นิสิตนักศึกษา ปีที่ 46 ฉบับที่ 1

Page 4

T

I I

T 6

โซเชี ย ลมี เ ดี ย สงครามที่ไม่อาจหยุดนิ่ง พรรษชล รัตนคงวิพุธ

“เจอเธอออนเอ็มเมื่อไร เราควรจะแชทเลยมะ...หรือ ล่าสุดหลังจากเพิ่งเปิดให้บริการ ‘ส่งของขวัญในเฟซบุ๊ก’ (Faceต้องแกล้งๆ ออฟไลน์” book Gifts) ไปหมาดๆ เฟซบุ๊กก็ประกาศเตรียมเปิดตัวปุ่มบอก ความต้องการอย่าง ‘Want’ ต่ออย่างไม่รอช้า เพื่อมอบอารมณ์ แว่วเสียงเพลงจากวิทยุในเวลายามบ่ายทำ�เอาต้อง ใหม่ๆ ให้แก่ผู้ใช้รวมถึงเอื้อประโยชน์แก่การทำ�ธุรกิจต่างๆ เพื่อ หวนนึกรำ�ลึกความหลังถึงเมื่อช่วงวัยมัธยมโดยไม่ได้ตั้งใจ คิด รุ ก หน้ า ก้ า วสู่ ร ะบบอี ค อมเมิ ร์ ซ (E-Commerce) แต่ แ ม้ จ ะ แล้วก็เผลอนั่งขำ� เพลง ‘เอ็มเอสเอ็น (MSN)’ โดยสามสาว ‘เฟย์- ไม่หยุดนิง่ และมีการพัฒนาตลอดเวลาก็ไม่สามารถนิง่ นอนใจได้ ฟาง-แก้ว’ ในสมัยนั้นนับว่าฮิตอยู่ไม่ใช่น้อย คงไม่ต่างอะไรจาก เมื่อผลการสำ�รวจช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา เฟซบุ๊กซึ่งมีผู้ใช้บริการ ชื่อเพลงสักเท่าไหร่ แต่ลองไปร้องเพลงนี้ให้เด็กยุค 2013 ดูสิ กว่า 901 ล้านคน มีสมาชิกลดลง 1.1 เปอร์เซ็นต์ทั่วโลก เขา ขีค้ ร้านจะทำ�หน้ามึนเหมือนถูกไม้หน้าสามหล่นทับใส่หวั กันเป็น ว่ า กั น ว่ า มั น บ่ ง บอกถึ ง การพุ่ ง ขึ้ น สู่ จุ ด อิ่ ม ตั ว ในไม่ ช้ า แถว แล้วพาลจะหันมาทำ�ยิ้มซื่อตาใสถามกับเราว่า “แล้วไอ้ ดังนั้นโซเชียลมีเดีย ในยุคใหม่จึงต้องกระตือรือร้นที่จะปรับตัว เอ็มเอสเอ็นนี่มันอะไรอะฮับพี่? ป๋มไม่รู้จัก” ให้เราและเฟย์-ฟาง- ให้สดใหม่อยู่เสมอเพราะไม่มีอะไรรับประกันว่าจะอยู่เป็นดาว แก้วต้องนั่งสลดใจเล่นว่า เวลานี่มันช่างผ่านไปเร็วราวโกหก ค้างฟ้า ก็แหม เหมือนเพิง่ จะได้ยนิ เสียง ‘ตือ่ ดือดึง้ ’ กับมองเห็นแถบสีสม้ กะพริบวอบแวบบนหน้าต่าง Windows 98 อยู่เมื่อวานแท้ๆ... นอกจากจะต้องต่อสู้กับตัวเองแล้ว โซเชียลมีเดียที่ เกิดขึ้นก่อนยังต้องแข่งขันกับน้องใหม่รุ่นหลังๆ ที่ผุดขึ้นมาหวัง เมื่ อ ช่ ว งต้ น เดื อ นที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ไมโครซอฟท์ วัดรอยเท้ากับรุน่ พี่ เพราะใครดีใครเด่น ใครครองตลาดได้ เม็ดเงิน ได้ อ อกตั ว ประกาศชั ด เจนแล้ ว ว่ า จะปิ ด การให้ บ ริ ก าร มหาศาลกำ�ลังรออยู่ ดังนัน้ ในช่วงทีเ่ ฟซบุก๊ ระสํา่ ระส่ายกับปัญหา โปรแกรมแชท ‘วิ น โดวส์ ไลฟ์ เมสเซนเจอร์ ’ (Windows เรื่องความเป็นส่วนตัว กูเกิลก็ได้ผลิต ‘กูเกิลพลัส’ (Google+) Live Messenger) หรื อ ‘เอ็ ม ’ ของพวกเรา และน่ า เศร้ า ขึ้นมาโดยมีปัจจัยในด้านความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัย ที่ ต่ อ ไปนี้ ก าร ‘ออนเอ็ ม ’ ก็ ค งหายสาบสู