ ห้องได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย
ความแตกต่างกันอย่างมากของอุณหภูมิและความชื้นในแต่ละด้านของประตู ส่งผลให้ประตูต้องหนา ขึน ้ กว่าปกติเพือ ่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นฉนวนกันความร้อน อย่างไรก็ตามประตูขนาดใหญ่ทใี่ ช้แกนกลางเป็นแผ่น ใยไม้อัดทั่วไปจะหนักมากและจะทำ�ให้เกิดความยากลำ�บากมากมาย
13/6/2561 13:39:47
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
ต่อในเครื่องรีดร้อน แกนกลางที่ผลิตเสร็จแล้ว จะถูกหั่นเป็นชิ้น ๆ ความหนาตั้งแต่ 0.64 ถึง 15.2 เซนติเมตร เพื่อให้มันสามารถถยึดติดกับ แผ่นประกบผิวด้านบนและด้านล่าง ทีอ ่ าจเป็นวัสดุ ผสมเทอร์โมพลาสติกหรือเทอร์โมเซ็ต โลหะ ไม้ หรือแม้กระทั่งคอนกรีตก็ได้ แกนกลางโครงสร้างรังผึง้ มีความแข็งแรงทนทาน และมีอต ั ราส่วนความแข็งแรงต่อน�ำ้ หนักทีส ่ งู มาก ซึ่ ง ช่ ว ยเพิ่ ม ความแข็ ง แรงของโครงสร้ า งโดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ความต้ า นทานต่ อ แรงบิ ด ของ โครงสร้างที่ถูกยึดอยู่กับที่ และยังช่วยเพิ่มความ ต้านทานต่อแรงกดและแรงเฉือน รวมถึงมีคา่ การ ต้านทานความร้อนและการดูดซับเสียงที่ดีมาก แกนกลางแบบโครงสร้างรังผึ้งที่หนาขึ้นช่วยให้มี ความสามารถในการรับแรงกระแทกที่ยอดเยี่ยม (การดูดซับพลังงาน / ความเสียหายที่รับได้) ซึ่ง แตกต่างจากแกนกลางแบบเส้นใยไม้อัด โดยแกน กลางแบบโครงสร้างรังผึ้งจะไม่เกิดการระคาย เคืองต่อน�้ำและจะไม่ดักจับความชื้นหรือเน่าเปื่อย และด้วยความหนาแน่นที่ต�่ำกว่าแผ่นใยไม้อัดจึง ทำ�ให้มันมีน�้ำหนักโดยรวมที่เบากว่ามาก เนื่องจากความแตกต่างกันอย่างมากทั้งในด้าน อุณหภูมิและความชื้นที่คาดว่าจะเกิดขึ้นระหว่าง บริเวณผิวด้านที่สัมผัสความเย็นและแห้งกับผิว ด้านทีส ่ ม ั ผัสความอุน ่ และชืน ้ ของห้องเย็น ทีมงาน ของบริษัทเฟร็นสตอร์จึงสร้างประตูที่หนากว่า ปกติ (5.72 เซนติเมตร) เพื่อทำ�หน้าที่เป็นฉนวน กันความร้อน อย่างไรก็ตามประตูที่หนาและมี ขนาดใหญ่ (107 x 213 เซนติเมตร) แบบที่ใช้ แกนกลางเป็นแผ่นใยไม้อัดทั่วไปจะหนักมากและ ทำ�ให้เกิดลำ�บากมากมาย นี่คือเหตุผลที่คนงาน ก่อสร้างในท้องถิ่นเสนอให้ใช้วัสดุคอมโพสิทแบบ ที่แกนกลางเป็นโครงสร้างรังผึ้งของบริษัทไรโน คอร์ มาแทนที่ แ กนกลางแบบแผ่ น ใยไม้ อั ด ที่ มี น�้ำหนักมากนี้ ซึ่งนี่ถือเป็นแนวทางการแก้ปัญหาที่ มีความเป็นไปได้มากที่สุด เส้นใยไนลอนและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ แกนกลางแบบโครงสร้างรังผึ้งที่จดสิทธิบัตรทำ� จากผ้าที่ทนทานและมีน�้ำหนักเบา ทอด้วยเส้นใย ไนลอน (พอลิเอไมด์) และเส้นใยโพลีเอสเตอร์ ผ้า ถู ก ป้ อ นเข้ า ไปในเครื่ อ งจั ก รชื่ อ ว่ า “ฮั น นี่ โ คม” (honeycomb) ที่ถูกสั่งทำ�ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ นี้โดยเฉพาะ ซึ่งสามารถทำ�ให้ผ้าสัมผัสกับความ ร้อนทีส ่ งู ถึง 427°C ได้อย่างรวดเร็ว ความร้อน นี้จะทำ�ให้เส้นใยอ่อนตัวและช่วยให้สามารถขึ้นรูป เป็นรูปร่างต่าง ๆ ได้อย่างง่ายดาย จากนั้นผ้าจะ ถูกกดลงในแผ่นที่มีลักษณะเป็นรูปหกเหลี่ยมต่อ กัน (เส้นผ่านศูนย์กลาง 13 มิลลิเมตร และผนัง หนา 1.1 มิลลิเมตร) และจะถูกทำ�ให้เย็นตัวลง ขั้นตอนต่อไป แผ่นที่มีลักษณะเป็นรูปหกเหลี่ยม ต่อกันทีแ่ ข็งตัวแล้ว (กว้าง 122 เซนติเมตร ยาว 224 เซนติเมตร และหนา 12 มิลลิเมตร) จะถูก นำ�ออกจากแม่พม ิ พ์ซงึ่ ประกอบด้วยชิน ้ ส่วนสอง ชิน ้ จากนัน ้ โฟมโพลียรู เี ทนทีม ่ โี ครงสร้างเป็นเซลล์ ปิด (closed-cell polyurethane foam) จะ ถู ก ฉี ด เข้ า ไปในช่ อ งทั้ ง หมดและต้ อ งทำ�การอบ
AW-������ �����������-��61-01.indd 17
ไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง ในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ของบริษท ั ไรโนคอร์ ได้ถก ู นำ�มาทดลอง ใช้ ทำ�เป็ น ประตู ข องห้ อ งเย็ น ด้ ว ยเหตุ ผ ลสอง สามประการดั ง ต่ อ ไปนี้ คนงานมี ป ั ญ หาเรื่ อ ง น�ำ้ หนักกับประตูดา้ นหน้าทีใ่ หญ่เกินไปสำ�หรับบ้าน หลังนี้ ดังนั้นพวกเขาจึงเลือกที่จะใช้แกนน�้ำหนัก เบาสำ�หรับประตูห้องเย็นที่มีขนาดใหญ่เกินกว่า ปกติ แกนกลางแบบใหม่นชี้ ว่ ยเพิม ่ ความสามารถ ในการคงขนาด และความต้านทานต่อการโก่งงอ และการแตกหัก ซึ่งเป็นสิ่งที่สำ�คัญมากเนื่องจาก อุณหภูมแิ ละความชืน ้ ทีแ่ ตกต่างกันอย่างมากของ
17
ประตูทงั้ สองด้าน ผิวประตูดา้ นทีส ่ ม ั ผัสความเย็น และแห้งจะหดตัวในขณะที่ผิวด้านที่สัมผัสความ ร้อนและชื้นจะขยายตัว เพื่อให้อยู่ในสภาวะสมดุล แบบไดนามิก และด้วยแกนกลางที่มีลักษณะเป็น ฉนวนกันความร้อนอยูแ่ ล้วนัน ้ ถือว่าเป็นเรือ ่ งทีด ่ ี มาก ๆ เพราะเป็ น การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด้ า น พลังงานของห้องเย็นและประตูของมันให้สูงขึ้น อีกด้วย ทีมงานบริษัทเฟร็นสตอร์ผลิตประตูโดยใช้วัสดุ คอมโพสิทแบบที่แกนกลางเป็นโครงสร้างรังผึ้ง และพบว่ามันสามารถทดแทนแกนกลางแบบแผ่น ใยไม้อัดที่ใช้อยู่ก่อนหน้านี้ได้โดยไม่จำ�เป็นต้อง ปรับเปลี่ยนอะไรในกระบวนการผลิตเพิ่มเติมเลย แม้แต่กาว (พอลิไวนิลแอซีเตต (Polyvinylacetate, PVA) กาวเหล่านี้ถูกใช้สำ�หรับยึดติดแกนกลาง แบบแผ่นใยไม้อด ั เข้ากับผิวประกบด้านบนล่างทีทำ ่ � จากไม้ แต่ก็ยังสามารถนำ�มาใช้กับแกนกลางแบบ โครงสร้ า งรั ง ผึ้ ง ได้ เ ช่ น กั น ประตู ใ นขั้ น ตอน สุดท้ายจะประกอบด้วยผนังด้านนอกทีเ่ ป็นไม้เนือ ้ แข็ ง หนา 1.9 เซนติ เ มตร แกนกลางแบบ โครงสร้างรังผึ้งหนา 2.5 เซนติเมตร และผนัง ด้านในที่ทำ�จากไม้เบิร์ชหนา 1.3 เซนติเมตร เมื่อ ประตู แ บบใหม่ นี้ ถู ก ประกอบขึ้ น คนงานของ บริษท ั เฟร็นสตอร์และผูเ้ ชีย ่ วชาญด้านการตกแต่ง ผิวต่างก็ประหลาดใจทีเ่ ห็นว่ามันมีนำ�้ หนักน้อยลง กว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของประตู แ บบเดิ ม ที่ ทำ�ด้ ว ยแกน กลางใยไม้ อั ด นอกจากนี้ มั น ยั ง เก็ บ เสี ย งได้ มากกว่าและใช้แรงในการเปิดและปิดประตูนอ ้ ยลง อีกด้วย ทีมงานรู้ว่าสิ่งนี้จะไม่เพียงแต่จะทำ�ให้ ต้นทุนในการจัดส่งไปยังที่สถานที่ก่อสร้างลดลง แต่มน ั ยังช่วยให้การสร้างประตูในสถานทีก ่ อ ่ สร้าง ทำ�ได้ง่ายขึ้นด้วย พวกเขายังรู้สึกอีกว่าจะไม่เกิด ปั ญ หาที่ บ านพั บ เนื่ อ งจากบานพั บ ไม่ ต ้ อ งรั บ ความเค้น (Stress) เพราะน�้ำหนักที่ลดลงอย่าง มากของประตู
เพิ่มเติมเกี่ยวกับแกนกลางแบบโครงสร้างรังผึ้ง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 บริษท ั ไรโนคอร์ คอมโพสิทโซลูชน ั่ ได้ผลิตแกนกลางแบบโครงสร้าง รังผึ้งที่มีเอกลักษณ์พิเศษนี้ขึ้นมา เพื่อใช้เป็นแกนกลางในวัสดุคอมโพสิทโครงสร้าง แซนวิ ช โดยมั น ถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาสำ�หรั บ อุ ต สาหกรรมการสำ�รวจน�้ ำ มั น และก๊ า ซ ธรรมชาติ แกนกลางแบบโครงสร้างรังผึง้ นีผ ้ ลิตจากผ้าไนลอนและโพลีเอสเตอร์ทถ ี่ ก ู นำ�มาขึ้นรูปให้เป็นแผ่นที่มีลักษณะเป็นรูปหกเหลี่ยมต่อกันภายใต้ความร้อนและความ ดัน สูง หลัง จากนั้น มัน จะถูก ทำ�ให้เย็น ลงและถูก ฉีดด้ว ยโฟมโพลียู รีเ ทนเข้ าไปใน โครงสร้าง โดยแกนกลางนี้สามารถยึดติดกับแผ่นประกบผิวด้านบนและด้านล่างได้ หลากหลายตั้งแต่วัสดุคอมโพสิทเทอร์โมพลาสติกหรือเทอร์โมเซ็ต โลหะ ไม้ หรือแม้ กระทั่งคอนกรีต วัสดุคอมโพสิทโครงสร้างแซนด์วิชแบบนี้มีน�้ำหนักเบาและแข็งแรง มาก และมีค่าการต้านทานความร้อนและค่าการดูดซับเสียงที่สูงมาก รวมทั้งมีความ สามารถในการรับแรงกระแทกที่ยอดเยี่ยม แกนกลางนี้จะไม่เกิดการระคายเคืองต่อ น�ำ้ และจะไม่ดก ั จับความชืน ้ หรือเน่าเปือ ่ ยเหมือนแกนกลางแบบแผ่นใยไม้อด ั และมันยัง แตกต่ า งจากแกนกลางที่ ทำ�จากไม้ บั ล ซ่ า (ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากป่ า ฝนที่ มี คุ ณ สมบั ติ ไ ม่ สอดคล้องกันและมีข้อจํากัดในด้านการผลิต) ซึ่งแกนกลางแบบโครงสร้างรังผึ้งมี ความแข็งแรงและทนทานมากกว่า ปัจจุบันแกนกลางแบบนี้ได้ถูกนำ�มาใช้งานกันอย่าง แพร่หลาย เช่น แผ่นรองแม่แรงขนาดใหญ่ แผ่นรองรถบรรทุก ถังน�้ำถังหุ้มฉนวน พืน ้ บนรถโดยสารทัว่ ไปและรถบรรทุกหรือรถพ่วง และตอนนีก ้ ถ ็ ก ู นำ�มาใช้เป็นแกนกลาง ประตู
13/6/2561 13:39:47
6. Axel Plastic น�้ำยาถอดแบบ สูตรน�้ำ ชนิดกึ่งถาวร Semi-permanent, Sealer, Cleaner Farecla น�้ำยาขัดหยาบ ขัดละเอียด ขัดเงา
02-517-4955-6, 086-374-6588, 081-686-2922, 086-374-6588, 086-336-9614, 086-305-2248
AW-������ �����������-��61-01.indd 18
13/6/2561 13:39:50
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
Composites Knowlage
เรื่อง ของ เรือ..
