แนวทางการตรวจสุขภาพ

Page 1

แนวทางการตรวจสุขภาพ /คัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พนักงานบริการหญิงที่มารับบริการครั้งแรก/เกิน 3 เดือน  ตรวจร่างกายทั่วไป  อาการสาคัญ อาการร่วม พนักงานบริการ  ประวัติการรักษา  ตรวจภายใน เก็บสิ่งส่งตรวจจากช่องคลอด ปากมดลูก ท่อปัสสาวะ มาที ค ่ ลิ น ก ิ /หน่ ว ย  อาการ/โรคในคู่เพศสัมพันธ์ ย้อมสีแกรม เพาะเชื้อหนองใน และเก็บสิ่งส่งตรวจจากช่องคลอดดูสด  ประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในอดีต  ตรวจและเก็บสิ่งส่งตรวจจากทอนซิลและฟาริงซ์ในผูท้ ี่ใช้ปากรับ บริการเฉพาะ  พฤติกรรมทางเพศและการใช้ถงุ ยาง อนามัย

• มีเพศสัมพันธ์กับหญิงหรือชายให้บริการทางเพศ โดย ไม่ใช้ถุงยางอนามัย ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีคู่เพศสัมพันธ์มากกว่า 1 คน ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีคู่เพศสัมพันธ์คนใหม่ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย หรือ ถุงยาง อนามัยแตก รั่ว หลุด ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หรือ ทุกช่องที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ • คู่เพศสัมพันธ์เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ป่วยหรือพบการติดเชื้อ

ซักประวัติ และ พฤติกรรมเสี่ยง ตรวจร่างกาย และ ตรวจภายใน

  

การสอดใส่ เพาะเชื้อหนองใน ตรวจและเก็บสิ่งส่งตรวจจากช่องทวารหนักในผูท้ ี่ใช้ทวารหนักรับ การสอดใส่ ย้อมสีแกรม เพาะเชื้อหนองใน เสนอบริการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี (PITC) ตรวจเลือดเพื่อค้นหาโรคซิฟิลิส ตรวจเลือดเพื่อค้นหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (เฉพาะผูท้ ไี่ ม่เคย ตรวจหรือไม่มีภูมิคุ้มกัน) แนะนาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear) ปีละครั้ง

ไม่ป่วยหรือไม่พบการติดเชื้อ

 ให้สุขศึกษาและให้การปรึกษาเรือ่ งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การ  ให้การรักษาตามแนวทางฯ กรมควบคุมโรค ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การคุมกาเนิดและสุขอนามัย  ให้สุขศึกษาและการปรึกษาโรคที่ป่วย/ติดเชื้อ  ฝึกทักษะการใช้และให้ถุงยางอนามัย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การคุมกาเนิดและสุขอนามัย  ฝึกทักษะการใช้และให้ถุงยางอนามัย  นัดฟังผลการตรวจเลือด /ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น (ถ้ามี)  ติดตามผู้สมั ผัสโรค  นัดตรวจสุขภาพอย่างสม่าเสมอทุกเดือน  ทารายงาน 506 (คลินิกเฉพาะทารายงาน ก1 ก2 ร่วมด้วย) หมายเหตุ  ติดตามผลการรักษา นัดฟังผลการตรวจเลือด/ผลการ  ติดตามผู้ป่วย/ติดเชื้อที่รักษาโรคซิฟิลิสไม่ครบหรือผลเลือดพบเป็น ตรวจทางห้องปฏิบตั ิการอื่น (ถ้ามี) โรคซิฟิลิส แต่ไม่มาฟังผล เพื่อมารับการรักษา  นัดตรวจสุขภาพอย่างสม่าเสมอทุกเดือน กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กันยายน 2553

1


2

แนวทางการตรวจสุขภาพ /คัดกรอง/ ติดตามผลการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พนักงานบริการหญิงที่มารับบริการ ทุกเดือน หรือน้อยกว่า 3 เดือน    

อาการสาคัญ อาการร่วม ประวัติการรักษา อาการ/โรคในคู่เพศสัมพันธ์ พฤติกรรมทางเพศและการใช้ถงุ ยาง อนามัย

• มีเพศสัมพันธ์กับหญิงหรือชายให้บริการทางเพศ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีคู่เพศสัมพันธ์มากกว่า 1 คน ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีคู่เพศสัมพันธ์คนใหม่ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย หรือ ถุงยาง อนามัยแตก รั่ว หลุด ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หรือ ทุกช่องที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ • คู่เพศสัมพันธ์เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

พนักงานบริการ มาที่คลินิก/หน่วย บริการเฉพาะ ซักประวัติ และ พฤติกรรมเสี่ยง

 ตรวจภายใน เก็บสิ่งส่งตรวจจากช่องคลอด ปากมดลูก ท่อปัสสาวะ ย้อมสีแกรม เพาะเชื้อหนองใน และเก็บ สิ่งส่งตรวจจากช่องคลอดดูสด  ตรวจและเก็บสิ่งส่งตรวจจากทอนซิลและฟาริงซ์ในผู้ที่ใช้ปาก รับการสอดใส่ เพาะเชื้อหนองใน  ตรวจและเก็บสิ่งส่งตรวจจากช่องทวารหนักในผู้ที่ใช้ทวารหนัก รับการสอดใส่ ย้อมสีแกรม เพาะเชื้อหนองใน  แนะนาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear) ปีละครั้ง