ญ ไปจากชี วิ ต ของข้อมูลผู้ใช้เป็นหลัก นอกจากนี้ยังผนวกเข้ากับบริการต่างๆ มนุ ษ ย์ โ ลกตลอดกาล โดยทางไมโครซอฟต์ ใ ห้ เ หตุ ผ ลว่ า จะ ดั้งเดิมของกูเกิล อาทิ บริการแผนที่ Google Maps และมี หันมาผลักดันโปรแกรมสื่อสารแบบเห็นหน้าคู่สนทนาอย่าง ฟีเจอร์ใหม่ๆ เช่น วิดีโอแชทเพิ่มเข้ามา และเมื่อไม่นานมานี้ก็ สไกป์ (Skype) แทน ซึ่งก็ไม่น่าแปลกใจแม้แต่น้อย เพราะเมื่อ ยังปรากฏโซเชียลมีเดียตัวใหม่เพิ่มขึ้นอีก อย่าง ‘ฟีด’ (Pheed) ช่วงกลางปี 2012 ได้มีโอกาสล็อกอินเข้าแอคเคาท์เอ็มเอสเอ็น ซึ่งมีทีท่าว่าจะเป็นดาวรุ่งพุ่งแรงดวงใหม่ เนื่องจากมีการดึง ของตัวเองหลังจากห่างหายไปกว่าสามปี ปรากฏว่าจากแต่ ลักษณะเด่นของทั้งเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ และยูทูบ (YouTube) มา ก่อนมีตัวสัญลักษณ์สีเขียวสีแดงขึ้นกันพรึ่บพรั่บนับร้อย บัดนี้ ผสมผสานกันอยูใ่ นแพลตฟอร์ม (Platform) เดียว แต่มลี กั ษณะที่ กลับรกร้างราวป่าช้า ไม่ต้องสงสัยว่ารายชื่อในลิสต์เวลานี้คง ลํา้ หน้ากว่า เช่น สามารถพิมพ์ขอ้ ความได้ 420 ตัวอักษร ในขณะที่ กำ�ลังโลดแล่นอยู่บนเฟซบุ๊ก (Facebook), ทวิตเตอร์ (Twitter), ทวิตเตอร์พิมพ์ได้เพียง 140 ตัวอักษร มีฟีเจอร์กดไลค์ (Like) กด อินสตาแกรม (Instagram) กันเป็นแถบแบบได้ใหม่ลืมเก่า ชื่นชอบ (Favourite) อัพโหลดภาพ เสียง และไฟล์วิดีโอ เป็นต้น เอ็มเอสเอ็นซึง่ เคยเฟือ่ งฟูมากในระยะหนึง่ จึงเริม่ เสือ่ มความนิยม โดยไม่กี่สัปดาห์แรกที่เปิดตัวก็มีคนให้ความสนใจจำ�นวนมาก ลงเมือ่ มีโซเชียลมีเดียเหล่านีผ้ ดุ ขึน้ มาแทนที่ โดยทีถ่ า้ ย้อนไปเมือ่ ถึงหลักล้าน และเหล่าคนดังฝั่งตะวันตกหลายคนก็ไปสมัครใช้ 6-7 ปีที่แล้วเราคงไม่เคยนึกฝันมาก่อนว่าจะมีวันนี้ บริการกันอย่างคับคั่ง บนโลกทีห่ มุนไปเร็วเหมือนพายุทอร์นาโด การแข่งขัน ของทุกสิ่งทุกอย่างก็ดูเหมือนจะดุเดือดขึ้นเรื่อยๆ ใครเป็นผู้แพ้ ย่อมต้องยอมล่าถอยและส่งต่อพื้นที่ให้แก่ผู้ชนะอย่างไม่อาจ ขัดขืนได้ กรณีเอ็มเอสเอ็นถือเป็นตัวอย่างที่ดี จากอดีตซึ่งเคย มีผู้เข้าใช้ทั่วโลกกว่า 330 ล้านคน กลับต้องปิดตัวลงเนื่องจาก ยอดผู้ใช้งานลดลงกว่า 48 เปอร์เซ็นต์ต่อปี แสดงให้เห็นว่าไม่มี อะไรอยู่คงที่ ซึ่งทั้งเฟซบุ๊กหรือทวิตเตอร์อันกลายมาเป็นผู้ครอง ตำ�แหน่งโซเชียลมีเดียอันดับต้นๆ คงตระหนักถึงข้อนี้ดีจึงมีการ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาให้เห็นกันอยู่ทุกวัน ทั้งการปรับแต่ง รูปลักษณ์ซึ่งทั้งสองยี่ห้อนี้เพิ่งจัดการไปหมาดๆ การปรับปรุง ระบบไทม์ไลน์ (Timeline) หรือแม้แต่ฟเี จอร์ (Feature) ต่างๆ ซึง่ ขยันผลิตกันขึน้ มาตอบสนองต่อวิถคี นรุน่ ใหม่กนั ไม่เว้นแต่ละวัน

