Journal a&d ปีที่ 1

Page 51

การออกแบบวัสดุที่ถูกมองขาม นำมาเปลี่ยนแปลงใหเกิดคุณคาในรูปแบบใหม Using neglected materials in transformative ways

กฤษณพงศ รื่นเริง1 เดวิด มารค เชเฟอร2 และ ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน3

Abstract

This project utilizes “upcycling” as a way of dealing with material waste and “transformation” as a method of giving new life to used and discarded objects. Function, utility, lightness, and tectonics (material joinery) were at the core of this transformation of materials. Wood bases and intricate wood joinery (instead of mechanical fasteners) give strength to new furniture. The actual seat simply sits atop the wood base, making this a quick and easy way to assemble (and therefore disassemble) the furniture. The cabinet also slides neatly into its base, making fabrication and assembly easier. The pieces, in their light weight and joinery, give the user freedom to move them around as necessary. More important than the actual components or over aesthetic of the pieces are their ability to be used in different ways. This way of working is not only economical to manufacture, but encourages the user to be economical and deal with waste in an inventive manner as well. Keywords : 1. pcycling, 2. waste, 3. transformation, 4. joinery, 5. assembly and disassembly

บทคัดยอ

โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงคในการออกแบบเฟอรนิเจอรอัพไซคลิง (Upcycling) เพื่อลดปญหาการสรางขยะและใชแนวคิด เรื่อง “การเปลี่ยนแปลง” (Transforming) เพื่อสรางชีวิตใหมใหกับวัตถุที่ถูกทิ้ง จุดเดนของการแกปญหาในงานวิจัยชิ้นนี้คือเรื่องการใชงานไดจริงและความแข็งแรง การประกอบและการขนยายไดสะดวกและ การใสใจในรายละเอียด(details) โดยมีผลสรุปดังนี้ 1) การแกปญหาเรื่องความแข็งแรงในการรับน้ำหนัก ไดเลือกใชวัสดุไมเปนฐาน และเลือกการเขาเดือยแทนการใชน็อตและตะปู ทั้งนี้นอกจากเพิ่มความคงทนแลวผูใชยังสามารถถอดประกอบไดงาย 2)ในราย ละเอียดของการเชื่อมที่นั่งกับฐานคือการใชหลักการสวมอางเขากับโครงไมไดโดยงาย ในสวนตูใชหลักการสวมเขากับฐานไมที่มีรอง ไวรับขอบ ทำใหงายตอการติดตั้ง และยังมีความแข็งแรงเพราะแบบไดคำนึงถึงการสวมเขาอยางพอดี 3) การแกปญหาเรื่องการโยก ยาย หรือขนสงไดสะดวก ผูใชสามารถถอดออกเปนชิ้นสวนและสามารถประกอบชิ้นใหมไดโดยงายดาย ดังนั้นโดยสรุปที่เปนหัวใจหลักของการออกแบบ ไมไดอยูที่รูปแบบซึ่งอาจมีความคลายกันได แตงานวิจัยชิ้นนี้เนนการแกปญหา ที่สามารถตอบสนองการใชงานในหลายมิติและประการที่สำคัญที่สุดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมผูบริโภคใหเห็นคุณคาของวัตถุการ ประหยัด และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ คำสำคัญ : 1.

อัพไซคลิง, 2. ขยะ, 3. การเปลี่ยนแปลง, 4. งานกรอบประตูหนาตางไม, 5. การประกอบและการถอดประกอบ

1 2 3

นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ปการศึกษา 2554 อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต รศ.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555

วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.