เรื่องของเรือ
19
่ สาหรับคนทัวไป
เล่มที่ 1 / ฉบับที่ 1
ส�ำหรับคนทั่วไป
ตาแหน่ งต่าง ๆ ของเรือ
ตอนที่ 2
้ วนต ชินส่
Forward Bow
Port
Bow
คือ บริเวณหัวเรือ
Stern
คือ บริเวณท้ายเรือ
Port
คือ กาบซ้าย
Starboard
คือ กาบขวา
Forward
คือ ไปทางหัวเรือ
Aft
คือ ไปทางท้ายเรือ
248
AW-������ �����������-��61-01.indd 19
Starboard
ต�ำแหน่งต่าง ๆ ของเรือ
Stern
Bow
คือ บริ เวณหัวเรื อ
Stern
คือ บริ เวณท้ายเรื อ
Port
คือ กาบซ้าย
Aft Deck (ดาดฟ้า)
้ อที่สามารถใช ้งานไดซ ดาดฟ้ าเรือ คือ พืนเรื ้ งในแต่ ึ่ ละประเภทของเรืออาจ เช่น
13/6/2561 13:39:51
20
THAI COMPOSITES MAGAZINE
ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเรือ
Deck (ดาดฟ้า)
ดาดฟ้าเรือ คือ พื้นเรือที่สามารถใช้งานได้ซึ่งในแต่ละประเภทของเรืออาจจะ เรียกแตกต่างออกไป เช่น MainDeck(ดาดฟ้าหลัก) ในเรือที่ประกอบไป ด้วยพืน ้ ทีใ่ ช้สอยต่าง ๆ หลายชัน ้ เราจะเรียกชัน ้ ดาดฟ้าทีใ่ หญ่ทส ี่ ด ุ หรือ เป็น ดาดฟ้าที่เริ่มจากหัวเรือไปจนถึงท้ายเรือ
UpperDeck(ดาดฟ้ายก)
เป็นพื้นที่ใช้สอยที่อยู่สูงกว่า MainDeck(ดาดฟ้าหลัก)
LowerDeck(ดาดฟ้าชั้นล่าง)
เป็นพื้นที่ใช้สอยที่อยู่ต�่ำกว่า MainDeck(ดาดฟ้าหลัก)
Keel / Structure (โครงสร้าง)
โครงสร้างเรือ คือ ชิ้นส่วนที่ใช้รองรับแรงกระทำ�ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นต่อตัวเรือ ซึ่งถ้าไม่มีการรับแรงแล้วกระจายแรงสู่โครงสร้างเรือ แรงที่เกิดขึ้นที่จุดใด จุดหนึ่งอาจจะมากเกินไป จนทำ�ให้เกิดความเสียหายที่จุดนั้น ๆ ได้
Hull (ท้องเรือ)
ท้องเรือ คือ ชิน ้ ส่วนทีใ่ ช้รบ ั น�ำ้ หนักทัง้ หมดทีอ ่ ยูบ ่ นเรือ และ ทำ�หน้าทีล ่ ดแรง ต้านทีเ่ กิดขึน ้ จากการเคลือ ่ นทีผ ่ า่ นน�ำ้ ท้องเรือสามารถแบ่งออกได้หลายชนิด เช่น
AW-������ �����������-��61-01.indd 20
13/6/2561 13:39:52
21
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM Hull (ท้องเรื อ) ้ วนที่ใช ้รับนาหนั ้ ้ ่อยู่บนเรือ และ ทาหน้าที่ลดแรงต ้านที่เกิดขึนจากการเคลื ้ ่อนที่ผ่านนา้ ท ้องเรือสามารถแบ่งออกได ้ ท ้องเรือ คือ ชินส่ กทังหมดที หลายชนิ ด เช่น Hull (ท้องเรื อ)
Flat (ท้องแบน)
Deep Vee (ท้อง วี ลึก)
Shallow Vee (ท้อง วี)
Round (ท้อง กลม)
้ วนที่ใช ้รับนาหนั ้ ้ ่อยู่บนเรือ และ ทาหน้าที่ลดแรงต ้านที่เกิดขึนจากการเคลื ้ ่อนที่ผ่านนา ้ ท ้องเรือสามารถแบ่งออกได ้ ท ้องเรือ คือ ชินส่ กทังหมดที หลายชนิ ด เช่น เสน้ แนวน้า แนวกระดูกงู
Hull (ท้องเรื อ)
Flat (ท้องแบน)
Shallow Vee (ท้อง วี)
Deep Vee (ท้อง วี ลึก)
Round (ท้อง กลม)
ซึ่งในแต่ละประเภทของท้องเรือก็จะมีคุณสมบัติข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับ ประเภทการใช้งานของผู้ใช้เรือนั้น ๆ เส ้นแนวน้า ่ แนวกระดูลกะประเภทของท ้ ซึงในแต่ ้องเรือก็จะมีคุณสมบัตรข ้อดีขอ ้เสียแตกต่างกันไป ขึนอยู ่กบ ั ประเภท การใช ้งาน ของผูใ้ ช ้เรือนั้น ๆ งู
้ วนที่ใช ้รับนาหนั ้ ้ ่อยู่บนเรือ และ ทาหน้าที่ลดแรงต ้านที่เกิดขึนจากการเคลื ้ ่อนที่ผ่านนา้ ท ้องเรือสามารถแบ่งออกได ้ ท ้องเรือ คือ ชินส่ กทังหมดที หลายชนิ ด เช่น
่ ้ ซึงในแต่ ละประเภทของท ้องเรือก็จะมีคุณสมบัตรข ้อดีขอ ้เสียแตกต่างกันไป ขึนอยู ่กบ ั ประเภท การใช ้งาน ของผู ้ใช ้เรือนั้น ๆ
Flat (ท้องแบน)
Shallow Vee (ท้อง วี)
Deep Vee (ท้อง วี ลึก)
Round (ท้อง กลม)
เส ้นแนวน้า
Boat Geometry
แนวกระดูกงู
Boat Geometry ธรรมชาติของเรือ ธรรมชาติของเรือ
่ ้ ซึงในแต่ ละประเภทของท ้องเรือก็จะมีคุณสมบัตรข ้อดีขอ ้เสียแตกต่างกันไป ขึนอยู ่กบ ั ประเภท การใช ้งาน ของผูใ้ ช ้เรือนั้น ๆ
Center of Gravity Center(CG.) of Gravity
Boat Geometry ธรรมชาติของเรือ
(CG.)
คือ จุดศูนย ์กลางมวล
คือ จุดศูนย ์กลางมวล
Center of Buoyancy (CG.) Center of Gravity (CG.)
Center of Buoyancy (CG.)
คือ จุดศูนย ์กลางมวล
คือ จุดศูนย ์กลางแรงลอย
Center of Buoyancy (CG.)
