บทบรรณาธิ ก าร
Editorial
บทบรรณาธิการ นิ ต ย ส า ร ร า ช ม ง ค ล ล า น น า ฉบั บ เดื อ น
พฤษภาคม ถึง เดือน สิงหาคม 2560 นี้ ไดรวบรวมโครงการ ทีส่ าํ คัญของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ลานนา ในการสร า งบั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ (Hands – on) ภายใต นโยบาย รองศาสตราจารย ดร.นํ า ยุ ท ธ สงค ธ นาพิ ทั ก ษ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิสัยทัศน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 2560 : RMUTL 2020 ตลอดระยะเวลา 4 ป ทีผ่ า นมา โดยมีโครงการ กิจกรรม ที่สําคัญในการสรางบัณฑิตนักปฏิบัติ อาทิ การบูรณาการ การเรียนกับการทํางาน (Wil) โรงเรียนในโรงงาน (Sif) การ เรียนรูวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่นของนักศึกษา มทร.ลาน นา กับนักศึกษาตางชาติ (Learning Express) การพัฒนา ศั ก ยภาพนั ก ศึ ก ษาให มี ค วามพร อ ม ทั้ ง ทางวิ ช าการและ กิจกรรมดังจะเห็นไดจากรางวัลที่นักศึกษาไดรับในเวทีระดับ ชาติและนานาชาติ รวมถึงโครงการวิจัยและบริการวิชาการ ตาง ๆ ที่รวมสรางสรรคสังคม ชุมชนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีและ มีผลประกอบการที่ดี สามารถเพิ่มศักยภาพในการแขงขันได ในนามกองบรรณาธิ ก าร หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า นิตยสารราชมงคลลานนา ฉบับนี้จะเปนเอกสารทีม่ ีประโยชน ตอผูอานทุกทาน ทั้งการนําไปขยายผล หรือเปนตนแบบใน การดําเนินงาน เพือ่ สรางความเขมแข็งใหประเทศชาติไดอยาง ยั่งยืนตอไป สวัสดีครับ
นิตยสาร ราชมงคลลานนา
This RMUTL magazine for May to August 2017 includes important university projects in producing hands-on graduates under the policy of Associated Professor Numyut Songthanapitak, President of Rajamangala University of Technology Lanna, which is Vision of Rajamangla University of Technology Lanna 2017 : RMUTL 2020 for the past four years. Important projects in producing hands-on graduates are such as Work-integrated Learning (Wil), School in Factories (Sif), Learning Local Wisdom between RMUTL students and foreign students (Learning Express), and Student’s Potential Development, which allows students to be ready both in academia and activities as evident through the awards that our students have received domestically and internationally. There have also been other research and academic projects which promote social interaction and communities to acquire good life quality and good business turnovers, enabling competitive potentials. On behalf of the editorial team, I hope that this issue of RMUTL magazine will be beneficial to all readers in that they can extend results and use the magazine as a prototype in work operations to strengthen our country’s sustainability. Sawasdee.
สารบั ญ
นิตยสาร ราชมงคลล้านนา ฉบับที่ 8 RMUTL MAGAZINE
Issue 8
ประจําเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม 2560 May - August 2017
5
P
28
P
32
Leader Talk
5-23 การบริหารงาน มทร.ล้านนา ภายใต้นโยบาย RMUTL 2020
RMUTL Wil 24-27 TVET Hub Lanna Innovation for Life 28-31 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้ และบริหารจัดการ STEM RMUTL 32-35 การพัฒนาการจัดการศึกษา แบบ STEM Talent Mobility 36-39 โครงการส่งเสริมบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม Royal Project 40-47 สืบสานปณิธาน เดินตามรอยเท้าพ่อ สานต่องานโครงการพระราชดําริ Hands-on Graduate 48-51 ฟาร์มไก่เนื้อระบบปิด LAB มีชีวิตของบัณฑิตนักปฏิบัติ 52-55 ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในยุค Thailand 4.0 Social Engagement 56-59 โครงการยกระดับคุณภาพชีวิต บ้านหลวง Alumni Talk 60 สัมภาษณ์ นายกฤษณ์ ธนาวณิช รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ศิษย์เก่าแผนกวิชาไฟฟ้ากําลัง วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ Healthy Corner 61 การดื่มน้ําก่อนอาหารช่วยลดน้ําหนักได้ Cover Story 62-63 เส้นทางสู่นักกีฬาวอลย์เล่บอลทีมชาติ
P
36
P
40
P
48 56
P
P
P
62
นิตยสาร ราชมงคลลานนา
คณะผู ้ จ ั ด ทํ า
Cork Tree
คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา/Advisor
รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ ผศ.สนิท พิพิธสมบัติ ผศ.อุดม สุธาคํา ผศ.มนูญ เมฆอรุณกมล รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ ดร.ทินกร ทาตระกูล ผศ.ประพัฒน เชื้อไทย ดร.ภาสวรรธน วัชรดํารงศักดิ์ ผศ.สุภัทรา ปานสุวรรณจิตร
บรรณาธิการ/Editor อ.อัคคสัจจา ดวงสุภาสิญจ
Assoc.Prof.Dr.Numyoot Songthanapitak Asst.Prof.Sanit Pipithasombut Asst.Prof.Udom Suthakam Asst.Prof.Manoon Mekaroonkamol Assoc.Prof.Dr.Komsan Annuaysit Dr.Tinnakorn Tathrakul Asst.Prof.Prapat Chaethai Dr.Passawat Wacharadumrongsak Asst.Prof.Supattra Pansuvannajit Mr.Akksatcha Duangsuphasin
บรรณาธิการภาคภาษาอังกฤษ/Co-Editor (English) นายเดชาธร พจนพงษ
Mr.Dechathorn Pojchanaphong
ผูชวยบรรณาธิการ/Assistant Editor นางสาวอภิญญา พูลทรัพย
Creative Director นางสาวอาพัชรี ศิรินาโพธิ์
Ms.Apinya Poolsab Ms.Arpacharee Sirinapho
กองบรรณาธิการ/Editorial consultants and staff ดร.ณงคนุช นทีพายัพทิศ นาย เฉลิมชัย พาราสุข นางสาวสุภาภรณ ศุภพลกิจ นางสาวศิรินาถ จันทนะเปลิน นายคงศักดิ์ ตุยสืบ นายพิศิษฐ พรหมอารีย นายสุรพงศ ขุนคง นางสาวสิริญญา ณ นคร นางสาวเยาวัลย จันทรตะมูล นายวิทยา กวีวิทยาภรณ นายธนพล มูลประการ นางสาวแววดาว ญาณะ นางสาวธริษตรี ธนรัตนพิมลกุล นางประไพ อินทรศรี นางสาวอรวรรรณ โกสละ นางธีรวรา แสงอินทร นางปภาดา พลอยอิ่ม นางสาวเกศกนก เนตรวงศ นางสาวจารุวรรณ สุยะ นางสาวพัชราภรณ คําสรอย นางสาวกิ่งกานต สาริวาท
Dr.Nongnoot Nathipayapthis Mr.Chalermchai Parasuk Ms.Supaporn Supaponlakit Ms.Sirinart Jantanapalin Mr.Khongsak Tuisuep Mr.Pisit Promaree Mr.Surapong Khunkhong Ms.Sirinya Na Nakorn Ms.Yaowan Jantamoon Mr.Witthaya Kaweewitthayaporn Mr.Tanapon Munprakan Ms.Waewdao Yana Ms.Taristree Tanarattanapimolkul Mrs.Prapai Intrarasri Ms.Orawan Kosala Mrs.Theewara Saengin Mrs.Papada Ployim Ms. Ketkanok Netwong Ms. Jaruwan Suya Ms.Patcharaporn Komsoy Ms.Kingkarn Sarivat
นักศึกษาฝกประสบการณ /Trainee
นักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล Students of English for International Communication (EIC)
4 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Leader Talk
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา....
แรกเรมิ่ จัดตัง้ เปน สถาบันการศึกษาทีส่ อน ในระดั บ ปริ ญ ญาในนาม... วิ ท ยาลั ย
เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 5
Leader Talk
02 อดีตมทร.ลานนา ตาก
อดีตมทร.ลานนา นาน 01
ม
อดีตมทร.ลาน
หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช ชุมชน ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ ชีวิต และสิ่งแวดลอมควบคูไปกับการอนุรักษ
มงคลลานนาแรกเริ่มจัดตั้งเปนสถาบันการ สิ่งแวดลอม มีพื้นที่ครอบคลุมใน 6 จังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรมโดย
ศึกษาที่สอนในระดับปริญญาในนาม วิทยาลัย เทคโนโลยี แ ละอาชี ว ศึ ก ษา เมื่ อ วั น ที่ 27 กุมภาพันธ พ.ศ.2518 โดยการรวมวิทยาลัย เทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษาประจําภูมิภาค และโรงเรียนเกษตรกรรมเขาดวยกัน และตอ มาเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2531 พระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ไดพระราชทานนามวา “สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล” อันหมายถึง “สถาบันเทคโนโลยี อันเปนมงคลแหงพระราชา” และยกฐานะ เปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลานนา ตาม พรบ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2548 เปน 1 ใน 9 มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ซึ่ ง เป น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี สายวิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงคใน การจัดการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพ ชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติ ทําการสอน วิจัย ผลิต ครู วิ ช าชี พ ให บ ริ ก ารทางวิ ช าการแก สั ง คม 6 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
ทางภาคเหนือของประเทศไทย คือ เชียงราย เชียงใหม ลําปาง นาน ตาก และพิษณุโลก โดยผลิตบัณฑิตจนเปนที่ยอมรับในการรับใช ภาคสังคมมานานกวา 80 ป ตั้งแตเมื่อครั้ง ยังเปนโรงเรียนเกษตรกรรมนาน หรือโรงเรียน ประถมอาชีพชางไมตาก ซึ่งปจจุบันคือ มทร. ลานนานาน และมทร.ล า นนาตาก หรื อ จะ เปนโรงเรียนเกษตรกรรมพิษณุโลก ซึ่งมีอายุ กวา 64 ป ปจจุบันคือ มทร.ลานนา พิษณุโลก และที่ ตั้ ง มทร.ล า นนา ส ว นกลาง เดิ ม คื อ วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ที่มีการเรียนการ สอนมากวา 60 ป สวนมทร.ลานนา ลําปาง มีพื้นฐานมาจากโรงเรียนเกษตรกรรมลําปาง เปดทําการสอนมาแลว 45 ป และ มทร.ลาน นา เชียงราย ที่ไดเปดทําการเรียนการสอน มาแลว 22 ป เพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก เด็กและเยาวชนที่หางไกล ซึ่งแตละพื้นที่มีอัต ลักษณบนความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง อยาง เชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.) ลานนาเชียงราย มุงเนนการพัฒนาคุณภาพ
มีเอกลักษณ คือ การคาและบริการจัดการ เทคโนโลยี สวนมทร.ลานนานาน มุงสูความ เปนเลิศทางเทคโนโลยีการเกษตร สูองคกรที่ สรางสรรควศิ วกรและการพัฒนานวัตกรรมและ การวิจัยเพื่อสังคม โดยมีเอกลักษณ คือ ความ หลากหลายทางชีวภาพและความมั่นคงทาง อาหาร ทางดาน มทร.ลานนาตาก มุงเนน งานวิศวกรรมศาสตรและบริหารธุรกิจ ซึ่งเปน ภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อนําสูชุมชน โดย มีเอกลักษณ คือ เทคโนโลยีและการจัดการ เพื่อชุมชน รวมทั้งที่ มทร.ลานนาพิษณุโลก มุ ง เน น การเสริ ม สร า งให เ ป น ศู น ย ค วามเป น เลิ ศ ที่ บ ริ ก ารการวิ เ คราะห แ ละตรวจสอบ มาตรฐานการผลิตทางการเกษตรที่ดี รวมทั้ง ถายทอดเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมในดานการผลิต ทางการเกษตรและอาหารปลอดภัยแกชุมชน โดยมีเอกลักษณคือ เกษตรปลอดภัย ซึ่งจะ สอดคลองกับ มทร.ลานนาลําปาง ที่จัดการ เรียนการสอนทางดานการเกษตรมาในอดีต เหมือนกัน โดยจะมุงเนนการพัฒนาการเรียน
Leader Talk
อดีตมทร.ลานนา ลําปาง 04
05 อดีตมทร.ลานนา พิษณุโลก
อดีตมทร.ลานนา เชียงราย 06
นนา เชียงใหม 03
การสอน การวิจัย และการบูรณาการศาสตร ตาง ๆ ทีม่ อี ยูใ นมหาวิทยาลัยจากตนนํา้ สูป ลาย นํา้ ตัง้ แตกระบวนการผลิตทางการเกษตร และ การนํ า ผลผลิ ต เข า สู ก ารแปรรู ป และพั ฒ นา ผลิตภัณฑ ภายใตการสรางเครื่องมือและดูแล ระบบจากวิศวกร รวมทั้งกระบวนการบริหาร ทางธุรกิจและบริการที่เหมาะสม สอดคลอง กั บ ความต อ งการทั้ ง ระดั บ ท อ งถิ่ น ระดั บ ชาติ และระดับนานาชาติ โดยมีเอกลักษณ คือ อุตสาหกรรมเกษตร และที่ มทร.ลานนา เชี ย งใหม ถื อ ว า เป น ศู น ย ก ลางการบริ ห าร จัดการมหาวิทยาลัย และมีการเรียนการสอน ในหลายๆศาสตร จะมุงเนนพัฒนาและบริหาร จัดการดวยการเรียนการสอน การวิจัย บริการ วิชาการ สงเสริมศิลปวัฒนธรรมและการเรียน รูแกชุมชน ดวยการสรางนักศึกษาเปนบัณฑิต นักปฏิบัติ มีทักษะดานวิชาชีพในหลากหลาย สาขา โดยมีเอกลักษณ คือ วัฒนธรรมทองถิ่น และนวัตกรรม ทั้งหมดลวนแลวแตอยูภายใต วิสัยทัศนเดียวกัน คือ มหาวิทยาลัยชั้นนําดาน การผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ บนฐานสรางสรรค นวัตกรรม งานวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เพื่ อ ชุ ม ชนสู ส ากล เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นพั น ธกิ จ ที่ สําคัญ คือ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา เฉพาะทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มุ ง เน น ผลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ ที่ มี คุ ณ ธรรม และพึ่ ง พาตนเองได สร า งต น แบบการเป น บัณฑิตนักปฏิบัติบนพื้นฐานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี โดยใหโอกาสผูสําเร็จอาชีวศึกษาได ศึกษาตอ รวมทั้งสรางงานวิจัย บริการวิชาการ ที่เนนองคความรูและนวัตกรรม รวมถึงทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา ไดมีความกาวหนาในการพัฒนาอยาง เป น ลํ า ดั บ เป น ที่ รั บ ทราบและยอมรั บ ใน กลุมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และ สถาบันการศึกษาอื่น ๆ ทั้งในประเทศและ นานาประเทศ โดยมุงที่จะเปนมหาวิทยาลัย ชั้ น นํ า ด า นการผลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ บ น ฐานสรางสรรคนวัตกรรมวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีเพื่อชุมชนสูสากล เพื่อบรรลุ เปาหมายดังกลาวจําเปนอยางยิ่งที่บุคลากร ในองค ก รต อ งร ว มใจ รวมพลั ง เพื่ อ พั ฒ นา คุ ณ ภาพการศึ ก ษาและสร า งสรรค ผ ลงาน
ภายใต 3 ยุทธศาสตร ที่มุงปรับปรุงพัฒนา ระบบการบริ ห ารจั ด การ (Change) มุ ง สร า งความแตกต า งในการผลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ ที่ มี ค วามโดดเด น เฉพาะด า น (Challenge) และมุงสรางโอกาสในการกาวสู การเปนมหาวิทยาลัยชัน้ นําดานการผลิตบัณฑิต บนฐานความคิดสรางสรรค สรางนวัตกรรม เพื่ อ ชุ ม ชนท อ งถิ่ น ทั้ ง ในและต า งประเทศ (Chance) และ 9 นโยบายที่มุงพัฒนาดาน การจัดการศึกษา วิจัยและรักษาสิ่งแวดลอม พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและศิษยเกาสัมพันธ พั ฒ นาบุ ค ลากรสายวิ ช าการสายสนั บ สนุ น บริหารจัดการสรางสรรค พัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรูและบริหารจัดการ และสร า งเครื อ ข า ยความร ว มมื อ ทั้ ง ระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ โดยเป า หมายคื อ การ สรางบัณฑิตนักปฏิบัติที่ดีใหกับสังคมนั่นเอง
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 7
Leader Talk
3c 9
รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การบริหารงาน มทร.ลานนา
การบริหารงาน มทร.ลานนา ตลอดระยะเวลา 4 ปที่ผานมา เนน การบริหารงานแบบมีสวนรวม กระจายอํานาจ และยึดหลักธรรมาภิบาล เปนที่ตั้ง เพื่อจะพัฒนามหาวิทยาลัยใหเปนมหาวิทยาลัยชั้นนําดานการ ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติบนฐานสรางสรรคนวัตกรรมวิจัยวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเพื่อชุมชนสูสากล โดยมี พันธกิจที่สําคัญ คือ 1) จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเฉพาะทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี มุงเนนผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีคุณธรรม และพึ่งพาตนเองได 2) สรางตนแบบการเปนบัณฑิตนักปฏิบัติบนพื้นฐาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3) ใหโอกาสผูสําเร็จอาชีวศึกษาไดศึกษาตอ 4) สรางงานวิจัย บริการวิชาการ ที่เนนองคความรูและ นวัตกรรม 5) ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษสิ่งแวดลอม 6) สรางระบบบริหารจัดการที่ดีมุงสูการพึ่งพาตนเอง ภายใตนโยบาย 9 ดาน คือ 1) การพัฒนาดานการจัดการศึกษา 2) การพัฒนาดานวิจัยและนวัตกรรมสรางสรรค 3) การพัฒนาดานการบริการวิชาการแกสังคม 4) การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดลอม 5) การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและศิษยเกาสัมพันธ
8 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
6) การพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน 7) การบริหารจัดการสรางสรรค 8) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การเรียนรูแ ละบริหาร จัดการ 9) การสรางเครือขายความรวมมือทัง้ ระดับชาติและนานาชาติ ซึ่งตลอดระยะเวลา 4 ปที่ผานมานี้ มหาวิทยาลัยไดปรับปรุง และพัฒนา (Change) ระบบการบริหารจัดการดานวิชาการ วิจยั และ นวัตกรรม รวมถึงการบริหารจัดการองคกร โครงสรางการปฏิบัติงาน และการกระจายอํานาจใหสอดคลองกับภารกิจและเปนมาตรฐานสากล เพือ่ เสริมสรางความเขมแข็งและโดดเดนในทุกเขตพืน้ ที่ และการมีสว น รวมของทุกภาคสวน รวมทั้งจะตองสรางความแตกตาง (Challenge) ในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความโดดเดนเฉพาะดาน สูความเปน เลิศ ภายใตคาํ ขวัญทีเ่ ปนทีย่ อมรับกันทัว่ ไปคือ “ราชมงคลสรางคนสูง าน เชี่ยวชาญเทคโนโลยี”เปนการสรางชื่อเสียงและสรางโอกาสใหบัณฑิต ในการมีงานทํา และสรางโอกาส (Chance) ในการกาวสูการเปน มหาวิทยาลัยชัน้ นําในกลุม มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใน การผลิตบุคลากร บนฐานความคิดสรางสรรค สรางนวัตกรรมเพือ่ สังคม ชุมชน ทองถิ่นทั้งในและตางประเทศ โดยสามารถสรุปผลการดําเนิน งานในภาพรวมของ การจัดการศึกษา การวิจัยและพัฒนา บุคลากร และนักศึกษา การบริการสังคม การบริหารจัดการองคกรสรางสรรค เครือขายความรวมมือและการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติดังนี้
Leader Talk
การจัดการศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดพัฒนา หลักสูตรใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทาง สังคม และสนองตอบตอความตองการของประเทศ โดย หลักสูตรใหมในป 2560 มุงเนนใหเกิดกระบวนการคิดเชิง สรางสรรค ลดจํานวนหลักสูตรลงจาก 58 หลักสูตรเหลือ 38 หลักสูตร ปรับปรุงวิชาศึกษาทั่วไปเนนการบูรณาการศาสตร มากยิ่งขึ้น ซึ่งการจัดการศึกษาในรูปแบบของสายวิชาชีพ โดยการบูรณาการศาสตรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เขามาประยุกตใชนั้น ถือวาเปนวาระสําคัญที่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนามุงมั่นและใหความสําคัญเปน อยางมาก ประเด็นสําคัญคือ บัณฑิตที่เราผลิตออกสูตลาด แรงงานไปแลวนั้น สามารถตอบสนองตอการพัฒนาประเทศ ทั้ ง ด า นนวั ต กรรม ความก า วหน า ทางเทคโนโลยี ความ กาวหนาทางวิจัย วันนี้มหาวิทยาลัยไดจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบที่จัดสรรเวลาสวนหนึ่งใหผูเรียนไดเขาไปฝกฝนใน โรงงาน ลงมือปฏิบัติกับเครื่องมือและสถานการณจริง ไมใช การทดลองทําเพียงแคในมหาวิทยาลัย โดย รูปแบบความ รวมมือของแตละสถานประกอบการแตกตางกันไปตามความ เหมาะสม ซึง่ ก็คอื การจัดการศึกษาทีเ่ รียกวาการจัดการศึกษา เชิงบูรณาการ การเรียนรูก บั การทํางาน (Work-intergraded Learning: WiL) เชน สหกิจศึกษา (Co-operating Education) โรงเรียนในโรงงาน (School in Factory: SiF) ที่จัดการเรียน การสอนในสถานประกอบการ โดยผูเรียนจะไดเรียนรูทฤษฎี และการฝกปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ อาทิ กลุม บริษทั บีดีไอ (BDI Group) บริษัท สยามมิชลิน จํากัด กลุม CP All และกลุมเซ็นทรัล ผลจากการจัดการศึกษารูปแบบนี้ ทําให ภาคประกอบการไดบุคลากรที่มีทักษะ ความรูตรงกับความ ตองการและเปนการแกปญหาการขาดแคลนกําลังคนดาน เทคนิค นักเทคโนโลยี และวิศวกรนักปฏิบัติของประเทศอีก ทางหนึ่ง นิตยสาร ราชมงคลลานนา 9
Leader Talk
จากความสําเร็จขางตนมหาวิทยาลัยไดขยายผลการศึกษาในรูป แบบดังกลาวไปยังประเทศเพือ่ นบาน โดยการสงเสริมใหมกี ารแลกเปลีย่ น การศึกษาในระดับอาชีวศึกษาในภูมภิ าคอาเซียน ในโครงการแลกเปลีย่ น นักศึกษารวมกับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ ตลอดจนการสนับสนุนของ สมาคมพัฒนาครูสายอาชีวศึกษา (RAVTE) และอนาคตอันใกลนี้ มทร. ลานนา จะดําเนินการกอตั้งศูนย TVET Hub Asean เพื่อเปนศูนยกลาง ในการจัดการอบรมและพัฒนาเพือ่ กอใหเกิดผลอยางชัดเจน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังไดรับความไววางใจจากหนวยงานของรัฐ (สวทน.) และ กลุมมูลนิธิคีนันแหงเอเชียใหพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามกรอบ แนวคิดโดยนํา STEM Education ที่เปนการจัดการศึกษาที่บูรณาการ ศาสตรทั้งวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมและคณิตศาสตร ผนวก เขาไปกับการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาจึงเกิดรูปแบบการจัดการ ศึกษาที่เรียกวา STEM for TVET เพื่อใหผูเรียนสายอาชีวศึกษาไดเรียนรู การบูรณาการศาสตรและมีคุณภาพ มากยิ่งขึ้น ในปจจุบนั เรามีหนวยงานภายนอกเขามาสนับสนุนการจัดการ ศึกษาแบบ STEM for TVET เชน โครงการ Chevron Enjoy Science : TVET HUB LANNA เกิดขึน้ จากความรวมมือของ มทร.ลานนา-สํานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติบริษทั เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด-สถาบันคีนนั แหงเอเชีย จัดตัง้ ศูนยเพือ่ พัฒนาทักษะแรงงานในสายอาชีวศึกษาเพือ่ ปอนเขาสูภ าค อุตสาหกรรม มุง เนนการพัฒนา “ครูวชิ าชีพ” ใหมคี ณ ุ ลักษณะ “STEM for TVET” ซึ่งสะเต็มเปนพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาคน เนนการเรียน การสอนแบบ Project Base Learning เริ่มตั้งแตการปูพื้นฐานในระดับ มัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา สนับสนุนใหเกิดกระบวนการฝกทักษะและ วิธีการบริหารจัดการในภาคอุตสาหกรรมเพื่อใหการศึกษามีความหลาก หลาย มีพรอมสรรพ สิ่งนั้นคือความมุงมั่นในการจัดการศึกษาของ มทร. ลานนา ซึ่งวันนี้เราไดนํารูปแบบกาบูรณาการความรูและแบบสะเต็ม ศึกษาไปบูรณาการกับการเรียนการสอนในโรงเรียนมัธยมและวิทยาลัย 10 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