ตรวจภายใน

ป่วยหรือพบการติดเชื้อ  ให้การรักษาตามแนวทางฯ กรมควบคุมโรค  ให้สุขศึกษาและการปรึกษาโรคที่ป่วย /ติดเชื้อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การคุมกาเนิดและสุขอนามัย  ให้ถุงยางอนามัย  ติดตามผู้สัมผัสโรค  ทารายงาน 506 (คลินิกเฉพาะทารายงาน ก1 ก2 ร่วมด้วย)  นัดฟังผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น (ถ้ามี)  ติดตามผลการรักษา  นัดตรวจสุขภาพอย่างสม่าเสมอทุกเดือน

ไม่ป่วยหรือไม่พบการติดเชื้อ  ให้สุขศึกษาและให้การปรึกษาเรือ่ งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การคุมกาเนิดและสุขอนามัย  ให้ถุงยางอนามัย  นัดฟังผลการตรวจเลือด /ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น (ถ้ามี)  นัดตรวจสุขภาพอย่างสม่าเสมอทุกเดือน

กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กันยายน 2553


3

แนวทางในการดูแลรักษาผู้มารับบริการตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์     

ผู้มารับบริการที่ OPD หรือคลินิกเฉพาะ

อาการสาคัญ อาการร่วม ประวัติการรักษา อาการ/โรคในคู่เพศสัมพันธ์ ประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในอดีต พฤติกรรมทางเพศและการใช้ถงุ ยาง อนามัย

• มีเพศสัมพันธ์กับหญิงหรือชายให้บริการทางเพศ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีคู่เพศสัมพันธ์มากกว่า 1 คน ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีคู่เพศสัมพันธ์คนใหม่ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย หรือ ถุงยาง อนามัยแตก รั่ว หลุด ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หรือ ทุกช่องที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ • คู่เพศสัมพันธ์เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

คัดกรองพบอาการของ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซักประวัติและพฤติกรรมเสีย่ ง

ตรวจร่างกาย

 ตรวจร่างกายทั่วไป  เพศชาย ตรวจบริเวณอวัยวะเพศ เก็บสิ่งส่งตรวจจากท่อปัสสาวะ ย้อมสีแกรม  เพศหญิง ตรวจบริเวณอวัยวะเพศ ตรวจภายใน เก็บสิง่ ส่งตรวจจากช่องคลอด ปากมดลูก ท่อปัสสาวะ ย้อมสีแกรม เพาะเชื้อหนองในและเก็บสิ่งส่งตรวจ จากช่องคลอดดูสด  ตรวจและเก็บสิ่งส่งตรวจจากทอนซิลและฟาริงซ์ในผูท้ ี่ใช้ปากรับ การสอดใส่ เพาะเชื้อหนองใน  ตรวจและเก็บสิ่งส่งตรวจจากช่องทวารหนักในผูท้ ี่ใช้ทวารหนักรับ การสอดใส่ ย้อมสีแกรม เพาะเชื้อหนองใน  เสนอบริการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี (PITC)  ตรวจเลือดเพื่อค้นหาโรคซิฟิลิส  ตรวจเลือดเพื่อค้นหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (เฉพาะผูท้ ไี่ ม่เคยตรวจ หรือไม่มีภูมิคุ้มกัน)  แนะนาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap smear) ปีละครั้ง

ป่วยหรือพบการติดเชื้อ  ให้การรักษาตามแนวทางฯ กรมควบคุมโรค  ให้สุขศึกษาและการปรึกษาโรคที่ป่วย /ติดเชื้อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การคุมกาเนิดและสุขอนามัย  ฝึกทักษะการใช้และให้ถุงยางอนามัย  ติดตามผู้สัมผัสโรค  ทารายงาน 506 (คลินิกเฉพาะทารายงาน ก1 ก2 ร่วมด้วย)  ติดตามผลการรักษา นัดฟังผลการตรวจเลือด/ผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัตกิ ารอื่น (ถ้ามี)  นัดตรวจเลือดเพื่อค้นหาโรคซิฟิลิส และเอชไอวี 3 เดือน หลัง เสี่ยงครั้งสุดท้าย

ไม่ป่วยหรือไม่พบการติดเชื้อ  ให้สุขศึกษาและให้การปรึกษาเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม การคุมกาเนิดและสุขอนามัย  ฝึกทักษะการใช้และให้ถุงยางอนามัย  นัดฟังผลการตรวจเลือด ผลการตรวจทางห้องปฏิบัตกิ ารอื่น (ถ้ามี)  นัดตรวจเลือดเพื่อค้นหาโรคซิฟิลิส และเอชไอวี 3 เดือน หลังเสี่ยงครั้งสุดท้าย

หมายเหตุ

 ติดตามผู้ป่วย/ติดเชื้อที่รักษาโรคซิฟิลิสไม่ครบหรือผลเลือดพบเป็นโรคซิฟิลิส แต่ไม่มาฟังผล เพื่อมารับการรักษา  ในผู้ที่ยงั มีพฤติกรรมเสี่ยงควรได้รับการตรวจคัดกรองโรคฯ 3 เดือนหลังเสี่ยง ครั้งสุดท้าย รวมทัง้ ควรได้รับการปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กันยายน 2553


