Boardroom 31

Page 15

ing business". He talked about two important words pertaining to ethics in business, namely code of ethics and code of conduct, and explained that even those two words were often used together, they were different. Code of ethics was defined as the abstract and fundamental principles describing a general issue and giving direction to the organization. He said it could facilitate the decision process of situations which were not clear or specified in the law and cited as an example "while conducting business, we would take in consideration the environment". This sentence was only an unspecific philosophical principle to reflect that the organization would conduct business in a caring manner with regard to conserving the environment for society or "would do business honestly" which had a wider meaning by indicating the business would be conducted without cheating customers and other relevant parties. In conclusion, a code of ethics should be used as a guideline for decision making by the board of directors and executives. Dr. Warapatr said that the Code of conduct dealt with behavior. Thus, it was basically a detailed guideline on how to behave correctly and properly in the organization. Some important examples cited were employees were forbidden access to some information of the company or abuse of company information, strict rules on sexual harassment or racism. A code of conduct was clearer and more specific than a code of ethics on what the company should do and what employees were prohibited from doing. An organization's code of ethics and code of conduct must be consistent with each other, including their principles and practices.

แนวโน้มของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี น้ึ ยิง่ ไปกว่านัน้ การส�ำรวจ การก�ำกับดูแลกิจการในระดับอาเซียน (ASEAN CG Scorecard) จาก บริษทั จดทะเบียนทัง้ หมด 600 บริษทั ใน 6 ประเทศ พบว่าภาพรวม ของบริษทั ในประเทศไทยในการก�ำกับดูแลกิจการอยูใ่ นอันดับ 1 ของ อาเซียน รองลงมาคือ มาเลเซีย และสิงคโปร์ โดยคะแนนเฉลีย่ ของไทย อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 68 ซึง่ แสดงให้เห็นว่าเรามีหลักการและแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ใี น ระดับหนึ่ง แต่ยงั คงต้องมีการพัฒนาในเรือ่ งนี้ต่อไป โดยเฉพาะการ ผลักดันนโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจนและเป็ นรูปธรรม เพือ่ น�ำไป ปรับปรุงจนเกิดเป็ นวัฒนธรรมองค์กร สิง่ นี้จงึ เป็ นความท้าทายที่ ส�ำคัญของประธานกรรมการบริษทั ในการประชุ ม ดั ง กล่าว ยังได้รบั เกียรติจากท่าน ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม ประธานกรรมการ บริ ษัท ปริ ญ สิ ริ จ�ำ กัด (มหาชน) มาเป็ นผู้บรรยายน� ำในหัวข้อ “บทบาทของประธานกรรมการ ในการส่งเสริมจริยธรรมในการ ด�ำเนินธุรกิจ” ซึง่ ท่านได้กล่าว ถึง ค�ำทีเ่ กีย่ วข้องกับจริยธรรม ในการด�ำเนินธุรกิจ มี 2 ค�ำ ได้แก่ จริยธรรมธุรกิจ (Code of Ethics) และ จรรยาบรรณธุรกิจ (Code of Conduct) ซึง่ ทัง้ สอง ค�ำมักถูกใช้รว่ มกันอยูเ่ สมอ แต่มขี อ้ แตกต่างกันดังนี้

Notably, many companies in Thailand already had code of ethics and code of conduct in place, but often the objective of those two codes was to improve their scores on various assessment rankings. When setting a code of ethics and a code of conduct, many companies merely just copied and pasted.

จริยธรรมธุรกิจ (Code of Ethics) เป็ นหลักการพืน้ ฐานที่ เป็ นนามธรรม กล่าวถึงประเด็นกว้าง ๆ ซึง่ ให้ทศิ ทางแก่องค์กร เพือ่ ช่วยในการสร้างการตัดสินใจต่อสถานการณ์ทก่ี ฎหมายมิได้ระบุไว้ หรือขาดความชัดเจน เช่น “เราจะด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงและใส่ใจต่อ สภาพแวดล้อม” ประโยคนี้เป็ นเพียงหลักปรัชญาทีไ่ ม่เฉพาะเจาะจง มากนัก ที่สะท้อนว่าองค์กรจะด�ำเนินธุรกิจโดยใส่ใจและจะรักษา สิ่ง แวดล้อ มให้อ ยู่คู่ส งั คมต่ อ ไป หรือ “เราจะด�ำ เนิ น ธุ ร กิจ ด้ว ย ความซือ่ สัตย์สจุ ริต” ซึง่ เป็นประโยคทีม่ คี วามหมายกว้างและสะท้อน ให้เห็นว่าเราจะด�ำเนินธุรกิจโดยจะไม่เอาเปรียบลูกค้า และต่อทุก ๆ ฝา่ ยทีเ่ กีย่ วข้อง สรุปแล้วจริยธรรมธุรกิจ มีขน้ึ เพือ่ ใช้เป็ นเแนวทางใน การสร้างการตัดสินใจให้กบั คณะกรรมการ และฝา่ ยผูบ้ ริหาร

Furthermore, he explained that a code of ethics was rather abstract. Most agendas of a board meeting would include a discussion on such things as past performance, opportunities to take profits from new projects, the income statement, project risk, procurement and the CEO assessment. As a result, little time tended to be left for the board to consider ethical issues. Ignoring these issues could eventually adversely affect the organization. This had been proven many times. Hence, the chairman must focus more on ethical issues, despite the many important issues raised during the meeting. The chairman could promote ethics in doing business in the following ways:

ส่วน จรรยาบรรณธุรกิจ (Code of Conduct) ซึง่ Conduct หมายถึงพฤติกรรม ดังนัน้ จรรยาบรรณธุรกิจ จึงเป็ นแนวปฏิบตั ทิ ่ี ถูกก�ำหนดในรายละเอียดว่าเราจะต้องท�ำตัวอย่างไรให้ถูกต้องและ เหมาะสมกับองค์กร ซึ่งมีความส�ำคัญเช่นเดียวกัน เช่น ห้ามมิให้ พนักงานเข้าถึงข้อมูลทีบ่ ริษทั ไม่ได้อนุ ญาต หรือใช้ประโยชน์ จาก ข้อมูลขององค์กรในทางทีไ่ ม่ถูกต้อง ห้ามคุกคามทางเพศ (sexual harassment) หรือไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ เป็ นต้น ซึ่งจรรยาบรรณ ธุรกิจจะมีความชัดเจน โดยจะก�ำหนดกรอบของพฤติกรรมทีเ่ ฉพาะ เจาะจงมากกว่าจริยธรรมธุรกิจ ว่าสิง่ ใดทีบ่ ริษทั ต้องการหรือห้าม ไม่ให้พนักงานกระท�ำ แต่เหนื อสิง่ อื่นใด ทัง้ จริยธรรมธุรกิจและ จรรยาบรรณธุรกิจจะต้องสอดคล้องและเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ทัง้ หลักการและแนวปฏิบตั ิ ซึง่ จะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อองค์กร

อย่ า งไรก็ดี บริษัท ในประเทศไทยต่ า งมีก ารจัด ท� ำ ทัง้ จริยธรรมธุรกิจและจรรยาบรรณธุรกิจอยู่แล้ว แต่วตั ถุประสงค์ของ

1. Executive policy (tone at the top) properly. 2. Do what you said (walk the talk) and not only

Board Briefing > 


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.