ก ข ค ปฏิวัติพลังงานภาคพิสดาร

Page 22

รายงานของ IPCC ฉบับพิเศษเรือ่ ง “แหล่งพลังงานหมุนเวียนและการลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก” ทำ�ให้พลังงานหมุนเวียนมีความเป็นไปได้และสามารถทำ�ได้จริงทัว่ โลก โดยทำ�งาน ร่วมกับนโยบายด้านพลังงานและนโยบายทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับด้านพลังงานโดยตรง ทัง้ นโยบาย ด้านเกษตรกรรม คมนาคม การจัดการน้�ำ การวางผังเมือง เป็นต้น เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของนโยบายการสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียน ในขณะเดียวกันแนวคิดพลังงาน หมุนเวียนในเอเชียกำ�ลังถูกผลักดันจากธนาคารเพือ่ การพัฒนาเอเชียเข้าสูแ่ นวคิดกระแสหลักเพือ่ ให้ พลังงานสะอาดเป็นหัวใจหลักในการพัฒนาสูก่ ารเติบโตทางเศรษฐกิจทีเ่ ป็นเพือ่ นกับสิง่ แวดล้อม เกิด กองทุนเพือ่ การพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ของเอเชีย (Asia Accelerated Solar Energy Development Fund) อีกทัง้ การจัดหาเงินทุนสนับสนุน โดยประเทศกำ�ลังพัฒนาใน เอเชียจะต้องปรับปรุงนโยบายทางด้านสิง่ แวดล้อมเพือ่ ร่วมสร้างพลังงานสะอาดภายใต้นโยบายทีม่ ี ความชัดเจนและมีความพยายามในการขับเคลือ่ นการลงทุนและเทคโนโลยีใหม่ให้เกิดขึน้ ในภูมภิ าค

ข้อมูลอ้างอิง ๑ คริส กรีเซน และ จิมฟุตเนอร์, กระจายศูนย์การผลิตไฟฟ้าไทยสู่ระบบพลังงานที่ยั่งยืน ๒๕๔๙, กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และกลุ่มพลังไท ๒ ดร.เดชรัต สุขกำ�เนิด, งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ทางเลือกและแนวทางการลงทุนในแผนพัฒนาพลังงาน หมุนเวียนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ ถึงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๒, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๕๔ ๓ Chris Greacen, Clarifying the Thailand solar feed i­n tariff situation, http://www.palangthai.org/docs/ClarifyingTheThaiSolarFeedinTariff4Feb2011.pdf, February 2011 ๔ การสัมมนารับฟังความคิดเห็นหลักเกณฑ์การกำ�หนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทย สำ�หรับ ปีพ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘, สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน, เมษายน ๒๕๕๔ ๕ องค์ความรู้จากการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย, คณะทำ�งานจัดการความรู้ สำ�นัก นโยบายและแผนพลังงาน, ๒๕๕๓ ๖ ผศ.ประสาท มีแต้ม, เอกสารประกอบปาฐกถาเสาหลักของแผ่นดิน ชุดความเหลื่อมล้ำ�และความไม่เป็น ธรรมด้านพลังงาน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๗ “Gross employment from renewable energy in Germany in 2010”, Research project commissioned by the Federal Ministry for the Environment, Nature Conservation and Nuclear Safety, March 2011 ๘ ดร.เดชรัตน์ สุขกำ�เนิดและคณะ, คู่มือพลังงานทางเลือก แนวทางพัฒนาพลังงานทางเลือกเพื่อสุขภาพใน ชุมชน, กรกฎาคม ๒๕๕๓ ๙ เอกสารการวิเคราะห์ทางเลือกของแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากสาขา พลังงานไฟฟ้า, คณะวิจัยมูลนิธินโยบายสุขภาวะ, มีนาคม ๒๕๕๔ ๑๐ รายงานการพิจารณาศึกษาเรื่องธรรมาภิบาลในระบบพลังงานของประเทศ, คณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องการทุจริตและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา, พฤษภาคม ๒๕๕๓ ๑๑ “เรื่องขี้ขี้” บทสัมภาษณ์ รศ.ดร.สุชน ตั้งทวีวิวัฒน์ ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ� คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, งานมหกรรมพลังงานภาคเหนือ จัดโดยมูลนิธินโยบายสุขภาวะและเครือข่าย พลังงานภาคเหนือ, พฤษภาคม ๒๕๕๔

๔๐

๔๑


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.