4

แนวทางในการการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สาหรับชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย     

อาการสาคัญ อาการร่วม ประวัติการรักษา อาการ/โรคในคู่เพศสัมพันธ์ ประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในอดีต พฤติกรรมทางเพศและการใช้ถุงยาง อนามัย

• มีเพศสัมพันธ์กับหญิงหรือชายให้บริการทาง เพศ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ใน 3 เดือนที่ผ่านมา • มีคู่เพศสัมพันธ์มากกว่า 1 คน ใน 3 เดือนที่ ผ่านมา • มีคู่เพศสัมพันธ์คนใหม่ใน 3 เดือนทีผ่ ่านมา • มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย หรือ ถุงยางอนามัยแตก รั่ว หลุด ช่องทางใด ช่องทางหนึ่ง หรือ ทุกช่องที่ใช้ในการมี เพศสัมพันธ์ • คู่เพศสัมพันธ์เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

มารับบริการที่คลินิก/ หน่วยบริการเฉพาะ

ซักประวัติและพฤติกรรมเสีย่ ง

ตรวจร่างกาย

 ตรวจร่างกายทั่วไป  ตรวจอวัยวะเพศ เก็บสิ่งส่งตรวจจากท่อปัสสาวะย้อมสีแกรม  ตรวจและเก็บสิ่งส่งตรวจจากทอนซิลและฟาริงซ์ในผูท้ ี่ใช้ปากรับการสอดใส่ เพาะเชื้อหนองใน  ตรวจและเก็บสิ่งส่งตรวจจากช่องทวารหนักในผูท้ ี่ใช้ทวารหนักรับการสอดใส่ ย้อมสีแกรม เพาะเชื้อหนองใน  เสนอบริการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี (PITC)  ตรวจเลือดเพื่อค้นหาโรคซิฟิลิส  ตรวจเลือดเพื่อค้นหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (เฉพาะผูท้ ไี่ ม่เคยตรวจหรือไม่ มีภูมิคุ้มกัน)  แนะนาตรวจคัดกรองมะเร็งทวารหนัก (anal Pap smear) ปีละครั้ง (เฉพาะผู้ติด เชื้อเอชไอวี)

ไม่ป่วยหรือไม่พบการติดเชื้อ

ป่วยหรือพบการติดเชื้อ       

ให้การรักษาตามแนวทางฯ กรมควบคุมโรค ให้สุขศึกษาและการปรึกษาโรคที่ป่วย /ติดเชื้อ การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมและสุขอนามัย ฝึกทักษะการใช้และให้ถุงยางอนามัย ติดตามผู้สัมผัสโรค ทารายงาน 506 (คลินิกเฉพาะทารายงาน ก1 ก2 ร่วมด้วย) ติดตามผลการรักษา นัดฟังผลการตรวจเลือด /ผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการอื่น (ถ้ามี) นัดตรวจเลือดเพือ่ ค้นโรคหาซิฟิลิส และเอชไอวี 3 เดือน หลังเสี่ยงครั้ง สุดท้าย

   

ให้สุขศึกษาและให้การปรึกษาเรือ่ งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ สุขอนามัย ฝึกทักษะการใช้และให้ถุงยางอนามัย นัดฟังผลการตรวจเลือด ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น (ถ้ามี) นัดตรวจเลือดเพือ่ ค้นหาโรคซิฟิลิส และเอชไอวี 3 เดือน หลังเสี่ยงครั้งสุดท้าย

หมายเหตุ • ติดตามผู้ป่วย/ติดเชื้อที่รักษาโรคซิฟิลิสไม่ครบหรือผลเลือดพบเป็นโรคซิฟิลิส แต่ไม่มาฟังผล เพื่อมารับการรักษา • พนักงานบริการชาย ควรได้รับการตรวจคัดกรองโรคฯอย่างสม่าเสมอทุก 3 เดือน หากมีอาการผิดปกติให้มา ก่อนวันนัด • ผู้ที่ไม่ใช่พนักงานบริการชาย ควรได้รับการตรวจคัดกรองโรคฯ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หรือ 3 เดือนหลังมี พฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย รวมทั้งควรได้รับการปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กันยายน 2553


5

1. ตรวจสอบคุณภาพซองที่ บรรจุถุงยางอนามัย ต้อง ไม่มีรอยฉีกขาดชารุด ไม่มี สารหล่อลื่นไหลเยิ้ม และ ตรวจสอบวัน เดือน ปี ว่ายัง ไม่หมดอายุ ถ้าไม่ระบุวัน หมดอายุ ให้บวกจาก วัน เดือน ปี ที่ผลิตไม่เกิน 5 ปี 2. ใช้นิ้วไล่ขอบถุงยาง อนามัย ให้พ้นบริเวณทีจ่ ะฉีก 3. ฉีกซองอย่างระมัดระวัง อย่าให้ถุงยางสัมผัสกับเล็บ หรือเครื่องประดับที่มีคม

