Bfit 08

Page 28

ไทยกําหนดมาโดยตลอด ณ สิ้นป 2551 บริษัทมีอัตราสวนเงินกองทุนตอสินทรัพยเสี่ยงสูงถึงรอยละ 24.90 เปรียบเทียบกับอัตราขั้นต่ําซึ่งกําหนดไวที่รอยละ 8 บริษัทจึงมีศักยภาพเพียงพอในขยาย สินเชื่อและการลงทุนที่อาจมีขึ้นในอนาคต 1.4 ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจภายใตการควบคุมของหนวยงานที่กํากับดูแล บริ ษั ท ประกอบธุ ร กิ จ ภายใต ก ารควบคุ ม ดู แ ลของ ธนาคารแห ง ประเทศไทย ตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังนั้นการกําหนดหรือปรับเปลี่ยนนโยบายและการกํากับดูแลของหนวยงานดังกลาวอาจมีผลกระทบ การประกอบธุรกิจของบริษัท อยางไรก็ตามบริษัทมีหนวยงานกํากับดูแลการปฏิบัติงาน ซึ่งเปนสวน หนึ่งของฝายตรวจสอบ ซึ่งทําหนาที่กํากับดูแลการปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎระเบียบตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ 2551 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสถาบันคุมครองเงินฝาก พ.ศ.2551 ในพระราชกิจจานุเบกษา ซึ่งจะมีผลบังคับใชเมื่อพนกําหนด 180 วัน นับแตวันประกาศใน พระราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับนี้มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการยกเลิกการ ประกันการชําระคืนตนเงินฝากและดอกเบี้ยตามขอบังคับกองทุนเพื่อการฟนฟู และพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน โดยจะดําเนินการทยอยลดวงเงินการคุมครองภายในระยะเวลา 4 ป ทั้งนี้วงเงิน คุมครองเงินฝากจะเหลือเพียงจํานวน 1 ลานบาทตอสถาบันการเงิน นับตั้งแตปที่ 5 ของการบังคับใช พระราชบัญญัติดังกลาว เปนตนไป ตอมาเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2551 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบ รางพระราชกฤษฎีกากําหนดจํานวนเงินที่ใหความคุมครองเพิ่มขึ้นโดยไดขยายระยะเวลาการคุมครอง เงินฝากเต็มจํานวนตั้งแตปที่ 1 ถึงปที่ 3 และลดเหลือจํานวน 50 ลานบาทในปที่ 4 และจํานวน 1 ลาน บาท นับตั้งแตปที่ 5 เปนตนไป ผลจากการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑดังกลาวมีผลกระทบตอความ เชื่อมั่นของลูกคาเงินฝากในสถาบันการเงินโดยทั่วไป และอาจทําใหมีการเคลื่อนยายเงินฝากในสวนที่ ไมไดรับความคุมครองไดในอนาคต อยางไรก็ตาม ในสวนของบริษัท ไดมีการชี้แจงทําความเขาใจ โดยการใหขอมูลกับลูกคาเกี่ยวกับหลักเกณฑของกฎหมายดังกลาว ตลอดจนสถานะความมั่นคงของ บริษัทอยางตอเนื่อง 1.5 ความเสี่ยงจากการลงทุนในบริษัทยอย บริษัทมีการลงทุนใน บริษัทหลักทรัพย บีฟท จํากัด (มหาชน) คิดเปนสัดสวนเกือบรอยละ 50 จึงมีความเสี่ยงในกรณีบริษัทยอยมีผลการดําเนินงานขาดทุนหรือมีความเสียหายจนสวนทุนติดลบ ซึ่งจะทําใหบริษัทขาดรายไดประเภทเงินปนผลหรืออาจกระทบกับเงินกองทุนของบริษัท ตามลําดับ

2. ความเสี่ยงดานเครดิต (Credit Risk) ความเสี่ยงดานเครดิต คือ โอกาส หรือความนาจะเปนที่คูสัญญาไมสามารถปฏิบัติตามภาระที่ ตกลงกันไว รวมถึงโอกาสที่คูคาจะถูกปรับลดอันดับความเสี่ยงดานเครดิต ซึ่งอาจสงผลกระทบในทาง ลบตอรายได หรือเงินกองทุน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.