ถึงคลื่นลูกเก่าจะเก๋าเกมกว่าแต่อย่าลืมว่าใครก็ไม่อาจ ประมาทคลื่นลูกใหม่ที่ซัดโถมเข้ามาอย่างแรงได้ แม้ในช่วงนี้ จะยังอยู่ในระยะที่เรียกว่าเป็นขาขึ้นของทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก ทว่าดาวค้างฟ้าก็ยงั มีวนั ตาย ในสังเวียนของโลก 4G ทีไ่ ม่ปราณี ใครนั้น ผู้ที่อาจหาญจะก้าวขาแตะฝ่าเท้าลงสังเวียน หมายมั่น จะฟาดฟันเอาพื้นที่และผู้คนบนโลกออนไลน์มาอยู่ในกำ�มือ ให้ได้นั้นคงต้องมั่นใจว่าขาทั้งสองข้างของตัวเองนั้นมั่นคงมาก พอ เรียกได้ว่าต้องถือคติแข็งแกร่งให้มากกว่าคู่ต่อสู้แต่ยอม โอนอ่อนเพื่อปรับตัวให้เข้ากับกระแสสังคม ที่สำ�คัญคือตื่นตัว อยู่เสมอ มิเช่นนั้นอีกสามปี ห้าปี หรือสิบปีข้างหน้า เจ้าพวกเด็ก รุน่ ใหม่จะได้ไม่ตอ้ งมานัง่ เมือ่ ยเบ้หน้าถามว่า “เอ๊ะ เอ๊ะ เอ๊ะ... ไอ้ นี่มันอะไรหนอ!?” -

7

‘5 in 5’