4. รูดถุงยางอนามัยลงมา เล็กน้อยและตรวจสอบให้ รอยม้วนอยู่ด้านนอก

5. สวมถุงยางอนามัย ขณะที่อวัยวะเพศแข็งตัว โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ บีบกระเปาะถุงยางอนามัย เพื่อไล่ลมก่อนใส่ หาก ปล่อยให้มีลมอยูข่ ้างในจะ ทาให้ถงุ ยางอนามัยแตก ขณะร่วมเพศ

6. รูดถุงยางอนามัยให้ สุดโคนอวัยวะเพศ 7. หลังเสร็จกิจให้จับ ขอบถุงยางอนามัย บริเวณโคนอวัยวะเพศ เพื่อกันน้าอสุจิไม่ให้ไหล ออกมา พร้อมทั้งถอน ตัวออกจากคู่นอน ก่อนที่ อวัยวะเพศชายจะอ่อนตัว 8. ตรวจสอบถุงยาง อนามัยว่ามี แตก รั่ว หรือหลุด หรือไม่ 9. ถอดถุงยางอนามัย โดยใช้กระดาษ ชาระพัน รอบขอบถุงยางอนามัย จับบริเวณกระดาษชาระ แล้วรูดออก กรณีไม่มี กระดาษชาระให้ใช้นวิ้ ชี้ สอดเข้าไปด้านในถุงยาง อนามัยขณะทีอ่ วัยวะ เพศอ่อนตัวลงเล็กน้อย แล้วรูดออก 10. ห่อถุงยางอนามัย ด้วยกระดาษแล้วทิ้งใน ถังขยะที่มี ฝาปิด

• เลือกถุงยางอนามัยให้เหมาะสมกับขนาดอวัยวะเพศชาย(ถุงยาง อนามัยใหญ่เกินไปหลวมหลุดง่าย/ถุงยางอนามัยเล็กเกินไป ทาให้ แตก ฉีกขาดง่าย) • ควรใช้ถุงยางอนามัยที่ผ่านการรับรองคุณภาพโดยสานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) • เลือกซื้อจากร้านที่เก็บถุงยางอนามัยไว้ในที่เย็น ไม่ถูกแสงแดด หรือ อยู่ในทีท่ ี่มีอุณหภูมิสูงเนื่องจากจะทาให้ถุงยางอนามัยเสื่อมคุณภาพ • ควรพกถุงยางอนามัยหลายชิ้น (ถ้าเป็นพนักงานบริการควรพกหลาย ขนาด) ให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้ • ไม่เก็บถุงยางอนามัยในที่ทถี่ ูกแสงแดด หรืออยูใ่ นทีท่ ี่มีอุณหภูมิสงู เช่น ในรถ หรือมีการกดทับ หรือใส่รวมกับของอื่น เช่นกระเป๋า กางเกง เพราะจะทาให้คุณภาพถุงยางอนามัยเสื่อมคุณภาพ • มีผู้เข้าใจผิดเกี่ยวกับการใช้ถุงยางอนามัยว่า การติดโรคหรือตั้งครรภ์ จะเกิดต่อเมื่อมีการหลัง่ น้​้าอสุจิ ดังนั้นจึงสวมถุงยางอนามัยเมื่อใกล้จะ หลัง่ น้​้าอสุจิซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิดเนื่องจากโรคสามารถติดต่อได้ทนั ที เมื่อสอดใส่โดยไม่สวมถุงยางอนามัย รวมทัง้ น้​้าอสุจิอาจจะเล็ดลอด ออกมาบางส่วนก่อนการหลั่ง ท้าให้ตั้งครรภ์ได้

• ใช้สารหล่อลื่นชนิดที่มีน้าหรือซิลิโคนเป็นส่วนผสม เช่น กลีเซอรีน เค-วายเจลลี่ เท่านั้น • อาจหยดสารหล่อลื่นเล็กน้อยลงในกระเปาะถุงยางอนามัย เพื่อช่วยลด การเสียดสีของถุงยางอนามัยกับปลายอวัยวะเพศ • อาจใช้สารหล่อลื่นหยดด้านนอกถุงยางอนามัย 1-2 หยด ทาให้ทั่วเพื่อ ลดการเสียดสี ความฝืด กับช่องคลอด • หากร่วมเพศทางทวารหนักควรเพิ่มปริมาณสารหล่อลื่น เพื่อป้องกัน การแตกของถุงยางอนามัย

กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กันยายน 2553


หนองใน (GONORRHEA) ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง อวัยวะเพศ และทวารหนัก ช่องคอ เยื่อบุตา (ผู้ใหญ่) อวัยวะเพศ (เด็ก)

เยื่อบุตาทารก และเด็ก

1. ceftriaxone

250 mg

2. cefixime

400 mg

ceftriaxone

250 mg

ceftriaxone

1g

ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว1-2 กินครั้งเดียว1-4 ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว1-2 ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียวและล้างตา1-2,4 ฉีดเข้ากล้าม ครัง้ เดียว 1-2

ceftriaxone 50 mg /น้​้าหนักตัว 1 kg (ไม่เกิน 250 mg) cefixime 8 mg/น้​้าหนักตัว 1 kg (ไม่เกิน 400 mg)