Boat Geometry ธรรมชาติของเรื(DWL.) อ คือ จุดศูนย ์กลางแรงลอย
คือ จุด ศูนย ์กลางแรงลอย Design Water Line
เส ้นแนวน้า
้ หรือ Design คือ ระดับแนวนา การกินน้าWater Line Design Water Line Center of Gravity (CG.) Design Water Line (DWL.) แนวกระดูกงู ้ (DWL.) เส ้นแนวนา ลึกที่ได ้จากการค านวณ ้า คือ จุดศูนย์กลางมวล เส ้นแนวน คือ ระดับแนวน�้ำ หรือ การกิ นน�้ำลึกที่ได้(DWL.) จากการคำ�นวณ คือ ระดับแนวนา้ หรือ การกินน้า แนวกระดูกงู Center of Buoyancy (CG.) ้ ้ างโดยปกติ ได ้จากการค านวณ อ ากั ระดั บแนวนา้ วหรื อ การกิ โดยปกติแล ้วนาหนั กของเรือจะต ้องมีค่าเท่ากับแรงลอยตัวของเรืลึอกทีที่ระดั บแนวน าต่ ๆ แล้วน�้ำหนักของเรือจะต้องมีคคื่าแนวกระดู เท่ บแรงลอยตั ของเรื อที่ระดันบน้า กงู คือ จุดศูนย์กลางแรงลอย แนวน�้ำต่าง ๆ ้ ้ าง ๆ โดยปกติแล ้วนาหนั กของเรือจะต ้องมีค่าเท่ากับแรงลอยตัวของเรือที่ระดับแนวนาต่ ลึกที่ได ้จากการคานวณ Buoyancy ัว)อจะต ้องมี ค่าเท่ากับแรงลอยตัวของเรือที่ระดับแนวนาต่ ้ ้ าง ๆ โดยปกติ แล ้วน(แรงลอยต าหนั กของเรื
Buoyancy (แรงลอยตวั ) Buoyancy
Buoyancy
(แรงลอยตวั )
ปริ มาตรของน้ าที่ถูกแทนที่
Displacement (ระวางข ับน้ า)
Weight
ปริ มาตรของน้ าที่ถูกแทนที่
Displacement (น้ าหนั กเรื อ) (ระวางข ับน้ า)
Weight (แรงลอยต ัว) กเรือ) (น้ าหนั
ดว ้ ยปริ มาตรของท้องเรื อ ่ ่ ใตแ ส่วนทีอยู ้ นวน้ า
ด้วยปริ มาตรของท้องเรื อ ส่วนที่อยู ่ใต้แนวน้ า
Buoyancy (แรงลอยตวั ) ปริ มาตรของน้ าที่ถูกแทนที่ ด้วยปริ มาตรของท้องเรื อ Buoyancy
ปริ มาตรของน้ าที่ถูกแทนที่
ρ
(แรงลอยตวั )
ρ
water
CB BWL LWL Draft
คือ ความหนาแน่ นของนา้
ρ
×Weight C ×B ×L
water WL WL B งเรื อ ดว ้ ยปริ มาตรของท้ อ ้ (น าหนั ก เรื อ ) ่ ้ ส่วนทีอยู ่ใตแ ้ นวนา
ส่วนที่อยู ่ใต้แนวน้ า
้ ด = 1.000 (Ton/m3) นาจื
WL
Block Coefficient C (สัมประสิทธิแ์ ท่งตัน)
3 3 ้ ด = 1.000 (Ton/m ้ นาจื ) าทะเล ) ์ = 1.025 (Ton/m Block Coefficient Cน B (สัมประสิทธิแท่งตัน) B
์ ้ าที คือา้ มสัาตรของน มประสิทธิแท่ งตัน่ถู ก ของท ้องเรื่ อแต่ละลา ปริ แทนที คือ ความยาวของตัวเรืB อที่ระดับแนวน
C B
ρ
3 ้ นาทะเล = 1.025 (Ton/m )
์ งตัน ของท ้องเรือแต่ละลา 0 < CB ≤ 1 คือ สัมประสิทธิแท่ ้ water คือ ความหนาแน่ นของนา ่ บแนวนา้ คือ ความกว ้างของตัวเรือทีระดั
้ กWL คือ ระดับการกินนาลึ ของเรือ
Displacement ปริ มาตรของน้ าที่ถูกแทนที่ × C × B × L × D raft water WL B ้ WL (ระวางข ด้วยปริ มาตรของท้องเรื อ L ับนคืา) อ ความยาวของตัวเรือที่ระดับแนวนา้ ้ กของเรือ Draft คือ ระดับการกินนาลึ ส่วนที่อยู ่ใต้แนวน้ า
× Draft
้ คือ ความกว ้างของตัวเรือที่ระดับแนวนา
0 < CB ≤ 1
ด้วยปริ มาตรของท้องเรื อ สัมประสิทธิ์แท่งตัน คือ อัตราส่วนระหว่าง ปริมาตรท้อ่ งเรือ กับ ปริมาตรทรงกล่ องที่ใส่ท้องเรือ ส่วนทีอยู ่ใต้แนวน้ า
ρ
LWL
water
Displacemen BWL
× CB × BWL × LWL × Draft
ส่วนที่จมน�้ำไว้ได้พอดี 0 < CB ≤ 1 CB มีค่าน้อย แสดงว่า เรือมีแรงต้านน�้ำน้อย แต่จะมีระวางขับน�้ำน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับเรือที่ มีขนาดภายนอกใกล้เคียD งกัisplacemen น Displacemen CLB WL มีค่ามาก แสดงว่า เรือมีแรงต้ จะมีระวางขับน�้ำมาก เมื่อเปรีา เรือที= ่มี 1.000 (Ton/m3) ้ ยบเทียนบกั ้ บด BาWLนน�้ำมาก Dความหนาแน่ raft คือ แต่ นของน าจื water BWL ขนาดภายนอกใกล้เคียงกัน โดยเฉลี่ยแล้ว เรือท้องแบน(Flat) , เรือบาส() , เรื อ บรรทุ ก น� ำ ้ มั น (Very Large Tanker) จะมี ์ คือ สัมประสิทธิแท่งตัน ของท ้องเรือแต่ละลา 0 < CB ≤ 1 B ค่า CB ประมาณ 0.65 - 0.85 และ เรือท้องวี(Vee) , เรือเร็ว(SpeedBoat) , เรือใบ(SailBoat) จะมีค่า CB ประมาณ 0.25 - 0.45 คือ ความกว ้างของตัวเรือที่ระดับแนวนา้ WL
์ งตัน) Block Coefficient CB (สัมประสิทธิแท่
ρ C B
Displacemen Draft
BWL
LWL
้ นาทะเล = 1.025 (Ton/m ) 3
Draft
LWL
์ งตัน คือ อัตราส่วนระหว่าง ปริมาตรท ้องเรือ กับ ปริมาตรทรงกล่องที่ใส่ท ้องเรือส่วนที่จมนาไว ้ ้ไดพ สัมประสิทธิแท่ ้ อดี 0 < CB ≤ 1 ้ อย แต่ จะมีระวางขับนาน้ ้ อย เมื่อเปรียบเทียบกับเรือที่มีขนาดภายนอกใกล ้เคียงกัน CB มีค่าน้อย แสดงว่า เรือมีแรงต ้านนาน้ ้ ้ แต่ จะมีระวางขับนามาก เมื่อเปรียบเทียบกับเรือที่มีขนาดภายนอกใกล ้เคียงกัน CB มีค่ามาก แสดงว่า เรือมีแรงต ้านนามาก
AW-������ �����������-��61-01.indd 21
Draft
้ น(Very Large Tanker) จะมีค่า CB ประมาณ 0.65 - 0.85 13/6/2561 13:39:53 โดยเฉลี่ยแล ้ว เรือท ้องแบน(Flat) , เรือบาส() , เรือบรรทุกนามั และ เรือท ้องวี(Vee) , เรือเร็ว(SpeedBoat) , เรือใบ(SailBoat) จะมีค่า CB ประมาณ 0.25 - 0.45
22
THAI COMPOSITES MAGAZINE
EDUCATION
ข้อมูลเพิ่มเติม : http://arch.iit.edu/ โครงสร้างวัสดุคอมโพสิทเสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอนที่ชื่อว่า “ไฟเบอร์แวร์ พาวิลเลี่ยน” ออกแบบโดยนักศึกษาคณะ สถาปัตยกรรม วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ไอไอที ภายใต้การดูแลของ รศ. อัลฟอนโซ เพลูโซ ปี ค.ศ. 2014
“วัสดุทเี่ ริม ่ ต้นในแบบผืนผ้านีส ้ ามารถท�ำให้มรี ป ู ทรงได้ทกุ รูปแบบเท่าทีจ่ ะ จินตนาการได้” บทสัมภาษณ์
รองศาสตราจารย์อัลฟอนโซ เพลูโซ ผู้อำ�นวยการสถาบันเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม การออกแบบและการสื่อสาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ไอไอที ชิคาโก (IIT Architecture Chicago)
คุณเริ่มสอนเกี่ยวกับวัสดุคอมโพสิทที่ วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ไอไอที ตอนไหน รศ. อัลฟอนโซ เพลูโซ: นักศึกษาของผม และผมเริม ่ ทำ�งานเกีย ่ วกับวัสดุคอมโพสิท ในปี ค.ศ. 2014 ตอนนั้นผมกำ�ลังสอน วิชาการออกแบบสตูดิโอ ในหัวข้อ “การ ออกแบบการปฏิ บั ติ ง านด้ า นวั ส ดุ ก าร แสดง” โดยเน้นที่การออกแบบและสร้าง
AW-������ �����������-��61-01.indd 22
โดยไม่ต้องรอการนำ�เสนอที่ รศ. อัลฟอนโซ เพลูโซ จะไปพูดในงานแสดงสินค้า ก่อสร้างกับอนาคตของวัสดุคอมโพสิทสำ�หรับงานก่อสร้างที่จะจัดขึ้นในวันที่ 2022 มิถน ุ ายน ทีช ่ ค ิ าโกนี้ เราได้สม ั ภาษณ์ รศ. อัลฟอนโซ เพลูโซ ผูอำ ้ �นวยการสถาบัน เทคโนโลยีสถาปัตยกรรมการออกแบบและการสื่อสาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ไอไอที ชิคาโก (IIT Architecture Chicago) คำ�ถามสองสามข้อเกี่ยวกับแนวทางของเขาในการใช้วัสดุคอมโพสิทและวิธีการ ประยุกต์ใช้มัน การรวมวัสดุคอมโพสิทเข้ากับงานด้านสถาปัตยกรรม
โครงสร้างชั่วคราวแบบเต็มรูปแบบจาก วั ส ดุ ค อมโพสิ ท เสริ ม แรงด้ ว ยเส้ น ใย คาร์บอน โครงการนี้ชื่อว่า ไฟเบอร์แวร์ พาวิลเลี่ยน (FIBERwave Pavilion) ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี โดย โครงการได้ถูกเขียนถึงอย่างมากมายใน เว็บเพจด้านสถาปัตยกรรมต่าง ๆ รวม ถึ ง ในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ด ้ า นสถาปั ต ยกรรม ด้วย แต่นักศึกษาของผมและผมทำ�งาน
เฉพาะทีเ่ กีย ่ วกับวัสดุคอมโพสิทเสริมแรง ด้วยเส้นใยคาร์บอนเท่านั้นนะครับ วั ส ดุ ค อมโพสิ ท อยู ่ ใ นส่ ว นไหนของ หลักสูตรสถาปัตยกรรมนี้ รศ. อัลฟอนโซ เพลูโซ: หัวข้อนี้เป็นส่วน หนึ่ ง ของหลั ก สู ต รแบบต่ อ เนื่ อ งในวิ ช า สั ม มนาที่ ผ มสอนทุ ก เทอม นั บ ตั้ ง แต่ โครงการ ไฟเบอร์แวร์ นักศึกษาของผม
13/6/2561 13:39:54
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
