การลำเลีงและการคายน้ำ

Page 14

264 พฤฏษศาสตร์

พลาสซึมของเซลล์ หลังจากนั้นสารที่เป็ นตัวพานี้ กจ็ ะกลับมาที่เยือ่ หุ ม้ เซลล์เพื่อทำาหน้าที่รับไอออนจาก ภายนอกเซลล์ใหม่อีก 2.2.2 ทฤษฎี ATPase ของการขนย้ายไอออน ทฤษฎีน้ ีได้เสนอโดยฮอดเจส (Hodges) ใน ปี 1973 กล่าวว่า ATPase เป็ นเอนไซม์ที่ทาำ ให้ ATP เปลี่ยนเป็ น ADP พร้อมกับปลดปล่อยพลังงานออก มาเพื่อใช้ในการขนย้ายไอออนผ่านเยือ่ หุ ม้ เซลล์ ก

ร ลำา เ ลี ย ง แ ร่ ธ า ตุ อ า ห า ร ำ การลำาเลียงเกิดขึ้นพร้อมกับการลำาเลียงน้าโดยผ่ านไปทางไซเล็มขึ้นสู่ ส่วนบนของพืช โดยใช้วิธี การเดียวกับการลำาเลียงน้าำ ได้แก่ แรงดึงแคพิลลารี่ การแพร่ ของแร่ ธาตุอาหาร และแรงดึงจากการคายน้าำ ำ นวิธีที่เชื่อว่าเป็ นวิธีที่ทาำ ให้เกิดการลำาเลียงแร่ ธาตุอาหารได้มากที่สุดเช่นเดียว ซึ่งแรงดึงจากการคายน้าเป็ กั บ ก า ร ลำา เ ลี ย ง น้าำ ำ 1. การลำาเลียงสารอินทรี ย ์ น้าตาลซู โครสที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสงจะถูกลำาเลียงไปใช้ ยังส่ วนต่างๆของพืชทางโฟลเอ็ม ซึ่งมีทิศทางการลำาเลียงเกิดขึ้ นทั้งขึ้นและลง ส่ วนการลำาเลียงทางด้าน ำ ข้างเกิดขึ้นน้อยมาก อัตราความเร็ วของการลำาเลียงทางโฟลเอ็มจะช้ากว่าการลำาเลียงน้ าทางไซเล็ มมาก ก า ร ลำา เ ลี ย ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น มี ก ล ไ ก ก า ร ลำา เ ลี ย ง ดั ง นี้ 1.1 สมมติ ฐ านว่ า ด้ว ยการไหลเวี ย นของไซโทพลาซึ ม (cytoplasm streaming hypothesis) กล่าวคือ จะมีการลำาเลียงอันเนื่องมาจากการไหลเวียนของไซโทพลาซึมภายในเซลล์ ซึ่งมีอตั ราความเร็ ว ตั้งแต่ 2-3 มิลลิเมตรต่อชัว่ โมง จนถึงหลายร้อยมิลลิเมตรต่อชัว่ โมง การไหลเวียนของไซโทพลาซึ มจะ เกิดอยูต่ ลอดเวลา และมีหลายทิศทางในเซลล์เดียวกัน และอาจมีการไหลเวียนสวนทางกันด้วย ทั้งนี้ข้ ึน กับความเข้มข้นของสารที่อยูภ่ ายในเซลล์ การลำาเลียงนี้ จะเกิดขึ้นช้ามาก และเกิดในเซลล์ที่มีชีวิตเท่านั้น ำ ถ้า เซลล์ข องโฟลเอ็ม ตายลง การลำา เลี ย งจะหยุ ด ลงเช่ น กัน ซึ่ ง ต่ า งจากการลำา เลี ย งน้าทางไซเล็ ม 1.2 สมมติ ฐ านว่ า ด้ว ยการไหลที่ เ กิ ด จากแรงดัน (Munch pressure flow hypothesis) หรื อ สมมติฐานการไหลของมวลสาร (mass flow hypothesis) กล่าวคือ เกิดการลำาเลียงสารอาหารเนื่องมาจาก ความแตกต่างของค่าชลศักย์ระหว่างแหล่งผลิตอาหาร (source) กับแหล่งที่ ตอ้ งการสารอาหาร (silk) ทำาให้เกิดการผลักดันสารละลายที่อยู่ในใบลงมาสู่ ลาำ ต้นและรากทางท่ออาหาร ซึ่ งการไหลเวียนของ ำ ่เกิดขึ้นโดยอาศัยแรงดึงเนื่ องจากการคายน้าำ สารละลายในโฟลเอ็มจะสัมพันธ์กบั การเคลื่อนที่ของน้าที แ ล ะ ก า ร ห มุ น เ วี ย น ข อ ง น้าำ ใ น พื ช ด้ ว ย ำ การลำาเลียงอินทรี ยส์ ารของพืชเริ่ มจากเซลล์ในชั้นมีโซฟิ ลล์ของใบมีการสร้างน้าตาลกลู โคสจาก กระบวนการสังเคราะห์แสง กลูโคสจะแพร่ เข้าสู่เซลล์รอบๆเส้นใบซึ่งล้อมรอบด้วยโฟลเอ็ม และเปลี่ยน ำ เป็ นน้าตาลซู โครสก่อนเข้าเซลล์ท่อลำาเลียงอาหารซึ่ งเป็ นองค์ประกอบหนึ่ งของโฟลเอ็ม การเคลื่อนที่ ำ ของน้าตาลซู โครสเข้าเซลล์ท่อลำาเลียงอาหารนี้ มีการเคลื่อนที่โดยวิธีใช้พลังงาน ATP จากกระบวนการ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.