NCC BUSINESS KORAT Vol.13

Page 37

NCC Business Magazine Stat : สถิ ติ

เป้าหมายของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พึง่ ตนเองได้ระดับหนึง่ อยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ในสังคมได้อย่างสันติสขุ อยูร่ ว่ มกับธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมได้อย่างยัง่ ยืน การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง เริม่ จากระดับ ตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข สมดุล 4 มิติ (ด้าน วัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรม) ล�ำดับขัน้ ตอนการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งได้ ตั ว เอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตรงกับหลัก ธรรม สัปปุรสิ ธรรม 7 1.(ความพอประมาณ) มัตตัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั ประมาณ อัตตัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั ตน 2. (ความมีเหตุผล) ธัมมัญญุตา เป็น ผูร้ จู้ กั เหตุ อัตถัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั ผล

3 . ( ก า ร มี ภู มิ คุ ้ ม กั นที่ ดี ใ นตั ว ) กาลัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั กาล ปริสญ ั ญุตา เป็นผู้ รูจ้ กั บริษทั ชุมชน ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโร ปรัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั บุคคล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อญ ั เชิญ มาครั้งแรกใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 9 วิสยั ทัศน์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ตรงกับหลักเศรษฐกิจ พอเพียง การสร้างภูมคิ มุ้ กัน ข้อใดเรียงล�ำดับ หลัก การสร้างภูมิคุ้มกันกับเกษตรทฤษฎีใหม่ 3 ชั้น จัดการตน - รวมกลุม่ - เครือข่าย หลักสมดุลของ ปรัชญาเศรษฐกิจข้อใดส�ำคัญทีส่ ดุ ในวิสยั ทัศน์ของ รัฐบาลยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร 1 เศรษฐกิจ "เศรษฐกิจพอเพียง” (Sufficiency Economy) เป็ น ปรั ช ญาที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชด�ำรัสชีแ้ นะแนวทางการ ด�ำเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดรวมถึง การพัฒนาและบริหารประเทศ ทีต่ งั้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน ของ ทางสายกลาง ค�ำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ มุ้ กันทีด่ ใี นตัว ตลอด จนใช้ ค วามรู ้ ความรอบคอบ และคุ ณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระท�ำ

ตลอดเวลา มุง่ เน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพือ่ ความมัน่ คง และความยัง่ ยืนของการพัฒนา 2.คุ ณ ลั ก ษณะ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ติ นได้ในทุก ระดับ โดยเน้นการปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการ พัฒนาอย่างเป็นขัน้ ตอน 3.ค� ำ นิ ย าม ความพอเพี ย งจะต้ อ ง ประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้ 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทไี่ ม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นเช่น การผลิตและการ บริโภคทีอ่ ยูใ่ นระดับพอประมาณ 3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การ ตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะ ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุ ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนค�ำนึงถึงผลทีค่ าดว่าจะ เกิดขึน้ จากการกระท�ำนัน้ ๆ อย่างรอบคอบ 3.3 การมีภมู คิ มุ้ กันทีด่ ใี นตัว หมาย ถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น โดยค�ำนึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ตา่ งๆ ทีค่ าดว่าจะ เกิดขึน้ ในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล 4.เงือ่ นไข การตัดสินใจและการด�ำเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนัน้ ต้อง อาศัยทัง้ ความรู้ และคุณธรรมเป็นพืน้ ฐาน 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กีย่ วกับวิชาการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่าง รอบด้านความรอบคอบ ทีจ่ ะน�ำความรูเ้ หล่านัน้ มา พิจารณาให้เชือ่ มโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขัน้ ปฏิบตั ิ 4.2 เงือ่ นไขคุณธรรม ทีจ่ ะต้องเสริม สร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มี ความซือ่ สัตย์สจุ ริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปญ ั ญาในการด�ำเนินชีวติ 5.แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะ ได้รบั จากการน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้คอื การพัฒนาทีส่ มดุลและยัง่ ยืนพร้อม รับต่อการเปลีย่ นแปลง ในทุกด้าน ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม ความรูแ้ ละเทคโนโลยี

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณา อยู่ 5 ส่วน 1.กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะ แนวทางการด�ำรงอยู่ และปฏิบตั ติ นในทางทีค่ วรจะ เป็น โดยมีพนื้ ฐานมาจากวิถชี วี ติ ดัง้ เดิมของสังคม ไทย สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ Story : ดร.ธี ร พงศ์ คณาศั ก ดิ์ รองประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา

- 037 -


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.