และผมได้ ส ร้ า งแผงโซลาร์ เ ซลล์ ที่ ผ ลิ ต จากเส้นใยคาร์บอน โดยใช้ชอ ื่ ว่าคาร์บอน สกิน (carbonSKIN) เพื่อติดตั้งที่ด้าน หน้ า ของตั ว อาคาร และในภาคเรี ย น สุดท้ายพวกเขาได้สร้างเก้าอี้ที่เรียกว่า "Rolling Vitruvius" มีลักษณะเป็น เก้าอีน ้ งั่ แบบม้วนเป็นทรงกระบอก เพือ ่ ไป แสดงในงานแสดงศิลปะและการออกแบบ วั ต ถุ ป ระติ ม ากรรม (SOFA expo) ประจำ�ปีที่ชิคาโก คุณคิดว่าการนำ�วัสดุคอมโพสิทเข้ามาใช้ ในงานออกแบบจะสามารถเปลีย ่ นแปลง ลักษณะของมันได้หรือไม่ รศ. อัลฟอนโซ เพลูโซ: แน่นอนครับ วัสดุ ทีเ่ ริม ่ ต้นจากการเป็นผืนผ้าจะนำ�มาทำ�เป็น รู ป ร่ า งแบบใดก็ ไ ด้ เ ท่ า ที่ จ ะสามารถ จินตนาการได้ เมื่อผสมเส้นใยเสริมแรง กับเรซิ่นแล้วเอาไปขึ้นรูปตามที่ต้องการ มั น จะกลายเป็ น วั ส ดุ ที่ มี ค วามแข็ ง แรง พอ ๆ กับเหล็กแต่มน ี ำ�้ หนักเบากว่ามาก ๆ ความเป็นไปได้ในการออกแบบนีจ ้ ะช่วยให้ วั ส ดุ ค อมโพสิ ท ถู ก นำ�ใช้ ม ากขึ้ น ในงาน สถาปัตยกรรมซึง่ แตกต่างจากวัสดุทเี่ คย ใช้ในอาคารก่อนหน้านี้ นักศึกษาของคุณมีความคิดเห็นอย่างไร เกี่ยวกับวัสดุใหม่ ๆ เหล่านี้ ซึ่งถือว่า วัสดุพวกนีย ้ งั พบเห็นได้นอ ้ ยในงานด้าน สถาปัตยกรรม รศ. อัลฟอนโซ เพลูโซ: ในตอนแรกพวก เขามองว่ามันเป็นวัสดุที่แปลกใหม่มาก ครับ โดยทั่วไปแล้ว วัสดุส่วนใหญ่ที่ถูก นำ�มาใช้ทำ�แบบจำ�ลองทางสถาปัตยกรรม จะเป็นพวกไม้และแผ่นอะคริลิค ดังนั้น การที่พวกเขาจะต้องสร้างบางสิ่งที่เต็ม รูปแบบโดยวัสดุใหม่ ๆ เหล่านี้ ซึง่ เป็นวัสดุ ทีพ ่ วกนักศึกษาไม่คน ุ้ เคยและไม่เคยใช้งาน มาก่ อ นจึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ น ่ า ตื่ น เต้ น และน่ า กลัวในเวลาเดียวกันเลยครับ เมื่อเริ่มทำ� ต้นแบบขนาดเล็ก นักศึกษาของผมก็ได้ เรี ย นรู ้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ว่ า การทำ�งานกั บ วั ส ดุ ค อมโพสิ ท เสริ ม แรงด้ ว ยเส้ น ใย คาร์บอนต้องใช้ความใส่ใจและฝีมือเป็น อย่างมาก
AW-������ �����������-��61-01.indd 23
คุณคิดว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องคำ�นึงถึงป็น หลักในการใช้วส ั ดุคอมโพสิทกับงานด้าน สถาปั ต ยกรรม และอะไรถื อ เป็ น อุ ป สรรคสำ�คั ญ ต่ อ การนำ�วั ส ดุ ค อมโพสิทเหล่านี้มาใช้ รศ. อัลฟอนโซ เพลูโซ: ผมคิดว่าขณะนี้ มีสิ่งที่ต้องคำ�นึงถึงอยู่สองสามประการ ประการแรกคือเราทำ�อะไรกับมันได้บ้าง เ ร า จ ะ ใ ช ้ วั ส ดุ ค อ ม โ พ สิ ท ม า แ ท น ที่ โครงสร้างของเสาและคานที่ทำ�จากหล็ก ได้หรือไม่ เราจะต้องใช้วัสดุหุ้มอาคาร ด้วยหรือไม่ ในช่วงแรกของการใช้งาน วั ส ดุ ค อมโพสิ ท อุ ต สาหกรรมการ ก่อสร้างยังไม่มขี อ ้ มูลทีเ่ พียงพอเกีย ่ วกับ วัสดุคอมโพสิทนั้น ๆ ประการที่สองก็ คือวัสดุคอมโพสิทมีน�้ำหนักเบาและบาง
23
มากเมื่อเทียบกับความแข็งแรงของมัน แต่มันจะมีความแข็งแรงมากพอหรือไม่ วัสดุคอมโพสิทจะลดค่าใช้จา่ ยในการสร้าง อาคารได้จริงหรือไม่ มันจะทำ�ให้สร้างได้ ง่ายขึ้นจริงหรือไม่ แล้วเราจะวิเคราะห์ โครงสร้างอาคารได้อย่างไร ตามที่กล่าว มา ความสนใจเหล่านี้มาพร้อมกับคำ�ถาม มากมาย อุปสรรคบางประการก็คอ ื ความปลอดภัย จากอั ค คี ภั ย มาตรฐานควบคุ ม การ ออกแบบการก่อสร้าง และการวิเคราะห์ โครงสร้างอาคาร แต่เมือ ่ มีคนทุม ่ เทให้กบ ั การทำ�งานและแก้ไข ปรับปรุง อุปสรรค ต่าง ๆ เหล่านี้ การใช้วัสดุคอมโพสิทใน งานสถาปั ต ยกรรมจะเติ บ โตอย่ า ง รวดเร็วแน่นอนครับ
เพิม ่ เติมเกีย ่ วกับ วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ไอไอที
หลักสูตรของวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ไอไอที มุ่งเน้นที่การศึกษาด้านการ ออกแบบสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม และเทคโนโลยี ในขณะเดียวกัน ก็ได้ขยายความสำ�คัญของการศึกษาเหล่านี้ผ่านการใช้ความคิดเชิงวิเคราะห์ และ การตัง้ คำ�ถามทางวิชาการในเชิงลึกอย่างเข้มข้น วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ ไอไอที ได้รับความสนใจอย่างมากเพราะเป็นสถานที่ที่ผสมผสานประเพณีดั่งเดิม และสภาพแวดล้อมที่เป็นเอกลักษณ์เข้าไว้ด้วยกันเช่น มรดก Miesian ซึ่งเป็น โรงเรียนแนวร่วมสมัยทีม ่ ชี อ ื่ เสียงโดดเด่นทีต ่ งั้ อยูใ่ นชิคาโก อีกทัง้ ยังแวดล้อมไป ด้วยมรดกทางสถาปัตยกรรมมากมาย ซึ่งช่วยเพิ่มภูมิทัศน์ที่งดงาม และช่วย เพิ่มการเชื่อมต่อทางความคิดของนักออกแบบทั่วโลก นักศึกษา อาจารย์ และ ศิษย์เก่าได้ร่วมมือกันส่งเสริมสภาพแวดล้อมทางวิชาการที่กระตุ้นความท้าทาย ด้านสติปัญญา และการทำ�งานอย่างมืออาชีพ ตลอดจนมุ่งมั่นที่จะสร้างสรรค์ นวัตกรรมและขยายขอบเขตความร่วมมือระหว่างประเทศ
13/6/2561 13:39:54
24
THAI COMPOSITES MAGAZINE
COMPOSITES in the world เล็งให้ถูกเป้า ไฟฉายติดปืนรุน ่ แสงแฟลชอัตโนมัติ ทีม ่ ล ี ก ั ษณะเด่นเป็นโครงสร้าง ทำ�จากวัสดุคอมโพสิทเสริมแรงด้วยเส้นใยที่มีน�้ำหนักเบา ช่วย จัดการกับความร้อนและรองรับแรงกระแทกได้ดีกว่ารุ่นที่ทำ�จาก อะลูมเิ นียม นอกจากนัน ้ ไฟฉายติดปืนรุน ่ นีย ้ งั ให้ความสว่างขนาด 200 ลูเมน ซึง่ เหมาะสำ�หรับการใช้งานในช่วงกลาง ๆ โดยใช้สวิตช์ แบบทวิภาคีที่ใช้งานง่ายและเหมาะกับทั้งผู้ที่ถนัดซ้ายและผู้ที่ถนัด ขวา ไฟฉายติดปืนรุ่นแสงแฟลชอัตโนมัตินี้ถูกผลิตในประเทศ สหรัฐอเมริกาเช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์ทงั้ หมดของบริษท ั อินฟอร์ส ข้อมูลเพิ่มเติม: inforce-mil.com
สกูตเตอร์ทันสมัยเกินไปสำ�หรับเด็ก
CarbonRider เป็นรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้าระดับไฮเอนด์ที่อ้างว่าเป็นรถ สกู๊ตเตอร์ที่มีน�้ำหนักเบาที่สุดในโลก เหมาะกับผู้ขับขี่ทุกเพศทุกวัย มันเต็ม ไปด้วยเทคโนโลยีทน ั สมัยมากมาย ตัวเครือ ่ งผลิตจากเส้นใยคาร์บอนทัง้ คัน ขนาดกะทัดรัดและด้วยรูปลักษณ์ที่สวยงามนี้ทำ�ให้มันกลายเป็นสกูตเตอร์ ไฟฟ้ าที่ น่ าจั บตามองมากที่ สุด ในตลาด ณ เวลานี้ รถสกูตเตอร์ไ ฟฟ้า คาร์บอนไรเดอร์ใช้พลังงานจากมอเตอร์ด้านหน้า 350 วัตต์และแบตเตอรี่ ลิเธียมซัมซุงรุน ่ 18650 ซึง่ ผูผ ้ ลิตทำ�มาให้เลือกสเปคสองรุน ่ คือ รุน ่ ความ จุ 7.5 Ah หรือ 10 Ah ใช้เวลาในการชาร์จ 2 ชั่วโมงและความเร็วสูงสุด 25 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รองรับน�้ำหนักผู้เล่นได้สูงสุดถึง150 กิโลกรัม รถสกูต ๊ เตอร์ไฟฟ้าโครงสร้างน�ำ้ หนักเบานีข้ บ ั ขีไ่ ด้ไกล 25 กิโลเมตร สำ�หรับ แบตเตอรี่รุ่น 7.5 Ah และระยะทาง 32 กิโลเมตร สำ�หรับรุ่น 10 Ah ข้อมูลเพิ่มเติม: http://trendyscooter.com
เปิดประสบการณ์การอาบน�้ำรูปแบบใหม่
เอ็กซ์เทรน (XTEND) นำ�เสนออ่างอาบน�้ำรูปแบบใหม่ที่น่าตื่นตาตื่นใจมาก ขึน ้ โดยการออกแบบอ่างอาบน�ำ้ นีเ้ กิดจากการนำ�วัสดุคอมโพสิทเสริมแรง ด้วยเส้นใยคาร์บอนและตัดขึน ้ รูปด้วยเทคโนโลยีแรงดันสูงแบบวอเตอร์เจ็ท (Water Jet Cutting) มันเป็นการรวมการออกแบบ การทำ�งานและ ความสะดวกสบายเข้าไว้ด้วยกัน โดยเป็นอ่างอาบน�้ำนี้สามารถพับเก็บได้ และมีน�้ำหนักเบาเพียง 7 กิโลกรัม มีความบางเพียง 8.5 มิลลิเมตร ช่วย ประหยัดพื้นที่และสามารถพกพาได้สะดวก โครงสร้างของมันยังแสดงให้ เห็นถึงฝีมือการผลิตที่ยอดเยี่ยม แผ่นรองนั่งนุ่มสบาย ถูกหุ้มด้วยผ้าซึ่ง สามารถถอดซักได้ สิ่งนี้ช่วยเพิ่มประสบการณ์การอาบน�้ำรูปแบบใหม่ที่ เอ็กซ์เทรนออกแบบมาเพื่อคุณ ข้อมูลเพิ่มเติม: www.carina-deuschl.com
AW-������ �����������-��61-01.indd 24
13/6/2561 13:39:54
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
25