อาชีวศึกษาที่ใกลเคียงกับที่ตั้งมหาวิทยาลัย โดยปูพื้นฐานใหเกิดความ เขมขนในเชิงวิชาการ และเปดชองทางใหเห็นถึงลักษณะรูปแบบอาชีพ ในอนาคตวาเปนอยางไร ถาเราเลือกเรียนอะไร แลวเราจะไปเปนอะไร ไดในอนาคต ภายใตโครงการมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง ปจจุบัน มทร.ลานนา ไดทําหนาที่เปนพี่เลี้ยงใหกับสถาบัน การศึกษาในภาคเหนือหลายสถาบัน เพื่อสรางครูที่มีทักษะและการ บูรณาการศาสตร STEM for TVET เพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน ในสถาบัน โดยไดรับการสนับสนุนจากองคกรภายนอกที่เขามารวมมือ กัน เพื่อใหไดมาซึ่งทรัพยากรตางๆ ที่เอื้อตอการศึกษาเลาเรียนในรูป แบบสะเต็มศึกษา และนอกจากนั้นเมื่อเขาไปในระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ผูเรียนจะไดเรียนในศาสตรที่สูงขึ้น ซึ่งก็เปนการสอดรับ นโยบายของรัฐบาลที่สงเสริมใหเด็กเขาเรียนในสายอาชีวศึกษามากขึ้น ซึ่งไมใชเปนการเนนปริมาณของจํานวนเด็กที่เรียนแตตองเนนคุณภาพ ของผูเรียน เชนคนที่เรียนจบ ปวช. ก็จะมีสถานภาพทัดเทียมไดกับเด็ก จบ ม. 6 และสามารถเขาไปในระดับที่สูงขึ้น เชนเรียนในระดับ ปวส. หรือเรียนในสายอื่นใหถึงระดับปริญญาได ดานการจัดการศึกษารวมกับองคกรวิชาชีพ เพื่อกําหนด มาตรฐานและสมรรถนะสําหรับนักศึกษากอนสําเร็จการศึกษาโดย มหาวิทยาลัยไดรว มกับหนวยงานระดับชาติ อาทิ สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องคการมหาชน) กรมพัฒนาฝมอื แรงงาน และ สํานักงานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) ใน การสรางมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ ใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล และความตองการของผูประกอบการ รวมถึงมีการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะของมหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ วิชาชีพ ตลอดจนการเปนองคกรที่มีหนาที่ในการรับรองสมรรถนะของ บุคลากรตามมาตรฐานอาชีพ อาทิ สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส สาขา วิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแมพมิ พ สาขาวิชาชีพบริการยานยนต และ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และดิจทิ ลั คอนเทนต เปนตน
ดังนั้น การผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติของมหาวิทยาลัยจึงมุง เนนใหบัณฑิตทุกคน มีทักษะดานการปฏิบัติสามารถทดลอง และปฏิบัติงานไดจริงและมีมาตรฐานสากลตามนโยบายการ จัดการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมุงหวังตอไป
Leader Talk
การวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มีนโยบายดานงานวิจัย ชัดเจน การสรางองคความรูท สี่ ามารถชีน้ าํ สังคม เสริมศักยภาพอาชีพของ คนในชุมชน และเพิ่มศักยภาพในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม เนนการสรางงานวิจัยเพื่ออาชีพ ปจจุบันมหาวิทยาลัยตั้งกองทุนวิจัย ระเบียบกองทุน และมีคณะกรรมการบริหารกองทุนที่ชัดเจน รวมถึงจัด ตั้งศูนยวิจัยแหงความเปนเลิศ (CoE: Center of Excellence) ในแตละ ดาน เชน ศูนยความเปนเลิศดานพลังงานไฟฟาแรงสูง พลาสมาและไมโคร นาโนบับเบิลสําหรับเกษตรและการประมงขัน้ สูง ศูนยความเปนเลิศดาน การปรับปรุงพันธุพ ชื ศูนยความเปนเลิศทางดานการปลูกพืชทดลอง การ ปลูกผักและผลไมปลอดภัยดวยระบบอัตโนมัตภิ ายใตสภาพโรงเรือน ศูนย ความเปนเลิศการวิจยั สนามไฟฟาประยุกตในงานวิศวกรรม ศูนยทดสอบ ระบบราง และศูนยความเปนเลิศดานการออกแบบ เปนตน ความรวมมือกับภาครัฐและเอกชนทั้งในและตางประเทศให นักวิจัยไดรวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรูในเวทีของการนําเสนอผลงานวิจัย ทั้งระดับชาติ นานาชาติ อาทิ - โดยไดรับเกียรติใหเปนเจาภาพ จัดงานประขุมวิชาการตางๆ ดังนี้ งานประชุมวิชาการนานาชาติดา นพลังงานไฟฟาแรงสูง พลาสมาและ ไมโครนาโนบับเบิลสําหรับเกษตรและการประมงขั้นสูง ซึ่งมีนักวิชาการ จากประเทศญี่ปุน จีน เกาหลีใต และในประเทศไทยมาระดมสมองและ นําเสนอแลกเปลีย่ นองคความรูก นั วันนีถ้ อื วา มทร.ลานนา เปนผูน าํ ดาน การประยุกตใชองคความรูดานนี้ก็วาได - การประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติทางดานทัศน ศิลป 2557 - การประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ ว า ด ว ยเรื่ อ งวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมสํ า หรั บ การพั ฒ นาที่ ย่ั ง ยื น ครั้ ง ที่ 9 ณ มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีคุณหมิง - การประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ ด า นวิ ศ วกรรมไฟฟ า อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร การสื่อสารโทรคมนาคมและเทคโนโลยี
สารสนเทศครั้งที่ 13 (ECTI-CON 13th) - การประชุมวิชาการนานาชาติเรื่องสะเต็มศึกษาประจําป 2560 ( iSTEM 2nd) รวมทั้งอธิการบดีและผูบริหาร บุคลากร มทร.ลานนาไดรับ เกียรติใหเขารวมเวทีประชุมวิชาการในระดับนานาชาติหลายๆ เวที ทั้งในภูมิภาคอาเซียนและเอเชีย รวมทั้งในโซนยุโรป อเมริกา และ ออสเตรเลีย ในฐานะวิทยากรบรรยายพิเศษ และผูร ว มเสวนา ทัง้ ในนาม นายกสมาคมระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาครูอาชีวศึกษาในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต และในนามผูบ ริหารสถานศึกษา ที่ประสบความเร็จและเปนตนแบบดานการจัดการศึกษาอาชีวศึกษา
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 11
Leader Talk
บุคลากรและ นักศึกษา
คณะบุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ได พั ฒ นาคุ ณ ภาพ และประสิทธิภาพระบบการบริหารงานบุคคลใหคลองตัว ยืดหยุน มี ประสิทธิภาพ โปรงใส เปนรูปธรรมและชอบธรรม โดยไดใหความสําคัญ ในการพัฒนาบุคลากรทัง้ สายวิชาการและสายสนับสนุน ใหมศี กั ยภาพและ มีความกาวหนาตามสายงานทีร่ บั ผิดชอบ เรงรัดพัฒนาบุคลากรทัง้ ทางดาน การศึกษา การฝกอบรม การฝงตัว การปรับเพิ่มคุณวุฒิทางวิชาการ เพื่อ ใหมีคุณสมบัติทัดเทียมกับมาตรฐานการอุดมศึกษา จัดหาแหลงทุนในการ พัฒนาอาจารย สงเสริมใหคณาจารยจัดทําผลงานทางวิชาการ รณรงคให บุคลากรทุกระดับเพิม่ ขีดความสามารถในการพัฒนาตนเอง พัฒนาบุคลากร สายสนับสนุนใหมีความรูดานการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น จัด สภาพแวดลอมการทํางานใหเหมาะสมและปลอดภัยพรอมกับเสริมสราง ขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน อาทิ จํานวนอาจารยที่ไดรับทุนศึกษาตอ ในระดับที่สูงขึ้น ฝกอบรม และรวมประชุมวิชาการตางประเทศ 536 คน เพิ่มขึ้นจากป 2556 คิดเปน 1.5 เทาทั้งในและบุคลากรที่ไดรับการพัฒนา ความรูจากการฝกประสบการณในจํานวน 244 คน บุคลากรที่ไดรับการ พัฒนาสงเสริมการจัดทําผลงานทางวิชาการ จํานวน 992 คน (ผูเขารับ
12 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
การอบรมรายเดิมเกินรอยละ 50 ดังนั้นประมาณการไดวามีผูเขารวม เปนรายบุคคลประมาณ 496 คน) รวมทั้งหมด 9 ครั้ง โดยมีจํานวน ผูที่ไดตําแหนงทางวิชาการในระดับ ผศ.เพิ่มขึ้น 70 คน ตําแหนงทาง วิชาการในระดับ รศ.เพิม่ ขึน้ 11 คน สวนสายสนับสนุนไดรบั การพัฒนา เพื่อกาวสูตําแหนงที่สูงขึ้นตามความเหมาะสม มหาวิทยาลัยไดสนับสนุนใหผบู ริหารไดเขารับการเพิม่ ทักษะ ความรูในดานบริหารโดยใชหลักธรรมาภิบาลมาเปนแนวทางหลักใน การปฏิบตั งิ าน อาทิ การอบรมผูบ ริหารระดับสูง ตามหลักสูตรธรรมาภิ บาลของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนของสถาบันคลัง สมองของชาติ หลักสูตรการพัฒนานักบริหารมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ระดับสูง ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หลักสูตรการ พัฒนาผูบ ริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เปนตน สวนอาจารยผสู อน มทร.ลานนา จัดกิจกรรมการสงเสริมการทําผลงาน วิชาการ กิจกรรมการฝกเขียนผลงานของสายสนับสนุนในการเขียนผล งานเพือ่ ขอปรับตําแหนงการทํางานทีส่ งู ขึน้ เปนประจําทุกป ปละอยาง นอย 2 ครั้ง
Leader Talk
การพัฒนาคุณภาพนักศึกษา มทร.ลานนา ไดพัฒนาคุณภาพ นักศึกษาใหมีความพรอมดานทักษะและความสามารถ ที่นอกจากความ รูความสามารถดานวิชาการและวิชาชีพ เชน ความพรอมตอการเรียนรู และการใชชีวิตในอนาคต ความคิดสรางสรรค มีจิตสํานึกตอทองถิ่น ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม มีทักษะในการพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีสาขาใหม การเปนมืออาชีพ ทักษะดานสารสนเทศ การสือ่ สาร และเทคโนโลยี ภาษาและวัฒนธรรมตางประเทศ ทักษะชีวิตและการ ทํางาน (Soft Skill) โดยตัวอยางกิจกรรมที่เห็นไดชัดคือการใหนักศึกษา ไดเรียนรูจ ากการทํางานในสถานประกอบการทัง้ การเรียนในรูปแบบสหกิจ ศึกษา การเรียนในรูปแบบโรงเรียนในโรงงาน รวมทัง้ การฝกประสบการณ วิชาชีพครูในวิทยาลัยตางๆ เปนระยะเวลา 1 ปกอนจบการศึกษา รวม ถึงการฝกประสบการณในตางประเทศ เปนตน สวนจํานวนนักศึกษาที่ ไดรับทุนใหไปศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นรวมถึงการอบรม การเรียนรูทาง ดานภาษา วัฒนธรรม และโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาตางประเทศใน มหาวิทยาลัยตางประเทศจํานวน 181 คน ในสวนการสงเสริมทักษะดานสารสนเทศ การสื่อสารและ เทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย ได จั ด โครงการพั ฒ นามาตรฐานการใช ง าน คอมพิวเตอรของอาจารย บุคลากร และนักศึกษา มทร.ลานนา ขึ้น ซึ่ง โครงการดังกลาวผูเขารับการอบรมจะไดรับการฝกทักษะการใชงาน คอมพิวเตอรในรูปของหลักสูตรภาษาอังกฤษ โดยใชมาตรฐานการใชงาน คอมพิวเตอรมาตรฐานสากล ICDL (The International Computer Driving License) มาเปนเกณฑในการวัดระดับความรู ในปการศึกษา 2559 ที่ผานมา มีอาจารยและบุคลากรของมหาวิทยาลัยไดผานการ ทดสอบและรับรองมาตรฐานในหลักสูตร Baser Module กวา 200 คน และหลักสูตรผูฝกสอน (Train the Trainer) ICDL 2016 เปนจํานวน มากกวา 40 คน ซึง่ เปนสถาบันการศึกษารายแรกของประเทศทีไ่ ดรบั การ รับรองมาตรฐานในหลักสูตร ICDL Trainer 2016 อีกดวย การพัฒนาทักษะทางดานภาษาและวัฒนธรรมตางประเทศ นัน้ มทร.ลานนา ไดรวมกับ Singapore Polytechnic College จัดโครงการ Learning Express เปนกิจกรรมที่มุงเนนใหเกิดกระบวนการคิดเปน สําคัญ สอดแทรกการเรียนรูทางวัฒนธรรมของแตละประเทศผนวกเขา กับกิจกรรม เปนการเรียนรูนอกหองเรียนและสรางมิตรภาพกับเพื่อน ตางแดน โดยจะเวียนกันเปนเจาภาพไปแตละประเทศปจจุบันมีนักศึกษา จากชาติตางๆ เขารวมอาทิ เวียดนาม ฟลิปปนส สิงคโปร ญี่ปุน และไทย และในอนาคตอันใกลนี้จะมีประเทศจีนเขารวมดวยซึ่งปจจุบันไดจัดขึ้น เปนปที่ 2 โดยนักศึกษา มทร.ลานนา เขารวมกิจกรรมดังกลาวมาแลว กวา 100 คน นอกจากนี้ยังไดจัดโครงการ RMUTL Cultural Camps จัดประจําทุกปโดยป 2560 ที่ผานมามีนักศึกษาจากประเทศจีน ใตหวัน เกาหลีใต และประเทศไทย เขารวมกวา 80 คน และโครงการจัดการ
เรียนรวมกันระหวางมหาวิทยาลัย Brawitjaya ประเทศอินโดเนเซีย และ มทร.ลานนา (Brawitjaya and Rajamangala University of Technology International Course) เปนตน อีกทั้งยังมีการสงเสริมบทบาทของอาจารยแนะแนว มีระะบ บอาจารยที่ปรึกษา มีการจัดการสวัสดิการ ที่เหมาะสมครบถวนใน ชวงชีวิตของนักศึกษา (Student Life Stage Services) อาทิ ประกัน อุบัติเหตุ งานพยาบาล มีการตรวจสุขภาพประจําป การใหบริการ รานคา รานอาหารที่ไดสุขลักษณะ รวมทั้งการจัดสถานที่บริการการ เรียนรูนอกหองเรียนแกนักศึกษา อาทิ หองสมุดที่ทันสมัย หองศึกษา เรียนรูดวยตนเอง หองปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร หองกิจกรรมการ สอนเสริมระหวางเพื่อน เปนตน รวมทั้งจัดสถานที่สําหรับการดําเนิน กิจกรรมของศิษยเกาโดยจัดใหมีหองประชุม และสํานักงานศิษยเกา มทร.ลานนา เพือ่ ใหเปนทีป่ ระสานงานศิษยเกาในการทํากิจกรรมตางๆ รวมถึงการสงเสริม สนับสนุนศิษยเกาที่เปนเจาของสถานประกอบ การไดพัฒนาศักยภาพตนเองโดยไดสงคณาจารยเขาไปถายทอดองค ความรู และรวมคิด รวมวิจัยเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันของธุรกิจ อาทิ การลงไปวิเคราะหรวมกันระหวางผูบริหารมทร.ลานนา และ บริษัท เชียงใหมพารท แอนด ทูล จํากัด เปนตน อีกทั้งยังไดจัดสราง ศูนยบริการนักศึกษาแบบเบ็ดเสร็จ เพื่อไวคอยรองรับการใหบริการ นักศึกษาในทุกๆ ดาน อาทิ กองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา นักศึกษาวิชา ทหาร การผอนผันการเกณฑทหาร และการเขารับการปรึกษาปญหา ตาง ๆ กับนักจิตเวช เปนตน และสนับสนุนใหนักศึกษาทํากิจกรรม นอกหองเรียนผานกิจกรรมองคการนักศึกษา สโมสรนักศึกษาทัง้ ระดับ พืน้ ที่ คณะ ชมรม รวมทัง้ การทํากิจกรรมคายอาสาพัฒนา กิจกรรมการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกิจกรรมรักนองแบบ สรางสรรค เปนตน นิตยสาร ราชมงคลลานนา 13
Leader Talk
มีความโดดเดนอยางยิ่งในการริเริ่มการใหบริการวิชาการ
ตามแนวทาง ศาสตรแหง
พระราชา
งานบริการสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มี ค วามโดดเด น อย า งยิ่ ง ในการริ เริ่ ม การให บริการวิชาการ ตามแนวทางศาสตรแหงพระ ราชา โดยเขาไปมีสวนรวมกับมูลนิธิโครงการ หลวง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช โดยไดจัดงบ ประมาณกว า 16 ล า นบาท ในการดํ า เนิ น กิ จ กรรมทั้ ง การสนั บ สนุ น ส ง เสริ ม พั ฒ นา ปรับปรุง และการอบรมใหความรู เชน การ อบรมและวางแผนงานซ อ มบํ า รุ ง รั ก ษาทาง ดานวิศวกรรมของโครงการหลวง สนับสนุน โครงการศูนยพัฒนาพันธุพืชจักรพันธเพ็ญศิริ เปนตน โครงการยกระดับคุณภาพชีวติ หมูบ า น ชุมชนแบบมีสวนรวม ไดจัดสรรงบประมาณ ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการของ มทร.ลานนา ทั้ง 6 จังหวัด กวา 10 ลานบาทตอป เพือ่ ความเปน อยูที่ดีของพี่นองประชาชน ยกระดับคุณภาพ ชีวิตของคนในชุมชนใหดีขึ้นกวาเดิม โครงการ สงเสริมใหบคุ ลากรดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมในสถาบันอุดมศึกษา ไปปฏิบัติ งานเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับ ภาคเอกชน (Talent Mobility RMUTL) วัน นี้คณาจารยและนักศึกษา มทร.ลานนา สวน หนึ่งไดนําความรูจากสถาบันการศึกษาไปมอบ 14 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
ใหสถานประกอบการในลักาณะการรวมคิดรวม ทํา กอเกิดการพัฒนาในกระบวนการผลิต หรือ เสริมศักยภาพดานการบริการ และเพิ่มเทคนิค ใหมๆ ใหสถานประกอบการสามารถแขงขันใน ตลาดธุรกิจเดียวกันได เชน การวิจยั และพัฒนา หัวเจาะสําหรับงานระเบิดเหมืองถานหิน ของ หจก.แมเมาะวิศวกรรมเหมืองแร การพัฒนา ผิวเคลือบแข็งดวยเทคนิคการอารคสเปรยดวย ลวดตางชนิดกันในบริษัท แอดวานซ เซอรเฟส เทคโนโลยี จํากัด โครงการวิจัยและพัฒนาชุด ทดลองดานวิศวกรรมไฟฟาของบริษทั ออโต ได แด็กติด จํากัด และโครงการศึกษากระบวนการ ผลิตนํา้ พริกหนุม และหมูยอเพือ่ พัฒนาคุณภาพ และยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ เปนตน โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมของอุตสาหกรรมไทย (ITAP) ซึ่ง ปจจุบันมีหลากหลายโครงการที่ทําแลวสําเร็จ และสถานประกอบการมีผลการดําเนินงานที่ดี ลดขั้นตอนการทํางาน และทําใหกระบวนการ ผลิตสะดวก รวดเร็ว และลดขั้นตอนการใช แรงงานคน อาทิ โครงการออกแบบและพัฒนา เครื่องคั่วกาแฟดวยลมรอนขนาด 2 กิโลกรัม รวมกับบริษัท อาขา คอฟฟ จํากัด การเพิ่ม ประสิทธิภาพการอบแหงและระบบกระจาย
ลมรอนสําหรับโรงอบแหงลําไย บริษัท ภู-ภีม ฟรุต จํากัด การพัฒนาระบบการผลิตเซรามิก แบบ High Bis Low Gross ของบริษัทควอลิตี้ เซรามิก จํากัด การออกแบบเครื่องควบคุม ระบบรดนํา้ อัจฉริยะ ของบริษทั ปลูกผักเพราะ รักแม จํากัด เปนตน โครงการ 100 วัน 100 ฟารม (Smart Farm) รวมกับ ศูนยสงเสริม และพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเชียงใหม การรวมถึงการถายทอดองคความรู งานวิจยั สิง่ ประดิษฐแกสังคม ชุมชน ทองถิ่น อยางเปนรูป ธรรม อาทิ ระบบควบคุมแสงสําหรับโรงเรือน ปลูกดอกเบญจมาศ เครื่องแปรรูปกระเทียม กรีบ บานหัวฝาย จังหวัดลําปาง การควบคุม การระบาดของโรคและแมลงโดยชีววิธี หมูบ า น ขาวนาโยน พริกปลอดภัย บานปาเหียง อําเภอ ปว จังหวัดนาน เปนตน โครงการตางๆ เหลานี้ ลวนแลวแตเปนการเรียนรูร ว มกัน และเปนการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืน นํางานวิจยั สรางสรรค องคความ รูทางวิชาการที่มาจากความตองการที่แทจริง ของสังคม มาใหบริการสังคม ชุมชน เพื่อเปน สวนสําคัญในการพัฒนาอาชีพ ความเปนอยู ใหแกชุมชนและสังคมอยางตอเนื่อง ชวยยก ระดับคุณภาพชีวิตความเปนอยูของประชาชน ใหดียิ่งขึ้น
Leader Talk
การบริหารจัดการ
องคกรสรางสรรค การบริหารจัดการองคกรภายในมหาวิทยาลัยเราใชระบบ บริหารจัดการจากสวนกลางที่เนนการสงเสริม ติดตาม กํากับ มุง เนนการกระจายอํานาจบทบาท ความรับผิดชอบ ใหเขตพืน้ ทีต่ า งๆ มีสวนรวมคิด รวมทํา รวมพัฒนา ใชทรัพยากรตางๆ รวมกัน โดย ยึดประโยชนสงู สุดขององคกร โดยประยุกต การบริหารดัง้ เดิมตาม ลักษณะการจัดองคกรตามหนาที่ (Functional Systems) กับ แนวคิดการบริหารแบบใหมคือการบริหารที่ยีึดถือภารกิจเปนพื้น ฐาน (Agenda based) และการบริหารเชิงผลลัพธ (Result Based Management) การบริหารเชิงพื้นที่ (Area Based Management) และนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารมา ใชดา นการบริหารจัดการและตัดสินใจ บริหารงบประมาณและการ บริหารทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ นําแนวทางการสรางระบบ บริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance) ตามหลักธรรมาภิบาลมาใชในการบริหาร ใหหนวยงานทุกแหงมี สวนรวมและความคลองตัวในการบริหารงบประมาณ แตมีระบบ การติดตามทีมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ สินทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ สนับสนุนใหหนวยงานมีสิทธิใน
การจัดหารายได จัดหาทรัพยากร และบริหารงบประมาณ ดวยตนเอง โดยจะเห็นไดจากการนําระบบการบริหารแผน งานและงบประมาณ (ERP) มาใชในการเบิกจายงบประมาณ และการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนงบประมาณของ หนวยงานตางๆภายในมหาวิทยาลัย ระบบสารสนเทศเพื่อ การบริหารงานบุคคล ระบบสารสนเทศงานทะเบียนกลาง ที่สามารถเขาถึงไดทุกที่ทุกเวลาและสะดวกรวดเร็ว และ การนําระบบสารสนเทศมาใชในระบบการประกันคุณภาพ ศึกษา เปนตน อีกทั้งยังไดพัฒนาระบบสารเทศสําหรับการ ประชุมทางไกลระหวางพื้นที่ หรือแมแตการประชุมคณะ กรรมการผูทรงคุณวุฒิจากสวนกลางมายังมหาวิทยาลัย เพื่อ ลดตนทุนการเดินทาง ระยะเวลา เปนตน ทัง้ นีม้ หาวิทยาลัยยัง มีคณะกรรมการนโยบายการเงินและทรัพยสินมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา เปนอีกหนึ่งกลไกในขับเคลื่อน ใหการบริหารการเงิน งบประมาณ และการบริหารทรัพยสิน ของมหาวิทยาลัยเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุดดวย
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 15
Leader Talk
เครือขายความรวมมือ
และการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยไดสรางเครือขายความรวมมือกับสถาบันการศึกษา ตางประเทศเพื่อใหมีการแลกเปลี่ยน บุคลากรดานการสอน พัฒนา หลักสูตรและการจัดกิจกรรมเสริมหลัดสูตร มหาวิทยาลัยถือเปนนโยบาย ที่จะกระตุนใหนักศึกษาและบุคลากรตระหนักและมีความพรอมสําหรับ ปฏิบัติงานการศึกษาตอ และทํางานรวมกันในสังคมแบบพหุวัฒนธรรม (Multicultural Literacy) เพิ่มขีดความสามารถทักษะในการติดตอ สือ่ สาร (Communication) ของนักศึกษาและบุคลากร ดาน ภาษาตาง ประเทศอยางเรงดวน มีการกําหนดแผนการพัฒนาและดําเนินการพัฒนา บุคลากรและนักศึกษาดานตางประเทศ โดยการสงเสริมใหบุคลากรได ศึกษาภาษาตางประเทศตอในระดับทีส่ งู ขึน้ สนับสนุนใหบคุ ลากรมีโอกาส สรางความพรอมดานภาษา เพื่อเขารับการฝกอบรมหรือรวมประชุม สัมมนาทางวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ จัดกิจกรรมรวมกับ เครือขาย ๆ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ความรวมมือในการพัฒนาอยางยัง่ ยืน โดย ตัง้ แตปก ารศึกษา 2557 เปนตนมา มหาวิทยาลัยไดสรางความรวมมือกับ มหาวิทยาลัยในตางประเทศ ไดมกี ารลงนามบันทึกขอตกลงทางวิชาการ Memorandum of Understanding (MOU) ระหวางมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนากับมหาวิทยาลัย สถาบัน และองคกรระหวาง ประเทศ กวา 26 ฉบับ 12 ประเทศ โดยมีสัดสวนที่เพิ่มขึ้นจาก ป 2556 คิดเปน 216 เปอรเซ็นต ซึ่งจะเปนกลุมมหาวิทยาลัยในแถบเอเชียสวน ใหญ โดยเฉพาะกลุมประเทศอาเซียนและเอเชียตะวันออก นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังไดเขารวมเปนสมาชิกของสมาคม ระดับภูมิภาควาดวยครูอาชีวศึกษาในเอเชียตะวันออกและตะวันออก เฉียงใต (RAVTE) มีความรวมมือทางวิชาการรวมกับมหาวิทยาลัยที่ เปนสมาชิกรวมทั้งสิ้น 14 มหาวิทยาลัย 9 ประเทศ ซึ่งมี รศ.ดร.นํา ยุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา เปนนายกสมาคมกอตั้ง ปจจุบันจะเห็นไดวา นักศึกษา และคณาจารย มทร.ลานนา เพิ่มเติม ความรู จะไดรบั โอกาสในการเดินทางไปศึกษา ฝกอบรม ในตางประเทศ 16 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Local Concerns,... .....Global Solutions
Leader Talk
เปนจํานวน 237 คน รวมถึงยังมีคณาจารยและนักศึกษา จากต า งประเทศเดิ น ทางมาร ว มกิ จ กรรมและศึ ก ษาต อ ณ มทร.ลานนา จํานวน 310 คน ผานการทํากิจกรรมรวมกัน ตามบันทึกขอตกลงความรวมมือ หรือการทํากิจกรรมรวมกัน ของสมาคม RAVTE ทามกลางกระแสโลกาภิวัฒน การเขาสูศตวรรษที่ 21 เปนศตวรรษแหงการทาทาย เต็มไปดวยการแขงขันและ ความรวมมือ ความเปนโลกาภิวฒ ั นไดชกั นําใหทกุ คนในสังคม กลายเปนสมาชิกของสังคมโลก ทําใหพรมแดนทางความคิด และอุดมการณหมดไป ทุกประเทศเปนเหมือนเพื่อนบานใน ชุมชนเดียวกัน ระบบเศรษฐกิจกลายเปนเศรษฐกิจแบบเสรี สังคมเขาสูยุคสังคมแหงการเรียนรู (Knowledge Based Society) สงผลใหระบบเศรษฐกิจกลายเปนเศรษฐกิจบน พื้นฐานความรู (Knowledge Based Economy) สงผล ใหประเทศตาง ๆทั่วโลก ตางก็พากันปฏิรูปการศึกษาของ ตน เพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ ปนไปอยางรวดเร็ว ปญหา ของการศึกษาจึงเปนสิ่งที่ทาทายใหสถาบันอุดมศึกษาตอง ปรับปรุง พัฒนา และสรางศักยภาพใหสูงขึ้นเพื่อทัดเทียม กั บ นานาประเทศ โดยใช ท รั พ ยากรและศั ก ยภาพที่ เ ป น เอกลักษณของแตละชุมชน มาใชใหเกิดประโยชน เปนที่ ยอมรับในระดับสากล โดยไดประกาศใหสาธารณชนทราบ วา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาไดไปเกี่ยวของ เรียนรูจากนานาประเทศที่พัฒนาแลวและนําสิ่งตาง ๆ ที่ดี กลับมาปรับปรุง พัฒนา หรือแกไขปญหาใหกบั ชุมชน หรือจะ เรียกวา Global Concerns, Local Solutions และขณะ เดียวกันภาคการศึกษาตองมีวิวัฒนาการตนเอง และสราง ศักยภาพใหสงู ขึน้ ทัดเทียมกับอารยประเทศภายใตทรัพยากร ทีม่ อี ยูใ นชุมชน มาทําใหมคี วามหมาย มีคณ ุ คาตอการนําไปสู การใชใหเกิดประโยชนตอ สังคมโลกจนเปนทีย่ อมรับในระดับ นานาชาติตอไป ซึ่งจะนําไปสู Local Concerns, Global