5 นวัตกรรม เปลี่ยนโลกใน 5 ปี วชิร อนันต์เมธากุล ใช่ว่าทุกวันนี้ความเปลี่ยนแปลงของโลกจะเกิดขึ้นจากปัจจัย ทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองเท่านั้น แต่นวัตกรรมไอทีถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่ ส่งผลให้เกิดความเปลีย่ นแปลงในโลกใบนีไ้ ด้เช่นกันและนับวันยิง่ มีอทิ ธิพลต่อโลก มากขึ้นเรื่อยๆ ล่าสุด ไอบีเอ็ม (IBM) บริษัทไอทียักษ์ใหญ่เผยว่า ทางไอบีเอ็ม กำ�ลังพัฒนา 5 นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงการดำ�เนิน ชีวิตของคนเราในอีก 5 ปีข้างหน้า หรือ ไอบีเอ็ม ไฟว์ อิน ไฟว์ (IBM Five in Five) นวัตกรรมแรกคือ “มนุษย์สามารถสร้างพลังงานมาใช้ได้เอง” โดยอาศัยแหล่งกำ�เนิดพลังงานจากการเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ รวมทั้ง อากัปกริยาของมนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นการเดิน วิง่ การปัน่ จักรยาน แม้แต่ความร้อน จากคอมพิวเตอร์กส็ ามารถสร้างพลังงานได้ และสามารถทีจ่ ะเก็บรวบรวมมา ใช้งานภายในบ้านหรือภายในเมืองต่างๆ โดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็ม ในไอร์แลนด์กำ�ลังศึกษาวิธีการแปลงพลังงานคลื่นในมหาสมุทรให้กลายเป็น กระแสไฟฟ้าและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมที่สอง คือ “การใช้เสียงพูด ใบหน้าและดวงตาของ มนุษย์แทนรหัสผ่านได้” โดยในอนาคตเราจะไม่ตอ้ งใช้รหัสผ่านอีกต่อไป เพราะ ข้อมูลทางไบโอเมตริก (Biometric) เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเค้าโครงใบหน้า การ สแกนม่านตา และไฟล์เสียงพูด จะถูกประกอบเข้าด้วยกันผ่านทางซอฟต์แวร์ เพื่อสร้างรหัสผ่านออนไลน์แทน นวัตกรรมที่สาม คือ “มนุษย์สามารถใช้สมองสั่งงานแล็ปท็อป และโทรศัพท์มือถือได้” ขณะนี้นักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็มในสาขาวิชา ชีวสารสนเทศ (Bioinformatics) กำ�ลังทำ�การค้นคว้าวิธกี ารเชือ่ มโยงสมอง ของคนเข้ากับอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ทโฟน รวมถึงการ ออกแบบชุดหูฟังที่มีเซ็นเซอร์พิเศษสำ�หรับอ่านคลื่นไฟฟ้าสมอง รวมถึงสีหน้า ระดับความตื่นเต้น การมีสมาธิจดจ่อและความคิดของบุคคล โดยที่บุคคลนั้น ไม่จำ�เป็นต้องขยับร่างกาย นวัตกรรมที่สี่ คือ “ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้ทุกที่ ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยีโมบายล์” ตัวอย่างเช่น ไอบีเอ็มใช้เทคโนโลยีเสียงพูด และอุปกรณ์พกพาเพื่อช่วยให้ชาวชนบทในอินเดียที่ไม่รู้หนังสือสามารถรับรู้ และถ่ายทอดข้อมูลผ่านทางข้อความที่บันทึกไว้ในโทรศัพท์ เป็นต้น และนวัตกรรมที่ห้า คือ “คอมพิวเตอร์จะช่วยคัดกรองและแจ้ง ข้อมูลสำ�คัญทีส่ อดคล้องกับความต้องการของเรา” ซึง่ ไอบีเอ็มกำ�ลังพัฒนา เทคโนโลยีที่ใช้ระบบวิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์ เพื่อกลั่นกรองและผนวกรวม ข้อมูลจากทุกแง่มุมของชีวิตมนุษย์เราเพื่อคัดกรองข้อมูลมาเสนอผู้รับตาม ความต้องการเฉพาะบุคคล เชือ่ ว่าเมือ่ นวัตกรรมต่างๆ เหล่านีไ้ ด้รบั การพัฒนาสำ�เร็จจนถึง ขั้นใช้งานจริงได้ โลกคงต้องพบกับความเปลี่ยนแปลงครั้งสำ�คัญอีกครั้ง อาจดังเช่นเหมือนเมื่อหลายสิบปีก่อนที่ระบบการสื่อสารไร้พรมแดนอย่าง อินเทอร์เน็ตเคยสร้างไว้ -


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.