จักรยานคาร์บอนไฟเบอร์สุดเท่ จักรยานแฮนด์เมด ‘เออร์บาน สตีลธ์’ (Urban Stealth) ทีไ่ ด้แรงบันดาล ใจมาจาก ‘เอฟ-117 ไนท์ฮอว์ก’ เครื่องบินรบระดับตำ�นาน โดยจักรยาน ‘บี-ไนน์ เอ็นเอช เออร์บาน สตีลธ์’ (B-9 NH Urban Stealth) คันนี้ แสดงถึงวิวัฒนาการของจักรยานรุ่น BME X-9 โดยมีตัวถัง โครง ตะเกียบ และแฮนด์แบบชิ้นเดียว ที่ทำ�จากวัสดุคอมโพสิทสุดเบาแต่แกร่ง ขั้นเทพอย่างคาร์บอนไฟเบอร์ ขณะที่เบาะนั่งทำ�จากคาร์บอนเอส 72 (S72) ซึ่งถือเป็นการออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของ BME และชุดจาน หน้า (Crank) เป็นอัลลอยขึ้นรูปด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ ซีเอ็นซี ที่ ออกแบบมาพิเศษสำ�หรับจักรยานบี-ไนน์ เอ็นเอช จักรยานรุ่นนี้นำ�วัสดุ คอมโพสิทมาใช้อย่างมากมาย ตัวอย่างเช่น ยางทีทำ ่ �จากอะรามิดรวมถึง สายพานที่ขับเคลื่อนโดยไร้จาระบีก็ทำ�จากวัสดุคาร์บอน ส่วนตัวถังและ ชิ้นส่วนทั้งหมดไม่ว่าจะเป็น โครงตะเกียบ แฮนด์ เบาะนั่งและชุดจานหน้า ได้ผ่านการทดสอบตามมาตรฐานความปลอดภัยเชิงวิศวกรรม (EN 14764:2006 Standard) จากสถาบันทดสอบทางวิศวกรรมที่ได้รับ การรับรองในสาธารณรัฐเช็กเรียบร้อยแล้ว ข้อมูลเพิ่มเติม: www.bmedesign.eu
แผ่นกระดานรองหลังคาร์บอนไฟเบอร์ ที่น�้ำหนักเบาและแข็งแรง
เอ็กซ์ทริมโฟร์ (X-Trim 4) แผ่นกระดานรองหลังสำ�หรับเคลือ ่ นย้ายผูบ ้ าดเจ็บ ทำ�จาก วัสดุคอมโพสิทเสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอนที่สามารถพับเก็บได้ โดยถูกพัฒนาขึ้น สำ�หรับการกู้ภัยในถ�้ำและในทุกสถานการณ์ที่คับแคบ น�้ำหนักและขนาดของมันถูก ออกแบบให้ลดลงเหลือ 5 กิโลกรัมและมีความหนาเพียง 5 มิลลิเมตร เพือ ่ ความสะดวก ในพกพา แผ่นเอ็กซ์ทริมโฟร์ไม่มีส่วนประกอบของโลหะ รังสี X-RAY จากเครื่อง CT, MRI และอุปกรณ์การวินิจฉัยอื่น ๆ สามารถผ่านทะลุได้ตลอด แผ่นเอ็กซ์ทริมโฟร์ เหมาะสำ�หรับการใช้งานในสภาพแวดล้อมที่จำ�กัดและยังมีขนาดพอดีกับเปลผ้าหุ้มตัว ผู้ป่วยชนิดเต็มตัวสำ�หรับเคลื่อนย้ายด้วยอากาศยานอีกด้วย ข้อมูลเพิ่มเติม: www.kong.it
กระเป๋าเป้สะพายหลังเสริมความแข็งแรง ด้วยเส้นใยคาร์บอน คอลเลกชันใหม่ของกระเป๋าเป้สะพายหลังที่ออกแบบโดย Vinaccia ดีไซเนอร์ชื่อดังจาก อิตาลี ที่รวมความเบาและความแข็งแรงเข้าไว้ด้วยกัน โดยมีโครงสร้างภายนอกที่ทำ�จาก เส้นใยคาร์บอนซึ่งช่วยเสริมความแข็งแรงและผ้าไนลอนที่เคลือบเพื่อกันน�้ำและยังช่วย ป้องกันการฉีกขาดภายใน กระเป๋าเป้ใบนีถ ้ ก ู ออกแบบมาให้มชี อ ่ งใส่ของเปิดได้จากภายนอก โดยไม่ต้องเปิดกระเป๋าเป้สะพายหลัง ภายในยังมีพื้นที่สำ�หรับแล็ปท็อปขนาด 15 นิ้วพร้อม ช่องใส่อุปกรณ์อื่น ๆ อีกมากมาย สำ�หรับผิวด้านนอกมีสีให้เลือกสองสีคือสีเงินและสีดำ� ส่วนบริเวณที่เป็นผ้ามีสี่สี ได้แก่ สีแดง สีเทา สีดำ� และสีเขียว ข้อมูลเพิ่มเติม: www.vinaccia.it
AW-������ �����������-��61-01.indd 25
13/6/2561 13:39:55
26
THAI COMPOSITES MAGAZINE
Market
ตลาดของอุตสาหกรรมพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (Glass-Reinforced Plastic, GRP) ในทวีปยุโรป ปี ค.ศ. 2017
สมาพันธ์พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้วแห่ง ประเทศเยอรมนี (German Federation of Reinforced Plastics, AVK) ได้เผยแพร่ รายงานผลการวิจย ั ประจำ�ปีทเี่ กีย ่ วข้องกับตลาด ของพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ใน งานวิจัยนี้ได้คาดการณ์การเติบโตของตลาดปี ค.ศ. 2017 ไว้ด้วย ตลาดของอุตสาหกรรม พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้วถูกคาดการณ์ ว่าจะเติบโตประมาณ 2% เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว คิดเป็นปริมาณการผลิต 1.118 ล้านตัน การ เติบโตนี้ช่วยเสริมสร้างเสถียรภาพในภาคส่วนที่ ใหญ่ที่สุดของอุตสาหกรรมวัสดุคอมโพสิทเสริม แรงด้วยเส้นใยแก้ว โดยประเทศเยอรมนียังคง เป็นรายใหญ่ทส ี่ ด ุ ในประเทศแถบยุโรปทีม ่ ป ี ริมาณ การผลิ ต พลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ยเส้ น ใยแก้ ว (GRP) และอัตราการเติบโตสูงที่สุดในขณะนี้ เช่นเดียวกับปีที่ผ่าน ๆ มา รายงานการตลาด ประจำ�ปี ค.ศ. 2017 ของพลาสติกเสริมแรงด้วย เส้นใยแก้ว (GRP) ในทวีปยุโรป จะทำ�การวิเคราะห์ ปริ ม าณการผลิ ต พลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ย เส้นใยแก้ว (GRP) ของประเทศต่าง ๆ ในยุโรปที่ สามารถบันทึกและตรวจสอบได้ ประเทศตุรกีก็ รวมอยู่ด้วย แต่ข้อมูลจะถูกระบุแยกต่างหาก วัสดุพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ที่ นำ�มาพิจารณาในทีน ่ ไี้ ด้แก่ พลาสติกเสริมแรงด้วย เส้ น ใยแก้ ว แบบที่ มี เ มทริ ก ซ์ เ ป็ น เทอร์ โ มเซตทุ ก ประเภท และรวมถึงเทอร์โมพลาสติกเสริมแรง ด้วยเส้นใยแก้ว (Glass Mat Reinforced Thermoplastics, GMT) และเทอร์โมพลาสติก เสริ ม แรงด้ ว ยเส้ น ใยยาว (Long-Fiber Reinforced Thermoplastics, LFT) ข้อมูลเกีย ่ วกับปริมาณการผลิตเทอร์โมพลาสติก เสริมแรงด้วยเส้นใยสัน ้ มีเพียงปริมาณรวมจึงจะ ระบุแยกต่างหาก
AW-������ �����������-��61-01.indd 26
แนวโน้มปริมาณการผลิตพลาสติกเสริม แรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ปี ค.ศ. 2017
ปัจจุบน ั อุตสาหกรรมวัสดุคอมโพสิทกำ�ลังเติบโต อย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ห้า ปริมาณการผลิตของ พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) เติบโต อย่างต่อเนือ ่ งในช่วงปี ค.ศ. 2017 เช่นเดียวกับ
ปี ค.ศ. 2016 ตลาดของอุตสาหกรรมพลาสติก เสริมแรงด้วยเส้นใยแก้วในยุโรปถูกคาดการณ์วา่ จะเติบโตเพิม ่ ขึน ้ ประมาณ 2% คิดเป็นปริมาณการ ผลิต 1.118 ล้านตัน แนวโน้ ม การเติ บ โตจะแตกต่ า งกั น ไปในแต่ ล ะ ประเทศ รวมทัง้ ในแง่ของกระบวนการผลิตหลัก ๆ และวัตถุดิบที่ใช้ อัตราการเติบโตที่สอดคล้อง กันนี้สามารถแตกต่างได้ค่อนข้างมาก
6 6
รูป ท ี่1 ป ริม าณ การผ ล ติ GRP ในท วีป ย ุโรป ต ้ง ัแ ต ่ ป ี 1 9 9 9 (1 kiloton (kt)=1000 ต น ั, ป ระ ม าณ การส าห รั บ ปี 201 7 )
รูปที่ 1 ปริมาณการผลิต GRP ในทวีปยุโรปตั้งแต่ปี 1999 (1kiloton (kt)=1000 ตัน, ประมาณการสำ�หรับปี 2017)
รูป ท ี่1 ป ริม าณ การผ ลิต GRP ในท วีป ย ุโรป ต ้ง ัแต ่ ป ี 1 9 9 9 (1 kiloton (kt)=1000 ต นั, ป ระ ม าณ การส าห รั บ ปี 201 7 )
ต ารางท ี่1 ป ริม าณ การผ ลิ ต GRP ในท วีป ย ุโรป แ ย กต าม กระ บ วนการผ ล ติ ของปีป ั จจุบ ั น และ ปีท ผี่ ่ านม าส าม ปี (1 kiloton ตารางที่ 1 ปริ มาณการผลิต GRPบในทวี ปยุโรปแยกตามกระบวนการผลิตของปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมาสามปี (1kiloton (kt)=1000 ต น ั, ป ระ ม าณ การส าห รั ปี 201 7 )
(kt)=1000 ตัน, ประมาณการสำ�หรับปี 2017)
ต ารางท ี่1 ป ริม าณ การผ ลิต GRP ในท วีป ย ุโรป แย กต าม กระ บ วนการผ ลิต ของปีป ั จจุบ ั นและ ปีท ผี่ ่ านม าส าม 13/6/2561 ปี (1 kiloton13:39:56
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
ปริ ม าณการผลิ ต พลาสติ ก เสริ ม แรง ด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ในทวีปยุโรป
ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ที่ทำ�จากพลาสติกเสริมแรง ด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) รายใหญ่ที่สุด ก็คือภาค การขนส่ ง และภาคการก่ อ สร้ า ง ปริ ม าณการ บริโภคของแต่ละภาคส่วนนี้คิดเป็นหนึ่งในสาม ของปริมาณการผลิตทั้งหมด จึงทำ�ให้ภาคส่วน ดั ง กล่ า วมี บ ทบาทสำ�คั ญ ในการเติ บ โตทาง เศรษฐกิจของประเทศ ด้วยบทบาทของทั้งสอง ภาคส่วนนี้ ทีม ่ ค ี วามสำ�คัญทีส ่ ด ุ ในเศรษฐกิจของ
ประเทศ จึงเป็นเหตุผลที่ทำ�ให้ปริมาณการผลิต พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) มีแนว โน้มทีจ ่ ะเป็นไปตามแนวโน้มของการเติบโตในระยะ ยาวของ GDP และถึงแม้ว่าจะมีสินค้ารูปแบบใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย แต่อย่างไรก็ตาม พลาสติกเสริม แรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ก็ยังถือเป็นวัสดุ มาตรฐานที่ ถู ก ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ในการผลิ ต สินค้าต่าง ๆ อยู่ และด้วยความต้องการที่หลาก หลายของตลาด ซึ่ ง หมายถึ ง ความผั น ผวนใน อุตสาหกรรมของลูกค้าแต่ละราย มักจะแก้ไขได้ ด้วยการเพิ่มรูปแบบการใช้งานในส่วนอื่น ๆ