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 17
Leader Talk
Rajamangala University of Technology Lanna has progressed in development consecutively and was accepted in Rajamangala University of Technology group and other educational institutions, focusing upon producing hands-on graduates based on Science and Technology. According to the university’s goal, it is essential that all staffs must be unified and work under 3 strategies; change, challenge and chance with 9 policies focusing on developing the environment research, developing the ability of students and alumnus, developing all academic staffs, developing the information technology for education, and cooperating in national and international. Our university aims to producing hands-on graduates for society.
For over 4 years of administration at Rajamangala University of Technology Lanna, the management take part in spreading the authority by hold to the good governance. The university missions are as follows. 1. To foster higher education system based on Science and Technology with a focus upon producing hands-on graduates with moral principles and self-reliance 2. To shape the model of hands-on scholars based on science and technology 3. To offer the opportunity of higher education for diploma students 4. To conduct the research and academic service, focusing on knowledge and innovation 5. To maintain art and culture, including environmen tal conservation 6. To manage the impartial good governance, allowing for an autonomous institution The 9 policies of the university are as the following. 1. Development of education 2. Development of research and innovation
20 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
3. Development of academic service to society 4. Maintenance art and culture including environmental conservation 5. Development of relation between students and alumnus. 6. Development in academic and support staff 7. Administration of creativities 8. Technological development for education and administration 9. Cooperation in both nation and international After 4 years, the university has changed and applied the administration system in academic, research and innovation, including organization’s administration, operation’s structure and international’s standard .The main propose is to create the challenge and chances in the process of producing hands-on graduates and become a leading university of scientifi c and human resources development on creativity and innovation. The result can be evaluated from academic management of students and staff, creativity, and the cooperation domestically and internationally.
Leader Talk
Rajamangala University of Technology Lanna has developed the curriculum for the changing of society’s structure. In 2017, the curriculum has been reduced from 58 to 38 programs. The development aims to improve the integrated science. It’s important that our graduated can respond to the country’s development. Nowadays, The University aims to send the students to organizations for the real work field. The cooperation in each organization was led by WiL (Work-intergraded Learning) such as Co-operating education of School in factory (SiF). The students can improve their abilities and theories with the establishments, including BDI Group, Michelin.Inc, CP Group and Central Group. The result of this curriculum is that the business factor can gain the skillful and innovative workers.
The Development Aims to Improve the Integrated Science
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 21
Leader Talk
From the university’s development success, we are having exchange student programs in ASEAN country, along with the support from the regional association of vocational teacher. In the future, RMUTL Lanna plans to establish the centre of TVET Hub Asean. In addition, the university receive trust from the government and Kenan Institute Asia to improve learning and teaching under STEM Education concept and applied this concept to vocational education. Consequently, the STEM for TVET system for student finally occurred. Nowadays, we have external agencies which support the STEM for TVET system such as Chevron Enjoy Science: TVET HUB LANNA. This is collaboration among RMUTL Lanna, Chevron Thailand and Kenan Institute Asia with the focus on teacher professional development and an emphasis on project base learning. We adapted this project to high schools and vocational schools near our university under the University program. In the area of Education management, the cooperation with professional organizations determines the capability and creates TPQ related to international standards upon their graduation. Rajamangala University of Technology Lanna has a clear research policy, especially in creating research for careers, including the Center of Excellence (CoE). - The co-operation between the government and the private sectors in knowledge exchange among researchers both domestic and international - The international academic conference and exhibition on visual arts, 2016. 22 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
- The international academic conference on science, technology, and innovation - ECTI-CON 13th - iSTEM 2nd The university has developed the qualifications staff and student to be equivalent to Thailand TGF. The university administration gains their management skill by using good governance as a guide line. RMUTL has developed the student’s readiness in skills apart from academic and professional knowledge. RMUTL has organized and develop standards computer uses project for teachers, staffs and students in knowledge evaluate criterion. In part of improvement language skills and foreign cultures, Rajamangala University of Technology
Leader Talk
Local Concerns, Global Solutions Lanna co-operates with Singapore Polytech College, organizing Learning Express project for learning outside classroom. Moreover, RMUTL also organizes RMUTL cultural camps annually. Beside, the university’s advisor system benefits our students when having accidents, annual checkups, purchasing goods from shops and restaurants, including setting up a place to learn outside the classroom for students. Rajamangala University of Technology Lanna is unique in academic service in relation with the King’s Philosophy. The university also participated in the Royal Project Foundation and Plant Genetic Conservation Project Under The Royal Initiation of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhon by arranging the budget over 15 million
bath for support, promotion, developmeng and training. Our creativity organization emphasizes on support monitor and control. Moreover, the focus is on decentralization for every campus to create opportunity for co-planning, co-operating and co-developing with almost the same benefits for every campus. This includes applying functional systems to typical management which is agenda based/ result based, and area based management. The information system was used in the quality assurance education system and the information system was developed for teleconferencing between areas. This is to reduce the travel costs and time. RMUTL established the cooperation with the educational institutions abroad, teaching personnel in developing the course and the extracurricular activities. The aim is to encourage students and staff in education work and to be able to work in multicultural literacy society. The university is permitting personnel to study a foreign language at the higher level. Since academic year 2014, the university has been cooperating with foreign universities, signing 26 issues of MOU in 12 countries. In addition, the university has participated as a member of the Regional Association of Vocational Teacher Education in Southeast Asia with totally 14 universities and 9 countries. Assoc.Prof.Dr. Numyuth Songthanapitak was the founder of the association. The 21st century is the century of competition and cooperation. Everyone was induced to become a member of global society. All countries are like neighbors and the society became knowledge based. This influences the economic system creating the knowledge based economy. Therefore, the countries around the world have reformed and created higher potential their education by using their resources. The purpose is to bring the resource for its most beneficial function for world community to be acceptable in international which lead into the “Local Concerns, Global Solutions” in the future. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 23
RMUTL Wil
TVET Hub
Lanna ศูนยประสานงานอาชีวะ และเทคนิคศึกษาลานนา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.) ลานนา มีวัตถุประสงคการจัดตั้งใหเปนสถาบันอุดมศึกษาวิชาชีพดานเทคโนโลยี และมีจุดเดนในดานการจัดการศึกษาดานเทคนิคเพื่ออุตสาหกรรมมามากกวา 50 ป โดยมีการจัดการศึกษาในรูปแบบการ จัดการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนรูกับการทํางาน (Work-integrated Learning: WiL) มาหลายรูปแบบ และไดเปนหนวย งานนํารองการจัดการศึกษารูปแบบนี้ในการขับเคลื่อนนโยบายกําลังคนของประเทศในรูปแบบโรงเรียนในโรงงาน (School in Factory : SiF) รวมกับสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) นอกจากนีย้ งั ได มีนโยบายการจัดการศึกษาแบบมีสวนรวมระหวางสถาบันการศึกษาตั้งแตระดับมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา สถานประกอบการ ทําให มทร.ลานนา ไดรับการคัดเลือกใหเปนศูนยประสานงานอาชีวะและเทคนิคศึกษาลานนา (TVET Hub Lanna) ซึ่งมีพันธ กิจดังตอไปนี้
1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาจะมีบทบาทเปน
ศูนยกลางการประสานงานการฝกอบรมและเชือ่ มตอระหวางผูม สี ว น ไดสวนเสีย (Stakeholders) ทั้งหมด ในการจัดการศึกษาแบบ บูณาการวิชาการดานสะเต็มศึกษากับเทคนิคศึกษา
2. ภารกิจดานสะเต็มศึกษาจะดําเนินการเผยแพรแพ็คเกจ
(Package) สะเต็มศึกษาของ Enjoy Science ใหกับครูเทคนิค ศึกษา นักเรียน นักศึกษา ผูปกครอง
3. ภารกิจดานยกระดับเทคนิคศึกษาผานการจัด STEM for
TVET teacher Workshop โดยเนนทักษะดานเทคนิคและ คานิยมที่มีตอเทคนิคศึกษา ตลอดจนการฝงตัวของครูในภาค อุตสาหกรรมซึ่งมี มทร.ลานนา เปนผูประสานงานให หรือ กลาว อีกนัยหนึ่งก็คือใหครูเทคนิคศึกษาไดฝงตัวในอุตสาหกรรมเครือ ขายของ มทร.ลานนา 24 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
4. กลุมเปาหมายที่จะสรางกําลังคนดานการ
บูรณาการสะเต็มศึกษากับเทคนิคศึกษาใหกบั นักเรียนทัง้ ในสถาบันการศึกษามัธยมศึกษา (OBEC) และสถาบัน การศึกษาอาชีวศึกษา (OVEC) ในชั้นปที่ 10-12 หรือ ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย (ม.4-6) และระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 1-3) และในชั้นปที่ 1314 หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1-2)
5. จัดการศึกษาระดับปริญญาดานเทคโนโลยีในรูป
แบบการบูรณาการการเรียนรูกับการทํางานรวมกับ หลักสูตรทางวิชาการใหกับนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษา ชั้นปที่ 12 และชั้นปที่ 14 จากสถานศึกษาเครือขาย ซึ่งเปนการจัดการศึกษาที่ใหผูเรียนเรียนอยูในสถาน ประกอบการหรือในภาคอุตสาหกรรม
RMUTL Wil
รูปที่ 1 พันธกิจของศูนยประสานงานอาชีวะและเทคนิคศึกษาลานนา
จากพันธกิจดังกลาว จึงนําไปสูแนวคิดการจัดโครงสรางองคกร ของศูนยประสานงานอาชีวะและเทคนิคศึกษา เพือ่ เปนหนวยงานประสาน กลางกับผูที่มีสวนไดสวนเสียทั้งหมดดังแสดงในรูปที่ 2 ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ 1. การบริหารจัดการจะเปนรูปแบบคณะกรรมการ ซึง่ จะมีตวั แทน จากหนวยงานทีม่ สี ว นไดสว นเสียทัง้ ภาคอุตสาหกรรม สถานศึกษา ภาครัฐ มาเปนคณะกรรมการ โดยมี มทร.ลานนา เปนเจาภาพ (Host) 2. เครือขายจะประกอบดวย สถานศึกษาสาธิตตนแบบที่ มทร.ลานนา (ดอยสะเก็ด) หรือเรียกวา “ดอยสะเก็ดโมเดล (Doi-saket)
Model: Doi-saket คณะที่จัดการศึกษาของ มทร.ลานนา โรงเรียน มัธยมศึกษา วิทยาลัยของ สอศ. และ หนวยงานจัดการศึกษาเทคนิค และเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอื่น 3. เปาหมายการพัฒนากําลังคนดานเทคนิคเพื่ออุตสาหกรรม ใน 5 ป จะประกอบดวยคนในภาคแรงงาน 2,000 คน นักเรียนตัวปอน 3,000 คน ชางเทคนิค 2,500 คน และวิศวกร 500 คน 4. สโลแกนของศูนยประสานงานคือ ขยายโอกาสเด็กหัวเมือง ใหมีอาชีพ ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัฒกรรม วทน. ที่มีราย ไดสูง
รูปที่ 2 โครงสรางการบริหารและเปาหมายของศูนยประสานงานอาชีวะและเทคนิคศึกษาลานนา
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 25
RMUTL Wil
มทร.ลานนนา สวทน. สถาบันคีนันแหงเอเชีย และบริษัทเชฟ รอนสํารวจและผลิตปโตเลียมจึงไดรว มมือกันเพือ่ ดําเนินตามพันธกิจทีไ่ ด ตัง้ ไวโดยรวมลงนามความรวมมือเพือ่ จัดตัง้ ศูนยประสานงานอาชีวะและ เทคนิคศึกษา (TVET Hub Lanna) ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2558 และ เริ่มาดําเนินกิจกรรมตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 โดยเริ่มดําเนิน การดังนี้ 1. บันทึกความรวมมือกับสถานศึกษาเครือขาย 20 สถานศึกษา และ บันทึกความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม 3 แหง 2. ดําเนินการฝกหัดครูสะเต็มศึกษากับเทคนิคศึกษาและพัฒนา หลักสูตรกับเครือขายโรงเรียนมัธยมศึกษา ไดแก โรงเรียนปรินซรอแยล วิทยาลัย โรงเรียนดอยสะเก็ดวิทยาคม โรงเรียนแมอายวิทยาคม โรงเรียน แมลานอยดรุณสิกข โรงเรียนลองวิทยา โรงเรียนเวียงปาเปาวิทยาคม โรงเรียนนครไทย โรงเรียนวังโพรงพิทยา โรงเรียนหนองพระวิทยาคม รวมทั้งสิ้น 9 โรงเรียน 3. ดําเนินการฝกหัดครูสะเต็มศึกษากับเทคนิคศึกษาและพัฒนา หลักสูตรกับเครือขายสถาบันอาชีวศึกษา ไดแก วิทยาลัยเทคโนโลยีและ สหวิทยาการ วิทยาลัยเทคนิคพะเยา วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย วิทยาลัย เทคโนโลยีไทยไตหวัน 4. จัดโครงการ STEM for TVET teacher workshop ใหกับครูตนแบบของสถานศึกษาเครือขาย ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีและ สหวิทยาการ มทร.ลานนา จํานวน 20 คน 5. จัดโครงการ STEM for TVET teacher workshop ใหกบั ครูตน แบบของสถานศึกษาเครือขายและครูประจําศูนยกบั โครงการ โรงเรียนในโรงงานสยามมิชลิน ณ วันเพ็ญอาพารตเมนต อําเภอนิคม พัฒนา จังหวัดระยอง จํานวน 25 คน 6. จัดโครงการ STEM for TVET teacher workshop ใหกบั ครูตน แบบของสถานศึกษาเครือขายและครูประจําศูนยกบั โรงงาน กลุมบีดีไอ ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยไตหวัน อําเภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ จํานวน 32 คน 7. ฝกหัดบุคลากรประจําศูนย จํานวน 3 คน 8. เปดรับนักศึกษาหองเรียนนํารองชั้น ม.6 โปรแกรม (ศิลปเทคโนโลยีการผลิต) ที่โรงเรียนลองวิทยา จํานวน 25 คน 9. เปดรับนักศึกษาหองเรียนนํารองที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เทคโนโลยี หลักสูตร ปวช. (เตรียมเทคโนโลยีวิศวกรรม) วิทยาลัย เทคโนโลยีและสหวิทยาการ จํานวน 25 คน 10. พัฒนาครูและหลักสูตรโปรแกรม ม.6 (วิทย-เทคโนโลยี เกษตรอุตสาหกรรม) รวมกับโรงเรียนแมลานอยดรุณสิกขและโรงเรียน แมอายวิทยาคม 11. พัฒนาหลักสูตรไตรศึกษาระหวาง วิทยาลัยเทคโนโลยีและสห วิทยาการ วิทยาลัยในสังกัด สอศ. และโรงเรียนมัธยมเครือขาย ในหลักสูตร ปวช. (วิทยาศาสตรบูรณาการและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) ใหกับสถาบัน อาชีวศึกษา และ ม.6 (วิทย-เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) โดยใชโจทยและ เทคโนโลยีจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในแนวคิดที่ไดวางไวจะใหนักเรียน ที่เขาศึกษาในสถาบันใดสถาบันหนึ่งในเครือขายจะไดรับ 2 คุณวุฒิ โดย เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมเปาหมายไดแก อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรม อาหาร อุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส การดําเนินงานในระยะทีส่ อง ตัง้ แตวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2559 – 31 พฤษภาคม 2560 มีดําเนินการดังนี้ 26 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
1. อบรมครูใหกบั วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย พะเยา แพร นาน
เรื่อง การจัดการเรียนสะเต็มสําหรับอาชีวะและเทคนิคศึกษาดวยการ สอนวิทยใหสนุกตามแพคเกจแอกทีฟฟสิกส 2. การพัฒนาและสรางเครือขายดวยการประชุมรวมผูบ ริหาร ของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 1 การประชุมรวมผูบริหารของ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 2 การฝกอบรม STEM for TVET สําหรับครูสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 2 การประชุมรวมผูบ ริหาร ของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 การประชุมรวมผูบริหารของ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 4 การฝกอบรม STEM for TVET สําหรับครูสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 และ 4 3. ประชาสัมพันธสูกลุมเปาหมายที่มีศักยภาพ คือ นักเรียน และผูปกครอง ครูและผูบริหารสถานศึกษา สถานประกอบการ ภาค อุตสาหกรรม 4. การฝกหัดครูเกี่ยวกับการประยุกตใชศาสตรการสอน 7E กับอุตสาหกรรม จะดําเนินการกับครูที่สอนระดับ ปวช. และ มัธยม ปลาย ที่จัดการศึกษารูปแบบไตรศึกษา (อุตสาหกรรม อาชีวศึกษา และ มัธยมศึกษา) กับกลุมเปาหมายครู ชุดเกา 30 คน และ ชุดใหม 20 คน รวม 50 คน 5. การจัดฝกหัดฝมือชางพื้นฐานใหครูกลุมใหม ๒๐ คน และ นักเรียนจากโรงเรียนเครือขาย ๕๐ คน 6. พัฒนาครูประจับศูนยฯ ใหไดรับการฝกในอุตสาหกรรม และให ถอดบทเรียนการผลิตแมพิมพยางลอ โรงงานแมพิมพยางไทย (บริษัท สยามมิชลิน จํากัด) ถอดบทเรียนการผลิตขนมญี่ปุน โรงงาน ไทยนิจิอินดัสทรี ถอดบทเรียนการซอมบํารุงโรงงานไทยนิจิอินดัสทรี 7. พาอาจารยกลุมใหมและกลุมเกาเยี่ยมชม บริษัทอายิโนะ โมะโตะ ในเครือเบทาโกร และ บริษัท บีดีไอ จํากัด ผูผลิตชิ้นสวน พลาสติกของจักรยานยนต 8. พัฒนากิจกรรมสําหรับประสานงานเครือขาย การศึกษา ขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุตสาหกรรม ดวยกิจกรรม ประชุมเพื่อ พัฒนาโครงการศูนยประสานงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสถาน ศึกษา ไทย-ไตหวัน โครงการศูนยเทคโนโลยีแมพิมพภายใตโครงการ ศูนยประสานงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสถานศึกษา ไทย-ไตหวัน โครงการพัฒนาระบบซอมบํารุงผานการจัดการศึกษารูปแบบโรงเรียน ในโรงงานไทยนิจิอินดัสทรี ถอดบทเรียนการเขียนแบบ การใชคอมชวย งานออกแบบ วิศวกรรม และ ผลิต โรงงานผลิตชิ้นสวนพลาสติก ถอด บทเรียนการผลิตชิ้นสวนพลาสติก 9. จัดประชุมคณะกรรมการนโยบาย และ คณะกรรมการ บริหาร ศูนยประสานงานอาชีวะและเทคนิคศึกษาลานนา
การดําเนินการของศูนยประสานงานอาชีวะและเทคนิคศึกษา ลานนา TVET Hub Lanna นัน้ เปนการดําเนินการทีม่ คี วามรวมมือของ หนวยงานตางๆ และทีส่ าํ คัญไปกวานัน้ คือความรวมมือของโรงเรียนและ สถาบันการศึกษาในเครือขายทีใ่ หความสําคัญตอการพัฒนาการศึกษา ศูนยประสานงานอาชีวะและเทคนิคศึกษาลานนา TVET Hub Lanna จะเปนสวนสําคัญในการพัฒนา สรางตัวปอนและกําลังคนเขาสูระบบ การศึกษาแบบบูรณาการ ซี่งนอกจากศูนยนี้จะทําหนาที่ในการฝกหัด ครูแลวจะยังทําหนาที่ในการสรางครูตนแบบที่จะขยายผลไปยังโรงเรียน มัธยมและวิทยาลัยอาชีวะในภาคเหนืออีกดวย
TVET Hub
RMUTL Wil
Lanna ภาพ: กิตติศักดิ์ อํามา
The Vocational and Technical Education Lanna Coordination Center Rajamangala University of Technology Lanna
has the objective to established as a higher educational institution in career and technology fields and being expert type in industrial technology. Moreover, it also has a policy to organize participatory education management among secondary education, vocational school and work places. Rajamangala University of Technology Lanna was selected at Vocational Education Cooperation center. The mission accordingly. 1. Rajamangala University of Technology Lanna has also having a role of the training cooperation center and also being connecting center of all stakeholders in stem education and technological education. 2. Stem education will share its knowledge to technical students and their parents. 3. The mission are also included upgrading technical study through stem for TVET teacher workshop. 4. The target groups are the student in both Secondary Education and Vocational School.
