JOURNAL OF NUTRITION ASSOCIATION OF THAILAND

Page 21

วารสารโภชนาการ ป ที่ 47 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - เมษายน 2555

บทนำ โรคอ ว นเป น ป ญ หาสุ ข ภาพที่ ส ำคั ญ ของโลก และของประเทศ ป จจุบันความชุกของโรคอ วนในกลุ ม ประชากรวัยเด็กและวัยผู ใหญ เพิ่มขึ้นในประเทศต างๆ ทั่วโลก ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล ว และประเทศที่กำลัง พัฒนา1,2 อีกทั้งยังเป นต นเหตุของโรคเรื้อรังไม ติดต อ ได แก โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และ โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป นสาเหตุมากกว าครึ่งของ การเสียชีวิตทั่วโลก3 การรักษาและป องกันโรคอ วนจึง ต องดำเนินการอย างเป นระบบและควรป องกันตั้งแต ใน เด็ก โดยต องดูแลรักษาและแก ไขป ญหาตั้งแต เริ่มอ วน มิฉะนั้นจะกลายเป นโรคเรื้อรังที่รุนแรงรักษายาก4 สาเหตุ ของโรคอ วนในเด็ก ส วนใหญ เกิดจากป ญหาพฤติกรรม คื อ การกิ น อาหารมากเกิ น ไป หรื อ ออกกำลั ง กาย น อยเกินไป หรือจากทั้งสองอย างร วมกัน5,6 สำหรับใน ประเทศไทยโรคอ วนมีแนวโน มรุนแรงขึ้นเช นเดียวกัน สาเหตุที่เป นเช นนี้เพราะสิ่งแวดล อม สภาพเศรษฐกิจ สังคม วิถีชีวิต และพฤติกรรมของคนเปลี่ยนแปลงไป จากอดีต ทำให มีการบริโภคอาหารโดยเฉพาะอาหาร ประเภทไขมัน แป ง และน้ำตาลเพิ่มมากขึ้น แต การ ออกกำลังกายหรือการมีกิจกรรมทางกายที่ใช พลังงาน กลับลดน อยลง จึงเกิดโรคอ วนได ง าย6 และจากการ สำรวจสุขภาพของประชาชนไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 25512552 พบว าเด็กไทยอายุ 1-14 ป มีน้ำหนักเกินร อยละ 4.7 เป นโรคอ วนร อยละ 4.67 เด็กวัยเรียนมีน้ำหนัก เกินร อยละ 5.2 เป นโรคอ วนร อยละ 3.5 และวัยรุ น ตอนต น น้ำหนักเกินร อยละ 4.7 เป นโรคอ วนสูงถึง ร อยละ 7.2 เด็กชายอ วนมากกว าเด็กหญิง เด็กในเขต เมืองน้ำหนักเกินและอ วนมากกว าเด็กในเขตชนบท 1.5-2 เท า8จากการศึกษาของ National Health and Nutrition Examination Survey (NHANES III) ) ประเทศสหรัฐอเมริกา9 พบว าร อยละ 10-20 ของ

| 13

ทารกที่อ วนจะยังคงอ วนในวัยเด็ก ร อยละ 40 ของวัย เด็กที่อ วนจะยังคงอ วนในวัยรุ น และร อยละ 75-80 ของวัยรุ นที่อ วนจะยังคงอ วนเมื่อโตเป นผู ใหญ และมี โอกาสเสี่ยงสูงต อการเกิดโรคเรื้อรัง จึงมีความจำเป น อย างยิ่งที่ต องเริ่มดำเนินการป องกันและรักษาโรคอ วน ตั้งแต วัยเด็กเพื่อมิ ให เติบโตเป นผู ใหญ ที่อ วนและจะ ช วยลดอัตราเสี่ยงต อการเกิดโรคและอัตราตายจากโรค เรื้ อ รั ง ไม ติ ด ต อ ด ว ยจากป ญ หาดั ง กล า วที ม ส ง เสริ ม สุขภาพ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี จึงได ร วมกันจัด กิจกรรมให ความรู เรื่องการปรับพฤติกรรมการดูแล ตนเองของเด็กอ วนในโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญเพื่อ เป นการส งเสริมสุขภาพแก เด็กให มีพฤติกรรมที่ถูกต อง เหมาะสมและมีสมมุติฐานว าจะช วยให เด็กสามารถ นำไปเป นแนวทางปรับพฤติกรรมการดูแลตนเองโดย นำความรู และแนวทางปฏิบัติที่ถูกต อง เกี่ยวกับการ ปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการดูแลตนเองเพื่อการมีสุขภาพที่ดี

วัตถุประสงค ของการวิจัย เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมให ความรู เรื่องการปรับพฤติกรรมการดูแลตนเองของเด็ก อ วนในโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

วิธีการศึกษา การศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย กึ่ ง ทดลอง ดำเนินงานในนักเรียนโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ ที่มี น้ำหนักตัวเกินมาตรฐานมีค าดัชนีมวลกายมากกว า 25 กก/ม² และไม ออกกำลังกายโดยใช ข อมูลจากการ ประเมินภาวะสุขภาพ ดำเนินการจัดกิจกรรมในช วง เดือนมกราคม - สิงหาคม 2554

http://www.Nutritionthailand.or.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.