รูป ท ี่2 ป ริม าณ การผ ลิต GRP ในท วีป ย โรป แบ ่งต าม การใช้งานในภ าค อุต สาห กรรม ต่างๆของปี 201 7
ปริมลิ าณการผลิ ต GRP งตามการใช้ สาหกรรมต่ างของปี ๆ ของปี รูป ท ี่2 ป ริรูม ปาณที่ 2การผ ต GRP ในท วีุป ย ุโในทวี รป แบปยุ่งโตรปแบ่ าม การใช้ งานในภงานในภาคอุ าค อุต สาหตกรรม ต่างๆ 201 2017 7
ต ารางท ี่2 ป ริม าณ การผ ลิต GRP ในท วีป ย ุโรป และ ป ระ เท ศต ุรกีแ ย กต าม ป ระ เท ศและ กลุ่มป ระ เท ศ
ตารางที่ 2 ปริมาณการผลิต GRP ในทวีปยุโรปและประเทศตุรกีแยกตามประเทศและกลุ่มประเทศ
(kt=1000 ต นั,ตัปนระ, ประมาณการสำ�หรั ม าณ การส าห รั บ ปีบ201 ; Eastern Europe*Europe* = Poland,= Czech, Republic, Romania, Serbia, (kt=1000 ปี 72017; Eastern Poland, Czech,Hungary, Republic, Hungary, Romania, Serbia, Croatia, Macedonia, Latvia, Lithuania, Slovakia and Slovenia; Turkey** = ที่มา: Croatia, Macedonia, Latvia, Lithuania, Slovakia and Slovenia; Turkey** = ท ม ่ ี า: TCMA) ต ารางท ี่2 ป ริม าณ การผ ลิต GRP ในท วีป ย ุโรป และ ป ระ เท ศต ุรกีแ ย กต าม ป ระ เท ศและ กลุ่มป ระ เท ศ TCMA)
27
ปริ ม าณการผลิ ต พลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ย เส้นใยแก้ว (GRP) ในยุโรปยังคงเติบโตอย่างต่อ เนื่อง แต่คาดว่าจะมีแนวโน้มลดลงตามแนวโน้ม โลก การเติบโตของปริมาณการผลิตทัว่ โลกสูงขึน ้ กว่า 2% เป็นผลให้สัดส่วนของการผลิตทั่วโลก ของยุโรปยังคงลดลงแต่ว่าจะมีแนวโน้มเชิงบวก เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
7
แ น ว โ7น ้ ม ใ น ส ่ ว น ข อ ง ก า ร พั ฒ น า กระบวนการผลิตและชิ้นส่วน กระบวนการผลิตแบบ SMC/BMC กระบวนการผลิตแบบ SMC (Sheet Molding Compound) และ BMC (Bulk Molding Compound, BMC) คิดเป็นสัดส่วนประมาณ หนึ่ ง ในสี่ ข องปริ ม าณการผลิตทั้ง หมดและเป็น กลุม ่ ตลาดทีใ่ หญ่ทส ี่ ด ุ ของอุตสาหกรรมพลาสติก เสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ในอุตสาหกรรม วัสดุคอมโพสิท วัตถุดบ ิ สำ�หรับการผลิตมักอยูใ่ น รูปของชิน้ งานกึง่ สำ�เร็จเพือ่ ความสะดวกในการขึน้ รูป ชิ้นงานกึ่งสำ�เร็จรูปที่ผลิตโดยใช้กระบวนการรีด ร้อน (SMC) และกระบวนการฉีดขึ้นรูป (BMC) กลายเป็ น ส่ ว นประกอบหลั ก ที่ ถู ก นำ�ไปใช้ ใ น อุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และการขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมยานยนต์ ในปีนี้ภาคการผลิต SMC และ BMC เติบโตช้า กว่าปีที่แล้วเล็กน้อยในอัตรา 2.2% ปริมาณการ ผลิ ต ทั้ ง หมดในปี นี้ เ ท่ า กั บ 280,000 ตั น ซึ่ ง มากกว่าสองในสามของปริมาณการผลิตนี้มา จากการผลิตแบบ SMC กระบวนการผลิตทีใ่ ช้แม่พม ิ พ์แบบเปิด (Open Mould Processes) "กระบวนการผลิตแบบเปิด" ได้แก่การขึน ้ รูปด้วย มือและการขึ้นรูปโดยการพ่น (Hand Lay-up and Spray-up) ซึ่งยังคงเป็นกลุ่มที่ใหญ่เป็น อั น ดั บ สองของตลาดพลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ย เส้นใยแก้ว (GRP) ในยุโรป โดยมีกำ�ลังการผลิต รวมทั้งสิ้น 238,000 ตัน แนวโน้มการเติบโตของกลุ่มนี้ยังคงลดลงอย่าง ต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยอยู่ต�่ำกว่า 1% ในปี ค.ศ. 2017 กลุ่มที่มีสัดส่วนมากกว่า อย่างการขึ้นรูปด้วยมือก็ซบเซาลง ผลิตภัณฑ์ทว ั่ ไป ได้แก่ ห้องเครือ ่ งกังหันลม สระ ว่ายน�้ำ ลำ�ตัวเรือ อุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติมในยาน พาหนะชนิดพิเศษ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และแม่ พิมพ์ ชิ้นส่วนที่ใช้วัสดุเหล่านี้ยังสามารถพบเห็น ได้ ใ นอุ ต สาหกรรมการก่ อ สร้ า งและโครงสร้ า ง พืน้ ฐาน อย่างเช่น ผนังภายนอกของอาคารอีกด้วย ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ บ บ RT M ( Res i n
(kt=1000 ต นั, ป ระ ม าณ การส าห รั บ ปี 201 7 ; Eastern Europe* = Poland, Czech, Republic, Hungary, Romania, Serbia, Transfer Moulding) Croatia, Macedonia, Latvia, Lithuania, Slovakia and Slovenia; Turkey** = ท มี่ า: TCMA) ในกลุ ่ ม ของชิ้ น ส่ ว นประกอบที่ ขึ้ น รู ป ด้ ว ย
กระบวนการผลิตแบบ RTM (เรซิน ่ จะถูกฉีดเข้าไป ในแม่พม ิ พ์ซงึ่ มีเส้นใยเสริมแรงวางอยู)่ ยังมีแนว โน้มการเติบโตเฉลี่ยที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง ขยายตัวในอัตรา 3.5% โดยมีปริมาณการผลิต
AW-������ �����������-��61-01.indd 27
13/6/2561 13:39:57
28
THAI COMPOSITES MAGAZINE
รวม 140,000 ตัน เช่นเดียวกับในปีที่ก่อน ๆ ภาค ส่วนนีน ้ บ ั รวมชิน ้ ส่วนทัง้ หมดทีผ ่ ลิตโดยใช้แม่พม ิ พ์แบบ ปิดด้วย ปัจจุบัน เทคโนโลยีการผลิตแบบนี้ถูกพัฒนา ขึน ้ หลากหลายรูปแบบเพือ ่ ให้ตอบสนองความต้องการ ตลาดได้อย่างทัว่ ถึง และมีการนำ�ไปประยุกต์ใช้งานด้าน ต่าง ๆ อย่างแพร่หลายได้แก่ โครงสร้างยานพาหนะ ห้องเครื่องกังหันลม โครงสร้างเรือ และด้านกีฬาและ สันทนาการ
กระบวนการผลิ ต แบบที่ ใ ช้ เ ส้ น ใยต่ อ เนื่ อ ง (Continuous Processing)
ปริมาณการผลิตพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) โดยใช้กระบวนการผลิตแบบทีใ่ ช้เส้นใยต่อเนือ ่ ง เพิ่มขึ้น 5% ในปี ค.ศ. 2017 ซึ่งเป็นอัตราการเติบโต ทีแ่ ข็งแกร่งทีส ่ ด ุ ในทุกภาคอุตสาหกรรมและมีแนวโน้มที่ ดีในการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยมีปริมาณการผลิต รวมประมาณ 146,000 ตัน ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ถูกนำ� มาใช้ในยานพาหนะเป็นเวลาหลายปีแล้ว โดยส่วนใหญ่ ถูกใช้เป็นผนังด้านข้างของรถบรรทุกและโครงสร้างรถ พ่วงหรือรถเพื่อการพาณิชย์ นอกจากนี้ยังถูกนำ�ไปใช้ ในอุตสาหกรรมการก่อสร้างด้วย ตลาดของพลาสติก เสริ ม แรงด้ ว ยเส้ น ใยแก้ ว (GRP) ที่ ขึ้ น รู ป ด้ ว ย กระบวนการผลิตแบบการดึงต่อเนื่อง (Pultrusion) มี อั ต ราการเติ บ โตที่ แ ข็ ง แกร่ ง ที่ สุ ด (6%) ใน อุตสาหกรรม GRP ของยุโรปและขณะนีม ้ ป ี ริมาณการ ผลิตสูงถึง 53,000 ตัน กลุ่มผู้ใช้งานที่ใหญ่ที่สุดใน ตลาดนี้ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 20% ของตลาด ชิ้นส่วนประกอบที่ขึ้นรูปด้วยการผลิตแบบการดึงต่อ เนื่ อ ง (Pultrusion) คื อ ภาคเอกเชนและภาค อุตสาหกรรมการก่อสร้าง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากพลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ยเส้ น ใยแก้ ว (GRP) ที่ ถู ก ขึ้ น รู ป ด้ ว ยกระบวนการดึ ง ต่ อ เนื่ อ ง (Pultrusion) เหล่านีถ ้ ก ู นำ�มาประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในหลากหลายภาคส่วน ได้แก่ การผลิตชิ้นส่วน ที่ใช้ทำ�สะพาน ระบบสายเคเบิล ระบบเสริมความแข็ง แรงของโครงสร้าง ระบบราง ระบบการก่อสร้างใน โรงงาน รวมถึงบางส่วนของอุตสาหกรรมการขนส่ง ด้วย
ท่อและถัง
หลังจากความซบเซาลงของปริมาณการผลิตในปีที่ ผ่านมา กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติกเสริมแรงด้วย เส้ น ใยแก้ ว (GRP) ของท่ อ และถั ง ที่ ผ ลิ ต ด้ ว ย กระบวนการหล่ อ โดยใช้ แ รงเหวี่ ย งหนี ศู น ย์ ก ลาง (Centrifugal Casting) หรือกระบวนการขึน ้ รูปโดย การปั่นเส้นใย (Filament Winding) เป็นเพียงส่วน เดียวของ GRP ในยุโรปที่ลดลงในปีนี้ ปริมาณการส่ง ออกลดลง 2% เหลือ 145,000 ตัน ท่อและถังที่ทำ� จากพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ถูกนำ� มาใช้อย่างแพร่ห ลายในอุ ต สาหกรรมต่ า ง ๆ ได้ แก่ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง ระบบท่อทั้งในภาครัฐและ ภาคเอกชน รวมทั้ ง อุ ต สาหกรรมน�้ ำ มั น และแก๊ ส ธรรมชาติ ตลอดจนถึงอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ วัสดุคอมโพสิทแบบ GMT และ LFT ในปี ค.ศ. 2017 ตลาดของเทอร์โมพลาสติกเสริมแรง ด้ ว ยเส้ น ใยแก้ ว (Glass Mat Reinforced Thermoplastics, GMT) และเทอร์โมพลาสติกเสริม แรงด้ ว ยเส้ น ใยยาว (Long-Fiber Reinforced Thermoplastics, LFT) มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสูง กว่า 3.6% แม้วา่ จะต�ำ่ กว่าปีทแี่ ล้วเล็กน้อย แต่แนวโน้ม ของปีที่ผ่านมายังชี้ให้เห็นว่า ส่วนแบ่งทางการตลาด