กินครั้งเดียว5

ceftriaxone 50 mg/น้​้าหนักตัว 1 kg 1,3 (ไม่เกิน 250 mg)1

ฉีดเข้ากล้ามหรือเข้าเส้นครัง้ เดียว และล้างตาด้วยน้​้าเกลือหรือยาล้างตาทุก ชั่วโมงจนกว่าหนองจะแห้ง 1

ceftriaxone 1 g ในกรณีที่น้าหนัก ตัวมากกว่าหรือเท่ากับ 45 kg5

หนองในชนิดมีภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่

ให้การรักษาเหมือนหนองในชนิดไม่มภี าวะแทรกซ้อน แต่ให้ยาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 วัน หรือจนกว่าจะหาย 1

หนองในชนิดมีภาวะแทรกซ้อนแพร่กระจาย มี petechiae หรือ ceftriaxone pustule ที่ผิวหนัง ceftriaxone มี meningitis มี endocarditis ceftriaxone

1g 1-2 g 1-2 g

ฉีดเข้ากล้ามหรือเข้าเส้นวันละ 1ครั้ง นาน 7วัน1-4 ฉีดเข้าเส้น ทุก 12 ชั่วโมง นาน 10-14 วัน1-2,4 ฉีดเข้าเส้น ทุก 12 ชั่วโมง นาน 4 สัปดาห์ 2-4

การรักษาหนองในทุกกรณี ให้การรักษาโรคหนองในเทียมร่วมด้วย 1-4 หนองในเทียม (NONGONOCOCCAL) ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง กินวันละ 2. roxithromycin 150 mg กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร 15 นาที นาน 14 วัน1 3. azithromycin 1 g กินครั้งเดียวขณะท้องว่าง*และก่อนอาหาร 1 ชม.1-4 4. tetracycline 500 mg กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน1 5. erythromycin 500 mg กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน1 * หมายถึง ไม่รับประทานสิง่ ใดเลย ยกเว้นน้​้าเปล่านาน 2 ชั่วโมง 1. doxycycline

100 mg

2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน1

ซิฟิลิส (SYPHILIS) ระยะ แรก/ต้น ระยะ หลัง

ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว (ให้แบ่งฉีดเข้ากล้ามที่สะโพกข้างละ 1.2 ล้านยูนิต)1-4 benzathine penicillin G ฉีดเข้ากล้าม สัปดาห์ละ 1 ครัง้ นาน 3 สัปดาห์ 2.4 ล้านยูนิต ติดต่อกัน (ให้แบ่งฉีดเข้ากล้ามที่สะโพกข้างละ 1.2 ล้านยูนิต)1-4 aqueous crystalline penicillin G ฉีดเข้าเส้นโดยแบ่งฉีด 2 - 4 ล้านหน่วย ทุก 4 ชั่วโมง ระบบ นาน 14 วัน1,3 ประสาท 12-24 ล้านหน่วย/วัน กรณีแพ้ penicillin ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึง่ ระยะต้น ระยะหลัง 1. doxycycline 100 mg กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน2-4 นาน 30 วัน1,3 2. tetracycline 500 mg กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน2-4 นาน 30 วัน1,3 3. erythromycin 500 mg กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน2-4 นาน 30 วัน1,3 benzathine penicillin G 2.4 ล้านยูนิต

กรณีที่ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย รักษาเหมือนผูไ้ ม่ตดิ เชื้อเอชไอวี แต่ต้องติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่องใกล้ชิด

เริมที่อวัยวะเพศและทวารหนัก (ANOGENITAL HERPES) ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึง่ กรณีเป็น ครั้งแรก

1. acyclovir

400 mg

2. acyclovir

200 mg

3. valacyclovir

500 g

4. famciclovir

250 mg

กรณีเป็นซ้​้า 1. acyclovir และมีอาการ 2. acyclovir รุนแรง 3. acyclovir

400 mg 200 mg 800 mg

4. valacyclovir

500 mg

5. valacyclovir

1g

6.famciclovir

125 mg

ผู้ป่วยที่เป็น 1. acyclovir โรคซ้​้าบ่อยๆ 2. valacyclovir (6 ครั้งหรือ 3. valacyclovir มากกว่าต่อปี)

400 mg 500 mg 1g

กินวันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร นาน 7 วัน1,3 กินวันละ 5 ครั้ง หลังอาหาร นาน 7 วัน1,3 กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 7 วัน1 กินวันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร นาน 7 วัน1,3 กินวันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร นาน 5 วัน1-4 กินวันละ 5 ครั้ง หลังอาหาร นาน 5 วัน1-4 กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 5วัน2-4 กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 5 วัน1,3 กินวันละครั้ง หลังอาหาร นาน 5 วัน2-4 กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 5 วัน1-4 กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร2-4 โดยกินยา กินวันละครั้ง หลังอาหาร2-4 อย่าง กินวันละครั้ง หลังอาหาร2-4