Rajamangala University of Technology Lanna, National science Technology and innovation policy office, Kenan institution of Asia and Chevron
Company to cooperate to established vocational education
and technical study center by having the following mission. 1. Cooperating with 20 educational institute and 3 industrial sectors. 2. Training stem education teacher both in Secondary and Vocational institute. 3. Organized stem for TVET teacher workshop to prototype teacher in school network at college of integrated science and technology and Thai-Taiwan technological college. 4. Training 3 teachers for center. 5. Receiving students for pilot classroom in Longwittaya School and the college of integrated science and technology. 6. Cooperating with Maelanoi Daroonsik School and Mae Ai Wittayakhom to develop teacher and curriculum. 7. To develop the Tri-education between the college of integrated science and technology, office of the vocational education commission and school network. 8. Training teachers from Chiang rai, Payao, Phrae and Nan vocational college. The workshops stem education management for vocational college and technical education, teaching science for fun according to Physics package. 9. Developing and building network by executive’s meeting of Vocational education institution. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 27
Technology for Life
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรูและบริหารจัดการ
ต
ามนโยบายของรัฐบาลไดกําหนดแผนยุทธศาสตรของชาติเพื่อ ขับเคลื่อนประเทศไทยไปสูการพัฒนา Thailand 4.0 มีเปาหมายให ประเทศสามารถสรางสรรคและใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลอยาง เต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน นวัตกรรม ขอมูล ทุนมนุษย และทรัพยากรทุกภาคสวน เพือ่ ขับเคลือ่ นและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยมีแนวยุทธศาสตรในการ พัฒนาขอที่ 5 คือ การพัฒนากําลังคนเขาสูย คุ เศรษฐกิจและสังคมดิจทิ ลั มีเปาหมายพัฒนาทุนมนุษยสูยุคดิจิทัล ดวยการเตรียมความพรอมให บุคลากรทุกกลุม มีความรูและทักษะที่เหมาะสมตอการดําเนินชีวิตและ การประกอบอาชีพในยุคดิจิทัล ประชาชนมีความสามารถในการพัฒนา และใชสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพมีความตระหนัก ความรู ความ เขาใจ มีทักษะการใชเทคโนโลยีดิจิทัลใหเกิดประโยชนและสรางสรรค (Digital Literacy) จากนโยบายของรัฐบาล มทร.ลานนา โดยสํานักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดจัดใหมีโครงการพัฒนามาตรฐานการใช งานคอมพิวเตอรของอาจารย บุคลากร และนักศึกษา มทร.ลานนา ขึ้น ซึ่งโครงการดังกลาวผูเขารับการอบรมจะไดรับการฝกทักษะการใชงาน คอมพิวเตอรในรูปของหลักสูตรภาษาอังกฤษ โดยใชมาตรฐานการใชงาน คอมพิวเตอรมาตรฐานสากล ICDL (The International Computer Driving License) มาเปนเกณฑในการวัดระดับความรู ในปการศึกษา 2559 ที่ผานมา มีอาจารยและบุคลากรของมหาวิทยาลัยไดผานการ ทดสอบและรับรองมาตรฐานในหลักสูตร Baser Module กวา 200 คน และหลักสูตรผูฝกสอน (Train the Trainer) ICDL 2016 เปนจํานวน มากกวา 40 คน ซึ่งเปนสถาบันการศึกษารายแรกของประเทศที่ไดรับ การรับรองมาตรฐานในหลักสูตร ICDL Trainer 2016 อีกดวย 28 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
นอกจากนีส้ าํ นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศยังไดจดั เนือ้ หาบทเรียนออนไลน (E-Learning) ทีเ่ นนใหผเู รียนสามารถเขาเรียน ไดสะดวกทุกที่ ทุกเวลา สงเสริมใหเกิดสังคมแหงการเรียนรู (Learning society) และมีทีมวิทยากรจัดกิจกรรมการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการและ ทดสอบการใชงานคอมพิวเตอรมาตรฐานสากลในหลักสูตร Digital Literacy ประกอบด ว ยวิ ช า Computer Essentials, Online Essentials , Word Processing และ Spreadsheets ควบคูไ ปดวย รวม ทั้งยังไดจัดเตรียมหลักสูตรการฝกอบรมสําหรับนักศึกษาและบุคลากร ที่สนใจ อาทิเชน หลักสูตรการเตรียมความพรอมการใชงานเทคโนโลยี สารสนเทศในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา, หลักสูตรการใชโปรแกรม สํานักงานอยางมีประสิทธิภาพ เปนตน ซึ่งโครงการดังกลาวเปนกลไก สําคัญในการเตรียมความพรอมของนักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่มีความ เปนเลิศทางดานวิชาชีพ บนฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนบัณฑิต นักปฏิบัติบนฐานสมรรถนะวิชาชีพที่มีความพรอมในการออกสูโลกการ ทํางานแบบดิจิทัล (Digital Workplace) ไดอยางมีประสิทธิภาพ
Technology for Life
มทร.ลานนา ไดนําระบบการบริหารแผนงานและงบประมาณ ดวยระบบ Enterprise Resource Planning (ERP) รวมถึงการนําระบบ สารสนเทศมาใชในงานบริหารงานบุคคล งานประกันคุณภาพการศึกษา และจัดทําขอมูลกลางที่เกี่ยวของกับสถิติบุคคล นักศึกษา รวมทั้งพัฒนา ระบบทะเบียนใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุด สวนการใหบริการอินเตอรเน็ตนัน้ ปจจุบันสามารถใหบริการครอบคลุมทุกจุดในมหาวิทยาลัยทั้ง 6 พื้นที่ เขาใชสะดวกรวดเร็ว และมีการแบงชองทางการใชใหเหมาะสมกับงาน และระดับความสําคัญของผูใ ช ซึง่ เปนไปตามนโยบายและเปาหมายของ มหาวิทยาลัยทีม่ งุ เนนการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและทรัพยากร การเรียนรู ขับเคลื่อนนโยบาย E-University เพิ่มศักยภาพการเรียนการ สอน การพัฒนาและสงเสริมการสอนในระบบ E-Learning สนับสนุนการ ขยายแหลงทรัพยากรการเรียนรู สรางพื้นที่และสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อ การเรียนรูในทุกพื้นที่ จัดหาทรัพยากรการเรียนรูใหเพียงพอและเหมาะ สม สนับสนุนการเรียนรูดวยตนเอง มีการแบงปนทรัพยากรการเรียนรู สูชุมชนและนําเทคโนโลยการศึกษาใหมเขามาสูกระบวนการสอน การ เรียนรูแ ละการวิจยั อยางตอเนือ่ ง พัฒนาบุคลากรและนักศึกษาใหสามารถ ใชคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 29
Technology for Life
Development
of Information Technology for Learning and Management
The government has set up a national strategic plan to drive the country towards Thailand 4.0
30 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
development with the aims to enable the country to create and utilize digital technology to its fullest potential in the development of infrastructure, innovation, human capital, and resources in all sectors, so as to propel and develop the economy and society of the country to achieve security, prosperity, and sustainability. The fifth strategy of the plan is concerned with the development of manpower into the age of digital economy and society in order to develop human capital into the digital age with the personnel empowerment in all sectors to acquire the knowledge and skills appropriate for living and working in the digital age. People are to have the ability to develop and use information efficiently with awareness, knowledge, understanding, and digital literacy skills.
Technology for Life
Based on such government plan, the Office of Academic Resources and Information Technology under Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL), has brought about a project to promote the standards of computer use of RMUTL faculty, staff, and students. Under this project, the participants are trained on computer skills in the form of English-language courses using the standards of International Computer Driving License (ICDL) as the evaluation criteria. In the 2016 academic year, there were over 200 faculty and staff of the university who underwent the testing and certification process in Baser Module course and around 40 people certified under the 2016 ICDL’s Train the Trainer course. This has made RMUTL the first educational institute in the country with accreditation standards under 2016 ICDL Trainer program. In addition, the Office of Academic Resources and Information Technology has also provided e-learning content that allows students to access at ease anywhere and anytime, promoting a learning society. A team of trainers has also been set up to provide workshop training and testing of computer skills under international standards in digital literacy courses namely Computer Essentials, Online Essentials, Word Processing, and Spreadsheets. Additional training courses are also provided for students and interested individuals such as the training for students in the cooperative education program to be ready in terms of information technology for the practicum and the training for the effective use of Microsoft Office programs. Such project is an important mechanism in preparing students to become professional graduates on a science and technology basis, that is, to be graduates with professional competence and effective performance in the age of digital workplace.
Furthermore, RMUTL has adopted the planning and budgeting system with Enterprise Resource Planning (ERP) along with the use of information system in human resource management, education quality assurance, and the central database of personnel and student statistics as well as the improvement of the registration system to be maximally effective. In the meantime, the internet coverage is now available to cover all six campus locations with speedy access and routing that suit the types of usage and levels of importance of users. This is in line with the university’s policy and goals that focus on the development of informationtechnology and learning resources, driving the e-university policy. Such policy enhances teaching and learning capabilities, developing and promoting e-learning, supporting the expansion of learning resources, and creating good environment for learning in all areas. Moreover, this policy also aims at providing sufficient and appropriate learning resources, supporting self-learning, sharing learning resources with the communities, and bringing new learning technologies into the teaching process, continuously learning and researching, and developing staff and students to use computers and information technology efficiently and effectively.
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 31
STEM RMUTL
การพัฒนา การจัดการศึกษา
S TEM
แบบ
ทีม STEM RMUTL เกิดจากการรวมตัวของกลุม อาจารยผูสอนในแตละศาสตรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนาทีเ่ กีย่ วของกับการเรียนรูแ บบสะเต็มศึกษา STEM Education ประกอบดวย วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร ที่ตองการพัฒนาการ เรียนรูที่เนนทักษะ (Active Learning) ดานวิชาชีพใหกับ การศึกษาทุกระดับตั้งแตเด็กไปจนถึงผูสูงอายุทั้งการเรียน ในระบบ และนอกระบบ เพื่อเพิ่มสัดสวนการศึกษาดาน อาชีพและใหมีทักษะดานวิชาชีพที่ตรงกับความตองการ ในศตวรรษที่ 21 และเปนที่ตองการของตลาดแรงงานของ ประเทศ ตามนโยบายของรัฐบาลดานการศึกษาที่นําไปสู ไทยแลนด 4.0 โดยทีม STEM RMUTL มีเปาหมายใน การพัฒนาการจัดการศึกษาแบบ STEM 3 ระดับ ดังนี้ 1. สรางความตระหนักของการเรียนรูท เี่ นนทักษะ (Active Learning) วิชาชีพ ดวย STEM Education ให กับการศึกษาทุกระดับทั้งในระบบและนอกระบบ รวมถึงผู สอน ภาคเอกชน และผูที่สนใจ 2. พัฒนาครูผูสอนหรือพี่เลี้ยง (Mentoring Trainer) ใหเขาใจและสามารถนําเอาการเรียนรูท เี่ นนทักษะ (Active Learning) วิชาชีพ ดวย STEM Education ไปใช ในการเรียนการสอน ถายทอดองคความรู และขยายผลตอ ผูเรียน
32 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
3. นํากระบวนการเรียนรูที่เนนทักษะ (Active Learning) วิชาชีพ ดวย STEM Education ไปบูรณาการรายวิชาและหลักสูตร เพื่อนําไปสูการพัฒนา หลักสูตรที่เนนใหมีทักษะดานวิชาชีพที่ตรงกับความตองการในศตวรรษที่ 21 และ ไทยแลนด 4.0 ที่ผานมา ทางทีม STEM RMUTL ไดดําเนินการทั้งใน 3 ระดับ โดยเริ่ม จากการจัดของโครงการ Chevron Enjoy Science รวมกับมูลนิธิ Keenan ใหกบั 2 โรงเรียนไดแก โรงเรียนแมอายวิทยาคม และ โรงเรียนเชียงดาววิทยาคม กับอีก 2 วิทยาลัย ไดแก วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย และ วิทยาลัยเทคนิคแพร รวมจํานวน ผูรวมโครงการกวา 1200 คน โดยการจัดกิจกรรม Smart Home, Smart Farm, Smart Food, Smart Dam และ Automotive ผลตอบรับจากการดําเนินโครงการ ดังกลาว ทําใหปจจุบันทางทีม STEM RMUTL ไดรับการตอบรับจากสังคมหลาย ภาคสวนโดยไดรับเชิญเปนวิทยากรใหกับสถาบันการศึกษาตางๆ ทุกระดับกวา 28 สถาบันจํานวนกวา 3600 คน และถูกนําไปขยายผลสูห ลักสูตรใน 4 สถาบัน ปจจุบนั ทีม STEM RMUTL ยังมีการดําเนินการขยายผลอยางตอเนื่อง ในบทความนี้ ขอนําเสนอในสวนการสรางความตระหนักในสายวิชาชีพ โดยเนนไปที่กิจกรรมที่สอดคลองกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการจัดการศึกษา แบบ STEM นี้ มุงพัฒนาทักษะ 4 C อันไดแก 1. การคิดวิพากษ (Critical Thinking) 2. การคิดสรางสรรค (Creative Thinking) 3. การทํางานเปนทีม (Collaboration) 4. การสื่อสาร (Communication) โดยผาน กิจกรรมและโครงงาน ที่สอดคลองกับวิชาชีพตางๆ และ แนวโนมการพัฒนาเศรษฐกิจในอนาคตของประเทศ อันไดแก เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยียานยนต เทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ เทคโนโลยีดิจิตอล และ เทคโนโลยี วัฒนธรรม ตัวอยางเชนโครงการทีเ่ พิง่ ผานมา ในวันที่ 4-5 สิงหาคม และ 1 กันยายน 2560 ทางทีม STEM RMUTL ไดรว มกับ สวทช. จัดโครงการบูรณาการ STEM กับ ภูมิปญญาทองถิ่น (Local Wisdom) โดยมีผลลัพธเปนโครงงานจากโรงเรียนตางๆ ในเขตจังหวัด เชียงใหม ลําปาง และลําพูน จํานวน 15 ทีม จากโรงเรียน 11 แหง ซึ่งโครงงานที่ผูเขารวมโครงการนําเสนอนั้นจะตองมีพื้นฐานมาจากภูมิปญญาทอง ถิ่น เชน การจักสาน อาหารพื้นเมือง การอนุรักษสิ่งแวดลอม เปนตน ซึ่งโครง งานหรือนวัตกรรมตางๆ เหลานี้ จะตองพัฒนาขึ้นเพื่อตอบคําถาม 5 ขอ ดังนี้
STEM RMUTL
S TE M
E d u c a t i on
SR MT EU M T L
1. นวัตกรรมเดิมคืออะไร 2. นวัตกรรมเดิม มีขอ ดอยอะไรทีต่ อ งแกไข และเราเลือกแกไขอะไร เพราะอะไร 3. มีแนวทางหรือทฤษฎีใดบางที่จะนํามาชวยในการพัฒนา 4. จะประยุกตหลักการตางๆ ของสะเต็มเขาสูนวัดกรรมของเราได อยางไร 5. จะพิสจู นไดอยางไรวา นวัตกรรมของเราดีกวาของเดิม ซึง่ อาจจะ หมายถึงความสามารถในการทํางานทีห่ ลากหลายกวานวัตกรรมเดิม โดยคําถามทั้ง 5 ขอนี้ จะสะทอนความแตกตางระหวาง โครงงาน วิทยาศาสตร และ โครงงาน STEM ที่เนนการแกปญหาจริงในชีวิตประจําวัน ซึ่งควรจะ กินได ใชได และขายได นอกจากนั้นแลว ทางทีม STEM RMUTL ยังไดรับเกียรติจากทางอาชีวศึกษา วิทยาลัยการอาชีพ และการศึกษานอก โรงเรียน โดยเชิญเปนวิทยากรใหความรูการจัดการศึกษาแบบ STEM Education โดยโจทยที่ทางทีมงานไดรับจากสถาบันการศึกษาตางๆ คือ ทําอยางไรที่จะบูรณาการศาสตรทั้ง 4 ใหกับอาชีพ ตัวอยางเชน การศึกษา
นอกโรงเรียนตาก ตองการใหทางทีม STEM RMUTL จัดกิจกรรม ทีเ่ สริมสรางทักษะการเพิม่ มูลคาสินคา เนือ่ งจาก นักศึกษากลุม นี้ มีพื้นฐานที่แตกตางกัน และสวนใหญมักจะทํางานหรือประกอบ ธุรกิจสวนตัวอยูแลว หลังจากที่ผูเขารวมโครงการผานการอบรม แลวสามารถนําความรูที่ไดรับมาไปประยุกตกับการดําเนินชีวิต เชน ผูเขารวมโครงการคนหนึ่ง ปจจุบันเปนหัวหนาแตที่ผานมา ไมใหความสําคัญกับการทํางานเปนทีม และ การแลกเปลีย่ นความ คิดเห็น หลังจากสิน้ สุดโครงการ ผูเ ขารวมโครงการสะทอนใหทาง ทีมงานไดรับทราบวา เขาไดเห็นประโยชนของการทํางานเปน ทีมและคุณคาของความคิดเห็นที่หลากหลาย เขาจึงไดมีการปรับ เปลี่ยนแนวคิดโดยฟงความคิดเห็นตางๆ ของผูรวมงาน สําหรับรายละเอียดในการดําเนินการ รวมถึงปจจัยแหง ความสําเร็จ ทางทีม STEM RMUTL ขอนําเสนอในโอกาส ตอไปครับ ทีม STEM RMUTL
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 33
STEM RMUTL
STEM RMUTL
34 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
STEM RMUTL
Education STEM Development STEM RMUTL is co-operated by our lecturers of science, technology, engineering, and mathematics who would like to develop vocational active learning to people of all age groups in order to create new jobs and vocational skills necessary for the 21st century. This will enhance the policy “Thailand 4.0” proposed by the government in 3 levels; raising awareness, mentoring trainers, and applying active learning with STEM Education. This mission was achieved when the university worked side by side with Chevron Enjoy Science and Keenan Foundation at Mae Ai Witthayakom School, Chiang Dao Witthayakom School, Chia Rai Technical College, and Phrae Technical College. There were 1,200 students who joined our activities. Our trained lecturers have later been invited to conduct STEM activities in more than 28 institutions. STEM Education emphasizes on 4C of the 21 st century skills which are critical thinking, creative thinking, collaboration, and communication. The projects and activities are correlated with different vocations and the trend of the economic development of our country such as automotive technology, food technology, health technology, digital technology, and cultural technology. As a result of using STEM in 11 schools, 15 teams created STEM projects related to local wisdom. These
projects and innovations needed to meet the following 5 questions. 1. What is the original innovation? 2. What is the defect of the original innovation? What and why should it be improved? 3. Are there any concepts or theories to be applied for development? 4. How can STEM be applied in the newly created innovation? 5. How can we prove that the newly created innovation is better than the original one? These five questions reflect the difference between scientific projects and STEM projects which emphasizes solving everyday life problems. Moreover, STEM RMUTL team was invited by vocational colleges to conduct STEM education activities. What was expected by the institutions was how to integrate the four sciences to professions. The details for the operation of the activities and achievements of STEM RMUTL team will be presented in the future. Dechathorn Pojchanaphong (translator)
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 35
Social Engagement
ตามที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.)ล า นนา ได เข า ร ว มโครงการส ง เสริ ม บุ ค ลากรด า นวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมจากมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัย ของภาครั ฐ ไปปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความ สามารถการแข ง ขั น ในภาคเอกชน (Talent Mobility) ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหง ชาติ (สวทน.) ภายใตหนวยงานรวมดําเนิน งานโครงการ Talent Mobility ของคณะ วิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ซึ่งเปนหนวย งานในการติ ด ต อ ประสานงาน ตลอดจน สรรหาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ ตามความ
ต อ งการของภาคอุ ต สาหกรรมโดยเฉพาะ กลุมอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) กลุมวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพื่อเปน ยกระดับความสามารถทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมโดยจะสงเสริมและ สนับสนุนใหอาจารย เจาหนาที่ นักศึกษา เขาไป ปฏิบัติงานในสถานประกอบการในลักษณะ ทํ า งานเต็ ม เวลาอย า งน อ ย 1 วั น /สั ป ดาห ภายในระยะเวลา 3- 24 เดือน ปจจุบันมีจํานวนอาจารยที่ออกไป ปฏิบัติงานทั้งสิ้น 33 คน ซึ่งอาจารยสวนใหญ จะเปนผูมีความเชี่ยวชาญดานวิศวกรรม การ