AW-������ �����������-��61-01.indd 28
ของผลิตภัณฑ์จาก GMT และ LFT สอดคล้องกับ สัดส่วนทั้งหมดของตลาด GRP ที่เพิ่มขึ้นจาก 5% ใน ปี ค.ศ. 2000 เป็น 13% ในปีนี้ โดยปริมาณการผลิต ทั้งหมด 145,000 ตัน ของตลาดกลุ่มนี้ซึ่งแบ่งเป็น LFT และ GMT ในอัตราส่วนคร่าว ๆ ประมาณ 2:1 โดยมีสด ั ส่วนของ LET เพิม ่ ขึน ้ มา ข้อมูลเหล่านีย ้ งั นับ รวมถึงวัสดุที่เสริมแรงด้วยเส้นใยต่อเนื่อง อย่างเช่น แผ่นเทอร์โมพลาสติกที่เรียกว่า organo-sheets ไว้ ด้วย ผลิตภัณฑ์จาก GMT และ LFT เหล่านี้ได้ถูกนำ� มาใช้งานเป็นชิ้นส่วนต่าง ๆ มากมาย เช่น อุปกรณ์ ป้องกันช่วงล่าง กันชน แผงหน้าปัดหรือโครงสร้าง ที่นั่ง เป็นต้น
การประยุกต์การใช้งาน ในเชิงอุตสาหกรรม
ถึงแม้ว่าแนวโน้มการตลาดของกระบวนการผลิตเหล่า นีจ ้ ะแตกต่างกัน แต่สด ั ส่วนของพลาสติกเสริมแรงด้วย เส้นใยแก้ว (GRP) ที่ถูกใช้โดยอุตสาหกรรมหลัก ๆ ใน ยุโรปยังคงเหมือนเมือ ่ ปีทแี่ ล้ว โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ภาคการขนส่งและภาคการก่อสร้าง ซึ่งแต่ละภาคส่วน คิ ด เป็ น หนึ่ ง ในสามของปริ ม าณการผลิ ต ทั้ ง หมด สัดส่วนการใช้งานในเชิงอุตสาหกรรมด้านอื่น ๆ ได้แก่ อุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ รวมทั้ ง อุตสาหกรรมกีฬาและสันทนาการด้วย (ดูรูปที่ 2)
เทอร์ โ มพลาสติ ก ที่ เ สริ ม แรงด้ ว ย เส้นใยแก้วสั้น (Short Glass-Fiber Reinforced Thermoplastics)
ปี ค.ศ. 2016 ตลาดเทอร์ โ มพลาสติ ก ในยุ โ รป มี ปริมาณการผลิตพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้วถึง 1.36 ล้านตัน ซึ่งถือเป็นปริมาณที่สูงมาก โดยสูงกว่า ปริมาณการผลิตของวัสดุเทอร์โมเซตและวัสดุประเภท เทอร์โมพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GMT) และ เทอร์โมพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยยาว (LFT) รวม กัน ในช่วงเวลาเดียวกันด้วย (ที่มา: AMAC) การ เติบโตที่ 5% ในปี ค.ศ. 2016 เป็นแนวโน้มที่ลดลง เล็กน้อยเมือ ่ เทียบกับปี ค.ศ.2015 แต่กย ็ งั โดดเด่นกว่า ตลาดโดยรวมของอุตสาหกรรมพลาสติกเสริมแรง ด้วยเส้นใยแก้ว (GRP)
ปริ ม าณการพลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ย เส้นใยแก้ว (GRP) ในปี ค.ศ. 2016 ของแต่ละประเทศ
รายงานฉบับนี้เป็นข้อมูลการเติบโตทางการตลาดของ อุตสาหกรรมพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ในประเทศต่าง ๆ แถบทวีปยุโรป การเติบโตมีความ คล้ายคลึงกันในเกือบทุกประเทศคือประมาณ 1-3% ประเทศเยอรมนี ยั ง คงเป็ น ตลาดของอุ ต สาหกรรม GRP ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป โดยมีปริมาณการผลิต รวมทั้งสิ้น 226,000 ตัน และมีอัตราการเติบโตสูงกว่าค่า เฉลี่ย 3% เล็กน้อย ข้อมูลทางการตลาดของประเทศ ตุรกีตงั้ แต่ปี ค.ศ. 2011 ถูกรวบรวมไว้ดว้ ย แต่จะระบุ ไว้แยกต่างหาก ในรายงานชี้ให้เห็นว่าไว้ว่าตลาดของ ประเทศตุรกีมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องในปีที่ผ่านมา และภาคอุตสาหกรรมนีถ ้ ก ู คาดว่าจะเติบโตมากกว่า 5% ในปี ค.ศ. 2017 ซึ่ ง คิ ด เป็ น ปริ ม าณการผลิ ต 280,000 ตัน โดยอ้างอิงจากสมาคมคอมโพสิทของ ประเทศตุรกี (TCMA)
วัสดุคอมโพสิทรูปแบบอื่น ๆ
ถึงแม้ว่าจะมีการนำ�เสนอวัสดุใหม่ ๆ ตามงานประชุม หรืองานแสดงสินค้าต่าง ๆ ที่อาจสร้างความประทับใจ หรือดึงดูดความสนใจจากผู้คนได้อย่างมากมาย แต่ พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ก็ยังคงเป็น กลุ่มวัสดุที่ใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมคอมโพสิท โดย มากกว่า 95% ของปริมาณวัสดุคอมโพสิททั้งหมด นิยมใช้เส้นใยแก้ว (glass fiber) เพื่อเสริมความแข็ง แรง ซึ่งอยู่ในรูปแบบหลากหลาย เช่น ใยแก้วเส้นใยสั้น ใยแก้วเส้นยาว ใยแก้วเส้นด้าย ใยแก้วชนิดทอ ใยแก้ว ชนิดผืน ฯลฯ และจากวัสดุคอมโพสิททีผ ่ ลิตได้ทวั่ โลกในปี ค.ศ. 2016 จำ�นวนกว่า 10 ล้านตัน (ที่มา: JEC Composites) 2.8 ล้านตันเป็นพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) ที่ผลิตในยุโรป ด้วยการศึกษาข้อมูลเหล่านี้ อย่างละเอียดยังพบว่ามีปริมาณการผลิตพลาสติก เสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (GRP) 1.096 ล้านตัน และ มี ป ริ ม าณการผลิ ต เทอร์ โ มพลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ย เส้นใยสั้น 1.36 ล้านตัน ในปี ค.ศ. 2016
ภาพรวมอุตสาหกรรมวัสดุคอมโพสิท
วัสดุคอมโพสิทมักถูกมองว่าเป็นวัสดุลำ�้ ยุคทีม ่ น ี ำ�้ หนัก เบามาก มันถูกนำ�มาใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรม ยานยนต์และอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ จึงทำ�ให้ การใช้งานรูปแบบอืน ่ ๆ ทีม ่ อ ี ยูแ่ ล้วในตลาดซึง่ บางครัง้ อาจถูกใช้มานานหลายทศวรรษแล้วก็ตามมักถูกมอง ข้ามไป นี่รวมไปถึงการนำ�วัสดุคอมโพสิทไปใช้งานการ ผลิตแบบต่อเนื่องตลอดการผลิตขนาดใหญ่ (LargeScale Series Production) ตั ว อย่ า งเช่ น อุตสาหกรรมยานยนต์ด้วย นอกจากนี้ การมีน�้ำหนัก เบาไม่เพียงแต่จะเป็นข้อได้เปรียบที่วัสดุคอมโพสิทมี เหนือกว่าวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ แต่วัสดุคอมโพสิทแบบ พลาสติ ก เสริ ม แรงด้ ว ยเส้ น ใยยั ง มี คุ ณ สมบั ติ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ด้านอื่น ๆ อีกมากมาย จึงทำ�ให้มันเหมาะที่จะ นำ�ไปใช้ในงานในลักษณะที่เฉพาะเจาะจงมาก ๆ วัสดุคอมโพสิทเป็นมากกว่าวัสดุที่มีน�้ำหนักเบาเพียง อย่างเดียว ในบางครั้งศักยภาพของมันได้ถูกระบุไว้ แล้ ว แต่ ผู ้ ป ระกอบการหลายคนยั ง ไม่ คุ ้ น เคยกั บ ผลิตภัณฑ์จากวัสดุคอมโพสิทเหล่านี้ เพราะฉะนั้นการ ปรั บ ปรุ ง สถานการณ์ นี้ ใ ห้ ดี ขึ้ น จึ ง เป็ น หนึ่ ง ในความ ท้ า ทายที่ สำ�คั ญ ที่ สุ ด ที่ อุ ต สาหกรรมคอมโพสิ ท ต้ อ ง เผชิญ อย่างไรก็ตาม การเพิ่มประสิทธิภาพของภาค กระบวนการอุตสาหกรรมและความท้าทายทีเ่ กีย ่ วข้อง กับอุตสาหกรรม 4.0 ก็ยงั คงเป็นประเด็นทีสำ ่ �คัญอย่าง ต่อเนื่องที่ต้องให้ความสนใจ เช่นเดียวกับความยากลำ�บากของการผลิตวัสดุคอม โพสิทสำ�หรับใช้ในงานก่อสร้างและโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนความต้องการที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดคำ�ถามมากมายที่อุตสาหกรรมคอมโพสิท ต้องหาคำ�ตอบให้ได้โดยเร็ว อุตสาหกรรมคอมโพสิทต้องยอมรับและเอาชนะความ ท้าทายต่าง ๆ นี้ให้ได้และต้องจัดการกับจุดอ่อนทั้ง หลายเหล่านี้ให้เร็วที่สุด ถ้าทำ�ได้เช่นนี้ อุตสาหกรรม คอมโพสิทจะดำ�เนินไปตามเส้นทางทีป ่ ระสบความสำ�เร็จ อย่างต่อเนือ ่ งเป็นเวลาหลายปี และบริษท ั ต่าง ๆ ในภาค อุตสาหกรรมนีก ้ จ ็ ะสามารถมองไปถึงอนาคตทีส ่ ดใสได้ อย่างแน่นอน ข้อมูลเพิ่มเติม: www.avk-tv.de
13/6/2561 13:39:57
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
COMPOSITES Nano
29
น�้ำหนักที่เบากับผลกระทบที่หนัก :
บทบาทของวัสดุคอมโพสิทต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต ตอนจบ
โดย ผศ.ดร. สนติพีร์ เอมมณี ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ผลกระทบโดยภาพรวมทัง้ หมดต่อตลาดของการใช้วส ั ดุ ปริมาณของการใช้วัสดุน�้ำหนักเบาจะเติบโตอย่างต่อเนื่องในอีกสองทศวรรษข้างหน้า และส่งผลให้เกิด การใช้วส ั ดุเพิม ่ ขึน ้ ในภาคอุตสาหกรรมทัง้ สามประเภทอย่างสัมพันธ์กน ั อย่างไรก็ดท ี งั้ ๆ ทีอ ่ ต ั ราการเติบโต ของภาคการบินและพลังงานลมจะมีมากกว่า อุตสาหกรรมยานยนต์กย ็ งั เป็นผูเ้ ล่นทางการตลาดทีม ่ ค ี วาม โดดเด่นทีส ่ ด ุ เนือ ่ งจากมีปริมาณการใช้งานวัสดุในปัจจุบน ั ทีม ่ าก ยิง่ ไปกว่านีอ ้ ต ุ สาหกรรมยานยนต์จะต้อง เผชิญกับการเปลีย ่ นแปลงทีร่ น ุ แรงทีส ่ ด ุ ในแง่ของการประยุกต์ใช้วส ั ดุหลากหลายชนิดผสมกัน ซึง่ จะทำ�ให้ ส่วนแบ่งการตลาดของวัสดุน�้ำหนักเบาเพิ่มขึ้นจากร้อยละประมาณ 30 เป็นประมาณร้อยละ 70 ดังรูป ที่ 14