ต่อเนื่อง

4. famciclovir 250 mg กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร2-4 เอกสารอ้างอิง กรณีที่ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย อาการอาจรุนแรงและหายช้าต้องเพิ่มขนาดของยาและระยะเวลาการรักษาให้นาน 1. กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สานักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์. แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ.2549 ; 2549: 1-29. 2. Center of disease control and prevention. Sexually Transmitted Diseases Treatment Guidelines, 2010. MMWR ; 59 (RR-12) : 18-90 ขึ้นจนแผลหาย 6 3. World health organization. Guidelines for the management of sexually transmitted infections 2003. Switzerland : 2003 : 2-62 5. American Academy of Pediatries; 2009: 305-13 4. Center of disease control and prevention. Sexually Transmitted Diseases Treatment Guidelines, 2006. MMWR ; 55 (RR-11) : 15-80 6.พญ. กาญจนา ปาณิกบุตร. ผู้เชี่ยวชาญกามโรค อดีตผู้อ้านวยการสถานกามโรคบางรัก.ข้อมูลจากการติดต่อส่วนตัว


แผลริมอ่อน (CHANCROID) ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึง่ 250 mg

ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว1-4

2. ofloxacin

400 mg

กินครั้งเดียว1

3. ciprofloxacin

500 mg

1. ceftriaxone

4. erythromycin

กินครั้งเดียว1 500 mg กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร นาน 7 วัน1-4

แผลริมอ่อนที่มีภาวะแทรกซ้อน (COMPLICATED CHANCROID) 1. ceftriaxone 2. ofloxacin 3. ciprofloxacin erythromycin

ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว หรือ 400 mg กินครั้งเดียว หรือ 500 mg กินครั้งเดียว ร่วมกับ 500 mg กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน6 250 mg

เชื้อราช่องคลอด (VAGINAL 150 mg

กินครั้งเดียว กินวันละ 2 ครั้ง สอดช่องคลอด สอดช่องคลอด สอดช่องคลอด กินวันละ 2 ครั้ง กินวันละครั้ง

อุ้งเชิงกรานอักเสบ (PELVIC INFLAMMATORY DISEASES, PID) ceftriaxone

250 mg

1. doxycycline

100 mg

2. roxithromycin

150 mg

metronidazole

400 mg

ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง 1. doxycycline 100 mg กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน1,3 2. tetracycline 500 mg กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน1,3 3. erythromycin 500 mg กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน1,3 พยาธิช่องคลอด (VAGINAL TRICHOMONIASIS) ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง 1. metronidazole 2g กินครั้งเดียว ก่อนนอน1-4 2. tinidazole 2g กินครั้งเดียว ก่อนนอน1-4

หูดอวัยวะเพศและหรือทวารหนัก (ANOGENITAL WART) /หูดหงอนไก่ (CONDYLOMA ACUMINATA) tincture podophyllin 25%

CANDIDIASIS) ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง

หลังอาหาร1-4 2. itraconazole 200 mg หลังอาหาร นาน 1 วัน1 3. clotrimazole 100 mg ก่อนนอน นาน 7 วัน4 4. clotrimazole 200 mg ก่อนนอน นาน 3 วัน4 5. clotrimazole 500 mg ก่อนนอน นาน 1 วัน3 6. ketoconazole 200 mg หลังอาหาร นาน 5 วัน1 7. ketoconazole 400 mg หลังอาหาร นาน 5 วัน1 แบคทีเรียลวาจิโนซีส (BACTERIAL VAGINOSIS) ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึง่ 1. metronidazole 400-500 mg กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 7 วัน1-4 2. clindamycin 300 mg กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 7 วัน1-4 1 3. tinidazole 500 mg กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 7 วัน 1. fluconazole

กามโรคของต่อมและท่อน้​้าเหลือง/ ฝีมะม่วง (LYMPHOGRANULOMA VENEREUM/BUBO)

ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว1-4 ร่วมกับ กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน1-4 หรือ กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร 15 นาที นาน 14 วัน และ กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร นาน 14 วัน1-4

trichloroacetic acid (TCA) 80 -100% imiquimod 5%

ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง ทาที่หูดสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทิ้งไว้ให้แห้ง1-4 ห้ามใช้ยานี้ทาหูดที่ปากมดลูก ห้ามใช้ ในหญิงมีครรภ์ ทาหูดสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ห้ามใช้ยานี้ทาหูดที่ท่อปัสสาวะ1 ทาหูดก่อนนอน (ทิ้งไว้ 6-10 ชั่วโมงแล้วล้างออก) ทาวันเว้นวัน (สัปดาห์ละ 3 ครั้ง) นาน 16 สัปดาห์1-4 ห้ามทาที่ปากมดลูก ช่องคลอด ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์