ออกแบบเครือ่ งจักร ดานวิทยาศาสตร และดาน บริหารธุรกิจและการจัดการขอมูล ตามลําดับ และมีนักศึกษาผูชวยโครงการกวา 35 คน เขา รวมเปนผูช ว ยนักวิจยั คณะทํางานได เขาสํารวจ โจทย ปญหาในสถานประกอบการกวา 115 ริษัท ในเขตภาคเหนือตอนบน ไดแก จังหวัด เชียงใหม ลําพูน ลําปาง เชียงราย นาน พิษณุโลก และตาก พบวา สถานประกอบการที่ตองการ ความช ว ยเหลื อ ส ว นใหญ เ ป น อุ ต สาหกรรม เกษตรและอาหารแปรรูปซึ่งไดรับความรวมมือ และรวมดําเนินโครงการกับทางมหาวิทยาลัย เปนอยางดี
“อาจารย ช ณิ ช า จิ น าการ อาจารยคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ลานนา ลําปาง ”
เปนผูเชี่ยวชาญดานการแปรรูปผลิตภัณ อาหาร กระบวนการผลิต เปนที่ ปรึกษาในเรือ่ งระบบการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต ของโรงงานศุภลักษณ จังหวัดลําปาง กลาววา “โครงการที่ทําเปนโครงการที่ศึกษากระบวนการผลิตนํ้าพริกหนุมและ หมูยอ เพื่อพัฒนาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษา ปญหาที่เกิดขึ้น คือผลิตภัณฑ ทั้งสองชนิดมีปญหาในเรื่องของอายุและคุณภาพในการเก็บรักษา อาจารยจึงเขา มาชวยพัฒนากระบวนการผลิต เพื่อใหผลิตภัณฑหมูยอและนํ้าพริกมีคุณภาพที่ดี ขึ้น จากเดิมที่ไมสามารถเก็บรักษาไดนาน ก็สามารถยืดระยะการเก็บรักษาไดนาน ขึ้น จากผลการทํางานก็พบวาคุณภาพของผลิตภัณฑก็ดีขึ้น อายุก็สามารถยืดไดถึง ประมาณ 1 เดือน”
36 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Social Engagement
อาจารยชณิชา กลาวตออีกวา จากที่ไดรวมงานกับทางผู ประกอบการก็รูสึกวาไดเปนสวนหนึ่งที่ไดเขามาชวยใหผูประกอบการ สามารถแกไขปญหาที่เขามีอยูในกระบวนการผลิตได ซึ่งตรงนี้ก็ทําให เขาสามารถกาวเขาไปตอในกระบวนการผลิตที่มีคุณภาพ นอกจากนี้ยัง สามารถบูรณการเขากับการเรียนการสอนไดอีกดวย โดยใหนักศึกษามา ชวยงานในโครงการจากปกตินกั ศึกษาก็เรียนแตในหองเรียนทีม่ แี ตทฤษฎี หรือปฏิบตั ติ ามหองปฏิบตั กิ าร แตตรงนีน้ กั ศึกษาสามารถไดประโยชนจาก การทีเ่ ขาไดเขามาเห็นสถานประกอบการจริง ปญหาจริง ไดชว ยเหลือ ได เขามาทํางานจริงๆ เปนการฝกฝนจากโรงงานจริง ๆ ก็จะเกิดประโยชน เปนประสบการณใหแกนักศึกษาได
“ผศ.สุรศักดิ์ อยูสวัสดิ์ อาจารยสาขาวิชาวิศวกรรมไ า คณะวิศวกรรมศาสตร ”
ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาชุดทดลองไฟฟา ซึ่งไดปฏิบัติงานรวมกับ บริษัท ออโต ไดแดกติค จํากัด กรุงเทพมหานคร กลาววา... “กอนหนานี้ผมไดรับโจทยจากทางสถานประกอบการเกี่ยวกับการพัฒนา ชุดทดลอง ชุดฝก และครุภัณฑตางๆที่เกี่ยวของกับดานการศึกษาทาง ดานวิศวกรรม ไฟฟา ตอนนีป้ ระเทศไทยของเรา ขาดผลิตภัณฑเหลานีจ้ าํ นวนมาก ตองนําเขาจากตาง ประเทศ และมักจะมีปญหาในการซอมบํารุงตางๆ และในยุคนี้เปนยุคที่ประเทศของ เรานัน้ มีงบประมาณจํากัด เพราะฉะนัน้ หากเราจะซือ้ ของจากตางประเทศนัน้ จะทําให มีชดุ ทดลองทีไ่ มเพียงพอตอการเรียนการสอน อีกประการหนึง่ คือปจจุบนั เมืองไทยเรา เองพวกชุดทดลองตางๆนั้น สามารถหาคนทําไดนอย บริษัทที่มีอยูในประเทศไทยก็มี เพียงแค 2-3 บริษัท และยังมีผลิตภัณฑที่ไมคอยหลากหลายซึ่งหนึ่งในนั้นคือ บริษัท ออโต ไดแดกติค จํากัด ที่ทําเกี่ยวกับครุภัณฑทางดานการศึกษามากวา 10 ป โดยจะ นําเขาสินคาจากตางประเทศเปนสวนใหญจากโจทยดงั กลาวคิดวาคนไทยนาจะพัฒนา ผลิตภัณฑขนึ้ มาเอง ไดเพราะฝมอื ของคนไทยสามารถสูก บั ตางชาติไดอยางแนนอน จึง เกิดการรวมมือกับบริษัท เพื่อพัฒนาชุดทดลองทางดานวิศวกรรมไฟฟานี้ขึ้น”
“ผมมีความรูส กึ สบายใจและเต็มใจทีจ่ ะไดรว มงาน กับทางบริษัท โดยไดรับการสนับสนุนจากทางรัฐบาล ทาง มหาวิทยาลัย และคณะวิศวกรรมศาสตร ทําใหทํางานได อยางเต็มที่ และคิดวาตรงจุดนีจ้ ะทําใหชอื่ เสียงมหาวิทยาลัย มีมากยิง่ ขึน้ นอกจากนีเ้ รานํานักศึกษามาชวยงานดวย ทําให เขาไดรับความรูอยางเต็มที่ ทราบถึงการทํางานในภาค อุตสาหกรรมวาเปนอยางไร การออกแบบผลิตภัณฑตางๆ จากบนกระดาษทําใหออกมาใชสอนได ตรงนี้นักศึกษาจะ ไดประสบการณตรง ประสบการณจริง ถือวาไดประโยชน ทุกฝายทั้งนักศึกษา นักวิจัย และบริษัท” ผศ.สุรศักดิ์ กลาว เสริม
“วาที่รอยโทสุรพิน พรมแดน
อาจารยสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร ผูเชี่ยวชาญดานพลังงานความรอน และอุปกรณทางดานเครื่องจักรกลเหมืองแร
”
ไดปฏิบัติงานรวมกับหางหุนสวนจํากัดแมเมาะวิศวกรรมเหมืองแร ภายใต โครงการพัฒนาหัวเจาะสําหรับงานเจาะเหมือง เพื่อบรรจุวัตถุระเบิดเลาถึงรายละเอียด การทํางานวา... “อยางแรกเลยคือ ผมรูสึกไดวามีการพัฒนาศักยภาพของตัวเองเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากการนําความรูที่มีอยูสอนนักศึกษาและไดนําความรูนั้นมาประยุกตใช หรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจริงในสถานประกอบการ นอกจากนี้ยังรูสึกดีที่ไดเชื่อม ความสัมพันธระหวางสถานประกอบการและมหาวิทยาลัยเพิ่มมากขึ้น
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 37
Social Engagement
ไดปฏิบัติงานรวมกับหางหุนสวนจํากัดแมเมาะวิศวกรรมเหมืองแร ภายใตโครงการ พัฒนาหัวเจาะสําหรับงานเจาะเหมือง เพื่อบรรจุวัตถุระเบิดเลาถึงรายละเอียดการทํางานวา... “อยางแรกเลยคือ ผมรูสึกไดวามีการพัฒนาศักยภาพของตัวเองเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากการนําความรูที่มีอยูสอนนักศึกษาและไดนําความรูนั้นมาประยุกตใช หรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจริงในสถานประกอบการ นอกจากนี้ยังรูสึกดีที่ไดเชื่อม ความสัมพันธระหวางสถานประกอบการและมหาวิทยาลัยเพิ่มมากขึ้น และหากเรามั ว แต จั บ หนั ง สื อ สอนเด็ ก แต ใ นตํ า รา ไม ย อมเอาตั ว เองออกมาเจอ ประสบการณขางนอก ก็จะไมรูวาตอนนี้เทคโนโลยีกาวไปถึงไหน ถาหากเราออกมาทํางานรวม กับสถานประกอบการขางนอกแลวก็จะไดความรูเพิ่มเติมและนําความรูนั้นกลับมาสอนนักศึกษา ในรั้วมหาวิทยาลัยไดอีกทาง ซึ่งโครงการTalent Mobility นี้เปนโครงการที่ดีมาก ไดสนับสนุน ทั้งนักศึกษาและอาจารยไดมาพัฒนาความรูในสถานประกอบการจริง เพื่อแกไขปญหาที่มีใหดีขึ้น ทายนี้อยากฝากถึงอาจารยที่จะเขารวมโครงการวา การหาโจทย ปญหารวมกับสถาน ประกอบการ ซึ่งโดยปกติแลวโครงการ TM จะมีอยู 2 รูปแบบ อันแรกคือ สถานประกอบการกับ
“ผศ.ดร.นํ้ามนต โชติวิศรุต อาจารยสาขาวิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร ผูเชี่ยวชาญดาน T e และ Mac e Design
”
อาจารยหัวหนาโครงการพัฒนาเครื่องบีบสกัดนํ้ามันแบบเย็นที่สามารถ ควบคุมอุณหภูมิไดสําหรับผลิตภัณฑเพื่อการบริโภคพัฒนาเนื้องาน รวมกับ หาง หุนสวนจํากัดเพื่อนพลังงาน จังหวัดเชียงใหม กลาวเสริมตอนทายวารูสึกดี และ เปนเกียรติมากที่ไดทํางานรวมกับสถานประกอบการนี้ โดยที่เราไดนําความรูจาก มหาวิทยาลัยมาใชใหเกิดประโยชนในดานอุตสาหกรรมจริง นอกจากนี้ยังไดรับ ความรูจากภาคอุตสาหกรรมกลับไปสอนนักศึกษาในหองเรียนอีกดวย ความรูใน แตละวันที่ไดมาสามารถนํากลับไปเลาตอใหนักศึกษาฟง ซึ่งมันเปนสิ่งที่มีคุณคา มาก และนักศึกษาทุกคนตั้งใจฟงอยางดี เปนประโยชนตอการเรียนการสอน และ สามารถนําไปพัฒนาการเรียนการสอนของอาจารยไดดวย
ในปการศึกษา 2561 นี้ โครงการ Talent Mobility ไดรวมมือกับ โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) ซึ่งจะเปน อีกทางเลือกหนึ่งใหแกนักวิจัยและสถานประกอบการภาคเอกชนไดทํางาน รวมกัน หากอาจารยและนักวิจัยทานไหนสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเขารวมโครงการ การเขียนขอเสนอโครงการ หรือมีคําถามตาง ๆ สามารถติดตอไดตาม อีเมล tmrmutl@gmail.com 38 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Social Engagement
Rajamangala University of Technology Lanna took part in the encouragement of personnel which are scientific, technology, and innovation programs under the operation of the Talent Mobility project of Faculty of Engineering RMUTL Lanna by encouraging and supporting the professors, authorities, and students to work in the establishments at least one day per week within 3-24 months. Now, 33 lecturers who are experts in engineering, machine design, scientific, and business administration, and innovation management with 35 student assistants explored the problems in 115 workplaces and found that they required help mostly in Argo-industry and processed food. Ms. Chanicha Jinakan, Lecturer of the Faculty of Sciences and Agricultural Technology of RMUTL Lampang said “My project studied Nam Prik Num (Northern Thai Green Chili Dip) and Mooyor (white pork sausage). It was found that both products had the same problems which were short shelf life and quality for storage. Based on the result, we found better product quality and we were able to prolong the product shelf life for about one mount. In addition, the students gained more knowledge experiencing the real problems and situations. Moreover, this project could be adapted to a teaching system.” Asst. professor Surasak Yuswad of Electrical Engineering, who co-operated with AUTO DIDACTIC CO., LTD for this project, said “I’ve got the problems from the workplace about the development of a testing set, a training set, and durable of equipments that involved with Electrical engineering. Nowadays, Thailand cannot manufacture of those products. We have to import those from aboard and we also have a problem with maintenance. I think Thai people should develop products by ourselves. As a result, the cooperation between the workplaces occurred.”
Acting Lt. Surapin Promdan, Lecturer of Mechanical engineering who cooperated with Mae Moh Mining Engineering Limited Partnership said “in my point of view, I felt I gain more potential besides sharing my knowledge to students and adapt it to daily life unless it was a pleasure to strengthen the relationship between workplaces and the university.” Asst. Prof. Dr.Nammon Chotiwisarut, Mechanical engineering major, added at the end that “I feel pleased and honored to work in this workplace.” In academic year 2018, the Talent Mobility project cooperated with Innovation and Technology Assistance Program (ITAP) provide a good opportunity for researchers and private sectors to work together. For more details, please contact E-mail tmrmutl@gmail.com
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 39
ROYAL P ec
สบสานปณิธาน
น ิ ตามรอย ท า พ อ สานตองานโครงการพระราชดําริ โครง ารหลวง ไดเริ่มขึ้นเปนกิจการเลกๆ ซึ่งไมเปนโครงการ แตเปนการไปเที่ยวมากกวา คือไปเที่ยวตามหมูบาน
ตางๆ กไดเหนวาควรจะชวยประชาชนในการอาชีพ จึงไดนําสิ่งของไปใหเขาเพื่อที่จะพัฒนาการอาชีพของชาวบาน ตอมากไดเพิ่ม ขึน้ มีผเู ชีย่ วชาญและหนวยงานราชการไดเขามาชวย และมีคนสวนหนึง่ ชวยเพือ่ ทีจ่ ะใหการสงเสริมความเปนอยูข องประชาชนดีขนึ้ ตอมามีการรวมมือของทางองคกรตางประเทศ ตลอดจนรัฐบาลตางประเทศดวย จึงขึ้นมาเปนโครงการที่เรียกวา โครงการ หลวง โครงการหลวงเริ่มตนจากโครงการที่ประกอบดวยผูที่เปนอาสาสมัครและเปนขาราชการในกระทรวง ทบวง กรมตางๆ ของไทย และเปนผูเชี่ยวชาญที่มาจากตางประเทศ ในที่สุดเปนโครงการที่มากมายใหญโตขยายออกไปจากการชวยประชาชนใน หมูบานในวงจํากัด จนกระทั่งเปนการชวยเหลือเทากับเปนภาคทีเดียว จึงตองมีการบริหารที่ดีขึ้น และกมีคนไดชวยบริจาคเงินและ สิ่งของ เพื่อที่จะใหโครงการนี้ดําเนินไปตามจุดประสงค คือ ความกินดีอยูดีของประชาชน ตอมาจึงไดเปลี่ยนแปลงเปน มูลนิธิ โครงการหลวง เพื่อที่จะใหกิจการนี้ดําเนินตอไปไดอยางสมํ่าเสมอ ในการที่ไดรับความรวมมือจากสวนราชการตางๆ อยางดี โดยเอื้อเ อบุคลากรและงบประมาณที่จะชวยใหทําไดตามจุดประสงค...”
พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 24 กุมภาพันธ 2537 ณ พระตําหนักจิตรลดา รโหฐาน ในโอกาสที่ประธานมูลนิธิโครงการหลวงนําคณะบุคคลเขาเฝาฯ ทูลเกลาถวายเงิน และนอมเกลาฯ ถวายสิ่งของเพื่อสนับสนุนกิจการมูลนิธิ โครงการหลวง
40 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
ROYAL P ec
ศูนยความรวมมือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรีเพื่อมูลนิธิโครงการหลวงและกิจกรรมวิชาการ จึงเกิดขึ้น ภายใตกรอบการ ทํางาน วิศวกรรม พลังงานและสิ่งแวดลอมเพื่องานเกษตรกรรม (Engineering Energy and Environment for Agriculture : 3Es for A) เพื่อสนับสนุนกิจกรรมของโครงการหลวงและ มูลนิธิโครงการหลวง โรงงานหลวงอาหารสําเร็จรูป ตั้งแตป พ.ศ.2545 มูลนิธิโครงการหลวง ประกอบดวยสถานีวิจัยและศูนยพัฒนาโครงการหลวงจํานวน 38 แหง ในเขตจังหวัดภาคเหนือ ไดแก เชียงใหม เชียงราย แม อ งสอน พะเยาและลําพูน ใน 20 อําเภอ 275 หมูบ า นและประชากร 100,000 คน ครอบคลุมพืน้ ทีป่ ระมาณ 2,000 ตารางกิโลเมตร ดําเนินการถายทอดเทคโนโลยีให เกษตรกร งานอารักขาพืช การผลิตและการตลาด และรับซื้อผลผลิตของเกษตรกร เพื่อสงเสริม ใหเกษตรกรมีรายได พัฒนาปจจัยพื้นฐานและคุณภาพชีวิตของเกษตรกรดานการศึกษา สังคม สาธารณสุข วิจัยพืช และปศุสัตวเมืองหนาว และถายทอดเทคโนโลยีใหเกษตรกร นิตยสาร ราชมงคลลานนา 41
ROYAL P ec
42 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
ROYAL P ec
“ตามรอยเทาพอ” นิตยสาร ราชมงคลลานนา 43
ROYAL P ec
44 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
ROYAL P ec
มหาวิทยาลัยไดใหความสําคัญตอการนําโครงการพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ ทุกพระองค มาเปนแนวทางในการปฏิบตั เิ พือ่ สนองตอบพระราชปณิธานทีอ่ ยาก ใหประชาชนผูยากไรมีความสุข อยูดีกินดี ดังนี้ ในป 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดรับพระมหากรุณาธิคุณ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชานุมัติใหดําเนินงาน จํานวน 4 โครงการประกอบดวย โครงการที่ 1 การพัฒนาพันธุแ ละรักษาพันธุพ ชื ผักและ พืชอาหาร 11 ชนิด โครงการที่ 2 การผลิตเมล็ดผักประจําป 2559 โครงการที่ 3 การบริหารจัดการควบคุมศัตรูพืชอยาง ปลอดภัยในศูนยพัฒนาพันธุพืชจักรพันธเพ็ญศิริ โครงการที่ 4 การผลิตแตงกวาผลสั้น แตงกวาผลยาว มะเขือเทศเบอร 2 และเบอร 4 ผลสด ตามทีส่ ว นสนับสนุนมูลนิธโิ ครงการหลวง มทร. ลานนา เชียงราย ไดสนับสนุนงานมูลนิธโิ ครงการหลวง และโรงงานหลวง อาหารสําเร็จรูปที่ 2 โดยในเบื้องตนเปนการแกไขปญหาทาง ดานวิศวกรรมและสิ่งแวดลอม จากนั้นไดมีวัตถุประสงคในการ ดําเนินงานเที่จะแกไขปญหาทางดานชางโดยการฝกอบรมเชิง สรางความสามารถทางดานชางใหกบั เจาหนาทีแ่ ละประชาชนใน ชุมชนพื้นที่ใกลเคียง ซึ่งโครงการบางสวนเปนโครงการสืบเนื่อง มาจากปงบประมาณ 2555 ซึ่งไดรับผลตอบรับเปนอยางดีจาก ผูเขารับการอบรม และเพื่อเปนการขยายผลของโครงการใหมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นทางคณะอาจารยผูปฏิบัติงาน ของสวน สนับสนุนมูลนิธโิ ครงการหลวงจึงไดมกี ารจัดโครงการทีเ่ นนความ สําคัญทางดานการใหบริการวิชาการแกชุมชน รวมไปถึงการ บูรณาการทางการศึกษาทีไ่ ดนาํ นักศึกษาเขารวมการปฏิบตั งิ าน สงผลใหเกิดผลงานทางดานการวิจัยเพื่อมหาวิทยาลัยฯ อีกดวย โดยโครงการมีดังตอไปนี้ 1. โครงการอบรมเชิงป ิบัติการติดตั้งและ อมบํารุง อุปกรณไ า ณ ศูนยมูลนิธิโครงการหลวงหวยโปง ต.เจดียใหม อ.เวียงปาเปา จ.เชียงราย โดยมีเจาหนาที่ประจําศูนยมูลนิธิ โครงการหลวงและประชาชนที่ใหความสนใจจาก ศูนยมูลนิธิ โครงการหลวง 4 แหงในจังหวัดเชียงราย ไดแก ศูนยมูลนิธิ โครงการหลวงหวยโปง ศูนยมูลนิธิโครงการหลวงแมปูนหลวง ศูนยมูลนิธิโครงการหลวงหวยนํ้าริน และศูนยมูลนิธิโครงการ หลวงนํ้าขุน โครงการมีวัตถุประสงค เพื่อฝกทักษะวิธีการติด ตั้งระบบไฟฟาไดอยางถูกตองตามมาตรฐานการติดตั้ง เรียนรู ถึงการซอมบํารุงรักษาระบบไฟฟาเชิงปองกันและวางแผนการ ซอมบํารุงเคลือ่ นที่ พรอมทัง้ สํารวจและเก็บขอมูลทัว่ ไปของศูนย มูลนิธิโครงการหลวง และหมูบานในเขตความรับผิดชอบดูแล ของศูนยมูลนิธิโครงการหลวงนั้นๆ โดยวิทยากรในการอบรม คือ คณะอาจารยผูปฏิบัติงานในสวนสนับสนุนมูลนิธิโครงการ หลวง มทร.ลานนา เชียงราย นําโดย อาจารยนิคม ธรรมปญญา อาจารยประจําสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา อีกทั้งยังนํานักศึกษา
ระดับ ปวส.สาขาวิชาไฟฟาไปเปนผูช ว ยในการอบรมในครัง้ นีอ้ กี ดวย 2. โครงการฝกอบรมเชิงป บิ ตั กิ าร การทําถุงกา ชีวภาพ ณ พื้นที่ตัวอยางการเรียนรูทางการเกษตร(สถานประกอบการ จริง) ภายใตการควบคุมดูแลของศูนยมูลนิธิโครงการหลวงสะ โงะ ต.ศรีดอนมูล อ.เชียงแสน จ.เชียงราย โดยโครงการดังกลาว เปนโครงการขยายผลมาจากโครงการในปงบประมาณ 2555 ซึง่ จากทีส่ ว นสนับสนุนมูลนิธโิ ครงการหลวง มทร.ลานนา เชียงราย ไดจัดการใหบริการวิชาการไปแลวนั้น ไดรับผลการตอบรับกลับ มาจากเกษตรกรในชุมชน และเปนความตองการของเจาหนาที่ ศูนยมูลนิธิโครงการหลวงทั้ง 8 ศูนย ที่มีความตองการ หา พลังงานทดแทนทีส่ ามารถทําใหประหยัดคาใชจา ยและลดตนทุน การผลิตอีกดวย ซึ่งเหตุผลที่ เกษตรกรภายใตการดูแลของศูนย มูลนิธโิ ครงการหลวงสะโงะ มีความประสงคใหวทิ ยากรถายทอด องคความรูเกี่ยวกับการผลิตและการใชถุงกาซชีวภาพมากกวา เกษตรกรที่อาศัยอยูภายใตการดูแลของศูนยมูลนิธิโครงการ หลวงศูนยอ่ืนๆ นั้น เพราะพื้นที่โดยสวนมากของศูนยมูลนิธิ โครงการหลวงสะโงะ เปนที่ราบมีการเลี้ยงหมู ซึ่ง มูลของหมูถือ เปนปจจัยสําคัญตอการผลิตกาซชีวภาพ ในขณะทีพ่ นื้ ทีข่ องศูนย มูลนิธโิ ครงการหลวงศูนยอนื่ ๆ เปนภูเขาสลับกันการผลิตและการ ดูแลเกษตรกรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จึงเนนทางการปลูกพืชผัก เมืองหนาว มากกวาการเลี้ยงสัตว ทั้งนี้ ทางคณะผูปฏิบัติงาน ของสวนสนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงก็ไดถายทอดองคความ รูแ ละการบริการวิชาการใหกบั ตัวแทนศูนยมลู นิธโิ ครงการหลวง ทั้ง 8 ศูนย เพื่อเปนแนวทางในการปรับใชเพื่อพัฒนาศูนยมูลนิธิ โครงการหลวงตอไปในอนาคต 3. โครงการฝกอบรมเชิงป ิบัติการ การสรางเตาแกส ชีวมวลใชในครัวเรือน โดยใชสถานทีข่ องศูนยมลู นิธโิ ครงการหลวง สะโงะ ต.ศรีดอนมูล อ.เชียงแสน จ.เชียงราย เปนศูนยกลางใน การฝกอบรมใหกับเจาหนาที่ตัวแทนจากศูนยมูลนิธิโครงการ หลวง ทั้ง 8 ศูนย ที่สวนสนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวง มทร. ลานนา เชียงราย ไดรับผิดชอบ และประชาชนในพื้นที่ใกลเคียง ทีไ่ ดใหความสนใจเปนอยางมาก โครงการมีวตั ถุประสงค เพือ่ การ ถายทอดองคความรูแ ละสรางวิธกี ารทีจ่ ะชวยในการประหยัดเชือ้ เพลิง คือการหาวิธกี ารผลิตเตาทีท่ าํ ใหเกิดการประหยัดพลังงาน มีคณ ุ ภาพสูงและการนําวัสดุทเี่ หลือใชมาเปนเชือ้ เพลิงทางเลือก ใหมของศูนยมูลนิธิโครงการหลวงตางๆ รวมไปถึงเกษตรกรชาว บานที่ตองการประหยัดคาใชจายทําใหมีมีรายไดเพิ่มขึ้นและมี คุณภาพชีวิตที่ดี และเพื่อเปนการกระตุนใหชุมชนเห็นถึงความ สําคัญดานการจัดการพลังงานในครัวเรือน การพึง่ พาตัวเองดาน พลังงานอยางยั่งยืนสืบไป นิตยสาร ราชมงคลลานนา 45
ROYAL P ec
46 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
ROYAL P ec
Following His majesty’s Footsteps by Carrying on the Royal Initiation Project
“The Royal project cooperated with
international organization and foreign government. To begin from a tiny project by volunteers, government officer and international expert. Moreover, expanded the project by helping people in villages having more comfortable life. Later, it became the Royal Project Foundation,” remark of the King Rama IX on the occasion that the president of The Royal project with the foundation committees presented the money to support The Royal project’s activities on 24 February, 1994 at Chitralada Villa Royal Residence. The Royal project consists of 38 research stations and Royal Project Development Centers in the North of Thailand such as Chiang Mai, Chiang Rai, Mae Hongsorn, Phayao, and Lamphunprovince from 20 districts, 275 villages and 100,000 people. This covers an area of approximately 2,000 km to transfer technology to agriculturists for earning more income, basic necessities and better quality of life. Rajamangala University of technology Lanna has brought the Royal project of King Rama IX and royal members to be a guidedline for a happy life of poor people.