AW-������ �����������-��61-01.indd 29
13/6/2561 13:39:58
30
THAI COMPOSITES MAGAZINE
การเติบโตดังกล่าวเป็นผลให้ตลาดวัสดุน�้ำหนักเบาทั้งหมด ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์มีมูลค่าสูงขึ้นจาก 3000 ล้านล้านบาท เป็น 12,000 ล้านล้านบาท สะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงร้อยละ 8 ต่อปี เมื่อพิจารณารายละเอียดลงไปในแต่ละวัสดุที่แสดงไว้ในรูปที่ 15 จะสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ปริมาณการผลิตของเหล็กกล้าปกติจะลดต�่ำลงเกือบร้อยละ 50 ในอี ก 10 ปี ข ้ า งหน้ า เนื่ อ งจากเหตุ ผ ลหลั ก คื อ การทดแทนจาก เหล็ ก กล้ า ความแข็ ง แรงสู ง ในอุ ต สาหกรรมยานยนต์ แต่ ก าร เปลีย ่ นแปลงจะฟืน ้ ตัวขึน ้ เล็กน้อยจากปริมาณของรถยนต์และกังหัน ลมที่ผลิตมากขึ้นจนถึงปี ค.ศ. 2030 2. วัสดุน�้ำหนักเบาจะมีปริมาณการผลิตมากขึ้นอย่างเป็นนัยสำ�คัญ ในช่วงอีกสองทศวรรษที่กำ�ลังจะมาถึง โดยปริมาณเหล็กกล้าความ แข็งแรงสูงจะมีอต ั ราการเติบโตอย่างเข้มแข็งในอีก 10 ปีขา้ งหน้า ซึง่ เป็นผลจากราคาที่ไม่สูงเมื่อเปรียบเทียบกัน ต่อจากนั้นการขยายตัว ของเหล็กกล้าความแข็งแรงสูงจะชะลอตัวลงเนือ ่ งจากการใช้วส ั ดุเริม ่ เกิดการอิ่มตัว และจะมีวัสดุที่มีน�้ำหนักเบากว่าชนิดอื่นจะเข้ามาแทนที่ 3. อะลูมเิ นียมและเส้นใยคาร์บอนซึง่ เป็นส่วนทีสำ ่ �คัญของรายการวัสดุ น�้ำหนักเบาขั้นกลางและขั้นสูงจะมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องในรอบ 20 ปีขา้ งหน้า โดยการเติบโตของเส้นใยคาร์บอนจะปรับตัวแตะทีร่ อ ้ ย ละ 20 ของปริมาณการเพิม ่ ขึน ้ ต่อหนึง่ ปี ซึง่ เป็นการเพิม ่ อย่างรวดเร็ว แม้ว่าจะเริ่มต้นจากปริมาณที่น้อยมากๆ ในช่วงต้น การคาดการณ์นี้ เป็นการประเมินขั้นต�่ำเนื่องจากบทความนี้ได้พิจารณาการใช้เส้นใย คาร์บอนแค่ในการใช้งานที่เป็นเฉพาะทางเท่านั้น ตัวเลขจริงของการ เพิม ่ อาจมากกว่านีม ้ ากถ้าความกดดันให้ลดก๊าซเรือนกระจกทีเ่ กิดจาก รถยนต์มค ี วามรุนแรงขึน ้ หรือค่าใช้จา่ ยและราคาของเส้นใยคาร์บอน มีตัวเลขที่ต�่ำลง
รูปที่ 14 การเปลี่ยนแปลงปริมาณการใช้วัสดุน�้ำหนักเบา (ข้อมูลจาก McKinsey)
รูปที่ 14 การเปลี่ยนแปลงปริมาณการใช้วัสดุน้าหนักเบา (ข้อมูลจาก McKinsey) การตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของการใช้วัสดุแบบผสมผสาน ซึง่ ตามมาด้วยการลดลงของการใช้เหล็กกล้าในภาพรวม และการเพิ่มของวัสดุนา้ หนักเบาอย่างรวดเร็ว จะสร้างความท้าทาย โอกาส และการคุกคามให้แก่ผู้เล่นทีห่ ลากหลาย ยกตัวอย่างเช่น
AW-������ �����������-��61-01.indd 30
13/6/2561 13:39:58
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
การตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของการใช้วัสดุแบบผสมผสาน ซึ่ง ตามมาด้วยการลดลงของการใช้เหล็กกล้าในภาพรวม และการเพิ่ม ของวัสดุน�้ำหนักเบาอย่างรวดเร็ว จะสร้างความท้าทาย โอกาส และ การคุกคามให้แก่ผู้เล่นที่หลากหลาย ยกตัวอย่างเช่น • ผู้ขายวัตถุดิบ จะได้โอกาสที่เพิ่มขึ้นในการแข่งขันในตลาดวัสดุ น�้ำหนักเบา และสามารถเพิ่มการขายสินค้าชนิดใหม่ๆ ได้ เช่นเส้นใย คาร์บอน • อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล จะได้ประโยชน์จากตลาดที่เปลี่ยนไป เนือ ่ งจากมีการกำ�เนิดของเทคโนโลยีการผลิตสำ�หรับผลิตภัณฑ์ชนิด ใหม่ และเครื่องมือรูปแบบใหม่สำ�หรับใช้กับวัสดุน�้ำหนักเบา เครื่องจักรกล และเครือ ่ งมือเหล่านีจ ้ ะได้รบ ั ความต้องการอย่างสูงเพือ ่ นำ�ไปลดเวลา ในวัฏจักรการผลิต
31
• อุตสาหกรรมสังเคราะห์วัสดุ จะได้ประโยชน์จากปริมาณและราคา ขายที่สูงขึ้นของเหล็กกล้าความแข็งแรงสูงและอลูมิเนียม ในขณะที่ ผู้ผลิตเหล็กกล้าธรรมดาจะรู้สึกถึงรายได้ที่ลดลงถ้าไม่สามารถทำ� เหล็กกล้าความแข็งแรงสูงได้ • ผู้ผลิต OEM จะได้รับผลกระทบสองด้าน โดยด้านที่หนึ่ง จะเป็นโอกาสในการสร้างสรรค์ชน ิ้ ส่วนและแนวคิดทีเ่ ปลีย ่ นไปจากวัสดุ ชนิดใหม่ และได้รับผลกระทบทางด้านบวกต่อยี่ห้อของตนเอง ส่วน ในด้านที่สอง ผู้ผลิต OEM จะเผชิญกับการคุกคามจากกำ�ไรที่อาจ ลดลงเนื่องจากราคาที่เพิ่มสูงขึ้นของวัสดุแต่ราคาขายผลิตภัณฑ์ไม่ สามารถปรับสูงขึน ้ ตามมากได้ และต้นทุนทีเ่ พิม ่ ขึน ้ จากสิง่ ทีไ่ ม่สามารถ คาดเดาได้ทั้งหมด ณ ปัจจุบัน เช่นการซ่อมแซมและการซ่อมบำ�รุง ความสามารถในการแข่งขันจะเป็นกุญแจทีสำ ่ �คัญในการต่อสูด ้ า้ นราคา ในอนาคต
รู ป ที่ รู15 ่ ย นแปลงปริ ม าณการใช้ วั ส ดุ นว�้ ำัสหนั ปที่การเปลี 15 การเปลี ่ยนแปลงปริ มาณการใช้ ดุนก้าเบาใน หนักเบาในอุตสาหกรรมยานยนต์ (ข้อมูลจาก McKinsey) อุตสาหกรรมยานยนต์ (ข้อมูลจาก McKinsey)
ไ่ ด้างต้ กล่นาจะเล็ วมาข้ วา่ าวังทั สดุง้ นโอกาส า้ หนักเบาสร้างทั้งโอกาสและการคุกคามต่อผู้เกี่ยวข้องกับ จากทีไ่ ด้กจากที ล่าวมาข้ งเห็านงต้ ได้น วา่ จะเล็ วัสดุนงำ�้ เห็ หนัน กได้ เบาสร้ และการคุกคามต่อผู้เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ทุกระดับ อุตคำ�ถามอั สาหกรรมยานยนต์ กุ ระดั ค้าถามอั เ่ กีย่ วข้ดองกับยานยนต์ทใี่ ช้วัสดุน้าหนักเบาจะเกิดขึ้นและรอซึง่ ค้าตอบ นมากมายที่เกี่ยทวข้ องกับบยานยนต์ ที่ใช้นวมากมายที ัสดุน�้ำหนักเบาจะเกิ ้นและรอซึ่งคำ�ตอบที่เหมาะสม ความรู้และวิสัยทัศน์ที่ถูกต้องจึงเป็น ที่เขึสิหมาะสม ความรู้และวิสัยทัศน์ที่ถูกต้องจึงเป็นสิ่งส้าคัญอย่างยิง่ ในการพัฒนาเทคโนโลยีวัสดุน้าหนักเบาให้ใช้งานได้ ่งสำ�คัญอย่างยิ่งในการพัฒนาเทคโนโลยีวัสดุน�้ำหนักเบาให้ใช้งานได้ างมีปประสิ ระสิท ทธิธิภภาพสู อย่อย่ างมี าพสูงสุงดสุด
AW-������ �����������-��61-01.indd 31
13/6/2561 13:39:58
32
THAI COMPOSITES MAGAZINE
JEC ASIA 2017
SEOUL , Republic of Korea 1-3 November 2017
สมาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ หอการค้าฝรั่งเศส-ไทย จัดการศึกษาดูงาน JEC ASIA 2017 ซึ่งจัดเป็นครั้ง แรกทีป ่ ระเทศเกาหลีใต้ โดยมีสมาชิกของสมาคมไทยคอม โพสิทร่วมกันเดินทางไปศึกษาดูงานในครัง้ นี้ 19 ท่าน ออก เดินทางตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม 2560 ณ ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ และเดินทางกลับกรุงเทพฯ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2560 ซึ่ ง กิ จ กรรมในครั้ ง นี้ ได้ มี ก ารศึ ก ษาดู ง าน ณ Carbon Valley ณ เมือง Jeonju คณะของเรา ได้ไปเยี่ยมชม สถาบัน KCTECH ซึ่งเป็นสถาบันของ เกาหลี ใ ต้ ที่ เ ชี่ ย วชาญเรื่ อ งเทคโนโลยี ค าร์ บ อนไฟเบอร์ มีเครือข่ายกัน 13 สถาบัน ใน 8 ประเทศ www.kctech. re.kr และ DACC CARBON Co.,LTD. ผูใ้ ห้บริการครบ วงจรตั้ ง แต่ ก ารพั ฒ นาวั ส ดุ ไ ปจนถึ ง การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ วิเคราะห์โครงสร้าง ของงานอากาศยาน http://www.dacc21.com/carbon_eng/
AW-������ �����������-��61-01.indd 32
13/6/2561 13:39:59
WWW.FIBERGLASSTHAI.COM
33
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 คณะเดินทาง ได้เข้าร่วมงาน JEC ASIA 2017 ณ COEX ศูนย์การจัดแสดงนิทรรศการในกรุงโซล เพื่อเยี่ยมชมงานกันอย่างเต็มที่ตลอดทั้งวัน
AW-������ �����������-��61-01.indd 33
13/6/2561 13:39:59
AW-������ �����������-��61-01.indd 34
13/6/2561 13:40:01
AW-������ �����������-��61-01.indd 35
13/6/2561 13:40:02
AW-������ �����������-��61-01.indd 36
13/6/2561 13:40:03