หูดข้าวสุก (MOLLUSCUM CONTAGIOSUM) ใช้เข็มฉีดยาสะกิดบริเวณตุม่ แล้วบีบเนือ้ หูดสีขาวที่อยู่ภายในออกให้หมดแล้วแต้มบริเวณที่สะกิดด้วยน้​้ายา povidone iodine หรือ phenol หากหูดข้าวสุกเม็ดเล็กมาก ให้จี้ด้วย trichloroacetic acid1,3 หิด (SCABIES) ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง gamma benzene hexachloride ทาบางๆ ทั่วทุกส่วนของร่างกายนับตั้งแต่คอลงมาโดยตลอด รวมทั้งผิวหนังส่วน 1% cream ที่ปกติด้วย พอครบ 12 ชม. ให้ล้างออก และทาซ้​้าอีกครั้งในหนึง่ สัปดาห์ต่อมา1 benzyl benzoate25% ทาทั้งตัวครบ 12 ชม. ให้ล้างออก และทาซ้​้าอีกครั้งในสัปดาห์ต่อมา emulsion ยานี้ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่้ากว่า 6 ปี เพราะจะท้าให้เกิดอาการระคายเคือง1 sulfur ointment 6-10% ทาทั่วตัววันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3 วัน (ในเด็ก) 1,3 ivermectin 200 μg/น้าหนักตัว1 kg กินครั้งเดียว และรับประทานซ้​้าในขนาดเดียวกันภายใน 2 สัปดาห์2,4

โลน (PEDICULOSIS PUBIS) gamma benzene hexachloride 1% cream

ทาบางๆ บริเวณอวัยวะเพศ และผิวหนังบริเวณใกล้เคียง ทาทิง้ ไว้ 81,3-121 ชั่วโมง แล้วล้างออก ถ้ามีตัวโลนจ้านวนมากอาจทาซ้​้าอีก 1 ครัง้ หลังจากทาครั้ง แรก 3 วัน1 ควรทายาอีกครั้ง 7 วัน หลังการทายาครั้งแรก


ความถี่ในการตรวจ คาแนะนา STI VDRL HIV HBsAg HCV Pap smear พนักงานบริการ1-3 ชาย ทุก 3 ด. 3 ด. 3 ด. 1 ครั้ง ตรวจเลือดไวรัสตับอักเสบบีเฉพาะผู้ที่ไม่เคยตรวจหรือไม่มีภูมิคุ้มกัน อย่างน้อยหนึ่งครั้ง หญิง4 ทุก 1ด. 3 ด. 3 ด. 1 ครั้ง ปีละครั้ง 1-4 MSM ทุก 12ด.* ทุก 12ด.* ทุก 12ด.* 1 ครั้ง ไม่มีคาแนะนา ตรวจเลือดไวรัสตับอักเสบซีเฉพาะผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด กลุ่มที่ผลเลือดบวก ชาย 1 ครั้ง* 1 ครั้ง* 1 ครั้ง ไม่มีคาแนะนา 1-3,5-6 Anti HIV+ ve หญิง 1 ครั้ง* 1 ครั้ง* 1 ครั้ง ปีละครั้ง MSM 12ด.* 12ด.* 1 ครั้ง Anal pap ปีละครั้ง 3 ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ทุก 6 ด. ทุก 6 ด. ทุก 6 ด. 1 ครั้ง 1 ครั้ง ไม่มีคาแนะนา แนวทางปฏิบัติที่แนะนาตามนโยบาย comprehensive HARM reduction 3 ซั ก ประวั ต พ ิ บพฤติ ก รรมเสี ย ่ ง ตรวจ 1 ครั ง ้ ก่ อ นเข้ า สถานคุ ม ขั ง ผู้ต้องขัง/สถานพินจิ +/ไม่มีคาแนะนา ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีดควรตรวจเลือดหาไวรัสตับอักเสบบีและซี หากต้องขัง > 6 เดือนควรตรวจอีกครั้งก่อนออกจากสถานคุมขัง • มีเพศสัมพันธ์กับหญิงหรือชายให้บริการทางเพศ โดยไม่ใช้ถงุ ยางอนามัย ใน 3 เดือนที่ผ่านมา พฤติกรรมเสี่ยง6-8 • มีคู่เพศสัมพันธ์มากกว่า 1 คน ใน 3 เดือนที่ผ่านมา (ตั้งแต่หนึ่งข้อขึ้นไป ถือว่ามี • มีคู่เพศสัมพันธ์คนใหม่ใน 3 เดือนที่ผ่านมา พฤติกรรมเสี่ยงสูง) • มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถงุ ยางอนามัย หรือ ถุงยางอนามัยแตก รั่ว หลุด ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง หรือ ทุกช่องทีใ่ ช้ในการมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนที่ไม่ใช่สามี หรือภรรยา • คู่เพศสัมพันธ์เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • ในกลุ่มชายรักชาย ถ้ามีการใช้สารเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทร่วมด้วย หรือมีการใช้บริการทางเพศทางอินเตอร์เน็ต/ซาวนา 6-7 หญิง – ตรวจภายใน เก็บสิง่ ส่งตรวจจากช่องคลอด ปากมดลูก ท่อปัสสาวะ ย้อมสีแกรม เพาะเชื้อหนองใน เก็บสิง่ ส่งตรวจจากช่องคลอดดูสด ดูพยาธิช่องคลอด และ clue cell และตรวจ การตรวจร่างกายหา STI ช่องทางอื่นทีใ่ ช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่น ช่องคอ และ ทวารหนัก เป็นต้น (ดูการตรวจร่างกายชาย) ชาย – เก็บสิง่ ส่งตรวจจาก  ท่อปัสสาวะ ให้ย้อมสีแกรม ดูปริมาณเม็ดเลือดขาวและเพาะเชื้อหนองใน  ช่องทวารหนักในผู้ที่ใช้ทวารหนักรับการสอดใส่อวัยวะเพศให้ย้อมสีแกรม ดูปริมาณเม็ดเลือดขาว เพาะเชื้อหนองใน  ช่องคอในผู้ทใี่ ช้ปากรับการสอดใส่อวัยวะเพศให้เพาะเชื้อหนองใน หมายเหตุ : แนะนาตรวจหา Anti HBs หากพบว่า HBs Ag ให้ผลลบ เพื่อฉีดวัคซีนป้องกันในกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี 1) * กลุ่มพฤติกรรมเสี่ยงสูงแนะนาทุก 6 เดือน 1 ครั้ง หมายความว่า ควรตรวจอย่างน้อย 1. Australasian Chapter of Sexual Health Medicine / Royal Australasian College of Physicians and the Royal Australian College of General Practitioners. Sexually transmitted infection testing 1 ครั้ง guidelines for men who have sex with men 2010. http://www.stigma.net.au 2) คัดกรองโรค หมายความเฉพาะผู้ที่ไม่มีอาการ (ในผู้ที่มีอาการ ควรรีบเข้ารับการตรวจ 2. Centers for Disease Control and Prevention. Sexually Transmitted Diseases Treatment Guidelines. MMWR 2010;59 3. California STD/Human Immunodeficiency Virus (HIV) Prevention Training Center and California Department of Public Health, Center for Infectious Diseases. STD Screening รักษาโดยเร็ว) Recommendations 2010 California STD/HIV Prevention Training Center Version March 2010. http://www.cdph.ca.gov/programs/Documents/CA-STD-Screening-Recommendations3) ผู้มีความเสี่ยงที่เป็นกลุ่มประชากรอื่นๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึงในตาราง ให้ตรวจคัดกรอง 2010.pdf 4. กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ส้านักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์.คู่มือการด้าเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ.2546. พิมพ์ครั้งที2่ . กรุงเทพฯ: โรง โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STI) 1 ครั้ง HBsAg 1 ครั้ง ส่วนการตรวจคัดกรองโรค พิมพ์เจ.เอส.การพิมพ์; เมษายน 2548. ซิฟิลิส (VDRL) และตรวจหาการติดเชือ้ เอชไอวี (HIV) ให้ตรวจ 1 ครัง้ และตรวจซ้า 5. California STD/Human Immunodeficiency Virus (HIV) Prevention Training Center and California Department of Public Health, Center for Infectious Diseases. Sexual Risk Assessment and Risk Factors for Sexually Transmitted Diseases (STD). http://www.cdph.ca.gov/programs/std/Pages/default.aspx หากยังอยู่ในช่วง window period หรือมีพฤติกรรมเสี่ยง 6. The Royal Australasian College of Physicians, Australasian Chapter of Sexual Health Medicine. Clinical Guidelines for the Management of sexually transmissible infections among priority 4) ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด หมายถึงผู้ใช้ยาเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทด้วยวิธีฉีด เป็น populations 2004. 7. Connie L Celum, Jeanne marrazzo, Negusse Ocbamichael, Anne Meegan, Walter E stamm. The practitioner’s handbook for the management of STDs revise 3rd edition 2004. กลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี จึงแนะนาควรตรวจ HCV อย่างน้8อยหนึ่งครัง้ กลุ่มประชากร

8. กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ส้านักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์. แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พ.ศ.2549 ; 2549: 1-29


ชิ้นนี้ print กระดาษธรรมดา มีไว้เพื่อป้องกันการร้องเรียน การฟ้อง เนื่องจากบางที่ไม่สามารถตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการบางอย่างได้

ข้ อ มู ล แนวทางการตรวจสุ ข ภาพ /คั ด กรอง ดู แ ลรั ก ษา ติ ด ตามผลการรั ก ษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเอกสารฉบับนี้ ใช้เป็นข้อพิจารณาสาหรับบุคลากร สาธารณสุขผู้เกี่ยวข้อง ในการตัดสินใจเลือกวิธีการตรวจสุขภาพ /คัดกรอง ดูแลรักษา ติดตามผลการรักษาผู้ป่วย/ติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่เหมาะ ต่อสถานการณ์ โดย อาศัยหลักฐานทางการแพทย์ที่เชื่อถือได้ในปัจจุบันเป็น ส่วนประกอบ และไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อบังคับให้ปฏิบัติหรือยกเลิกการปฏิบัติ วิธีการตรวจสุขภาพ /คัดกรอง ดูแลรักษาติดตามผลการรักษาผู้ป่วยใด ๆ และ มิได้มีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นหลักฐานในการดาเนินการทางกฎหมาย การ ปฏิบัติในวิธีการตรวจสุขภาพ /คัดกรอง ดูแลรักษา ติดตามผลการรักษาผู้ป่วย/ ติ ด เชื้ อ อาจมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นตามบริ บ ท ทรั พ ยากร ข้ อ จ ากั ด ของสถานที่ ให้บริการ สภาวะของผู้ป่วย/ติดเชื้อ รวมทั้งความต้องการของผู้ป่วย/ติดเชื้อและ ผู้เกี่ยวข้องในการตรวจสุขภาพ /คัดกรอง ดูแลรักษาติดตามผลการรักษาหรือ ผู้เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วย 9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.