In 2016, the university was granted the permission from Her Royal Highness Princess Maha ChakriSirindhorn for 4 projects which were 1. Development and preservation of 11 types of plant 2. Production of vegetable seeds year 2016 3. The safety Management of pest control in Prince Chakraband Pensiri Center for Plant Development 4. The growing of cucumber, Japanese cucumber, size 2 and size 4 tomato The projects have solved the problem of engineering and the environment. In addition, it also solvs the problem of insufficiency of technicians by training them the technical techniques to officer and people in community with 3 project which are: 1. The installation and maintenance of electrical equipment workshop at Jedee-mai Sub-district, Wiang Pa Pao District, Chiang Rai Province and others 4 Royal Projects; Luang Huai Pong, Mae Pon Luang, Haui Nam Rin, and Luang Nam Khun. 2. The production of biogas bag workshop at Luang Sa Ngo Royal Project station. 3. The production of biomass gas stove workshop at Sri Don Muang sub-district, Chiang San district, Chiang Rai province.
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 47
Hands –on Graduate
ารมไกเนื้อระบบปด
Lของบัณฑิตมีนักชปฏิีวบัติติ a
-
น า านศึกษาคง ตังคํานี วเพ่อเปนเปาหมายใน การ าํ เนินงาน องการ ั การศกษาในสายวิชาชีพ ทีต่ อ งมุง เนนการ ก การป ิ ัติ เพ่อใหเกิ ความเชี่ยวชา ล สามาร นําความรูที่ ากการเรียน นํา ปปร กอ อาชีพในอนาคต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.)ลานนา เปนสถาบัน การศึกษาที่จัดการศึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในสาย วิชาชีพซึ่งเนนทักษะการฝกปฏิบัติเปนสําคัญ ความรวมมือจากสถาน ประกอบการจึงเปนสวนชวยในการพัฒนาทักษะของนักศึกษา มทร. ลานนา ลําปาง โ ยความรวมมอ อง ริษัท เ ทาโกร ภาคเหนอ เกษตรอุตสาหกรรม ํากั สา าลําปาง รวมกันสรางโรงเรอนเลียง กเนอร ป (Evaporative Cooling System ) เพือ่ จัดการเรียนการสอนใหแก นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ในการดําเนินโครงการฝกปฏิบตั ขิ องนักศึกษา (Hands-on) การเลีย้ ง ไกเนือ้ ในโรงเรือนระบบปด เพือ่ เปนการฝกปฏิบตั นิ กั ศึกษาหลักสูตรสัตว ศาสตรใหเกิดความเชีย่ วชาญในการปฏิบตั งิ านจริง ซึง่ “สิ่งที่นักศึกษา จะไดคือ ไดทํา จนเกิดความชํานา และพั นาตอยอดจนเกิด อาชีพในอนาคตได” โดยมี ดร.ปยมาสฐ ตัณฑเจริญรัตน เปนหัวหนา งานงานฟารมแผนกไกเนื้อและไดอธิบายรายละเอียดของระบบการ ทํางานของฟารมไกเนื้อเปนขั้นตอน
การจัดการ ารมไกเนื้อระบบปด
โรงเรือนไกเนื้อระบบปดนั้นใน 1 ป จะมีการวางแผนจัด นักศึกษาแตละรุนเขามาดูแลในสองชวงเวลา เชาและชวงเย็น ซึ่งใน
48 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
บัณ ิตนักป ิบัติ หนึ่งปจะมีนักศึกษาที่เขาไปฝกปฏิบัติ ประมาณ 60 คน ซึ่งจะมีไกใน โรงเรือนจํานวน 4 รุน นักศึกษาจะไดศึกษาถึงการเลี้ยงไกใหไดตาม ตามมาตรฐานฟารมไกเนื้อซึ่งกําหนดโดยกรมปศุสัตว เรียนรูการลาง และทําความสะอาดโรงเรือน การฉีดพนนํ้ายา าเชื้อ การจัดการเตรียม โรงเรือนสําหรับลูกไก การคํานวณพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสมกับจํานวนลูกไก การ คํานวณจํานวนอุปกรณการใหอาหารและนํ้าในโรงเรือนการใชระบบให อาหารและระบบใหนาํ้ แบบอัตโนมัติ การเตรียมอุปกรณสาํ หรับกกลูกไก การเลี้ยงลูกไกเล็ก และการดูแลไกแตละชวงอายุ การวัดและการปรับ อุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมภายในโรงเรือน การปรับความเร็วลม ในโรงเรือนศึกษารูปแบบของอาหารและการใหอาหารไกเนือ้ ศึกษาสูตร อาหารสําหรับไกเนือ้ ในชวงอายุตา งๆ ศึกษาลักษณะสิง่ แวดลอมทีเ่ หมาะ สมในการเลี้ยงไกเนื้อในชวงอายุตางๆจนกระทั่งจําหนายไก การจับไก และการลางทําความสะอาดโรงเรือนเพือ่ า เชือ้ หลังจากจําหนายไกแลว การจดบั น ึ ก การเลี้ยงและสถิตตางๆ รวมทั้งการ คํานวณอัตราตางๆในการจัดการฟารมไกเนื้อ นักศึกษาจะไดฝกทํา บันทึกงานฟารม และคํานวณอัตราตางๆเชนปริมาณการกินอาหาร นํ้า หนักเริ่มตน นํ้าหนักแตละสัปดาห นํ้าหนักสัปดาหสุดทายกอนจับไก ความสมํ่าเสมอของฝูง อัตราการเจริญเติบโตตอวัน อัตราการเปลี่ยน อาหาร และคํานวณตนทุน รายรับรายจายตางๆของฟารม การการ า บา ร ร นตามมาตรฐานฟารมไกเนือ้ การทํา วัคซีน การใชยาและไวตามินในการเลีย้ งไกเนือ้ การสังเกตพฤติกรรมไก เนือ้ ศึกษาลักษณะอาการรวมถึงวิธกี ารตางๆ ในกรณีทเี่ กิดการปวยและ การตาย การเผาทําลายซาก
Hands –on Graduate
โครงการ
Ma age
โครงการ Ma age เปนโครงการทีจ่ ดั ทําขึน้ เพือ่ ใหนกั ศึกษา ที่มีความสนใจในการเลี้ยงและการจัดการฟารมไกเนื้อในโรงเรือนระบบปดและ สมัครเขารวมโครงการ โครงการนี้ไดเริ่มขึ้นในภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2559 โดยมีนักศึกษาเขารวมโครงการโดยสมัครใจทั้งหมด 4 คน เปนนักศึกษา ชาย 3 คน และนักศึกษาหญิง 1 คน และนักศึกษาที่เขารวมโครงการนี้ผานการ เรียนวิชาการผลิตสัตวปก มาแลว รูปแบบของการเขารวมโครงการ คือ นักศึกษา จะตองเขาเขาฝกทักษะในโรงเรือนเลี้ยงไกระบบปด และดูแลไกเนื้อในโรงเรือน จํานวน 3 รุน ซึ่งการเลี้ยงแตละรุนจะถูกฝกทักษะแตละดานอยางเขมขน และ เมื่อนักศึกษาฝกการเลี้ยงไกครบทั้ง 3 รุน จะมีการประเมินความรูของนักศึกษา และมอบใบประกาศนียบัตรผูผานการฝกทักษะในโรงเรือนไกเนื้อระบบปดของ มทร.ลานนา ลําปาง โดยวิธีการฝกในแตละรุนดังนี้ นิตยสาร ราชมงคลลานนา 49
Hands –on Graduate
รุนที่
ฝ ก ทั ก ษะพื้ น ฐานในการดูแลและ จัดการฟารมไกเนื้อระบบปด การ จดขอมูลทางสถิติ การคํานวณ การ สุขาภิบาลฟารม โดยนักศึกษาตอง เขามาฝกทักษะในฟารมทุกวัน เริ่ม จากขั้นตอนแรกคือการเตรียมโรง เรือนจนกระทั่งจับไกออกจําหนาย และลางทําความสะอาดโรงเรือน
รุนที่
นักศึกษาตองสามารถคิดและวางแผน เตรียมโรงเรือน เพือ่ รับไกเนือ้ วิเคราะหผลการเลีย้ งไกเนือ้ ในรุน ทีผ่ า น มาวามีปญหาและอุปสรรคอยางไรบาง และเสนอวิธี การแกไขปญหาทีเ่ กิดขึน้ รวมถึงตองสามารถทีจ่ ะสอน งานนักศึกษาปริญญาตรีป 2 ทีเ่ ขามาฝกทักษะวิชาชีพ สัตวศาสตร 2 สามารถคิดตนทุนการเลีย้ งและสามารถ คาดคะเนผลผลิตทีจ่ ะไดรวมถึงกําไรทีค่ าดวาจะไดรบั
รุนที่
นักศึกษาสามารถควบคุมดูแลการเลี้ยง ไก เ นื้ อ ในระบบป ด ได และสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางเปนระบบ มีความ เชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน สามารถ เปนหัวหนางานในการปฏิบัติงานใน โรงเรือนระบบปดได
า า ด การจัดการศึกษา นสายวิชาชีพกคง ปนการศึกษา ที่ นนผู รียน ปนสาคั แ ะตองมีการฝกป บิ ตั ิ น กิ ความ ชีย่ วชา แ ะ ม่อ บ การศึกษากสามาร ที่ ะประกอบอาชีพ บัณ ติ นักป บิ ตั ิ สาหรับ มทร า นนนา นันคง ปนการ ฝกฝน รียนรูแ ะ งมอทา ยความรวมมอ อง ครอ ายทางการศึกษาที่ ะชวยสรางกระบวนการ รียนรูแกนักศึกษาแ ะ ม่อ บ การศึกษาบัณ ติ ห า นีก ะ ปน คนคณภาพ องต า แรงงาน แ ะมีสว นสาคั นการพั นา ศรษ กิ องประ ทศ ทย ห ติบ ตอยางยั่งยนตอ ป
50 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Close-House
Hands –on Graduate
System for Boiler Chickens (E a a e gS e ) In many universities the word “Hands-on graduates” becomes a goal in the operation of their vocational education management This focuses on training and practice to achieve the proficiency. They can gain the knowledge from learning which leads to the future careers. Rajamangala University of Technology Lanna is an institution of science and technology education for vocations, which focuses on training. RMUTL Lampang students, cooperated by BETAGRO Northen agro industries Ltd., Lampang branch to set the close-house system for boiler chickens (Evaporative Cooling System). The aim is to manage education to the students, majoring in Animal Science, Faculty of Science and Agricultural Technology. The students practiced training in an Animal Science course to achieve the proficiency in real practical training. When they have the expertise, they can apply to their careers in the future. Dr.Piyamas Tanjaroenrat is the head of the Department of broiler chickens farms. The Close-house system for broiler chickens (Evaporative Cooling System) management In the first year, the close-house system for broiler chickens is planning to arrange each class of students to look after the chicken twice; in the morning and evening. Each year, the training students, approximately 60 persons, will learn about feeding broiler chicken by the Department of Livestock Development. In management of broiler chickens, the students were trained to observe the farm works. They also practiced calculating rates such as the quantity to consume food, initial weight, and the observed behavior and characteristic symptom of broiler. This includes the case of illness, death, and burning the corpses.
“Junior Manager Project” was held for the students who were interested in feeding and managing the close-house system for broiler chickens farm. They volunteered to attend this project. The project started in academic year 2016, second semester. There were four volunteers and who previously passed the academic production of poultry subject. The format of participation in this project was the students had to practice the skills in Close-house system for broiler chickens and training to feed the broiler chickens for three generations. Finally, the students were evaluated of their knowledge and were given the certificate announcing that they passed skill training in Close-house system for broiler chickens project of RMUTL, Lampang. The ultimate goal of vocational education in management is to focus on a learner and they also have professionalism in practice. When students graduate, they can apply what they have learned to their careers. The cooperation of education network will help build the learning process to students and when they graduate, they will be qualified for the labor market and they will be the important part in the economic development of Thailand.
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 51
Hands –on Graduate
ธุรกิจคาปลีก สมัยใหมในยุค Thailand .
52 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Hands –on Graduate
หลักสูตรการจัดการธุรกิจคาปลีกสมัยใหม คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร ผูนําการจัดการ เรียนการสอนเชิงบูรณาการกับการทํางาน หรือที่เรียกกันสั้น ๆ วา การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ WiL (Work Integrated Learning) โดยความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา กับ บริษัท กลุมเซนทรัล จํากัด (Central roup) ภายใตโครงการ (YP ) โดยมีเปาหมายรวมกันเพื่อมุงเนนผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพทางดานธุรกิจคาปลีกสมัยใหม โดยบริษัท กลุมเซนทรัล จํากัด สนับสนุนทุนการศึกษาแกนักศึกษาตลอดหลักสูตร ป หลักสูตรการจัดการธุรกิจคาปลีกสมัยใหม เริ่มจัดการเรียนการ สอนในปการศึกษา 2556 โดยใชชอื่ วาหลักสูตรการจัดการธุรกิจคาปลีก สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร กระบวนการ จั ด การเรี ย นการสอนของหลั ก สู ต รเริ่ ม จากการรั บ นั ก เรี ย นระดั บ มัธยมศึกษาชั้นปที่ 6 ที่มีความสนใจและมีเปาหมายที่จะพัฒนาตนเอง ไปสูบ ณ ั ฑิตนักปฏิบตั มิ อื อาชีพดานธุรกิจคาปลีก ทีผ่ า นการสอบขอเขียน เพือ่ เขาศึกษาตอในระดับปริญญาตรีแลว เขาสอบสัมภาษณจากผูบ ริหาร และเจาหนาทีข่ องกลุม ธุรกิจตาง ๆ ของบริษทั กลุม เซ็นทรัล จํากัด เพือ่ คัดเลือกนักศึกษาที่มีความพรอมเขาทํางานในกลุมธุรกิจที่สนใจตาม ความถนัดและบุคลิกภาพที่เหมาะสม โดยใน 4 ปการศึกษา นักศึกษา จะตองเรียนในมหาวิทยาลัยฯ พรอมไปกับทํางานในหนวยงานตาง ๆ ใน กลุมบริษัทฯ ดังนี้ ชั้นปที่ 1 เรียน 4 วัน ทํางาน 2 วัน, ชั้นปที่ 2 และป ที่ 3 เรียน 3 วัน ทํางาน 3 วัน และชั้นปที่ 4 ภาคเรียนแรก เรียน 2 วัน ทํางาน 4 วัน และภาคเรียนที่ 2 เปนการทํางาน 6 วัน ในลักษณะสหกิจ ศึกษา และปการศึกษา 2560 ไดปรับปรุงรายวิชาและพัฒนาหลักสูตร ใหม โดยแยกออกมาจากหลักสูตรการตลาด มาจัดตั้งเปนหลักสูตรการ จัดการธุรกิจคาปลีกสมัยใหม สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ WiL ทีม่ งุ เนนผลิตบัณฑิตนัก ปฏิบัติมืออาชีพทางดานธุรกิจคาปลีกสมัยใหม ระหวาง มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา และบริษทั กลุม เซ็นทรัล จํากัด ตลอดระยะ กวา 5 ป หลักสูตรการจัดการธุรกิจคาปลีกสมัยใหม ไดสรางชือ่ เสียงโดย การควารางวัลมากมาย จากโครงการ (YPR) ของบริษัท กลุมเซ็นทรัล จํากัด และครองตําแหนงที่ 1 ทุกครั้ง ดังนี้ ปการศึกษา 2560 รางวัลโลเกียรติยศทอง 5 รางวัล รางวัลโล เกียรติยศเงิน 4 รางวัล รางวัลเกียรติยศเหรีย ทอง 5 รางวัล ล รางวัลเกียรติยศเหรีย เงิน รางวัล รวม 23 รางวัลในปที่ 4 ปการ ศกษา 255 รางวัลโลเกียรติยศเงิน รางวัล รางวัลเกียรติยศเหรีย ทอง 3 รางวัล ล รางวัลเกียรติยศเหรีย เงิน 11 รางวัล รวม 21 รางวัลในปที่ 3 ปการศกษา 2558 รางวัลเกียรติยศเหรีย ทอง 8 รางวัล ล รางวัลเกียรติยศเหรีย เงิน 6 รางวัล รวม 14 รางวัลในป ที่ 2 ปการศกษา 255 รางวัลเกียรติยศเหรีย เงิน รางวัล รวม รางวัลในป รก (พิจารณาผลการเรียนในมหาวิทยาลัย ทีม่ รี ะดับคะแนน เฉลี่ยสะสม 3.00 ขึ้นไปทุกปการศึกษา) พรอมกับมีผลการปฏิบัติงานดี เยี่ยม (พิจารณาจากผลการปฏิบัติงานในหนวยธุรกิจตาง ๆ ของบริษัท ในกลุม เซ็นทรัล จํากัด ทีม่ ผี ลการประเมินในระดับ A ซึง่ มีคะแนนตัง้ แต รอยละ 90 ขึน้ ไป) วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 อาจารย ดร.ธนศักดิ์ ตันติ นาคม หัวหนาหลักสูตรการจัดการธุรกิจคาปลีกสมัยใหม ไดเขารับโล รางวัลพิเศษ (รางวัลที่ 1) ในฐานะตัวแทนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ที่ใหการสนับสนุนอยางดีเยี่ยม ในการดูแลนักศึกษา โครงการทุนทวิภาคีเซ็นทรัล ระดับปริญญาตรี
โดยไดรับรางวัลมากที่สุดและอยางตอเนื่อง นอกจากนี้แลวเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559 อาจารย ดร.ธนศักดิ์ ตันตินาคม หัวหนาโครงการการ จัดการธุรกิจคาปลีก ไดรบั การแตงตัง้ เปน “ประธานเครือขายอาจารยผู ดูแลโครงการทุนการศึกษาเซ็นทรัลระดับปริ าตรี” จากมติทปี่ ระชุม คณาจารยผูดูแลโครงการทุนการศึกษาเซ็นทรัลระดับปริญญาตรีที่รวม โครงการฯ 12 สถาบันการศึกษาและตัวแทนของกลุมบริษัทเซ็นทรัล บริษัท กลุมเซ็นทรัล จํากัด ไดเลือกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา เพียงแหงเดียวในภาคเหนือในการลงนามความรวม มือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพทางดานธุรกิจคาปลีกสมัยใหมรวม กับหลักสูตรการจัดการธุรกิจคาปลีกสมัยใหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล า นนา ซึ่ ง เป น ต น แบบการจั ด การเรี ย นการสอนเชิ ง บู ร ณาการกั บ การทํ า งาน (Work Integrated Learning หรื อ WiL) ที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ เป น รู ป ธรรม โดยบั ณ ฑิ ต รุ น แรกจาก โครงการฯ ทุกคน จํานวน 27 คน ไดปฏิบัติงานในหนวยงานตางๆ ของบริษัท กลุมเซ็นทรัล จํากัด ไดรับความชื่นชมจากตนสังกัด และ เริ่มถูกพิจารณาใหรับตําแหนงในสายงานในระดับที่สูงขึ้น นอกจาก นั้น ยังเห็นไดจากการเขาศึกษาดูงานของสถาบันการศึกษาตางๆ เชน มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ เชี ย งใหม , มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ธัญบุรี, มหาวิทยาลัยบูรพา, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ขอนแกน), มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล และ มหาวิทยาลัยหาดใหญ หลักสูตรการจัดการธุรกิจคาปลีกสมัยใหม ยังไดสงเสริมและ สนับสนุนใหนักศึกษาไดทําวิจัยควบคูไปกับการเรียนการสอน และนํา เผยแพรในระดับนานาชาติ โดยในปการศึกษา 2559 ไดนําเสนอผลงาน วิจยั ทีเ่ ขตปกครองพิเศษ อ งกง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน จํานวน 3 Papers และปการศึกษา 2560 ไดนําเสนอผลงานวิจัยที่เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุน จํานวน 4 Papers ดวยความเอาใจใสและใหคําปรึกษาอยางใกลชิดของอาจารย ประจําหลักสูตรการจัดการธุรกิจคาปลีกสมัยใหม ที่มีคุณวุฒิระดับ ปริญญาเอกทั้ง 3 ทาน ทําใหนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาหลักสูตรธุรกิจ คาปลีกสมัยใหม เปนบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพทางดานธุรกิจคาปลีก สมัยใหมที่มีคุณภาพ ทําใหบริษัทกลุมเซ็นทรัล จํากัด ไดใหเกียรติเขา มาสัมภาษณนักศึกษาหลักสูตร 4 ปปกติ และตอบรับนักศึกษาทุกคน จํานวน 25 คน เขารวมโครงการสหกิจศึกษา 4 เดือน ในภาคเรียนที่ 2/2560 นี้ โดยมีสวัสดิการตอบแทนตามขอกําหนดของบริษทั ฯ และยินดี รับนักศึกษาทุกคนเขารวมงานกับบริษัทฯ ทันที หลังเสร็จสิ้นการฝกสห กิจศึกษา จะเห็นไดวา การพัฒนานักศึกษาในหลักสูตรการจัดการธุรกิจ คาปลีกสมัยใหม ใหเปนบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพทางดานธุรกิจคาปลีก สมัยใหมที่มีคุณภาพมีวินัยในการทํางานและมีศักยภาพในการจัดการ ที่ เปนทีย่ อมรับของบริษทั ชัน้ นําของประเทศ จะสงผลใหบณ ั ฑิตคาปลีกสมัย ใหมมอื อาชีพจากสถาบันแหงนี้ มีสว นสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจในยุค ประเทศไทย 4.0 ตอไป นิตยสาร ราชมงคลลานนา 53
Hands –on Graduate
Retail Business Management in Thailand 4.0
Retail Business Management curriculum, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, the leader of work integrated learning or “WiL” by the association of Rajamangala University of Technology Lanna and Central Group under the name of Young Professional Retailer (YPR) aims to produce hands-on graduates on modern retail business. The scholarship was supported by Central Group for the 4 years of the curriculum. Retail Business Management curriculum has been in operation since 2013 by as Retail Business Management, Faculty of Business Administration and Liberal Arts. The process of teaching start by recruiting Mattayom 6 students, who were interested in developing themselves to be hands-on graduates in modern retail business. They passed the written examination to study in a bachelor degree and were interviewed by executives and officers from Central Group. Having been selected according to their interest, students must work in company’s work units during their study program; in the first year students study for 4 days and work for 2 days, in the second and third year students they study for 3 days and work for 3 days and in the fourth year the students study for 2 days and work for 4 days. For their second semesters, they have to work in Cooperative Education for 6 days. In 2017, the improvement of new curriculum was separated from Marketing Department to become Retail Business Management, Faculty of Business Administration and Liberal Arts.
54 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Hands –on Graduate
“WiL” aims to produce hands-on graduates for
modern retail business between Rajamangala University of Technology Lanna and Central Group. For over 5 years, Retail Business Management Curriculum gained many awards from oung Professional Retailer ( PR) and wins the first prize every year. 2014 8 6 14 5 23 5 4 5 23 201 (considering from GPA 3.00 for every semester). Having the best working result (considering from grade an assessment with a score of 90 percent or more by working in Central Group’s organizations). On May 19, 2007, Prof. Dr. Tanasak Tantinakom, Head of Retail Business Management Program was a representative of Rajamangala University of Technology Lanna who received a special award (1st prize) for such great support from the students of Central’s bilateral scholarship. Furthermore, on April 1, 2017, Prof. Dr. Tanasak Tantinakom was appointed the president of bachelor degree scholarship network from the resolutions of 12 teachers from educational institutes and representatives of Central Group. Central Group has chosen Rajamangala University of Technology Lanna to sign up for the cooperation in producing hands-on graduates for modern retail business, along with the retail business curriculum. Rajamangala University of Technology Lanna is a Work integrated Learning (WiL) prototype with success in producing 27 graduates in the first class. The graduates have permission to work in company’s departments and Central Group has received the admiration from the affiliation which provides them a chance to develop into the higher position in any work field. Furthermore, they have a chance to visit educational institutes such as Rajamangala University of Technology Isan of Rajamangala University of
TechnologyIsan, Yongchavalitkul University and Hatyai UniversityRetail Business Management curriculum also supports its student to do research while studying and present the research result internationally. In 2016, 3 researches presented their academic work in Hong Kong, China and in 2017 in Tokyo, apan. With good care and close advice from 3 program doctors, the students will get the best chance to graduate in Retail Business Management curriculum and become hands-on graduates. It’s an honor for 25 fourth year students who were interviewed by Central Group and accepted into Cooperative Education project for 4 month in the second semester of 2017, with the company’s fringe benefits. After the end of this project, Central Group is pleased to hire all students. It seems that the students’ development in Retail Business Management curriculum as hands-on graduates is acceptable to lead the companies helping retail business management’s graduates of Rajamangala University of Technology Lanna to be a part of Thailand 4.0 development.
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 55
Social Engagement
หมูบานบานหลวง
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมูบาน ชุมชน แบบมีสวนรวม กรณีหมูบานบานหลวง หมูที่ ตําบลโหลงขอด อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม หมูบ า นบานหลวง ชุมชนทีม่ กี ารตัง้ รกรากมาตัง้ แตสมัยโบราณ มีหลักฐานทางประวัตศิ าสตร เปนสวนหนึ่งของเมืองโบราณ คือ เมืองปาว หรือ เมืองพราว ในปจจุบัน ซึ่งในอดีตจนถึงปจจุบัน หมูบ า นบานหลวง ถือไดวา เปนเสนทางหลักสายสําคัญ ในการเดินทางเขา – ออก อําเภอพราว นอกจาก นัน้ ในอดีตยังใชเปนเสนทางเดินทัพ และหมูบ า นบานหลวงมีอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก ปลูกพืช เลีย้ ง สัตว พืชเศรษฐกิจไดแก ขาว ขาวโพด มันฝรั่ง มะมวง ลําไย เปนตน
56 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Social Engagement
จากการประกอบอาชีพสวนใหญของชาวบานในชุมชนประกอบ อาชีพเกษตรกรรมเปนสวนใหญจงึ ประสบปญหาราคาผลผลิตตกตํา่ สินคา ทางการเกษตรลนตลาด ถูกเอารัดเอาเปรียบและถูกกดราคาสินคาทางการ เกษตรจากกลุม พอคาคนกลาง ทําใหคณ ุ ภาพชีวติ ของชาวบานในชุมชนมีไม คอยจะสูดีนักและประชากรสวนใหญมากกวารอยละ 70 ของประชากร ทัง้ หมด อยูใ นชวงอายุ 55 – 60 ป ซึง่ ในอนาคตอาจเกิดปญหาในการทํางาน ได ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดกําหนดแผน พัฒนากลยุทธเพือ่ สรางความเปนเลิศดานวิชาการ การวิจยั และนวัตกรรม เพื่อผลิตผลงานวิจัยที่ตอบสนองความตองการของชุมชน เพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนใน สังคม ซึง่ เปาหมายเพือ่ พัฒนาศักยภาพประชาชนในทองถิน่ ใหมคี วามพรอม ในการดํารงชีพและมีอาชีพที่มั่นคง ดวยกระบวนการแบบมีสวนรวม เพื่อ ใหคณาจารย บุคลากรนักศึกษาและประชาชน รวมกันวิเคราะหปญหา และแกไขปญหาดวยการนําความรูเชิงวิชาการสมัยใหมและเทคโนโลยี ไปประยุกตใชกับองคความรูเดิมของชุมชน เพื่อสรางมูลคาเพิ่มในการสง เสริมอาชีพและสรางอาชีพใหกับคนในชุมชน ในการพัฒนาหมูบาน ชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอาชีพที่มั่นคงและยั่งยืน คณะทํางานโครงการยกระดับคุณภาพชีวติ ของหมูบ า นฯ หนวย งานภาคีเครือขายในพืน้ ที่ ผูน าํ ชุมชนและชาวบาน ไดวเิ คราะหสภาพปญหา และแนวทางแกไขที่ไดจากการประชาคม พรอมสรุปประเด็นการดําเนิน กิจกรรม ได 3 กิจกรรม ประกอบดวย 1. กิจกรรมดานการสงเสริมอาชีพ 2. กิจกรรมดานการทองเที่ยวชุมชน 3. กิจกรรมดานเกษตรปลอดภัย ซึ่ง ในการดําเนินกิจกรรมภายใตโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมูบาน ชุมชน แบบมีสวนรวม ตองอาศัยหนวยงาน ทั้ง 2 ภาคสวน ประกอบดวย สวนที่ 1 หนวยงานภายในของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา ที่สามารถบูรณาการศาสตรทั้ง 4 ศาสตร จากความชํานาญการ ของคณาจารยทางคณะวิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร และคณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร ตลอดจนบุคลากรนักศึกษาในมหาวิทยาลัย สวนที่ 2 หนวยงานภาคีเครือขายภายนอก ทีจ่ ะใหการสนับสนุน และรวมกันยกระดับคุณภาพชีวติ ของชาวบานในชุมชน และนอกจากนัน้ ยัง สามารถนําเอาองคความรูจ ากชุมชนมาบูรณาการ ผลงานวิจยั มาประยุกต ใชกับการเรียนการสอนและประยุกตใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย คณะทํางานรวมกับชุมชนไดวิเคราะหรวมกันแลว เห็นควรให ดําเนินโครงการในประเด็นที่ไดประชาคม ภายใตหลักการ “ลดรายจาย เพิ่มรายได ชุมชนมีความสุข” ซึ่งนํามาสูกรอบแนวความคิดในการยก ระดับคุณภาพชีวิตหมูบาน ของชุมชนบานหลวงเพื่อเปาหมายคือการยก ระดับคุณภาพชีวิตของชาวบาน บานหลวง ดานการสงเสริมอาชีพ ดาน การทองเที่ยวชุมชน และดานเกษตรปลอดภัย โดยมีความรวมมือของ ภาคีเครือขายทั้งหนวยงานภาครัฐ และองคการปกครองสวนทองถิ่นและ ภาคประชาชน การเขาไปดําเนินงานในหมูบานนั้น คณะผูดําเนินโครงการ ไดเขาไปประชาคมหมูบาน เพื่อหาวิธีการแกปญหารวมกับผูนําชุมชนและ หนวยงานภาคีเครือขายในการเขาไปแกปญหาและทําการประเมินผลเพื่อ ปรับปรุงในปตอไป การดําเนินงานโครงการนั้นมีแผนการดําเนินการเปนระยะเวลา 3 ป โดยการสงเสริมใน3 ดานไดแก 1.ดานการสงเสริมอาชีพ 2.ดานเกษตร อินทรียตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 3.ดานการทองเที่ยวและสงเสริม กิจกรรม
ดานการสงเสริมอาชีพ
ในปแรกนั้น ทางผูดําเนินโครงการนั้นไดเขาไปสงเสริมอาชีพ ในการถายทอดองคความรูในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สวน ในปที่สอง ทางคณะทํางานไดเขาไปจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชนโดยการ เขาไปพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑแปรรูป ออกแบบบรรจุภัณฑให แกสินคาและในปที่สาม เริ่มจัดแสดงสินคา ผลิตภัณฑของชุมชนและ สามารถไดรับมาตรฐานรับรองสินคาและสามารถบรรจุกิจกรรมดาน การสงเสริมอาชีพไวในแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบล
ดานเกษตรปลอดภัยตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ในปแรก เปนความพยายามในการสรางกลุมเกษตรอินทรีย เพื่อผลิตปุยหมักโดยการเขาไปใหความรูเรื่องการใชอินทรียทดแทน สารเคมี การปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือเพื่อเพิ่มรายไดลดรายจาย ใน ปที่สอง นั้นเปนการสงเสริมใหชาวบานมีการใชปุยอินทรียและติดตาม ความยัง่ ยืนการมีอาชีพ มีรายไดเพิม่ ขึน้ และในปทสี่ าม เกิดปราชญชาว บานในการถายทอดความรูด า นการเกษตร สามารถตอยอดในการขยาย พันธุ กบ ไก ปลา และสรางแหลงเรียนรูดานการเกษตรของชุมชน
ดานการทองเที่ยว สงเสริมกิจกรรมประชาสัมพันธ
ในปแรกเปนการรวบรวมกลุมทองเที่ยวในหมูบานโดยการ สรางแผนทีท่ อ งเทีย่ ว สรางกิจกรรมทองเทีย่ วรายป และประชาสัมพันธ ผานสื่อชองทางตางๆ สรางกลุมมัคคุเทศกนอย ในปที่สองจัดกลุมการ ทองเที่ยวเชื่อมโยงการทองเที่ยวกับหนวยงานภายนอก พัฒนาการ ประชาสัมพันธกจิ กรรมการทองเทีย่ ว ในปทสี่ าม มีการจัดระเบียบการ บริหารจัดการและมาตรฐานการทองเที่ยว สรางแผนที่ชุมชนโดยการ เชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวชุมชนเขากับกิจกรรมดานการทองเที่ยวของ ชุมชน สิ่งที่เปลี่ยนแปลงภายหลังการดําเนินโครงการ ซึ่งถือวาเปน ประโยชนแกชุมชนในหลายๆ ดานและเกิดนวัตกรรมใหม มีผลิตภัณฑ ใหมเกิดขึ้นและที่สําคัญคือการสรางกระบวนการใหมใหแกชุมชน ไดแก สามารถดําเนินการจดทะเบียนกลุมวิสาหกิจชุมชน จํานวน 5 กลุมและมีกลุมที่ไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน จํานวน 2 กลุม เกิดกลุมอาชีพใหมดานการสงเสริมอาชีพและการทองเที่ยว เกิดอาชีพ ดานเกษตรกรรม เชนการเลี้ยงไกไข การเลี้ยงปลา เลี้ยงกบและอาชีพ จักสานไมไผ ชุมชนไดมีแผนที่ทองเที่ยวชุมชน มีศูนยการเรียนรูดาน การสงเสริมอาชีพ การทองเทีย่ ว และดานเกษตรปลอดภัย เกิดปราชญ ชุมชนทีจ่ ะสามารถถายทอดความรูไ ด ประชาชนในทองถิน่ มีความรูแ ละ มีทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถนําความรูที่ไดรับไปประกอบ อาชีพเพื่อสรางประโยชนใหแกตัวเองและครอบครัว ทุกคนมีความสุข ชุมชนมีรอยยิม้ เปนไปตามปรัชญาของการดําเนินโครงการในการมุง มัน่ นําความรูจ ากมหาวิทยาลัยเพือ่ ไปพัฒนาสังคม ชุมชนใหมคี ณ ุ ภาพชีวติ ที่ดีขึ้น ซึ่งมุงหวังใหเหลาครูอาจารยไดสอน นักศึกษาไดฝกและสังคม ชุมชนไดประโยชน เพื่อสรางรอยยิ้มใหชุมชนอยางยั่งยืน อาจารยชัยภูมิ สีมา /อภิญญา พูลทรัพย
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 57
Social Engagement
Baan Luang Model: Model Village on Participatory Enhancement of Life Quality of Villagers and the Community Ban Luang Moo 6, Lhong Khod, Phrao, Chiang Mai, Thailand a L a g age is a community established since ancient times with historical evidence to be part of the ancient city namely “Muang Phrao” or “Phrao”. This village has been considered as the main route for commuting to and from Phrao district, while it was, in the past, also used as a wartime marching route. The major occupation in Ban Luang village is agriculture with crop and livestock farming. The economic crops include rice, corn, potatoes, mangoes, and longans, for instance. Since most of the villagers are mainly agricultural workers, they suffer from low prices on crop yields as agricultural commodity overflow the market. Exploited and forced to sell their yields at unfair prices by middlemen, the quality of life of the villagers in the community is hardly good. Additionally, over 70 of the 58 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
population is in the age range between 55 and 60 years, which in the future may cause problems with regards to workforce. Rajamangala University of Technology Lanna has designated strategic plans to promote academic excellence, research, and innovation to produce research works that meet the needs of the community while enhancing the competitiveness of the country and improve the quality of life of people in the society. The goal is to develop the potential of local people to be prepared in making their living and have stable jobs using a participatory process so that the faculty staff, students, and the public can, together, analyze problems and solve them by applying modern academic knowledge and technology to the existing wisdom of the community. This is to create added value in vocational promotion and creating jobs
“Baan Luang Village” for people in the community, developing the village and community to bring about good quality of life among villagers with stable and sustainable jobs. The working group on improving the quality of life of the village, local partnering organizations, community leaders, and villagers have come together and analyzed problems and determined solutions from public hearing. There are 3 kinds of activities implemented which can be summarized as 1. Vocational Promotion activities 2. Community Tourism activities and 3. Organic Farming activities. In carrying out activities under the project of participatory enhancement of life quality of villagers and the community, the participation of two units are required as follows: U 1 consists of internal divisions of Rajamangala University
Social Engagement
of Technology Lanna which integrate four fields of expertise from the faculty staff along with university students of the Faculty of Engineering, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, Faculty of Fine Arts, and Faculty of Science and Agricultural Technology. U 2 is a network of external partners which are willing to support and enhance the quality of life of villagers in the community. Moreover, the body of knowledge developed from researching on and working with the community can be integrated and applied to the teaching and learning while applying modern technology. The working group has together with the community brainstormed and agreed on implementing the project based on the issues raised in public hearing under the concept of “reducing the expenditure and promoting earnings and happiness in the community”. This has led to a conceptual framework on improving the quality of life of people in Baan Luang Village in terms of vocational promotion, community tourism, and organic farming with the cooperation from government agencies and the local government together with the public sector. The project implementation in the village started with public hearing in the community to find out solutions for problems with community leaders and a network of partnering organizations to address problems and evaluate them for improvement in the following year. The project has a three-year implementation plan with the enhancement aimed in three aspects: 1. Vocational Promotion 2. Organic Farming under Sufficiency Economy Philosophy 3. Community Tourism.
ca
a P
In the first year, the working group transferred the body of knowledge in agricultural product processing. In the second year, the working group helped founding a community enterprise group by developing quality products and packaging design for the goods. In the third year, the focus was on launching community products in exhibitions and achieving product certification standards while vocational promotion activities were included as part of the development plan of the local government or Sub-district Administration Organization.
Ec
ga c a P
g
and the monitoring of vocational sustainability and achieving of higher incomes among villagers. And in the third year, local wisdom in agricultural knowledge transfer was established and extended in forms of frog, chicken, and fish farming with a community agricultural learning center set up.
T
In the first year, the working group addressed the gathering of tourist groups in the village by creating a tourist map, created annual tourist activities, promoted community tourism various media channels, and started a youth tour guide group. In the second year, the local tourism groups were partnered with external tourism agencies and promotion of community tourism was further developed. In the third year, tourism activities were managed up to tourism standards with the community map created by linking community attractions with community tourism activities. Changes after the implementation of the project have benefited the community in many ways while new innovations and products have also been invented. Five groups of community enterprises have been registered, of which two groups have been certified for community product standards. New vocational and tourism groups and agricultural jobs have emerged such as frog farming and bamboo weaving. The community has a community tourism map. There are vocational, tourism, and organic farming learning centers. Community leaders with local wisdom have been identified to transfer knowledge among villagers whereas local people have sufficient knowledge and skills to pursue jobs to benefit themselves and their families. Every stakeholder and the community are satisfied, which is in accordance with the philosophy of the project, or the commitment to bring knowledge from the university to benefit the society and to better life quality of people in the communities. Teachers are able to pass on the knowledge, students get to put knowledge into practice, and the society together with the communities are benefited from so that communities are developed sustainably. Kaweeporn Wachirarangsiman (translator)
e S ce c
In the first year, efforts were made to found an organic farming group to produce compost by educating the villagers on the use of organic substitutes as fertilizers to replace chemicals as well as the cultivation of household herbs to increase earnings and reduce the expenditure. In the second year, the work was on promoting the use of organic fertilizers นิตยสาร ราชมงคลลานนา 59
Alumni Talk
นายก ษณ ธนาวณิช ศิษยเกาแผนกวิชาไ ากําลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ (มทร.ลานนา เชียงใหม) ปจจุบันดํารงตําแหนง รองผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม
Mr.Krit Thananich ce e a g Ma (
)
(
)
Tec ca ege e a k a Ra a a ga a U e Tec g La a) a e k e ge a a e วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ สถานศึกษาที่สรางความรูคูความสุข
วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ชือ่ นีย้ งั อยูใ นความทรงจําของศิษย เกาทุกคนเสมอ เมือ่ ครัง้ ทีผ่ มไดมโี อกาสเขามาศึกษา ณ สถาบันแหงนีใ้ น ปพุทธศักราช 2520 ในแผนกวิชาไฟฟากําลัง นับเปนชวงเวลาหนึ่งที่มี ความสุขในการศึกษา เลาเรียน และการดํารงชีวิตมีโอกาสไดรับความรู การอบรมสั่งสอนจากคณะครู อาจารย และพบกับ พี่ นอง และเพื่อนๆ ทําใหมีความรัก ความผูกพันที่ไมอาจลืมเลือนจากความทรงจําได วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ไดบมเพาะวิชาการ วิชาชีพ และ วิชาชีวติ ทําใหเรามีความมานะ อดทน มุง มัน่ ตัง้ ใจจริง รูจ กั ความสามัคคี กลมเกลียว เมือ่ ไดรบั ทราบวาสถาบันแหงนี้ มีพฒ ั นาการจนปจจุบนั เปน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ผมยิ่งรูสึกภาคภูมิอยางยิ่งที่ สถาบันแหงนี้ ยังคงยึดมั่นปณิธานที่วา “มหาวิทยาลัยนวัตกรรม เพื่อ ชุมชน สูสากล” โดยการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ สายวิชาชีพบนพื้นฐาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนาบุคลากร เพื่อรองประเทศไทย 4.0
ความประทับใจในระหวางที่เขารับการศึกษา
ความประทับใจทีม่ ตี อ ครู อาจารย ยังคงไมลบเลือนไปตามกาล เวลา เรายังจดจําไดเสมอถึงความรัก ความเมตตา ความเอาใจใสที่ครู อาจารยทุกทานมอบใหศิษยทุกคน ครู อาจารยที่วิทยาลัยแหงนี้เปรียบ เสมือนเปนพอเปนแม คอยดูแลใหเราเปนศิษยทมี่ คี ณ ุ ภาพ ถายทอดองค ความรูทั้งวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิต ครู อาจารยทานเปรียบเสมือน พี่ เมือ่ ยามทีเ่ รามีปญ หา คอยใหคาํ ปรึกษาอยางใกลชดิ จนทําใหเรารูส กึ ประหนึ่งวา ที่นี่คือ าน อันแสนอบอุน สุดทายนี้ ผมขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา และคณาจารย ที่ทําใหผมระลึกและมีความภาคภูมิใจถึง สถาบันแหงนี้อยูเสมอ 60 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
(P e e
The name is always in the memory of every alumni. When I first came to study at this institution in 1977 in Electric Power department, I felt that it was the happiest time for my study life. I gained a lot of knowledge. I met many brothers, sisters, friends, and was taught by good teachers. This gave me love and bound that I have never forgotten. This college gave me knowledge of academics, vocations, and life, which made me a gritty man with solidarity. When I heard that this institution had become Rajamangla University of Technology Lanna, I felt so proud that my institution had been develop to what it is today as “Innovative University for communities for internationalization.” The university produces hands-on graduates for vocational fields based on science and technology, which is considered the heart of personnel development for Thailand 4.0.
M
e
g
ea
I have never forgotten the impression I had with my teachers. I always recall their mercy, love, and care they gave to all students. They were like parents who pushed us to become a qualified pupil who could transfer academic, vocational and life knowledge to others. They were like brothers and sisters when we had problems, giving us advice and consulted us closely. This made us feel that the college is like a warm for us. Finally, I would like to thank Rajamangala University of Technology Lanna and all teachers who help me recall the pride I’ve always have for this institution.
ea
Conner
ผลการวิจัยระบุ...
การดื่มนํ้ากอนอาหาร... ...ชวยลดนํ้าหนักได ผลการศึกษาวิจยั ในสหรัฐอเมริกาพบวา การดืม่ นํา้ กอน อาหารสามารถชวยลดนํ้าหนักได เนื่องจากนํ้าไมมีแคลอรี่และ การดื่มนํ้าทําใหเรารูสึกอิ่มโดยนักวิจัยจากรัฐ Virginia พบวา หากดื่มนํ้าสองแกวกอนอาหาร จํานวนสามครั้งตอวันจะชวย ลดนํา้ หนักลงไดเฉลีย่ 5 ปอนด และไดมกี ารนําเสนอผลการวิจยั ดังกลาวนี้ที่งานประชุมของสมาคมนักเคมีแหงชาติอเมริกันที่ เมืองบอสตันซึ่งพวกเขาไดทําการทดสอบกับผูสูงอายุจํานวน 48 รายโดยแบงผูถูกทดสอบออกเปนสองกลุม ใชเวลาศึกษา นานกวา 12 สัปดาห ผูสูงอายุทั้งหมดที่เขามามีสวนรวมในการ ศึกษาครั้งนี้มีอายุระหวาง 55-75 ป โดยกลุมแรกจะไดรับอา หารแคลอรี่ตํ่า และไมไดดื่มนํ้าใดๆกอนมื้ออาหาร สวนกลุมที่ สองไดรับอาหารแคลอรี่ตํ่าเชนกัน แตใหดื่มนํ้าสองแกวกอน รับประทานอาหารในแตละมื้อ เมื่อครบระยะ 12 สัปดาหพบ วา กลุมที่ดื่มนํ้ากอนมื้ออาหารจะมีนํ้าหนักลดลงเฉลี่ย 15.5 ปอนดในขณะที่กลุมที่ไมไดดื่มนํ้ากอนมื้ออาหารมีนํ้าหนักลด ลงเพียง 11 ปอนด จากการศึกษากอนหนานี้ก็พบวาคนวัยกลางคนและ ผูสูงอายุที่มีการดื่มนํ้าสองแกวกอนรับประทานอาหาร จะชวย ใหรางกายไดรับแคลอรี่ในอาหารในมื้อนั้นๆลดลงไปประมาณ 75- 90 แคลอรี่ ศาสตราจารย Brenda Davy นักวิจยั อาวุโสจาก เวอรจิเนียเทคกลาววา นี่เปนการศึกษาครั้งแรกที่มีการทดลอง แบบสุมโดยมีกลุมควบคุมในการใชนํ้าเพื่อการควบคุมนํ้าหนัก เธอกลาววา เหตุผลสําคัญที่นํ้าชวยในการลดนํ้าหนักไดอยางมี ประสิทธิภาพนั้น เนื่องจากนํ้าชวยใหรูสึกอิ่ม และในนํ้านั้นไมมี แคลอรี่ใดๆ นั่นเอง
Drinking water before meals can help people to lose weight, says a US study. Water contains no calories and drinking it makes us feel full. Scientists from Virginia found that slimmers can lose an average of 5 lbs extra if they drink two glasses of water three times a day before meals. The researchers presented their findings at the National Meeting of the American Chemical Society in Boston. They tested the theory on 48 older adults, split into two groups, over 12 weeks. All adults who took part in the study were aged 55 to 75. The first group followed a low-calorie diet but did not drink any extra water before meals. The second group followed the low-calorie diet but also drank two glasses of water before each meal. Over the course of 12 weeks, those drinking water lost about 15.5 lbs while the others lost about 11lbs.
k g ae e e ea e e g a
..... อานตอ ที่ https://www.gotoknow.org
e a middle-aged and older people who drank two glasses of water before eating a meal ate between 75 and 90 fewer calories during that meal. Professor Brenda Davy, senior author of the study, from Virginia Tech, said it was the first randomised controlled trial looking at water consumption and dieting. She said the reason water may be so effective is because it fills up the stomach with a liquid that has no calories. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 61
Cover S ภาพ เร่อง รศ.เ ชา นาวานุเครา ห สัมภาษณ อภิ า พูลทรัพย
เสนทางสูนักกี า.....
.....วอลเลยบอลทีมชาติ นศ. มทร.ลานนาตัวแทนทีมชาติไทยเขารวมการแขงขัน วอลเลยบอลเยาวชนชายชิงแชมปอาเชียน
ผลงาน
- ตัวแทนทีมชาติไทยเขารวมการแขงขันวอลเลยบอลชายชิงแชมปเอเชีย รุนอายุ ไมเกิน 23 ป ณ ประเทศ เมียนมาร ป 2014 ไดลําดับที่ 7 - ตัวแทนทีมชาติไทยเขารวมการแขงขันวอลเลยบอลชายกี ามหาวิทยาลัยโลก ณ ประเทศ เกาหลีใต ป 2014 ไดลําดับที่ 11 - ชนะเลิศการแขงขันวอลเลยบอลชาย การแขงขันกี ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลครั้งที่ 33 ในนามทีมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา - ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแขงขันวอลเลยบอลชาย การแขงขันกี า มหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย ครั้งที่ 44 “สุรนารีเกมส” ในนามทีมมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา - ชนะเลิศเหรียญทองรายการ “The 3rd South and Southeast Asia College Student Culture and Sport Week-Kunming ในนามทีมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา 62 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
-
c ee e
e T a a national male volleyball team, participating in Asia Volleyball Championship Competition (under 23 years old in Myanmar in 2014) and was rank the 7th e T a a national male volleyball team, participating World Volleyball in South Korea in 2014) and was ranked the 11th T e e of 33th RMUTL Sport Competition Sec e of 44th Suranaree Game, Thailand University Sport Competition T e e a a a e “The 3rd South and Southeast Asia College Student Culture and Sport Week-Kunming
Cover S
นายนรา จันทรแกว . . รับผิดชอบและแบงเวลา
นักศึกษาชั้นปที่ 3 สาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร มทร.ลานนา พิษณุโลก “เริ่มเลนวอลเลยบอลมาตั้งแตอายุ 10 ขวบ มุงมั่นและทุมเทมาตลอดเพราะเปนกี าที่ ตนเองรัก การเรียนกับกี าก็ไมตางกันเพราะตองมีความรับผิดชอบเหมือนกัน เพียงแต เราตองเสียสละมากกวาคนอื่น ตื่นเชามาซอมจากนั้นก็ไปเรียน มีเวลาวางก็จะทบทวน วิชาเรียน ทํางานสง พอขาดเรียนไปแขงก็จะตามงานกับเพื่อน ที่ผานมาใมเคยมีป หา เรื่องการเรียนกับการแขงกี า”
M . a a a ke
“Responsibility and Time Management.”
3rd year student majoring in Management, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, Phitsanulok “I started playing volleyball when I was 10 years old. I was determined and dedicated to volleyball because it was my beloved sport. In my opinion, playing sports and studying are alike because we have to devote ourselves to them. When I wake up, I play volleyball. After that, I go to school. When I have free time, I revise my lessons and do assignments. I’ll ask my friends to review the lessons for me if I miss my classes. I don’t have any problems with both playing sports and studying.”
นายอมรเทพ คนหาญ
สิ่งสําคัญในการเปนนักกี าคือตองเชื่อ งโคชและตองมีวันัย
นักศึกษาชั้นปที่ 3 สาขาการจัดการคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา พิษณุโลก “การเรียนกับการแขงขันกี า หากเราตองทําสองอยางในเวลาเดียวกัน เราตองแยกกอน วา การเรียนคือการเรียน กี าคือกี า อยาเอาทัง้ สองอยางมาปนกัน รับผิดชอบและในบ บทบาทหนาที่นั้นใหดีที่สุด ากถึงนอง ที่อยากประสบความสําเร็จในการเปนนักกี า อาชีพ คือสิ่งที่สําคั ในการเปนนักกี าคือตองมีวันัย ตองเชื่อ งโคชและนําสิ่งที่ไดรับ มาไปปรับปรุงพั นาตนเองใหดีกวาเดิม”
M.
e
a
“The most important things for sportsmen are to listen to a coach and have disciplines.” 3rd year student, Management, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, RMUTL, Phitsanulok “If we have to study and play sports at the same time, we have to separate between the two. Do not mix them up. We have to be responsible and do the best for our duties. If you want be a professional sportsman, you have to listen to the coach, have disciplines, and always improve yourself.”
นายณรงค ทธิ จันภิรมย .... ถาคิดจะทําตองทําใหเต็มที่
นักศึกษาชั้นปที่ 2 สาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร มทร.ลานนา พิษณุโลก “เริ่มเขาสูวงการวอลเลยบอลอาชีพมาตั้งแตสมัยเรียนสมัธยม จบวันนี้ก็ 5 ปกวาแลวที่ อยูบนเสนทางนี้ มีบางบางครั้งที่เหนื่อย ทอ ขี้เกียจ อยากเปนเหมือนเด็กวัยรุนคนอื่น แตก็จะคิดเสมอวา สิ่งที่ทําอยูนั้นทําเพื่อตัวเอง ผลที่ไดก็เพื่อตัวเองไมใชเพื่อใคร สิ่งนั้น คืออนาคตของเรา และเมื่อเรียนจบก็อยากรับราชการทหารควบคูกับการเปนนักกี า อาชีพมีอนาคตที่มั่นคง”
M. a
g
a
“If i want to do ,I will do my best.”
2nd year student of management of Business Administration and Liberal Arts, RMUTL, Phitsanulok He has been a professional volleyball player since he was in his secondary school. Until now, it has been more than 5 years that I have in this road. Sometimes, I feel tired, desperate, and lazy having the normal life as other teenagers. However, I always think that all I have done is for me. It’s my future. When I graduate, I would like to be a soldier and a professional sportsman. นิตยสาร ราชมงคลลานนา 63
Admission
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
เปดรับนักศึกษาใหม ประจําปการศึกษา
ทั้งหมด 6 865 ที่นั่ง
เปดการเรียนการสอน 4 คณะ 1 วิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ
ั การ รียนการสอนที่ ชียง หม ตาก ชียงราย าปาง นาน พิษณ ก ยมีกาหน การ ังนี รอบ 1 T S 1 P สาหรับผูกา ังศึกษา ระ ับ ม ม ปวช แ ะ ปวส กาหน แ ะ ตองมี แสดงความสามารถพิเศษ เริ่มเปดรับสมัครออนไลน 1 ตุลาคมคม 2560 รอบ 2 T S 2 โควตา สาหรับผูกา ังศึกษา ระ ับ ม ม ปวช แ ะ ปวส นส านศึกษาที่ตังอยู น ตพนที่ภาค หนอ ังหวั กําหนด P มากกวา 2.75 เริ่มเปดรับสมัครออนไลน 1 มกราคม 2561 รอบ 3 รับตรง มทร.ลานนา สําหรับผูกําลังหรือสําเร็จศึกษา ระดับ ม.3 ปวช. และ ปวส. คะแนนสอบขอเขียน 70 คะแนน - e 30 เริ่มเปดรับสมัครออนไลน 15 กุมภาพันธ 2561 รอบ 4 T S 3 รับตรงรวม พรอมกันทั่วประ ทศ สาหรับผูที่ กา ังศึกษาหรอสา ร การศึกษา ระ ับ ม ที่มีคะแนนสอบ
เปดรับสมัครออนไลน 9 - 13 พฤษภาคม 2561 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
053-921444 ตองานรับสมัคร 1234 e a ce.
64 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
.ac.
e
RMUTL PROFILE
โรงเรียนเกษตรกรรมนาน กอตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พุทธศักราช 2481 ตามนโยบายการศึกษาของรัฐบาลในสมัยนั้นซึ่ง กําหนดใหมกี ารศึกษาวิชาชีพใหเหมาะสมกับภูมปิ ระเทศ ตอมา ในป พุทธศักราช 2517 โรงเรียนเกษตรกรรมนานจึงไดรบั การยกฐานะให เปนวิทยาลัยเกษตรกรรม พุทธศักราช 2518 วิทยาลัยเกษตรกรรม ไดแยกตัวจากกรมอาชีวศึกษาและจัดตัง้ เปนวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรนาน ตามพระราชบัญญัติ “วิทยาลัย เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา” พ.ศ. 2518 และในป พ.ศ. 2548 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลลานนานาน วิทยาเขตนาน จึงไดรบั การ สถาปนาเปน “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนานาน” รวมเวลาการกอตั้งจนถึงปจจุบัน 79 ป มทร.ล า นนา น า น จั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับปริญญาตรี และระดับ ปริญญาโท ใน 3 คณะ ไดแก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร คณะวิ ศ วกรรมศาสตร และคณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี การเกษตร โดยมีความโดดเดนในภูมิภาคมุงสูความเปนเลิศทาง เทคโนโลยีการเกษตร กาวสูองคกรที่สรางสรรควิศวกรและการ พัฒนานวัตกรรมและการวิจัยเพื่อสังคม โดยมีเอกลักษณคือ ความหลากหลายทางชีวภาพและความมั่นคงทางอาหาร
Admission
Nan campus was first founded on 1st August 2481, BE, as Nan Agricultural School. It was then established as Nan Agricultural College (2517 BE), the College of Technology and Vocational Education, Nan Agricultural Campus (2518 BE), and Rajamangala Institute of Technology, Nan Campus (2531 BE). In 2548 BE, it was constituted as Rajamangala University of Technology Lanna, Nan Campus. The founding of Nan campus is 79 years in total. RMUTL Nan campus is organised into three faculties, the Faculty of Business Administration and Liberal Arts, the Faculty of Engineering, and the Faculty of Science and Agricultural Technology. The focus of Nan campus is on agricultural technology and aims to develop the discipline of engineer, innovation, and research for society, with the campus’ identity as the center for g ca e a ec .
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 65
Admission
RMUTL PROFILE
ก อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 17 สิ ง หาคม 2481 โดยใช ชื่อวา โรงเรียนประถมอาชีพชางไม และไดรับการยกฐานะตาม ลําดับ ดังนี้ ป พ.ศ.2500 เปนโรงเรียนการชางตาก ป พ.ศ.2510 เปนวิทยาลัยเทคนิคตาก ป พ.ศ. 2518 เปนวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคตาก ป พ.ศ.2531 เปนสถาบัน เทคโนโลยี ร าชมงคล วิ ท ยาเขตตากและในป พ.ศ.2548 เป น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนา ตาก รวมเวลาการ กอตั้งจนถึงปจจุบัน 79 ป มทร.ล า นนา ตาก จั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)และระดับปริญญาตรี ใน 4 คณะ ไดแก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร และคณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีการเกษตร โดยมุงเนนงานวิศวกรรมศาสตรและ บริหารธุรกิจ ซึ่งเปนภารกิจของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อนําสูชุมชน โดย มีเอกลักษณคือ เทคโนโลยีและการจัดการเพื่อชุมชน
66 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Tak campus was fi rst founded on 17 th August 2481, BE, as the Elementary School for Carpentry. It was then established as Tak Technical Training School (2500 BE), Tak Technical College (2510 BE), the College of Technology and Vocational Education, and Tak Technical Campus (2518 BE), and Rajamangala Institute of Technology, Tak Campus (2531 BE). In 2548 BE, it was constituted as Rajamangala University of Technology Lanna, Tak Campus. The founding of Tak campus is 79 years in total. RMUTL Tak campus is organised into four faculties, the Faculty of Business Administration and Liberal Arts, the Faculty of Engineering, the Faculty of Arts and Architecture, and the Faculty of Science and Agricultural Technology.The focus of Tak campus is on engineering and business administration fields, which forms the campus’ identity as the association that provides Tec g a age e ec
RMUTL PROFILE
กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2496 โดยใชชื่อวา โรงเรียน เกษตรกรรมพิ ษ ณุ โ ลก และได รั บ การยกฐานะตามลํ า ดั บ ดั ง นี้ ป พ.ศ.2509 เปนวิทยาลัยเกษตรกรรมพิษณุโลก ป พ.ศ.2518 เปน วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละอาชี ว ศึ ก ษา วิ ท ยาเขตเกษตรพิ ษ ณุ โ ลก ป พ.ศ.2531 เปนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพิษณุโลก และในป พ.ศ.2548 ไดรับการสถาปนาเปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา พิษณุโลก รวมเวลาการกอตั้งจนถึงปจจุบัน 64 ป มทร.ล า นนา พิ ษ ณุ โ ลก จั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ใน 3 คณะ ไดแก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร และคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร โดยมุงเนนการเสริม สรางใหเปนศูนยความเปนเลิศที่บริการการวิเคราะห และตรวจสอบ มาตรฐานการผลิตทางการเกษตรที่ดี รวมทั้งถายทอดเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมในดานการผลิตทางการเกษตร และอาหารปลอดภัยแก ชุมชน โดยมีเอกลักษณคือ ศูนยความเปนเลิศดานเกษตรปลอดภัย
Admission
Phitsanulok campus was first founded on 23 August, 2496, BE as Phitsanulok Agricultural School and then constituted as Phitsanulok Agricultural College (2509BE), the College of Technology and Vocational Education, Phitsanulok Agricultural Campus (2518BE), and Rajamangala Institute of Technology, Phitsanulok Campus (2531 BE). In 2548 BE, it was constituted as Rajamangala University of Technology Lanna, Phitsanulok Campus.The founding of this campus is 64 years in total. RMUTL Phitsanulok campus is organised into three faculties, the Faculty of Business Administration and Liberal Arts, the Faculty of Engineering, and the Faculty of Science and Agricultural Technology. The focus of the Phitsanulok campus is on developing the center of analysis and quality assurance of agricultural production, as well as technology for agricultural production and food safety, which forms the campus’ identity as being the institution for e e E ce e ce Sa e g c e. rd
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 67
Admission
RMUTL PROFILE
กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2500 โดยใชชื่อวา วิทยาลัย เทคนิคภาคพายัพ และไดรับการยกฐานะตามลําดับ ดังนี้ ป พ.ศ.2512 เปน วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ป พ.ศ.2518 เปนวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ ป พ.ศ.2531 เปนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต ภาคพายัพ และในป พ.ศ.2548 ไดรับการสถาปนาเปนมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงใหม รวมเวลาการกอตั้งจนถึง ปจจุบัน 60 ป มทร.ล า นนา เชี ย งใหม จั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ใน 4 คณะ 1 วิทยาลัย ไดแก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะ ศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การเกษตร และวิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ โดยมุง เนนพัฒนา และบริหารจัดการดวยการเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการ สง เสริมศิลปวัฒนธรรมและการเรียนรูแกชุมชนดวยการสรางนักศึกษา เปนบัณฑิตนักปฏิบัติ มีทักษะดานวิชาชีพในหลากหลายสาขา โดย มีเอกลักษณคือ วัฒนธรรมทองถิ่นและนวัตกรรม
68 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Chiang Mai campus was fi rst founded on 8th August, 2500, BE as the Technical College of Northern Region. It was then established as the College of Technology and Vocational Education, Chiang Mai Technical Campus (2518 BE) and Rajamangala Institute of Technology, Chiang Mai Campus (2531 BE). In 2548 BE, it was constituted as Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai Campus. The founding of Chiang Mai campus is 60 years in total. RMUTL Chiang Mai campus is organised into four faculties, the Faculty of Business Administration and Liberal Arts, the Faculty of Engineering, the Faculty of Arts and Architecture, and the Faculty of Science and Agricultural Technology.The focus of the Chiang Mai campus is on developing and managing teaching and learning, research, and community service, as well as preserving Thai art and culture. It also aims to equip hands-on graduates from many disciplines, with the campus’ identity as the foundation for T a a c ea a .
RMUTL PROFILE
กอตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยใชชื่อวา โรงเรียน เกษตรกรรมลํ า ปางและได รั บ การยกฐานะตามลํ า ดั บ ดั ง นี้ ป พ.ศ.2518 เป น วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละอาชี ว ศึ ก ษา วิ ท ยาเขต เกษตรลํ า ปาง ป พ.ศ.2531 สถาบั น เทคโนโลยี ร าชมงคล วิทยาเขตลําปาง และในป พ.ศ.2548 ไดเปลี่ยนเปนมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง รวมเวลาการกอตั้งจนถึงปจจุบัน 45 ป มทร.ล า นนา ลํ า ปาง จั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับปริญญาตรี และระดับ ปริญญาโท ใน 3 คณะ และ 1 สถาบัน ไดแก คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การเกษตร และสถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร ซึ่งมีการพัฒนาการเรียน การสอน การวิ จั ย และการบู ร ณาการศาสตร ต า งๆ ที่ มี อ ยู ใ น มหาวิ ท ยาลั ย จากต น นํ า สู ป ลายนํ า ตั้ ง แต ก ระบวนการผลิ ต ทาง การเกษตร และการนําผลผลิตเขาสูการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ ภายใตการสรางเครื่องมือและดูแลระบบจากวิศวกร รวมทั้งกระบวน การบริ ห ารทางธุ ร กิ จ และบริ ก ารที่ เ หมาะสม สอดคล อ งกั บ ความ ต อ งการทั้ ง ระดั บ ท อ งถิ่ น ระดั บ ชาติ แ ละระดั บ นานาชาติ โ ดยมี เอกลักษณคือ อุตสาหกรรมเกษตร
Admission
Lampang campus was first founded on 1st January, 2515, BE as Lampang Agricultural School. It was then established as the College of Technology and Vocational Education, Lampang Agricultural Campus (2518BE), and Rajamangala Institute of Technology, Lampang Campus (2531BE). In 2548 BE, it was constituted as Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang Campus. The founding of Lampang campus is 45 years in total. RMUTL Lampang campus is organised into 3 faculties and 1 research institute, the Faculty of Business Administration and Liberal Arts, the Faculty of Engineering, the Faculty of Science and Agricultural Technology, and the Research Institute of Agricultural Technology. The focus of the Lampangcampus is on developing and managing teaching and learning, research, and integration of multi-disciplines, ranging from the processes of agricultural production to transforming and developing agricultural products, and those of business administration and service, to meet local, national, and international needs. The campus’ identity is recognized as the body that promotes the g c a .
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 69
Admission
RMUTL PROFILE
กอตัง้ เมือ่ วันที่ 3 มกราคม 2538 โดยใชชอื่ วา สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล วิทยาเขตเชียงราย และในป พ.ศ.2548 ไดรับการสถาปนาเปน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย รวมเวลาการกอตัง้ จนถึง ปจจุบัน 22 ป มทร.ลานนา เชียงราย จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญา ตรี ใน 2 คณะ ไดแก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร และคณะ วิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา เชียงราย มุงกระจายโอกาสทางการศึกษา และพัฒนาสูท อ งถิน่ ชนบท โดยมีพนื้ ทีเ่ ปาหมายดําเนินงานในเขตภาคเหนือ ตอนบน และในเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4 ชาติ หรือ เ ตสีเ่ หลีย่ มเศรษ กิ โดยการพัฒนาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดานบริการเพื่อสนอง ความตองการของตลาดแรงงาน และสังคมภูมิภาค เปนสถาบันการศึกษา ที่มุงเนนการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอมควบคูไปกับการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม โดยมีเอกลักษณคือ การคาและ บริการจัดการเทคโนโลยี
70 นิตยสาร ราชมงคลลานนา
Chiang Rai campus was fi rst founded on 3 January 2538BE as Rajamangala Institute of Technology Lanna, Chiang Rai Campus. It was then constituted as Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Rai Campus in 2548, BE. The founding of Chiang Rai campus is 22 years in total. RMUTL Chiang Rai campus which are organised into two faculties, the Faculty of Business Administration and Liberal Arts and the Faculty of Engineering. Chiang Rai campus aims to expand opportunities for teaching and learning and developing the rural areas in the upper northern region of Thailand. The focus is on developing science, technology, and service to meet the needs in the labour market and the region. It also emphasizes developing the quality of life and environment, together with natural resources and culture preservation. The identity of the campus is on being the institution for T a g a Tec g a age e e ce . rd
Admission
นิตยสาร ราชมงคลลานนา 71
นิตยสารราชมงคลล้านนา ฉบับที่ 8 เป็นการรวบรวมผลงาน กิจกรรมสิ่งประดิษฐ์ของอาจารย์ นักศึกษา รวมถึงกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสนับสนุนการศึกษาของมหาว...
Published on Oct 9, 2017
นิตยสารราชมงคลล้านนา ฉบับที่ 8 เป็นการรวบรวมผลงาน กิจกรรมสิ่งประดิษฐ์ของอาจารย์ นักศึกษา รวมถึงกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสนับสนุนการศึกษาของมหาว...