เมดิคอลไทม์ ฉบับ 418

Page 1

www.medi.co.th ป ที่ 20 ฉบับที่ 418 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2564

จับตายารักษา COVID-19 ชนิดรับประทาน

อีกหนึ่งความหวังในการต อสู กับโรคติดเชื้อ SARS-CoV-2





การศึกษาการรับรูของผูปวยตอโรค Axial spondyloarthritis พ.อ.หญิง ร.ศ. สุมาภา ชัยอํานวย

แพทยโรคขอและรูมาติสซั่ม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา

•Axial spondyloarthritis (axSpA) ซึ่ง รวมถึง • ขอมูลพื้นฐานของคนไขโดยรวมพบวารอยละ 77 ของคนไข มี ankylosing spondylitis (AS) และ nonradiographic การศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และเกินกวาครึ่งที่มีรายไดตอ axial SpA (nr-axSpA) เปนภาวะอักเสบเรื้อรังที่เกิดจาก ครัวเรือน สูงกวา 50,000 บาทตอเดือน อาการปวดหลังและความฝดของกระดูกสันหลังที่เพิ่ม ขึ้น • อาการที่พบบอยที่สุด คือ อาการปวดหลังสวน ลาง การรักษาโดยทั่วไปมีจุดมุงหมายเพื่อลดอาการปวด และตึง ปองกันความพิการ ชวยใหผูปวยใชชีวิตและทํา กิจกรรมไดตามปกติ • การควบคุมโรคทําไดโดยการใชยา กายภาพบําบัด การออกกําลังกาย และปรับการใชชีวิต การจัดการโรคมี ทั้งที่เกี่ยวของกับการผาตัดและไมผาตัด ขึ้นอยูกับอาการ ทางคลินิก ประวัติผูปวย และระดับความรุนแรง ฯลฯ • การรักษาทางการแพทยโดยทัว่ ไป ไดแก NSAID, Opioids, Glucocorticoids injection, Conventional DMARDs (c-DMARDs) หรือ MTX, Anti-TNF, Anti-IL17 เปนตน เชนเดียวกับประเทศกําลังพัฒนา อื่น ๆ ผูปวยในประเทศไทยอาจมีความลาชาในการ เขาถึงการรักษาดวยยาชีววัตถุ เนื่องจากสาเหตุที่เปน ไปไดหลายประการ เชน การวินิจฉัยลาชา การศึกษา และคาใชจายในการรักษา เปนตน •วัตถุประสงคของงานวิจัยมี ดังนี้ • เพื่อทําความเขาใจ patient journey ตาม ลําดับ ตั้งแตอาการแรกเริ่ม การวินจิ ฉัย ติดตามอาการ การรักษา และผลกระทบของโรคตอการใชชวี ติ ประจําวัน ของคนไข • เพื่อประเมินความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรคของ คนไข ประเด็นที่เปนปญหา ความกังวล ความตองการ ที่แทจริงที่ยังไมถูกเติมเต็มในมุมมองของคนไข •สํ า หรั บ วิ ธี วิ จั ย เริ่ ม จากใช คํ า ถามคั ด กรองในช ว ง 26 ม.ค. – 12 มี.ค. 2564 เลือกคนไขชวงอายุ 20-70 ป ที่วินิจฉัยเปน axSpA ไดจํานวนคนไขทั้งหมด 30 คน จากกรุงเทพฯ 20 คน และตางจังหวัด 10 คน และทําการ สั ม ภาษณ แ บบกึ่ ง โครงสร า งและวิ เ คราะห ผ ลโดย บริษัท IQVIA

•จากผลการศึกษาพบวา 1. ในดานความรูและการรับรูของผูปวย โดยทั่วไปผูปวย คิดวาตนมีความรูดีเกี่ยวกับ axSpA (7 จาก 10) โดยเฉพาะ ที่มาจากโรงเรียนแพทย โรงพยาบาลเอกชน ใชสิทธิจายเองและ ผูปวยที่อายุนอย ผูปวยรูเกี่ยวกับอาการและการรักษาโรค อยางไร ก็ตาม ผูปวยบางรายไมทราบวาโรคนี้สามารถสงผลกระทบตอ อวัยวะอืน่ ๆ ไดนอกเหนือกระดูกสันหลัง นอกจากนี้ ผูป ว ยทีใ่ ชสทิ ธิ์ ประกันสุขภาพถวนหนาและสิทธิป์ ระกันสังคม รายไดนอ ย เพศหญิง วัยกลางคนถึงสูงอายุ และระดับการศึกษาตํา่ กวาปริญญาตรี มักจะมี ความรูเ กีย่ วกับโรคนอยกวากลุม อืน่ 2. ประสบการณและมุมมองของผูปวยกอนไดรับการวินจิ ฉัย • อาการหลักทีก่ ระตุน ใหไปพบแพทยคอื อาการปวด และตึงหลัง


• ผูป ว ยรับรูว า โรคนีม้ ผี ลกระทบตอคุณภาพชีวติ คอนขางมาก (7 ใน 10) • ในกลุม สตรีและผูส งู อายุ อาการทีส่ งผลตอคุณภาพชีวิต มากที่สุด คือ มานตาอักเสบ • การปวด ไดแก ปวดหลัง ปวดคอ เปนอาการหลักที่ สงผลตอคุณภาพชีวิต นอกจากนี้ โรคนี้ยังสงผลกระทบ มากที่ สุ ด ต อ การนอนหลั บ และความสามารถในการ ออกกําลังกาย ยืนและเดิน

สํ า หรั บ แพทยท ี่ผูป วยไปพบเปนคนแรก คือ ศัลยแพทยกระดูกและขอ ตามดวยอายุรแพทยและแพทยทว่ั ไป การวินจิ ฉัยครัง้ แรกสวนใหญเปนกลามเนือ้ อักเสบ สําหรับ ผูปวยที่อายุนอย บางคนไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรค ออฟฟศซินโดรม ในขณะทีผ่ สู งู อายุบางคนไดรบั การวินจิ ฉัย วาเปนโรคขอเสื่อม กอนการวินิจฉัย ผูปวยทุกรายไดรับ การรักษา สวนใหญเปนยาแกปวดและยากลุม NSAIDs ความพึงพอใจกอนการรักษาที่ไดรับกอนการวินิจฉัยคอน ขางตํ่า (4 ใน 10) เนื่องจากการรักษาไมสามารถลดความ เจ็บปวดและรูสึกไมพอใจกับการวินิจฉัยที่ผิด 3. ประสบการณและมุมมองของผูปวยในชวงที่ได รับการวินจิ ฉัย โดยเฉลีย่ ผูป ว ยไปพบแพทยมาแลวประมาณ 2-3 คน และเปลี่ยนการรักษา 2 -3 ครั้ง กอนไดรับการ วินิจฉัย ใชเวลาประมาณ 4-5 ป จึงจะไดรับการวินิจฉัย ที่ถูกตอง โดยระยะเวลาการวินิจฉัยในโรงเรียนแพทยจะ คอนขางสั้นกวา แตโดยรวมผูปวยสวนใหญคิดวาระยะ เวลานานเกินไปยกเวนผูที่ไดรับการวินิจฉัยภายใน 1 ป ในการวินิจฉัย แพทยโรคขอคือแพทยเฉพาะทางหลักที่ รับผิดชอบในการวินิจฉัย Axial SpA อยางไรก็ตาม ในโรง พยาบาลของรัฐ ประมาณ 1 ใน 3 ของผูป ว ยไดรบั การวินิจฉัย โดยแพทยออรโธปดิกส ผูปวยมากกวารอยละ 80 ผาน การเอกซเรยเพื่อวินิจฉัย หลังไดรับการวินิจฉัย การรักษา ที่ไดรับจะเปลี่ยนแปลงไปสําหรับผูปวยสวนใหญ โดยจะ ไดรับ c-DMARDS เปนสวนใหญ มีผูปวยประมาณรอยละ 30 ไดรับยาชีววัตถุ ผูปวยที่ไดยาชีววัตถุสวนใหญมา จากโรงเรียนแพทยและมีสิทธิขาราชการ มีระดับรายได ที่สูงและอายุนอย หลังไดรับยาพบวาความพึงพอใจของ P3

ผูปวยเพิ่มขึ้นอยางมาก เนื่องจากการรักษาที่ไดรับสามารถ บรรเทาอาการปวดได 4. ประสบการณและมุมมองของผูปวยเกี่ยวกับการรักษาที่ ไดรบั ในปจจุบนั โดยเฉลีย่ ผูป ว ยไดรบั การวินจิ ฉัยมาแลว 7 ป ผูป ว ย เกือบครึ่งไดรับการรักษาหลังการวินิจฉัยมานานกวา 5 ป แพทย ที่ใหการรักษายังคงเปนแพทยโรคขอ สวนใหญติดตามแพทย ทุก 3 เดือน ยกเวนโรงพยาบาลเอกชนและผูสูงอายุซึ่งไดรับ การติดตามผลบอยขึ้นทุกเดือน ผูปวยเกือบทั้งหมดมักใชยาตาม คําแนะนําของแพทย เกือบรอยละ 70 ไดรับการรักษาแบบเดิม ที่ไดรับตั้งแตวินิจฉัย และผูปวยคอนขางพอใจกับการรักษา ที่ไดรับเนื่องจากประสิทธิภาพในการลดความเจ็บปวด คุณภาพ ชีวิตดีขึ้น และลดอาการสวนใหญ ทําใหคะแนนความพึงพอใจ เพิ่มขึ้นเปน 8 ใน 10 คะแนน สําหรับอาการเกือบทั้งหมด อีกทั้งเพิ่มความสามารถในการดูแลตนเอง ยืน เดิน และทํา กิจกรรมประจําวัน 5. ความตองการทีแ่ ทจริงทีย่ งั ไมถกู เติมเต็มและความคาดหวัง ในมุมมองของคนไข : โดยรวมแลว ผูปวยปฏิบัติตามคําแนะนําของ แพทย โดยมีหรือไมมีการรองขอขอมูลเพิ่มเติม ผูปวยสวนใหญ คาดหวังวาการรักษาจะชวยใหหายขาดได ทําใหพวกเขาใชชีวิตได ตามปกติ นอกจากนี้ พวกเขายังตองการการเขาถึงการรักษาดวย ยาชีววัตถุมากขึน้ ผูป ว ยคาดหวังวาจะสามารถทํากิจกรรมประจําวัน ไดตามปกติหลังไดรับการรักษา ที่สําคัญที่สุด คือ ผูปวยทุกราย คาดหวังวาการรักษาจะปลอดภัยทีจ่ ะใชในระยะยาว ในมุมมองของ ผูปวย ความตองการเกือบทั้งหมดเปนความตองการระยะสั้น อยางไรก็ตาม ความตองการระยะกลาง คือ ยาที่ไมจําเปนตอง รับประทานทุกวันและไมตอ งเขารับการรักษาในโรงพยาบาลบอย ๆ และความตองการระยะยาว คือ ปลอดภัยในการใชในระยะยาว

•จากผลการศึกษาจึงแนะนําวา เราควรผลักดันการวินิจฉัยให รวดเร็วและถูกตองมากขึ้น เพื่อใหผูปวยมีผลการรักษาที่ดีขึ้น โดย การเพิ่มความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรคและเกณฑในการคัดกรอง ผูปวยใหกับบุคลากรทางการแพทยที่ผูปวยไปพบเปนครั้งแรก รวมถึงสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ผูปวยสวนใหญยังคงพึงพอใจกับผล การรักษาระยะสั้นมากกวาระยะยาว ดังนั้น จึงควรไดรับความรู เกี่ยวกับโรค การลุกลามที่กอใหเกิดความพิการและผลกระทบตอ อวัยวะอื่น ๆ หากไมไดรับการรักษาที่ถูกตองในเวลาที่เหมาะสม TH2111182886 30 Nov 2022


»‚·Õè 20 ©ºÑº·Õè 418 »ÃШíÒà´×͹ ¾.Â. - ¸.¤. 2564

24 หนึ่งโรค หนึ่งรู 25 ข อมูลสุขภาพ

4 บทบรรณาธิการ 5 Cover Story ¨ÑºµÒÂÒÃÑ¡ÉÒ COVID-19 ª¹Ô´ÃѺ»Ãзҹ Íա˹Ö觤ÇÒÁËÇѧ㹡Òõ‹ÍÊÙŒ¡ÑºâäµÔ´àª×éÍ SARS-CoV-2

8 Journal Watch ¡ÒÃ㪌 higher dose ¢Í§ Dexamethasone ÁÕ»ÃÐ⪹ µ‹Í¼ÙŒ»†Ç severe COVID-19 ËÃ×ÍäÁ‹ Myocarditis ËÅѧ©Õ´ÇѤ«Õ¹ mRNA ¢Í§ Pfizer/BioNTech ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒŒ͹ËÅѧã¹ÍÔÊÃÒàÍÅÂ×¹ÂѹÁÕ¤ÇÒÁàÊÕ觵èíÒ

11 รายงานพ�เศษ

“ÁÐàÃ移ʹ äÁ‹¹‹Ò¡ÅÑÇÍ‹ҧ·Õè¤Ø³¤Ô´” Ã.¾.àÁµµÒÏ ä¢¢ŒÍ¢ŒÍ§ã¨ “âäÇØŒ¹µÒàÊ×èÍÁ” ¹‹Ò¡ÅÑÇËÃ×Íà»Å‹Ò¹Ð ÍÂ. ªÕé»ÃÐ⪹ ¨Ò¡¡ÒÃÍ‹Ò¹©ÅÒ¡ GDA »ÅѴʸ. ᨧ¡Ã³Õ©Õ´ÇѤ«Õ¹áŌǢŒÍÁÙÅäÁ‹¢Öé¹/¢Öé¹äÁ‹µÃ§

29 ปฏิทินข าว 30 News in Medicine

Ã.¾.਌ҾÃÐÂÒÍÀÑÂÀÙàºÈùíÒËͧ¾Ôʨ٠¹ 굄 Åѡɳ ¤¹ä·ÂäÌʶҹÐ

13 เวทีว�จัย

Á¸. à¼ÂËÒ¡¤¹ä·Â©Õ´ÇѤ«Õ¹¤Ãº 100 Ōҹâ´Ê »‚¹Õé Ê‹§ãËŒàÈÃÉ°¡Ô¨»‚˹ŒÒ¿„œ¹µÑÇ 3.9%

16 News Update ʻʪ.ËÇÁ¡Ñº HITAP à» ´µÑÇàÇçºä«µ “ucbp.nhso.go.th” ª‹Í§·Ò§¡ÒþѲ¹Ò»ÃѺ»ÃاÊÔ·¸ÔºÑµÃ·Í§

11

18 บทความพ�เศษ 20 รู ทันโรค 21 Medical Technology ¼Å§Ò¹»ÃдÔÉ° ¢ŒÍÊÐ⾡à·ÕÂÁ ¢Í§á¾·Â ¨ØÌÒÏ áË‹§áá ã¹»ÃÐà·Èä·Â µÃǨ¡ÒõԴàª×éÍâä Covid-19 ´ŒÇÂÅÁËÒÂã¨

13 8

20


ปีที่ 21 ฉบับที่ 418 ประจำ�เดือน พ.ย. - ธ.ค. 2564 ร่วมให้กำ�ลังใจวัคซีน COVID-19 ของคนไทย

ADVISORY BOARD

รศ.ภญ.ธิดา นิงสานนท์ รศ.ดร.ภก.สุนิพนธ์ ภุมมางกูร ดร.ภญ.พร้อมจิต ศรลัมพ์ ภญ.อุไร หนุนภักดี พรวิทย์ พัชริทร์ตนะกุล ภญ.ปรานี ภิญโญวัฒยากร รศ.ดร.ภญ.จุฑามณี สุทธิสีสังข์ ภก.ทวีศักดิ์ สีทองสุรภณา ภก.สมเกียรติ มหพันธ์ ภก.นิพนธ์ ศิริชัยพหรหม ภญ.พนิดา ปัญญางาม ภก.คทา บัณฑิตานุกูล พ.อ.ภก.สมโชค แดงบรรจง ภก.ประวิทย์ ตันติสุวิทย์กุล รศ.ดร.ภญ.เฉลิมศรี ภุมมางกูร

EXECUTIVE EDITOR พจ.วันชัย คุปต์วาทินกุล

ADVERTISING MANAGER จารุวัล สุริโย

EDITORIAL DEPARTMENT รักษ์ชนม์ จิตระทาน

บริษัท เมดิ เจอร์นัล จำ�กัด

เลขที่ 158 ซ.บางขุนนนท์ 29 ถ.บางขุนนนท์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 0 2424 3434 แฟกซ์ 0 2434 3434 E-mail : medijournal999@gmail.com

PRINTING

บริษัท บี.เค.อินเตอร์พริ้นท์ จำากัด 12/2 ซอยโชติวัฒน์ 8 ริมคลองประปา เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร. 0 2587 1609

(ข้ อ ความและเนื้ อ หาที่ ป รากฏในวารสารเมดิ ค อลไทม์ เ ป็ น ความ คิดเห็นและทรรศนะเฉพาะตัวของผู้เขียนจึงอยู่เหนือความรับผิดชอบ ของผู้จัดทำา ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจรับทราบข้อมูล ด้วยตนเอง)

เมื่อวันที่ 18 พฤศจิก�ยน 2564 ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออ�ภรณ์ อธิก�รบดี จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย เป็นประธ�นกล่�วเปิดง�น และร่วมเสวน�กับ วิทย�กรในก�รเสวน� Chula The Impact ครัง้ ที่ 5 เรือ่ ง “คว�มคืบหน้� วัคซีนโควิด-19 ของจุฬ�ฯ นวัตกรรมของไทย คว�มหวังของโลก” นำ�เสนอ คว�มคืบหน้�ล่�สุดของก�รพัฒน�วัคซีน COVID-19 โดยจุฬ�ลงกรณ์ มห�วิทย�ลัย ทั้งวัคซีน ChulaCov19 ชนิด mRNA ประสิทธิภ�พสูง โดยคณะแพทยศ�สตร์ จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย และวัคซีนจุฬ�ฯ-ใบย� วัคซีนชนิด protein subunit สกัดจ�กใบพืชชนิดแรกของไทย โดยบริษัท ใบย� ไฟโตฟ�ร์ม จำ�กัด คณะเภสัชศ�สตร์ จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย ขณะที่ ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รงุ่ ธรรม ผูอ้ �ำ นวยก�รบริห�รโครงก�รพัฒน� วัคซีนโควิด-19 ศูนย์วจิ ยั วัคซีน คณะแพทยศ�สตร์ จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย ซึ่งพัฒนาวัคซีน ChulaCov19 กล่าวว่า วัคซีน ChulaCov 19 ชนิด mRNA ซึ่งเริ่มดำาเนินการทดสอบในมนุษย์ระยะที่ 1/2 ตั้งแต่วันที่ 14 มิถุนายน ที่ผ่านมา มีการทดสอบในอาสาสมัคร 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มอายุ 18-55 ปี จำานวน 36 คน และกลุ่มอายุ 56-75 ปี จำานวน 36 คน ฉีดวัคซีน 2 เข็ม ห่างกัน 3 สัปดาห์ โดยผลเบือ้ งต้นในกลุม่ อายุ 18-55 ปี พบว่า วัคซีนกระตุน้ ภูมคิ มุ้ กัน ได้ดี ไม่พบอาการข้างเคียงทีร่ นุ แรง โดยอาสาสมัครมีอาการข้างเคียงเล็กน้อย ถึงปานกลาง อาการจะดีขึ้นภายใน 1 ถึง 2 วัน นอกจากนี้ ยังได้ทดสอบ ในกลุ่มอายุ 55-75 ปีอีกด้วย รวมทั้งอยู่ระหว่างการหารือกับสำานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพือ่ เตรียมการทดสอบในมนุษย์ระยะที่ 2 ต่อไป และเตรียมความพร้อมขยายกำาลังการผลิตวัคซีน ด้าน ผศ.ภญ.ดร.สุธีร� เตชคุณวุฒิ คณะเภสัชศ�สตร์ จุฬ�ลงกรณ์ มห�วิทย�ลัย และดำ�รงตำ�แหน่ง Chief Executive Officer หรือ CEO และ Co-Founder บริษัท ใบย� ไฟโตฟ�ร์ม จำ�กัด ผู้ร่วมคิดค้น วัคซีนป้องกัน Covid-19 จ�กใบพืชตระกูลย�สูบ (วัคซีนจุฬ�ฯ-ใบย�) เผยถึงความคืบหน้าของวัคซีนจุฬาฯ-ใบยา จากใบพืชตระกูลยาสูบสปีชีส์ “N. benthamiana” ซึ่งใช้ระบบการผลิต recombinant protein โดยการ ตัดต่อพันธุกรรมของแบคทีเรียที่ก่อโรคในพืชในใบยาสูบ ว่าปัจจุบันได้ดำาเนิน การสร้างโรงงานผลิตวัคซีนระดับอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการผลิตวัคซีนจาก ระบบดังกล่าวที่อาคารจุฬาพัฒน์ 14 คาดว่าจะมีกำาลังการผลิตจำานวน 1-5 ล้านโดสต่อเดือน ส่วนวัคซีนอยู่ระหว่างการทดสอบในมนุษย์ระยะที่ 1 โดยได้ เริ่มฉีดให้กับอาสาสมัครตั้งแต่วันที่ 27 กันยายนที่ผ่านมา ทั้งนี้ การทดสอบในมนุษย์ของวัคซีนใบยามี ศ.นพ.เกียรติ ร่วมเป็น นักวิจัยทางคลินิกด้วย นอกจากนี้ ทีมวิจัยยังได้พัฒนาวัคซีนรุ่นที่ 2 โดย ปรับปรุงสูตรให้สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดีขึ้น และมีการพัฒนาจากเชื้อ ไวรัสกลายพันธุ์มากกว่า 10 รูปแบบ เพื่อพัฒนาเป็นวัคซีนผสม (cocktail vaccine) ซึ่งวัคซีนรุ่นที่ 2 นี้ ปัจจุบันยังอยู่ระหว่างการทดสอบในสัตว์ทดลอง นอกจากนี้ น.ส.รัชด� ธน�ดิเรก รองโฆษกประจำ�สำ�นักน�ยกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมือ่ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2564 ว่า ครม. ได้อนุมัติโครงการวิจัยและพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ChulaCov19 mRNA เพื่อทำาการทดสอบทางคลินิกระยะที่ 3 และการผลิตเพื่อขึ้นทะเบียน วัคซีน เพื่อใช้ในภาวะฉุกเฉิน กรอบวงเงิน 2,316 ล้านบาท และเห็นชอบใน หลักการโครงการวิจัยและพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 (Baiya) กรอบ วงเงิน 1,309 ล้านบาท ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ และนวัตกรรม (อว.) โดยใช้จ่ายจากเงินกู้ภายใต้พระราชกำาหนด กู้เงินเพิ่มเติมฯ พ.ศ.2564


Cover Story จับตายารักษา COVID-19 ชนิดรับประทาน อีกหนึ่งความหวังในการตอสูกับโรคติดเชื้อ SARS-CoV-2 ยาตานไวรัสชนิดรับประทาน 2 ตัว คือ Molnupiravir ของ บริษัท Merck และ Paxlovid ของ บริษัท Pfizer กําลังเปนความหวังใหมในการตอสูกับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือโรค COVID-19 หลังจากผลการศึกษา ทางคลินิกในระยะที่ 3 แสดงใหเห็นวา ยาตานไวรัสชนิด รับประทานทั้ง 2 ตัว สามารถลดความรุนแรงจากการ ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่เปนสาเหตุของโรค COVID-19 ไดเปนอยางดี เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2564 บริษัท Merck หรือที่ นอกสหรัฐอเมริกาและแคนาดารูจักกันในชื่อ บริษัท MSD (Merck Sharp & Dohme) รายงานเกี่ยวกับ interim analysis ของการศึกษาทางคลินิกในระยะที่ 3 ที่มีชื่อวา MOVe-OUT trial ซึง่ ประเมินประสิทธิภาพของ molnupiravir (MK-4482, EIDD-2801) ชนิดรับประทานในรูป capsule เปรียบเทียบกับ matching placebo ในผูที่มีอายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป ที่มีผลตรวจทางหองปฏิบัติการยืนยันวา ติดเชื้อ SARS-CoV-2 มีความรุนแรงของโรคอยูในระดับ เล็กนอยถึงปานกลาง และยังไมไดเขารักษาตัวในโรงพยาบาล พบวา molnupiravir ลดความเสี่ยงของการเขารักษาตัวใน โรงพยาบาลหรือเสียชีวิตจากโรค COVID-19 ไดถึงประมาณ 50% เมื่อเทียบกับ matching placebo Merck รายงานวา MOVe-OUT trial ในสวนที่ เปน Phase 3, randomized, placebo-controlled, double-blind, multi-site study ดําเนินการในมากกวา 170 centers ทั่วโลก ไดแก Argentina, Brazil, Canada, Chile, Colombia, Egypt, France, Germany, Guatemala, Israel, Italy, Japan, Mexico, Philippines, Poland, Russia, South Africa, Spain, Sweden, Taiwan, Ukraine, the United Kingdom และ สหรัฐอเมริกา โดยตั้งเปาจะคัดเลือกผูปวยติดเชื้อจํานวน ทัง้ สิน้ 1,850 ราย เขารวมในการศึกษานี้ และมี inclusion criteria ทีส่ าํ คัญ คือ มีอายุตง้ั แต 18 ปขน้ึ ไป มีผลตรวจทาง หองปฏิบัติการยืนยันวาติดเชื้อ SARS-CoV-2 และมีอาการ เล็กนอยถึงปานกลางมาไมเกิน 5 วัน กอนที่จะถูกสุมใหได รับการรักษาที่กําหนดไวในการศึกษานี้ นอกจากนี้ ผูปวย ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ไดรับการคัดเลือกใหเขารวมใน

การศึกษานี้ จะตองมีปจจัยเสี่ยงอยางนอย 1 อยาง ที่สัมพันธกับการ มี poor disease outcome หรือการมี disease progression ของ การติดเชื้อ SARS-CoV-2 ไดแก อวน มีโรคเบาหวาน โรคหัวใจ หรือ มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป สวน exclusion criteria ที่สําคัญก็คือ ตองไมใชผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่กําลังนอนรักษาตัวอยูใน โรงพยาบาล หรือคาดวาจําเปนตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาลภายใน เวลา 48 ชั่วโมง หลังจากถูกสุมใหไดรับการรักษาที่กําหนดไวใน การศึกษานี้ โดยผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ไดรับการคัดเลือกใหเขารวม ใน phase III MOVe-OUT trial ถูกสุมใหไดรับ molnupiravir ในรูป capsule ทุก 12 ชั่วโมง เปนเวลา 5 วัน (จํานวนทั้งสิ้น 10 doses) หรือไดรบั matching placebo ทุก 12 ชัว่ โมง เปนเวลา 5 วัน เชนกัน ติดตามผูป ว ยเปนเวลา 29 วัน นับจากผูป ว ยถูกสุม ใหไดรบั การรักษาที่ กําหนดไวในการศึกษานี้ โดยมีเปาประสงคหลักอยูท ร่ี อ ยละของผูป ว ย ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในแตละกลุมที่ตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาล หรือเสียชีวิตที่ 29 วัน นับตั้งแตถูกสุมใหไดรับการรักษาที่กําหนดไวใน การศึกษานี้

สําหรับ interim analysis ของ MOVe-OUT trial มาจากการ วิเคราะหขอมูลของผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 จํานวนทั้งสิ้น 762 ราย ที่ไดรับการคัดเลือกใหเขารวมในการศึกษานี้กอนวันที่ 5 สิงหาคม 2564 โดยที่ 29 วัน นับตั้งแตผูปวยถูกสุมใหไดรับการรักษาที่กําหนด ไวในการศึกษานี้ พบวา มีผูปวย 28 ราย (7.3%) จากจํานวนทั้งสิ้น 385 ราย ที่ถูกสุมใหไดรับ molnupiravir ในรูป capsule ตองเขา รักษาตัวในโรงพยาบาล เทียบกับผูปวย 53 ราย (14.1%) จากจํานวน ทั้งสิ้น 377 ราย ในกลุมที่ไดรับ matching placebo ที่ตองเขารักษา

¾.Â.-¸.¤. 2564

5


Cover Story ตัวในโรงพยาบาล ซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p= .0012) และที่สําคัญเปนพิเศษก็คือวา ไมมีผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 เสียชีวิตเลยในกลุมที่ไดรับ molnupiravir ในรูป capsule ตลอด 29 วัน นับตั้งแตผูปวยถูกสุมให ไดรับการรักษาที่กําหนดไวในการศึกษานี้ ขณะที่ในกลุม ที่ไดรับ matching placebo มีผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 เสียชีวิตจํานวน 8 ราย สวนขอมูลดานความปลอดภัย พบวา มีอุบัติการณของ adverse events โดยทัว่ ไปใกลเคียงกันระหวางกลุม ผูป ว ย ที่ไดรับ molnupiravir ในรูป capsule (35%) และ กลุมผูปวยที่ไดรับ matching placebo (40%) ขณะที่ มีอุบัติการณของ drug-related adverse events อยู ที่ 12% สําหรับกลุมผูปวยที่ไดรับ molnupiravir ใน รูป capsule เทียบกับ 11% ของกลุมผูปวยที่ไดรับ matching placebo นอกจากนี้ ยังพบวาในกลุมผูปวยที่ ไดรับ molnupiravir มีผูปวยจํานวนนอยกวาที่ตองหยุดยา เนื่องจาก adverse event คือ แค 1.3% เทียบกับ 3.4% ของกลุมผูปวยที่ไดรับ matching placebo ตอมาเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2564 บริษัท Merck และ Ridgeback Biotherapeutics ซึ่งรวมกันพัฒนายา molnupiravir แจงวา Merck และ Ridgeback ไดยื่นขอ การรับรองจากสํานักงานอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration) หรือ FDA เพื่อใช ยา molnupiravir เปนการฉุกเฉินในสหรัฐอเมริกาสําหรับ รักษาผูปวยติดเชื้อโรค COVID-19 ที่มีอาการเล็กนอยถึง ปานกลาง และมีปจจัยเสี่ยงที่จะนําไปสูการมีอาการรุนแรง ขึ้นของโรค COVID-19 จนตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาล ขณะเดียวกัน Merck และ Ridgeback ระบุวา หาก molnupiravir ซึง่ มีกลไกการออกฤทธิด์ ว ยการยับยัง้ การเพิม่ จํานวนของเชื้อไวรัสในเซลลของผูที่ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ไดรับการรับรองจาก FDA ยาตานไวรัสชนิดรับประทาน ตั ว นี้ จ ะถื อเป น ยาต า นไวรั ส ชนิ ด รั บ ประทานตั ว แรกที่ ใช สําหรับรักษาผูปวยโรค COVID-19 ลาสุดเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2564 หนวยงานกํากับ ดูแลดานยาและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพของสหราชอาณาจักร นั่นก็คือ Medicines and Healthcare products Regulatory Agency (MHRA) ไดออกแถลงการณเกี่ยว กับการใหการรับรอง molnupiravir หรือที่มีชื่อทางการคา วา Lagevrio สําหรับใชในการรักษาผูปวยโรค COVID-19 โดยระบุวา จากการทบทวนขอมูลดานประสิทธิภาพ ความ ปลอดภั ย และคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ ข องยาต า นไวรั ส ชนิ ด 6

¾.Â.-¸.¤. 2564

รับประทานตัวนี้อยางละเอียดถี่ถวนโดย MHRA และคณะกรรมาธิการ ดานผลิตภัณฑยาทีใ่ ชกบั มนุษย (Commission on Human Medicines) พบวา molnupiravir มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการลด ความเสี่ ย งที่ จ ะต อ งเข า รั ก ษาตั ว ในโรงพยาบาลหรื อ การเสี ย ชี วิ ต จากโรค COVID-19 ใหกับผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่มีอาการ เล็กนอยถึงปานกลาง แตมีปจจัยเสี่ยงที่จะมีผลใหโรค COVID-19 มีความรุนแรงมากขึ้นจนถึงขั้นตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาลหรืออาจ เสียชีวิตจากโรค COVID-19 ได สวนยาตานไวรัสชนิดรับประทานอีกตัวหนึ่งที่กําลังเปนความหวัง อยางยิง่ ของทัว่ โลกในการตอสูก บั โรค COVID-19 ก็คอื Paxlovid ของ บริษทั Pfizer โดยเมือ่ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2564 บริษทั Pfizer ไดรายงาน เกี่ยวกับ interim analysis ของการศึกษาทางคลินิกในระยะที่ 2/3 ที่มีชื่อวา EPIC-HR (Evaluation of Protease Inhibition for COVID-19 in High-Risk Patients) ซึง่ เปนการศึกษาทีม่ งุ ประเมิน ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาตานไวรัสชนิดรับประทาน Paxlovid เปรียบเทียบกับ placebo ในผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 ทีย่ งั ไมไดเขารักษาตัวในโรงพยาบาลแตมคี วามเสีย่ งสูงของโรค COVID-19 ที่รุนแรงมากขึ้นจนถึงขั้นตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาล โดยพบวา Paxlovid ที่มี active ingredient คือ PF-07321332 ซึง่ เปน ยาตานไวรัสตัวใหมในกลุม protease inhibitors ทีอ่ อกฤทธิย์ บั ยัง้ เอนไซม 3CL protease ทีเ่ ชือ้ SARS-CoV-2 จําเปนตองอาศัยในการเพิม่ จํานวน ไวรัสในเซลลของผูต ดิ เชือ้ และรับประทานรวมกับ low-dose ritonavir ซึง่ เปนยาตัวหนึง่ ในกลุม protease inhibitors เชนกันและปจจุบัน นิยมใชในการรักษาโรคติดเชือ้ HIV (human immunodeficiency virus) สามารถลดความเสี่ยงของการที่จะตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาลหรือ การเสียชีวติ จากโรค COVID-19 ลงไดถึง 89% Pfizer รายงานวา EPIC-HR เปน Phase 2/3, randomized, double-blind study ในผูปวยที่มีผลตรวจทางหองปฏิบัติการยืนยัน วาติดเชื้อ SARS-CoV-2 และมีอาการเล็กนอยถึงปานกลาง ที่ยังไมได เขารักษาตัวในโรงพยาบาลแตมีความเสี่ยงสูงที่โรค COVID-19 จะ รุนแรงมากขึ้นจนถึงขั้นตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาล หรืออาจถึงขั้น เสียชีวิตจากโรค COVID-19 ได โดย interim analysis ของ EPIC-HR มาจากการวิเคราะหผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 จํานวน 1,219 ราย ที่ถูกคัดเลือกใหเขารวมในการศึกษานี้ ซึ่งเริ่มดําเนินการมาตั้งแตเดือน กรกฎาคม 2564 จนถึงลาสุดในวันที่ 29 กันยายน 2564 โดยผูปวย ติดเชือ้ SARS-CoV-2 ถูกสุม ใหไดรบั Paxlovid (PF-07321332 ในรูป tablet รวมกับ low-dose ritonavir ในรูป capsule) ทุก 12 ชั่วโมง เปนเวลา 5 วัน หรือไดรับ placebo ในรูป tablet หรือ capsule ทุก 12 ชั่วโมง เปนเวลา 5 วันเชนกัน (จํานวนทั้งสิ้น 10 doses) และ ติดตามผูปวยเปนเวลา 28 วัน นับตั้งแตถูกสุมใหไดรับการรักษาตาม ที่กําหนดในการศึกษานี้


Cover Story ประชากรผูป ว ยโดยรวมของการศึกษานีต้ ลอด 28 วัน นับตัง้ แตผูปว ย ถูกสุมใหไดรับการรักษาที่กําหนดไวในการศึกษานี้ พบวา ในกลุมที่ ไดรับ Paxlovid ไมมีผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 รายใดเสียชีวิตเลย ขณะที่ในกลุมที่ไดรับ placebo มีผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 เสียชีวิต 10 ราย เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 บริษัท Pfizer แจงวา ไดยื่นขอรับ การรับรองจาก FDA สําหรับการใช Paxlovid เปนการฉุกเฉินในการ รักษาผูปวยโรค COVID-19 ที่มีอาการเล็กนอยถึงปานกลาง และยัง ไมไดเขารักษาตัวในโรงพยาบาล แตมีความเสี่ยงสูงที่โรค COVID-19 จะมีความรุนแรงมากขึ้นจนถึงขั้นตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาลหรือ อาจเสียชีวิตจากโรค COVID-19 โดยใชผลการศึกษาของ EPIC-HR study เปนขอมูลสนับสนุน โดยหากไดรับการรับรองจาก FDA ดวย ขอบงใชดังกลาว Paxlovid จะเปนยาตานไวรัสชนิดรับประทาน ตัวแรกในกลุม 3CL protease inhibitors ที่ใชสําหรับรักษาผูปวย โรค COVID-19 ในส ว นของยาฉี ด ที่ มี ผ ลการศึ ก ษาที่ โ ดดเด น ในการลดความ เสี่ยงของความจําเปนที่จะตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาลของผูปวย โรค COVID-19 ที่ยังไมไดเขารักษาตัวในโรงพยาบาลแตมีความเสี่ยง สูงที่โรค COVID-19 จะมีความรุนแรงมากขึ้นนั้น ในงานประชุม IDWeek 2021 (virtual conference) ซึง่ จัดโดย Infectious Disease Society of America (ADSA) ในระหวางวันที่ 29 กันยายน ถึง 3 ตุลาคม 2564 Gilead Sciences ไดนําเสนอขอมูลที่เปนผล ของการศึกษาทางคลินิกในระยะที่ 3 ที่ชื่อวา GS-US-540-9012 (PINETREE) study เกี่ยวกับประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ three-day course of remdesivir ที่ใหดวยการฉีดเขาทาง หลอดเลือดดํา (intravenous, IV) เปรียบเทียบกับ placebo ใน ผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 จํานวน 562 ราย ที่มีอาการเล็กนอยถึง ปานกลาง และยังไมไดเขารักษาตัวในโรงพยาบาล แตมีความเสี่ยงสูง ที่โรค COVID-19 จะรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากมีโรครวม ไมวาจะเปน อวน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือมีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป พบวา IV remdesivir ลด composite primary endpoint ของ hospitalization ดวยโรค COVID-19 หรือ all-cause death ที่ 28 วัน ของการศึกษาลงไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ placebo กล า วคื อ (0.7% [2 ราย จากทั ้ ง สิ ้ น 279 ราย]) เปรียบเทียบกับ 5.3% [15 ราย จากทั้งสิ้น 283 ราย]) ตามลําดับ (p=0.008)

ผลการศึกษาพบวา มีผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 จํานวน 3 ราย (0.8%) จากจํานวนทั้งสิ้น 389 ราย ที่ไดรับ Paxlovid ภายในเวลา 3 วัน นับแตเริ่มมีอาการของโรค COVID-19 ที่ ตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาลโดยไมมีผูปวยรายใดเสียชีวิต จากสาเหตุใด ๆ ในเวลาตอมา ขณะที่มีผูปวยติดเชื้อ SARSCoV-2 จํานวน 27 ราย (7.0%) จากจํานวนทั้งสิ้น 385 ราย ที่ไดรับ placebo ภายในเวลา 3 วัน นับแตเริ่มมีอาการ ของโรค COVID-19 ที่ตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาลโดยมี ผูปวยเสียชีวิต 7 ราย ในเวลาตอมา ซึ่งแตกตางกันอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.0001) และแสดงใหเห็นวา Paxlovid สามารถลดความเสี่ยงของความจําเปนที่จะตองเขารักษาตัว ในโรงพยาบาลหรือการเสียชีวิตจากสาเหตุใด ๆ ก็ตาม ไดถึง 89% ในผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ยังไมไดเขารักษาตัวใน โรงพยาบาลแตมีความเสี่ยงสูงที่โรค COVID-19 จะมีความ รุนแรงมากขึ้น ขณะเดียวกันในกลุมผูปวยติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ยัง ไมไดเขารักษาตัวในโรงพยาบาลและไดรับการรักษาตามที่ กําหนดไวในการศึกษานี้ภายในเวลา 5 วัน นับแตเริ่มมีอาการ ของโรค COVID-19 พบวามีผูปวย 6 ราย (1.0%) จากจํานวน ทั้งสิ้น 607 ราย ของกลุมที่ไดรับ Paxlovid ที่ตองเขารักษา ตัวในโรงพยาบาลโดยไมมีผูปวยรายใดเสียชีวิตในเวลาตอมา เทียบกับผูปวย 41 ราย (6.7%) จากจํานวนทั้งสิ้น 612 ราย ของกลุมที่ไดรับ placebo ที่ตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาล โดยมีผูปวยเสียชีวิต 10 ราย ในเวลาตอมา ซึ่งก็แตกตางกัน แหลงที่มาของขอมูล: www.merck.com, www.pfizer.com, www. อยางมีนัยสําคัญทางสถิติอีกเชนกัน (p<0.0001) และสําหรับ healio.com, www.drugs.com, www.ema.europa.eu, www.gov. uk, www.medscape.com, https://directorsblog.nih.gov ¾.Â.-¸.¤. 2564

7


Journal Watch การใช higher dose ของ Dexamethasone มีประโยชนตอผูปวย severe COVID-19 หรือไม ทบทวนการศึกษาทางคลินิกที่ชื่อวา COVID STEROID 2 Randomized Trial ที่รายงานไวใน JAMA วันที่ 21 ตุลาคม 2021 โดย นพ. Rajesh T. Gandhi แหง โรงเรียนแพทย Harvard Medical School มหาวิทยาลัย Harvard ในนคร Boston มลรัฐ Massachusetts ของ สหรัฐอเมริกา และเปนสมาชิกของ Infectious Diseases Society of America (IDSA) และ COVID-19 Treatment Guidelines Panels ของสถาบันสุขภาพแหงชาติ ของสหรัฐอเมริกา (National Institutes of Health หรือ NIH ในแงของตัวเลข การใช dexamethasone 12 mg ให ผลลัพธทางคลินิกที่ดีกวา dexamethasone 6 mg แตไมได แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ การศึกษาทางคลินิกที่มีชื่อวา RECOVERY trial แสดง ใหเห็นวา dexamethasone ลดการเสียชีวิตเมื่อใหกับ ผูปวยโรค COVID-19 ที่นอนรักษาตัวอยูในโรงพยาบาลและ จําเปนตองไดรับออกซิเจนเสริม (NEJM JW Infect Dis Sep 2020 and N Engl J Med 2021; 384:693) โดยในการ ศึกษานี้ ผูปวยโรค COVID-19 ไดรับ dexamethasone 6 mg เปนประจําทุกวัน เปนเวลา 10 วัน หรือจนกระทั่งออก จากโรงพยาบาล ขณะที่คณะผูวิจัยของ COVID STEROID 2 Randomized Trial ประเมินวา dexamethasone 12 mg มีประโยชนตอผลลัพธทางคลินิกที่ดีกวา dexamethasone 6 mg หรือไมสําหรับผูปวย severe COVID-19 ที่นอนรักษา ตัวอยูในโรงพยาบาล ผูปวยโรค COVID-19 จํานวนทั้งสิ้น 1,000 คน ที่นอน รักษาตัวอยูในโรงพยาบาลและจําเปนตองไดรับออกซิเจน เสริม ตั้งแต 10 ลิตร/นาทีขึ้นไป หรือตองใสเครื่องชวย หายใจ ถูกสุม (1:1) ใหไดรบั dexamethasone 12 mg/day หรือ dexamethasone 6 mg/day ทางหลอดเลือดดํา เปนเวลานานไดถึง 10 วัน โดยมีผลการศึกษาหลัก ๆ ดัง ตอไปนี้ * จํ านวนวั น โดยเฉลี่ยที่ม ีช ีว ิต รอดโดยไมต องไดรับ life support อยูที่ 22.0 วัน สําหรับ dexamethasone 12 mg/day และ 20.5 วัน สําหรับ dexamethasone 6 mg/day [adjusted mean difference, 1.3 วัน (95% CI, 0.0–2.6 วัน, P=0.07)] 8

¾.Â.-¸.¤. 2564

* อัตราการเสียชีวิตที่ 28 วัน อยูที่ 27.1% สําหรับ dexamethasone 12 mg/day และ 32.3% สําหรับ dexamethasone 6 mg/day [adjusted relative risk, 0.86 (99% CI, 0.68–1.08)] * อัตราการเกิด serious adverse reactions ไดแก infections ใกลเคียงกันในทั้ง 2 กลุม ความคิดเห็น: แม dexamethasone 12 mg ดูจะใหผลลัพธทาง คลินิกที่ดีกวา dexamethasone 6 mg แตไมไดมีความแตกตางกันอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งอาจเปนไปไดวาขนาดของประชากรผูปวยที่ใชใน COVID STEROID 2 Randomized Trial ยังไมมากพอที่จะแสดงใหเห็น ถึงประสิทธิภาพที่เหนือกวาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติของ dexamethasone 12 mg และหากเปนการศึกษาทางคลินิกที่มีขนาดใหญกวา อาจ จะสามารถแสดงใหเห็นถึงผลลัพธทางคลินิกที่ดีกวาอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติจากการให higher dose of dexamethasone โดยปจจุบันผูปวย โรค COVID-19 ที่นอนรักษาตัวอยูในโรงพยาบาลและมีภาวะ severe hypoxemia ควรไดรับ dexamethasone 6 mg แตหากผูปวยมี progressive hypoxemia และ elevated inflammatory markers ผูป ว ยอาจจะไดรบั ประโยชนจากการใหเสริมดวยยาในกลุม interleukin-6 inhibitors อยางเชน tocilizumab หรือยาในกลุม Janus kinase inhibitors อยางเชน baricitinib (อางอิง guidelines สําหรับโรค COVID-19 ป 2019 ของ NIH และ IDSA) อยางไรก็ตาม เนื่องจากทั้งยากลุม interleukin-6 inhibitors และ Janus kinase inhibitors มีราคา คอนขางแพงกวา dexamethasone และไมไดมีใชใน resource-limited settings ดังนั้น การศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช higher dose of dexamethasone ในผูปวย severe COVID-19 จึงเปนสิ่งที่หลายฝาย เฝารออยูอยางใจจดใจจอ อางอิง: The COVID STEROID 2 Trial Group. Effect of 12 mg vs 6 mg of dexamethasone on the number of days alive without life support in adults with COVID-19 and severe hypoxemia: The COVID STEROID 2 randomized trial. JAMA 2021 Oct 21; [e-pub]. (https://doi.org/10.1001/jama.2021.18295)


Journal Watch Myocarditis หลังฉีดวัคซีน mRNA ของ Pfizer/BioNTech การศึกษายอนหลังในอิสราเอลยืนยันมีความเสี่ยงตํ่า

ทบทวนการศึกษาของ นพ.Guy Witberg และคณะแหง มหาวิทยาลัย Tel Aviv ในอิสราเอล ที่ตีพิมพในวารสาร การแพทย New England Journal of Medicine (N Engl J Med) เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2021 และการ ศึกษาของ นพ.Dror Mevorach และคณะแหงโรงเรียน แพทย Hadassah Hebrew University Hospital ในอิสราเอล โดย นพ. Harlan Krumholz ผูเชี่ยวชาญ โรคหัวใจแหง Yale New Haven Hospital ในนคร New Haven มลรัฐ Connecticut ของสหรัฐอเมริกา 2 การศึกษาขนาดใหญยนื ยันการฉีดวัคซีน BNT162b2 messenger RNA vaccine ของบริษทั Pfizer-BioNTech มีความเสี่ยงโดยทั่วไปอยูในระดับตํ่าสําหรับการเกิดภาวะ กลามเนื้อหัวใจอักเสบ (myocarditis) โดยกลุมผูชายที่ มีอายุนอย ๆ มีความเสี่ยงมากที่สุด และสวนใหญที่พบมี อาการเล็กนอยเทานั้น

การแสวงหาข อ เท็ จ จริ ง ให เ ป น ที่ ป ระจั ก ษ เ กี่ ย วกั บ ความถี่ แ ละ ความรุนแรงของภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบหลังจากฉีดวัคซีนโรค COVID-19 มีความสําคัญอยางยิง่ ยวดทางดานสาธารณสุข โดยมีคาํ ตอบ ในประเด็นนีจ้ าก 2 การศึกษาแบบยอนหลัง (retrospective studies) ที่ทําในอิสราเอล โดยการศึกษาหนึ่งทําการสํารวจและวิเคราะหขอมูล จากองคกรที่ใหบริการดานสุขภาพที่ใหญที่สุดในอิสราเอล สวนอีกการ ศึกษาหนึ่งทําการทบทวนขอมูลยอนหลังของชาวอิสราเอลทั่วประเทศ ที่ไดรับการฉีดวัคซีน BNT162b2 ครบ 2 เข็ม และมีรายงานการ วินิจฉัยภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบ ในการศึกษาของ นพ. Guy Witberg และคณะ จากการสืบคน ฐานขอมูลของ Clalit Health Services ซึ่งเปนองคกรที่ใหบริการ ดานสุขภาพที่ใหญที่สุดในอิสราเอล เพื่อคนหาชาวอิสราเอลที่ไดรับ การฉีดวัคซีน BNT162b2 อยางนอย 1 เข็ม และไดรับการวินิจฉัยวา มีภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบเกิดขึ้นหลังฉีดวัคซีน คณะนักวิจัยพบวา ในจํานวนชาวอิสราเอล 2.6 ลานคน ทั่วประเทศ ที่ไดรับการฉีดวัคซีน

¾.Â.-¸.¤. 2564

9


Journal Watch

คณะผูวิจัยของการศึกษาเหลานี้มีขอสรุป ที่ครอบคลุมวา ภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบ หลังฉีดวัคซีนโรค BNT162b2 พบไดนอยมาก หรือแทบจะไมพบเลย และสวนใหญ มีอาการเล็กนอยเทานั้น

BNT162b2 1 เข็ม หรือครบ 2 เข็ม มีรายงานการวินิจฉัยพบ ภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบจํานวน 54 คน ที่เกิดขึ้นภายใน 42 วัน หลังจากไดรับการฉีดวัคซีน BNT162b2 เข็มแรก ซึ่ง ในจํานวนนี้เปนภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบเล็กนอยใน 41 คน รุนแรงปานกลางใน 12 คน และรุนแรงมากใน 1 คน อายุเฉลี่ยของผูปวยเหลานี้คือ 27 ป และสวนใหญถึง 94% เปนผูชาย โดย 83% ของผูปวยเหลานี้ไมมีโรครวมใด ๆ และ 69% ไดรับการวินิจฉัยวามีภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบหลัง จากไดรับการฉีดวัคซีน BNT162b2 เข็มที่ 2 โดยรวมแลว มีอุบัติการณของภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบหลังฉีดวัคซีน BNT162b2 อยูที่ 2.1 cases ตอประชากร 100,000 คน จําแนกเปน 4.1 cases ตอประชากร 100,000 คน สําหรับ กลุมผูชาย และ 0.2 cases ตอประชากร 100,000 คน โดย มีอุบัติการณ myocarditis เกิดขึ้นมากที่สุด 10.7 cases ตอ ประชากร 100,000 คน ในหมูผูชายอายุ 16-29 ป และโดย รวมแลวมีอุบัติการณของภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบรุนแรง มากอยูที่ 0.04 cases ตอประชากร 100,000 คน ขณะที่อีกการศึกษาของ นพ.Dror Mevorach และ คณะที่ ทํ า การทบทวนข อ มู ล ย อ นหลั ง ของชาวอิ ส ราเอล ทั่วประเทศที่ไดรับการฉีดวัคซีน BNT162b2 ครบ 2 เข็ม และมีรายงานการวินิจฉัยภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบ ซึ่ง จากระบบติดตามและเฝาระวังของกระทรวงสาธารณสุขใน ชวงวันที่ 20 ธันวาคม 2020 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2021 คณะผูวิจัยพบวา จากจํานวนชาวอิสราเอลทั่วประเทศ 9.3 ลานคน ที่ไดรับการฉีดวัคซีน BNT162b2 messenger RNA vaccine ครบ 2 เข็ม มีผูที่ไดรับการวินิจฉัยวามีภาวะ กลามเนือ้ หัวใจอักเสบ 304 คน สวนใหญไดรบั การวินจิ ฉัยวา 10

¾.Â.-¸.¤. 2564

มี myocarditis เกิดขึ้นในชวง 2-3 วันแรก หลังจากไดรับการฉีด วัคซีนเข็มที่ 2 โดยมี standardized incidence ratio (observed cases หารดวย expected cases) อยูที่ 1.42 หลังจากไดรับการฉีด วัคซีนเข็มแรก และ 5.34 หลังจากไดรับการฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 และมี estimated incidence rate ของการเกิดภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบ อยูที่ราว ๆ 4 cases ตอประชากร 100,000 คน ในกลุมประชากร เพศชาย และ 0.5 cases ตอประชากร 100,000 คน ในกลุมประชากร เพศหญิง หลังจากไดรับการฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 โดยใน 136 cases ได รับการวินิจฉัยวาเปน definite หรือ probable myocarditis และ 129 cases มีความรุนแรงของภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบอยูในระดับ เล็กนอยเทานัน้ และสวนใหญของผูท ไ่ี ดรบั การวินจิ ฉัยวามี myocarditis นั้นมี ejection fraction ปกติ และลดลงเล็กนอยในผูปวยสวนใหญ ความคิดเห็น: ถึงแมผลของการศึกษาเหลานี้จะไมสอดคลองอยาง แทจริงกับตัวเลขประมาณการเกี่ยวกับภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบ หลังไดรับการฉีดวัคซีน BNT162b2 อยางไรก็ตาม คณะผูวิจัยของการ ศึกษาเหลานี้มีขอสรุปที่ครอบคลุมวา ภาวะกลามเนื้อหัวใจอักเสบหลัง ฉีดวัคซีนโรค BNT162b2 พบไดนอยมากหรือแทบจะไมพบเลย และ สวนใหญมีอาการเล็กนอยเทานั้น กลุมผูชายที่มีอายุนอย ๆ มีความ เสี่ยงมากที่สุดที่จะเกิด myocarditis หลังฉีดวัคซีน BNT162b2 แต ก็ยังถือเปนความเสี่ยงที่ตํ่ามากและสวนใหญมีความรุนแรงเล็กนอย เทานั้น อางอิง: Witberg G et al. Myocarditis after Covid-19 vaccination in a large health care organization. N Engl J Med 2021 Oct 6; [e-pub]. (https://doi.org/10.1056/NEJMoa2110737) และ Mevorach D et al. Myocarditis after BNT162b2 mRNA Vaccine against Covid-19 in Israel. N Engl J Med 2021 Oct 6; [e-pub]. (https://doi.org/10.1056/NEJMoa2109730)


รายงานพิเศษ ร.พ.เจาพระยาอภัยภูเบศรนํารองพิสจ ู นอต ั ลักษณคนไทยไรสถานะ

โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร นํารองเปนตัวแทนพิสูจน อัตลักษณผูมีปญหาสถานะบุคคลใหสถาบันนิติวิทยาศาสตร ชี้หากพิสูจน DNA ไดในพื้นที่ไมตองมาตรวจที่สวนกลาง จะ ทําใหกระบวนการขอรับบัตรประชาชนรวดเร็วขึ้น วันที่ 16 พ.ย. 2564 ที่ผานมา โรงพยาบาลเจาพระยาอภัย ภูเบศร รวมกับ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) และสถาบันนิติวิทยาศาสตร จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ อบรมและประสานเครือขายการพัฒนาการเขาถึงบริการระบบ หลักประกันสุขภาพของกลุมคนไทยที่มีปญหาสิทธิสถานะ โดย มีองคกรเครือขายตาง ๆ อาทิ กระทรวงมหาดไทย สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) มูลนิธิพัฒนา ที่อยูอาศัย ศูนยประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนใน พื้นที่ จ.ปราจีนบุรี และเครือขายภาคประชาชนอื่น ๆ เขารวม ประชุม

นิติวิทยาศาสตร โดยการประชุมเปนการฝกอบรมเจาหนาที่โรงพยาบาลและ เครือขายที่เกี่ยวของในการจัดเก็บและตรวจพิสูจนอัตลักษณตามมาตรฐาน ของสถาบันนิติวิทยาศาสตร ซึ่งที่มาของการรวมมือในครั้งนี้ เนื่องจากที่ ผานมาโรงพยาบาลพบวามีคนไขจํานวนหนึ่งที่มารักษาแลวโรงพยาบาล ตองใหการอนุเคราะห บางรายเปนผูปวยโรคเรื้อรัง หากตองอนุเคราะห ตอไปเรือ่ ย ๆ ก็ไมทราบวาจะมีจดุ สิน้ สุดตรงไหน เมือ่ สอบถามขอมูลจึงพบวา คนกลุมนี้บางคนไมมีบัตรประชาชนจึงไมมีสิทธิการรักษาพยาบาล ดวยเหตุน้ี โรงพยาบาลจึงไดประชุมหารือกับทีมผูใ หการรักษาและกลุม งาน ที่เกี่ยวของเพื่อดูแลผูปวยแบบองครวม จึงไดทําการประสานงานกับหลาย หนวยงาน ทั้งกระทรวงมหาดไทย กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย และสํานักงานนิติวิทยาศาสตร ในการผลักดันชวยเหลือใหคน กลุมนี้ไดรับบัตรประชาชนและเขาถึงสิทธิในการรักษาพยาบาล “ความร ว มมื อ ในครั้ ง นี้ เ ป น โอกาสดี ที่ ก ระทรวงยุ ติ ธ รรมให โ อกาส โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศรเปนที่จุดประกายใหประชาชนไดรับสิทธิ เมื่อเราจุดนํารองก็หวังวาจะขยายผลไปยังโรงพยาบาลอื่น ๆ ในประเทศไทย ใหเปนไปตามตัวชีว้ ดั วาประชาชนชาวไทยตองมีสทิ ธิรกั ษาพยาบาล” พญ.โศรยา กลาว

พญ.โศรยา ธรรมรักษ ผูอ าํ นวยการโรงพยาบาลเจาพระยา อภัยภูเบศร กลาววา โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร เปน โรงพยาบาลแห ง แรกในประเทศไทยที่ นํ า ร อ งในการพิ สู จ น อั ต ลั ก ษณ บุ ค คลให แ ก ผู มี ป ญ หาด า นสถานะให กั บ สถาบั น

¾.Â.-¸.¤. 2564

11


รายงานพิเศษ ดาน พญ.วลีรัตน ไกรโกศล รองผูอํานวยการโรงพยาบาลฝาย การแพทย คนที่ 1 โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร กลาววา จุดเริ่มตน ที่ทําใหโรงพยาบาลรวมผลักดันการเขาถึงสิทธิการรักษาพยาบาลของ ผูมีปญหาดานสถานะและนํามาสูความรวมมือในการเปนโรงพยาบาล นํารองพิสูจนอัตลักษณใหกับสถาบันนิติวิทยาศาสตร เนื่องจากมีผูปวย รายหนึ่งเปนโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดทาย ตองบําบัดทดแทนดวยเครื่อง ไตเทียม 2-3 ครั้ง/สัปดาห เมื่อผูปวยมารับบริการแตละครั้งตองเสนอ ผูบริหารโรงพยาบาลเพื่อใหการอนุเคราะหคาใชจาย เมื่อสอบถามจึง ทราบวาไมมีบัตรประชาชน “การที่ ผู ป ว ยไม มี สิ ท ธิ ใ นการรั ก ษาพยาบาลยั ง ผลกระทบต อ การรักษา เพราะมารับบริการแตละครั้งตองรับทราบเรื่องคาใชจาย ทําใหไมกลามา การฟอกไตจึงทําไมไดตามงวดทีค่ วรเปน เกิดปญหาหัวใจ ลมเหลวเขา I.C.U. โรงพยาบาลก็ตองรับภาระเพิ่มขึ้น เปนปญหาวนอยู เชนนี้” พญ.วลีรัตน กลาว พญ.วลีรัตนกลาววา ถาสามารถแกไขปญหาเรื่องสิทธิการรักษาก็ จะไดลดแรงกดดันจากคาใชจายในการรักษาพยาบาล โดยโรงพยาบาล มองวาผูปวยเปนคนไทยจึงควรตองเขาถึงสิทธิ จึงไดเริ่มปรึกษาเครือขาย ตาง ๆ วาทําอยางไรถึงจะผลักดันใหผปู ว ยสามารถเขาถึงสิทธิและกระบวนการ พิสูจนตัวตน เมื่อนํารองกรณีแรกไปแลว ทําใหกลุมงานสังคมสงเคราะห และกลุ ม งานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพทราบแนวทางว า ต อ งทํ า อย า งไร ตองติดตอประสานงานในจุดไหน จึงมีเคสผูม ปี ญ หาดานสถานะเขามาเรือ่ ย ๆ จนถึงปจจุบนั โรงพยาบาลมีสว นชวยผลักดันใหคนกลุม นีเ้ ขาสูก ระบวนการ พิสูจนตัวตนและไดรับบัตรประชาชนไปแลว 11 ราย

ด า น พญ.ปานใจ โวหารดี ผู  อ ํ า นวยการผู  อ ํ า นวยการกอง นิติวิทยาศาสตรบริการ สถาบันนิติวิทยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม กลาววา งานของสถาบันนิติวิทยาศาสตรครอบคลุมในเรื่องการลดความ เหลื่อมลํ้าของประชาชน และไดเปดตัวโครงการนํารองกับโรงพยาบาล เจาพระยาอภัยภูเบศร ที่ผานมาทางสถาบันนิติวิทยาศาสตรพยายาม คนหาผูที่ไมมีบัตรประชาชนมาตลอด เมื่อคนหาแลวก็เขากระบวนการ พิสูจนอัตลักษณ 12

¾.Â.-¸.¤. 2564

อยางไรก็ดี ในบางครั้งผูที่ตองการพิสูจนอัตลักษณไมสะดวกที่จะ เดินทางมาตรวจ DNA ทีส่ ว นกลาง เชน เปนคนไขตดิ เตียง หรือบางครัง้ มาไดก็ตองหอบหิ้วกันมาทั้งครอบครัว บางรายกวาจะไดบัตรประชาชน ก็สายเกินไป ทางสถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตรจงึ ตองการปรับปรุงกระบวนการ พิสูจน DNA ใหดีขึ้น จึงเปนที่มาโครงการนํารองใหโรงพยาบาลชวยเก็บ อัตลักษณให เพราะถาในพื้นที่ทําได ผูมีปญหาสถานะและสิทธิในการ รักษาพยาบาลจะไดไมตองรอนาน “โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศรจึงเปนที่แรกในการดําเนินงาน ลักษณะนี้ และเราก็อยากใหมีโรงพยาบาลแบบนี้หลาย ๆ แหง เพราะ แมทีมงานสถาบันนิติวิทยาศาสตรจะสงทีมไปพิสูจน DNA พื้นที่ก็จริง แตตองรวบรวมคนใหไดจํานวนมาก ๆ กอน บางครั้งกวาจะครบตาม กําหนดก็ตองรอขามป แตถาในพื้นที่ทําได ก็จะสามารถพลิกชีวิตของอีก หลายครอบครัว” พญ.ปานใจ กลาว

ขณะที่ นายวิศษิ ฎ ยีส่ นุ ทอง รองผูอ าํ นวยการ สปสช.เขต 6 ระยอง กลาววา บัตรประชาชนเปนจุดเริ่มตนที่จะไดรับสิทธิการรักษาพยาบาล และสิทธิประโยชนอน่ื ๆ จากรัฐ ทีผ่ า นมา สปสช. มีเครือขายภาคประชาชน และเครื อ ข า ยศู น ย ป ระสานงานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพภาคประชาชน ในพื้นที่ท่ที ํางานชวยเหลือใหผมู ีปญหาดานสถานะไดเขาถึงสิทธิการรักษา พยาบาลอยูแ ลว เพียงแตรว มมือแบบนีย้ งั ไมครบวงจรและตองรอเวลานาน ทั้งนี้ การพิสูจน DNA เปนกระบวนการหนึ่งในการพิสูจนอัตลักษณ บุคคลที่ชัดเจนที่สุด แตเนื่องจากสถานที่พิสูจน DNA ของสถาบัน นิติวิทยาศาสตรอยูที่กรุงเทพฯ ผูที่อาศัยในตางจังหวัดจึงตองสงคนไป ตรวจและมีขน้ั ตอนยุง ยาก แตพอมีการนํารองในลักษณะนี้ คนในชุมชน เครือขายประชาชน ศูนยประสานงานหลักประกันสุขภาพภาคประชาชน เมื่อคนหาผูที่ยังไมมีบัตรประชาชนไดแลวก็จะสามารถผลักดันใหเขาสู กระบวนการไดเร็วขึ้น


เวทีวิจัย

และการที่ประเทศไทยสามารถผลิตวัคซีนไดเองและเปน ฐานการผลิตใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ถือเปน กุ ญ แจสํ า คั ญ ที่ จ ะปลดล็ อ กวิ ก ฤตการณ ใ นครั้ ง นี้ เ สมื อ น เปนการชวยคนไทยและประเทศใกลเคียงใหเขาถึงวัคซีน ไดรวดเร็วและงายขึ้น ตลอดจนสงผลตอความมั่นคงดาน สุขภาพของประชาชนในระยะยาว ทั้งการลดการนําเขา จากตางประเทศ ไดรับการถายทอดความรูและเทคโนโลยี การผลิตทําใหมีความพรอมสามารถรองรับโรคอุบัติใหมใน อนาคต” ผศ.ดร.สุทธิกร กลาว อยางไรก็ตาม หากการบริหารจัดการวัคซีนเปนไป ตามแผน ภายในเดือนธันวาคม 2564 จะสงผลใหผูติดเชื้อ รายใหมลดลงเหลือประมาณ 2,500 คนตอวัน ผูเสียชีวิต ลดลงเหลือประมาณ 40 คนตอวัน และสงผลตอระบบ เศรษฐกิจในไตรมาสที่ 4 ของปนี้ คาดวาจํานวนนักทองเที่ยว ตางประเทศจะเพิม่ เกือบ 3 แสนคน และเกิดการขับเคลือ่ น ระบบเศรษฐกิจในประเทศ กําลังการผลิตของภาคอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้น 10.38% อยูที่ระดับ 70.39 สูงสุดในรอบ 5 ป ที่ผานมา ดัชนีการลงทุนของภาคเอกชนเพิ่มขึ้น 6.95% รวมทัง้ ผูว า งงานในระบบประกันสังคมลดลง 32.23% หรือ ประมาณ 4.5 แสนคน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น และหากพิจารณาปจจัยทางเศรษฐกิจในดานตาง ๆ อาทิ มาตรการการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐ และแนวโนม การเติบโตของเศรษฐกิจโลก จะพบวาหากการระบาด ของโรคโควิด-19 ลดลงเกือบเปนศูนยในชวงปลายเดือน มีนาคม 2565 จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ จะ ปรับตัวเพิ่มขึ้นกวา 1.1 ลานคน ในไตรมาสที่ 1 ของ

ป 2565 อัตราการใชกําลังการผลิตของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 11.26% ดัชนีการลงทุนของภาคเอกชนเพิม่ ขึน้ 39.29% ผูว า งงาน ในระบบประกันสังคมลดลงกวา 70,000 คน[10] เมื่อเทียบกับ ชวงเวลาเดียวกับปกอ น โดยคาดการณไวดว ยวา ป 2565 เศรษฐกิจ จะขยายตัว 3.9% [11] ดวย ผศ.ดร.สุทธิกร กลาวทิ้งทาย แหลงขอมูล [1] ขอมูลจากธนาคารแหงประเทศไทย [2] ขอมูลจากสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ [3] ขอมูลจากสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ [4] ขอมูลจากธนาคารแหงประเทศไทย [5] ขอมูลจากธนาคารแหงประเทศไทย [6] ขอมูลจากกองเศรษฐกิจการทองเที่ยวและกีฬา [7] ขอมูลจากการสํารวจภาวะการทํางานของประชากร สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม [8] ขอมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย [9] ขอมูลจากศูนยขอมูลธุรกิจอุตสาหกรรม ศูนยเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร กรมโรงงานอุตสาหกรรม [10] คํานวณโดยคณะวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 [11] ขอมูลจากธนาคารแหงประเทศไทย

¾.Â.-¸.¤. 2564

15


News Update สปสช.รวมกับ HITAP เปดตัวเว็บไซต “ucbp.nhso.go.th” ชองทางการพัฒนาปรับปรุงสิทธิบัตรทอง

สปสช. จับมือ HITAP เปดตัวเว็บไซต ucbp.nhso.go.th เปนชองทางใหมใหกลุม ผูม สี ว นไดเสียและประชาชนทัว่ ไป เสนอความคิดเห็นในการพัฒนาปรับปรุงสิทธิประโยชน บัตรทอง เลขาธิการ สปสช. แนะประชาชนเสนอความ คิดเห็นเขามามาก ๆ อยามองวาเปนเรื่องไกลตัวหรือ เสนอมาแลวคงไมถูกนําไปพิจารณา ยกตัวอยางระบบ Home Isolation ก็มาจากขอเสนอแนะของประชาชน วันที่ 1 พ.ย. 2564 ที่ผานมา สํานักงานหลักประกัน สุขภาพแหงชาติ (สปสช.) รวมกับ โครงการประเมินเทคโนโลยี และนโยบายดานสุขภาพ (HITAP) จัดงานเปดตัวเว็บไซต ucbp.nhso.go.th ซึ่งจะเปนแหลงรวบรวมหัวขอที่อยูใน กระบวนการพิจารณาเพิ่มสิทธิประโยชนใหม การขยาย ขอบเขตสิทธิประโยชนเดิม รวมทั้งเปนชองทางเสนอหัวขอ การเพิ่ ม สิ ท ธิ ป ระโยชน สํ า หรั บ กลุ ม ผู มี ส ว นได เ สี ย และ ประชาชนทั่วไป ทั้งนี้ เว็บไซต ucbp.nhso.go.th จะมีทั้งคอลัมน แนะนํา ที่มาของการพัฒนาสิท ธิประโยชนบัตรทองและ บทความอื่น ๆ ที่นาสนใจ เมนูการคนหาสถานะหัวขอ ปญหา หัวขอที่ถูกบรรจุเปนสิทธิประโยชนลาสุด และเมนู สําหรับใหประชาชนและผูมีสวนไดเสียเสนอหัวขอปญหา เพื่อการปรับปรุงพัฒนาสิทธิประโยชนบัตรทอง 16

¾.Â.-¸.¤. 2564

นพ.จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสํานักงานหลักประกัน สุขภาพแหงชาติ (สปสช.) กลาววา แตละป สปสช. มีการปรับปรุง สิทธิประโยชน ทั้งเพิ่มสิทธิการรักษาโรคใหม ๆ เชน โควิด-19 หรือ วิธีการรักษาแบบใหม เชน ผาตัดสองกลอง ยาใหม หรือเทคโนโลยี ใหม ซึ่งในอดีตจะใชวิธีการจัดเวทีรับฟงความคิดเห็น แตในปจจุบัน สปสช. พัฒนาชองทางตาง ๆ ทั้งเว็บไซต ucbp.nhso.go.th ไลน @nhso หรือแมแตโทร. มาที่สายดวน 1330 ก็ได ทุกขอเสนอ ทาง สปสช. จะรับฟงและนําไปประมวลวาจะนําไปสูการปรับปรุงระบบ บัตรทองใหดีขึ้นไดอยางไร “อยากใหประชาชนสนใจเรื่องสิทธิประโยชนและเสนอความ คิดเห็นเขามาเยอะ ๆ อยาคิดวาขอเสนอของตัวเองคงไมไดรับฟง หรือถูกนําไปพิจารณา ผมยกตัวอยางโควิด-19 ชวงตนปมปี ระชาชน สงขอมูลมาวาที่ประเทศอังกฤษเขาใหประชาชนรักษาตัวที่บาน เรารับฟงแลวใหเจาหนาทีห่ าขอมูล แลวก็นาํ ไปหารือกับกรมการแพทย จนมีการพัฒนาการจนมาเปนระบบ Home Isolation ดังนั้น อยาคิดวาการเสนอหัวขอพัฒนาสิทธิประโยชนบัตรทองเปนเรื่อง ไกลตัว วันนีเ้ รามีชอ งทางหลายชองทาง ผูม สี ว นไดเสียและประชาชน ทุกคนสามารถเสนอเขามาไดเลย” นพ.จเด็จ กลาว ดาน นพ.สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ ประธานคณะทํางานดาน เศรษฐศาสตรสาธารณสุขในการกําหนดประเภทและขอบเขต บริการดานสาธารณสุข กลาววา ชุดสิทธิประโยชน คือบริการ


News Update

สาธารณสุ ข พื ้ น ฐานที่ ทุ ก คนต อ งได รั บ อย า งเท า เที ย มกั น การพิจารณาเพิ่มสิทธิประโยชน จะใชหลักการ SAFE คือ Sustainable มีความยั่งยืน Adequate มีเงินเพียงพอที่จะ จัดบริการ Fair มีความเสมอภาค เทาเทียมและเปนธรรม และ Efficient ใชทรัพยากรอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักเกณฑ คือ 1.ตองมีความคุมคา เชน ถามีเทคโนโลยี ใหมที่ชวยใหผูปวยมีชีวิตยืนยาวขึ้น 1 ป จะตองลงทุนมาก นอยเทาใด สมมติวาความสามารถในการจายของประชาชน เพื่อใหมีชีวิตตอไป 1 ป อยูที่ 1.2-1.4 แสนบาท หากยาหรือ เทคโนโลยีใหมมีตนทุนไมเกินนี้ถือวาคุมคา เปนตน 2.มีความเปนไปไดในเชิงงบประมาณ ตองพิจารณาความ สามารถในการจัดงบประมาณสนับสนุนในระยะยาว 3.มีความ เปนธรรม เชน หากประชากรใน อ.อุมผาง เขาไมถึงบริการ แตคนใน กทม. เขาถึงได แบบนี้ไมเปนธรรม และ 4.การให คุณคาทางสังคม ตัวอยางเชน ในกรณีทเ่ี ทคโนโลยีใหมมรี าคา แพง ไมมคี วามคุม คา อาทิ การบําบัดทดแทนดวยเครือ่ งไตเทียม การปลูกถายไต หรือการรักษาโรคหายากบางโรค บริการ เหลานี้มีคาใชจายสูง ไมมีความคุมคา แตถาไมจัดบริการให ประชาชนอาจตองลมละลายจากการรักษาตัว สปสช. ก็จะ พิจารณาจัดเปนสิทธิประโยชนใหครอบคลุมดวยเพื่อปองกัน การลมละลายของครัวเรือน “กระบวนการทัง้ หมดนีค้ อื การมีสว นรวม ภาคประชาสังคม และผูใ หบริการบอกวาอยากไดอะไร สวนภาครัฐพรอมสนับสนุน งบประมาณหรือไม ภาควิชาการตองศึกษาความคุม คา ผลกระทบ ตองบประมาณ ความเสมอภาค มันรวมกันทั้งหมด ดังนั้น

จึงเปนเรื่องสําคัญมากที่ตองดึงทุกภาคสวนมาทํางานรวมกัน” นพ.สุวิทย กลาว ขณะที่ รศ.นพ.เชิดชัย นพมณีจํารัสเลิศ ประธานคณะ ทํางานคัดเลือกหัวขอ กลาววา เมื่อมีงบประมาณจํากัด การจะ คัดเลือกเทคโนโลยีหรือการรักษาใหมมาเพิ่มเปนสิทธิประโยชน ตองมีความคุมคา ความคุมคาในที่นี้ไมไดหมายความวาตองราคา ถูกอยางเดียว เชน ยาบางตัวราคาถูกแลวตองรักษาตอเนื่องนาน แตยาอีกตัวราคาแพงแตหายเร็ว คํานวณความคุมคาแลวอาจจะ ถูกกวา ซึ่งกระบวนการเหลานี้จะมีนักวิชาการมาคํานวณและ เสนอใหคณะอนุกรรมการพิจารณา “หัวขอทีม่ กี ารเสนอเขามา เราแบงเปน 3 ประเภท 1. การรักษา 2.การปองกันโรค และ 3.โรคหายาก เมื่อมีผูเสนอหัวขอมาแลว เราจะมีทีมวิชาการประเมินเบื้องตนกอนวาหัวขอไหนที่ควรนําไป ศึกษาอยางละเอียดเพื่อใหไดชุดสิทธิประโยชนใหม โดยใชเกณฑ 5 ขอ คือ 1.เทคโนโลยีนั้นสามารถใชกับโรคที่ประชาชนไดรับ ผลกระทบจํานวนมาก 2.มีหลักฐานวาใหผลการรักษาที่ดีมาก เชน ลดอัตราการเสียชีวิตหรือพิการ ทําใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น 3.ความเทาเทียม เชน หากขาราชการ ประกันสังคม มีสิทธิ การรักษาบางอยางแลวบัตรทองยังไมมี ก็จะมีโอกาสถูกพิจารณา สูง 4.ภาระตอเศรษฐกิจครัวเรือน หากเทคโนโลยีใหมใหผล การรักษาทีด่ มี ากแตราคาแพงจนอาจกระทบกับเศรษฐกิจครัวเรือน ก็มีโอกาสสูงที่จะนํามาพิจารณา และ 5.จริยธรรม คุณธรรม เชน กลุมเปราะบางหรือเปนโรคหายากที่มีจํานวนผูปวยนอย แตใหคนกลุมนี้มีโอกาสไดรับการดูแล ก็จะมีการพิจารณาดวย เชนกัน” รศ.นพ.เชิดชัยกลาว

¾.Â.-¸.¤. 2564

17


บทความพิเศษ โรคหนองในเยื่อหุมปอด สามารถรักษาไดโดยการผาตัดสองกลอง หลาย ๆ ครั้งที่เรามักจะสงสัยวาในโพรงเยื่อหุมปอดนั้น คืออะไร โดยโพรงเยื่อหุมปอดนั้นหมายถึง ชองวาง ระหวางเยื่อ 2 ชั้นที่หุมอยูรอบปอด ซึ่งมีนํ้าหลอลื่นอยู เล็กนอย ในบางคนที่มีความผิดปกติเกิดขึ้น เชน หนอง หรือเลือด อาจทําใหเกิดการระคายเคืองหรือการอักเสบ ของเยื่อหุมปอด สงผลทําใหมีอาการหอบเหนื่อยหรือ มีไขสูงได โดยสาเหตุของโรคหนองในชองเยื่อหุมปอด มักเกิดขึ้นตามหลังจากการติดเชื้อปอดอักเสบแลว โดย เกิดไดตั้งแตคนทั่วไปที่ไมมีโรคประจําตัวและที่มีสุขภาพ แข็งแรง จนไปถึงผูปวยที่มีโรคประจําตัวอื่น ๆ เชน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคภูมคิ มุ กัน บกพรอง เปนตน

นพ.ศิระ เลาหทัย แพทยผูเชี่ยวชาญ ศัลยศาสตร ทรวงอกเฉพาะทางดานโรคปอด โรงพยาบาลวชิรพยาบาล กลาววา อาการของโรคหนองในชองเยื่อหุมปอด ที่สําคัญ ที่สุด คือ มักจะเริ่มมีอาการไขขึ้นสูง และมีอาการเจ็บ แนนหนาอก จนไปถึงอาการหอบเหนื่อย ในบางรายอาจ มีอาการไอมากหรือไอออกมาเปนหนองหรือมีเสมหะปน เลือดได โดยการวินิจฉัยโรคนี้ จะตองทําการเจาะปอด (thoracentesis) เพื่อดูลักษณะของนํ้า โดยโรคนี้ที่เรา จําเปนตองแยกใหได คือ โรคมะเร็งที่มีการลุกลามของ นํ้าในปอดและโรควัณโรค ซึ่ง 2 โรคนี้ สามารถตรวจโดย 18

¾.Â.-¸.¤. 2564

การสงหาเชื้อวัณโรค (PCR for TB) และการตรวจหาเซลลมะเร็ง (Cytology) สําหรับการรักษาโรคหนองในชองเยือ่ หุม ปอด การรักษาจะขึน้ อยูกับระยะของโรค หากเปนระยะเริ่มแรกวิธีการรักษา คือ การใส ทอระบายหนองออก หากสามารถระบายหนองออกไดหมดและ อาการผูปวยดีขึ้น ก็ไมจําเปนตองทําการผาตัด เพียงแตตองให ยาปฏิชีวนะนานอยางนอย 2-4 สัปดาห และเมื่อไดรับยาปฏิชีวนะ นานอยางนอย 2-4 สัปดาหไปแลว หากอาการไมดีขึ้นหรือผลจาก การตรวจผานภาพถายรังสีทรวงอกพบวายังคงมีหนองในชองเยื่อ หุมปอดอยู หรือในบางรายที่พบวามีหนองเกิดขึ้นหลายตําแหนง ซึ่งแสดงวาเปนระยะที่ 2 หรือ 3 แลว ก็มีความจําเปนตองรักษา ดวยการผาตัด (Decortication) โดยในอดีตนัน้ การผาตัดทําไดโดย การผาตัดเปด ซึ่งมีขนาดใหญและอาจมีบางครั้งตองตัดซี่โครงออก เพื่อชวยทําการระบายหนองออกใหหมดและการลอกเยื่ออักเสบ ติดเชื้อออกจากเยื่อหุมปอด อยางไรก็ตาม ปจจุบันดวยเทคโนโลยี ที่ดีขึ้น ตัวโรคนี้เราสามารถทําไดโดยการผาตัดสองกลอง (Video assisted thoracoscopic surgery; VATs) ซึ่งการผาตัดจะมีแผล เล็กขนาด 3 เซ็นติเมตรเทานั้น โดยการผาตัดชนิดนี้ตองใชความ เชีย่ วชาญจากศัลยแพทยอยางมาก โดยผลลัพธเทียบเทากับการผาตัด เปด แตสามารถลดภาวะแทรกซอน และลดระยะเวลาการนอน โรงพยาบาล


บทความพิเศษ ม.มหิดล ชี้ทางผลิตบัณฑิตแพทยคุณภาพ ไมไดวัดกันแตดวยขอสอบ

ปจจุบนั การวัดคนดวยขอสอบ ไมสามารถวัดไดในเชิงคุณภาพ อยางแทจริง โดยเฉพาะอยางยิง่ วิชาชีพแพทย ซึง่ การสราง แพทยทด่ี มี คี ณ ุ ภาพ ไมไดวดั กันแตดว ยการออกขอสอบ แต ตองประเมินใหไดวา นักศึกษาแพทยมคี วามรู ความสามารถ ทักษะตางๆ ที่ผานตามเกณฑ มาตรฐาน และมีเจตคติที่ดี เพื่อการเปนแพทยที่ดีมีคุณภาพ และสามารถทําประโยชน ใหประเทศชาติในอนาคต มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะสถาบันหลักของชาติในการ ผลิตบัณฑิตแพทยใหกับประเทศ จากการมีคณะแพทยอยูใน สังกัดถึง 2 คณะ และ 1 โครงการผลิตแพทยเพื่อชาวชนบท โดย คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี เปนหนึ่งใน สวนงานซึ่งมีบทบาทสําคัญในการผลิตบัณฑิตแพทยไมนอย กวา 180 คนตอป ซึ่งจากการเปนครูแพทยมาอยางยาวนาน กวา 2 ทศวรรษ สงผลใหในปการศึกษา 2563 ศาสตราจารย นาวาเอก นายแพทยอนันต โฆษิตเศรษฐ รองคณบดีฝาย การศึกษาระดับปริญญา และอาจารยแพทยประจําภาควิชา กุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ควารางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขา ความเปนครู ในฐานะครูแพทยผูสรางการเปลี่ยนแปลงมา สูวงการแพทยศาสตรศึกษาของประเทศไทย ศาสตราจารย นาวาเอก นายแพทยอนันต โฆษิตเศรษฐ สําเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตจาก คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ตอมารับราชการ กรมแพทยทหารเรือ กอนมาเปนอาจารยแพทยประจําภาควิชา กุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จนไดเปนผูกอตั้งสาขา “กุมารเวชบําบัด วิกฤต” ขึ้นเปนแหงแรกในประเทศไทย และเปนบุคคลผูพลิก โฉมวางมาตรฐานการผลิตแพทยโดยเนนที่คุณภาพ

“กุมารเวชบําบัดวิกฤต” เปนสาขาที่จัดตั้งขึ้นใหมเพื่อดูแลผูปวย เด็กทีอ่ ยูใ นภาวะวิกฤต โดยเฉพาะอยางยิง่ ในกรณีทต่ี อ งไดรบั การชวยเหลือ ดานการหายใจ และระบบไหลเวียนเลือด ตลอดจนดูแลผูปวยเด็ก หลังเขารับการผาตัด โดยมีบทบาทสําคัญในการฝกอบรมแพทย และ พยาบาล ทั้งในระดับปริญญา และหลังปริญญา ตลอดจนแพทย ประจําบานตอยอด ไปจนถึงการพัฒนางานวิจัยในสาขาที่เกี่ยวของ ซึ่ง นอกจากการเป น ผูบุก เบิ ก ให เ กิ ด สาขาวิ ช ากุ ม ารเวชบํ า บั ด วิกฤตเปนแหงแรกในประเทศไทยแลว ศาสตราจารย นาวาเอก นายแพทยอนันต โฆษิตเศรษฐ ยังไดเปนสวนหนึ่งของการผลักดัน ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงการประเมิ น ผลที่ มุ ง ผลการเรี ย นรู ที่ พึงประสงค เนนการประเมินผลที่ไมใชการตัดสินไดหรือตก แตเปน การประเมิ น ผลเพื่ อ ใหนักศึกษาแพทยรูจุดที่ควรพัฒนาของตัวเอง ใหโอกาสนักศึกษาแพทยไดพัฒนาความรู ความสามารถ และทักษะ จนสามารถสอบผานตามเกณฑมาตรฐานได ซึ่งนอกจากจะไมทําให นักศึกษาแพทยเสียขวัญและกําลังใจแลว ยังกอใหเกิดแรงจูงใจที่จะ มุมานะเพื่อพิสูจนตัวเอง ทั้งนี้ การวัดผลนักศึกษาแพทยตองมีความสมดุลในการประเมิน ผลเพื่อการเรียนรู และการประเมินผลเพื่อวัดผลของการเรียนรู และ ทํ า ให มั่ น ใจได ว า จะสามารถผลั ก ดั น ให เ กิ ด แพทย คุ ณ ภาพที่ มี หั ว ใจ ของความเปนมนุษย ที่พรอมมุงมั่นตั้งใจอยางแทจริง ดวยการสอนให “คิดเปน” และ “ใฝหาความรู” อยูอยางตอเนื่อง ศาสตราจารย นาวาเอก นายแพทยอนันต โฆษิตเศรษฐ เชื่อ วา ดวยการสอนให “คิดเปน” และ “ใฝหาความรู” ดานวิชาการและ วิชาชีพ จะทําให “ครูคนหนึ่ง” สามารถสรางความเปลี่ยนแปลงใหกับ “ลูกศิษย” ไดอยางมากมาย ดวยแนวคิดเดียวกันนี้จะสามารถสราง บัณฑิตไมวาจะสาขาวิชาใดก็ตาม ใหสามารถสําเร็จการศึกษาจากรั้ว มหาวิทยาลัย สูการเปน “กําลังสําคัญของประเทศชาติ” ตลอดจนการ เปน “พลเมืองคุณภาพของโลก” ไดไมวาจะยุคสมัยใดก็ตาม

¡.Â.-µ.¤. 2564

19


รู ทันโรค รูจักอาการปุมกระดูกงอกในชองปาก

อาการปุมกระดูกหรือกระดูกงอกในชองปาก พบไดใน บางคน ซึ่งสาเหตุของการเกิดนั้นยังไมแนชัด อาจเกิด จากพันธุกรรม เชื้อชาติ เพศ อายุ และมักเกี่ยวของกับ แรงบดเคี้ยวปริมาณมาก เชน มีนิสัยขบเคนฟนในเวลา กลางวัน หรือนอนกัดฟนในเวลากลางคืน ทพญ.เกศนี คูณทวีท รัพ ย ฝา ยทันตกรรม ร.พ.จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย อธิบายวา ปุม กอนกระดูก งอกในชองปากนี้จะคอย ๆ โตขึ้นอยางชา ๆ คอยเปนคอย ไปตามชวงอายุ จึงทําใหไมพบในเด็ก แตมกั เริม่ พบไดในวัย หนุมสาว ทั้งนี้ ปุมกระดูกงอกจะโตชาลงจนสามารถหยุด โตเองได โดยปุมกระดูกงอกในชองปากมีรูปรางไมแนนอน ในแตละคน มีความแข็ง พื้นผิวปกคลุมดวยเหงือกสีชมพู ที่มีลักษณะเชนเดียวกับเหงือกบริเวณอื่น ๆ ในชองปาก ไมกอใหเกิดความเจ็บปวดใด ๆ ทําใหผูปวยไมรูสึกตัว หาก ปุมกอนกระดูกงอกนั้นมีขนาดไมใหญนัก สามารถพบได ในบริเวณตาง ๆ ของชองปาก ไดแก - Torus palatinus ปุมกระดูกบริเวณเพดาน เปน ปุมกระดูกงอกซึ่งมักจะอยูบริเวณกึ่งกลางเพดานแข็งใน ปาก มีขนาดที่แตกตางกันไป อาจเปนกอนเดี่ยวหรือหลาย กอนรวม ๆ กัน ทําใหมองดูคลายผิวมะกรูด - Torus mandibularis ปุมกระดูกงอกบริเวณขา กรรไกรลาง พบบริเวณสันเหงือกดานลิ้นของขากรรไกร ลาง สามารถพบไดทั้งขางซายและขางขวา โดยจะอยูถัด จากฟนเขี้ยวเขาไปดานหลัง - Exostosis ปุมกระดูกผิวขรุขระ พบไดในบริเวณ เหงือกดานชิดแกมโดยรอบของขากรรไกร เนื่องจากปุมกระดูกนี้ไมกอใหเกิดอาการใด ๆ ดังนั้น ผูปวยจึงมักจะสังเกตเห็นหรือรูสึกตัวเมื่อปุมกระดูกนั้นมี 20

¾.Â.-¸.¤. 2564

ขนาดใหญพอสมควร ทําใหผูปวยเกิดความกังวล บางรายมาพบ ทันตแพทยเพราะกลัวเปนมะเร็งในชองปาก แตแทจริงแลว ภาวะ ปุมกระดูกงอกนี้ไมกอใหเกิดอันตรายรายแรงแตอยางใด หากทําการ ตรวจดวยภาพถายรังสีก็จะพบวาเปนปุมหรือกอนกระดูกงอกออก มาจากกระดูกปกติ ไมพบรอยโรคหรือความผิดปกติอื่น ๆ รวมดวย จึงไมจําเปนตองไดรับการรักษา ยกเวนบางกรณีมีขอบงชี้ที่ตองรับ การรักษา คือ 1.ปุมกระดูกมีขนาดใหญมากจนขัดขวางการรับประทานอาหาร มีเศษอาหารติดบริเวณซอกของปุม กระดูก ยากแกการทําความสะอาด สงผลตอการดูแลสุขภาพชองปากของผูปวย ทําใหเกิดการหมักหมม และการสะสมของแบคทีเรียในชองปาก กอใหเกิดกลิ่นปาก หรือใน ผูปวยบางรายทําใหเกิดปญหาดานการพูด 2.เนื้อเยื่อที่ปกคลุมบริเวณปุมกระดูกงอกเกิดเปนแผลบอยครั้ง หรือเปนแผลเรื้อรังจากการรับประทานอาหาร หรือการแปรงฟนไป กระแทกโดนบริเวณนั้นบอย ๆ 3.ทันตแพทยใสฟนพิจารณาแลววาปุมกระดูกงอกนั้นขัดขวาง ตอการใสฟนปลอม เพราะโครงฐานของฟนปลอมตองพาดผานสวน ที่มีปุมกระดูกงอกนี้ หากใสฟนปลอมทับปุมกระดูกไปเลย จะทําให เกิดการกดทับ เจ็บ และเกิดแผลเรื้อรังได สําหรับวิธีการรักษา ไดแก การผาตัดเอาปุมกระดูกงอกออก ถือเปนการผาตัดเล็ก โดยมากสามารถทําไดดว ยการฉีดยาชาเฉพาะที่ แตภายหลังการผาตัดอาจเกิดปุมกระดูกงอกขึ้นใหมอยางชา ๆ เชน เดิมได ดังนั้น ทันตแพทยจึงพิจารณาผาตัดเฉพาะในผูปวยรายที่มี ขอบงชี้เทานั้น หากผูปวยมีปุมกระดูกงอกและมีขอสงสัยถึงความ จําเปนในการรักษา สามารถปรึกษาทันตแพทยเพื่อรับการตรวจและ วางแผนการรักษาที่เหมาะสมตอไป ที่มา : หนังสือพิมพมติชน : สสส.


Medical Techology ผลงานประดิษฐขอสะโพกเทียม ของแพทยจุฬาฯ แหงแรกในประเทศไทย

รศ.นพ.วัชระ วิไลรัตน แพทยผูเชี่ยวชาญหนวยศัลยกรรม ขอเขาและสะโพกเทียม ฝายออรโธปดิกส โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทยผูค ดิ คนประดิษฐ “ขอสะโพก เที ย ม” สํ า หรั บ ผู  ป  ว ยกระดู ก สะโพกหั ก ร ว มกั บ ที ม คณะวิ ศ วกรรมศาสตร สาขาเครื ่ อ งกลจุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดเปนแหงแรกและแหงเดียวในประเทศไทย จนได ร ั บ รางวั ล “ผลงานประดิ ษ ฐ ค ิ ด ค น ประจํ า ป งบประมาณ 2563 รางวัลระดับดีมาก” จากสํานักงาน การวิจัยแหงชาติ ความมุ ง มั่ น ในการพั ฒ นาข อ สะโพกเที ย มมาตลอด ระยะเวลากวา 10 ปนั้น ลงตัวที่วัสดุโคบอลต/โครเมียม สําหรับผลิตสวนหัวและไทเทเนียมสําหรับผลิตกาน ผลงาน ดังกลาวผานกระบวนการทดสอบและทดลองครบทุกดาน โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ผู ป ว ยนํ า สิ่งประดิษฐไปใชงานเปนสําคัญ อาทิ ทดสอบการกัดกรอน ของโลหะ (Fretting Corrosion) ทดสอบแรงตานของ

โลหะ (Pull Off Strength) ทดสอบการสงผลเปนพิษในระดับเซลล (Cytotoxicity) ทดสอบอาการแพตอผิวหนัง (Skin Sensitization) รวมไปถึ ง การทดสอบโลหะแต ล ะชนิ ดที ่ น ํ า มาใช ใ นการผลิต และ สถานที่ผลิต เปนตน จนไดรับรองมาตรฐาน ISO7206 ASTM2009 ASTM1875 และ ISO10993 ซึ่งเปนสิ่งยืนยันแลววาผลงานขอสะโพก เที ย มสามารถนํ า มาใช ง านได จ ริ ง ในผู ป ว ยสู ง อายุ แ ละไม ก อ ให เ กิ ด ผลขางเคียงหรืออันตรายตอรางกายของมนุษยแตอยางใด อีกทั้งยัง อางอิงจากโครงสรางทางสรีระจริงของผูปวยที่เขารับการรักษาตัวที่ โรงพยาบาลเปนรายบุคคลอีกดวย ทําใหการใชงานขอสะโพกเทียมนั้น มีความใกลเคียงกับขอสะโพกเดิมเปนอยางมาก ปจจุบนั ขอสะโพกเทียมไดนาํ มาใชรกั ษาผูป ว ยสูงอายุ ที่ประสบอุบัติเหตุขอสะโพกหักแลวประมาณ 9 ราย ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ซึ่งผล การรักษาเปนไปในทิศทางที่ดีมาก ๆ สืบเนื่องจาก การผาตัดเปลี่ยนขอสะโพก จะใชเวลาพักฟนเพียง 2-3 วันเทานั้น ผูปวยฟนตัวเร็ว ทําใหลดระยะเวลา

¾.Â.-¸.¤. 2564

21


Medical Techology การนอนโรงพยาบาลได อีกทัง้ ผูป ว ยสามารถกลับไปใชชวี ติ ได ตามปกติเร็วยิง่ ขึน้ มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ ไมเปนภาระการดูแล ของครอบครัว รวมไปถึงยังสามารถชวยลดอัตราการเสียชีวติ ของผูป ว ยสูงอายุ อันเนือ่ งมาจากการติดเชือ้ ของระบบตาง ๆ ในรางกาย และที่สําคัญในปจจุบันนี้ยังไมมีการเสียคาใชจาย แตอยางใด เพราะการผาตัดขอสะโพกเทียมนีย้ งั อยูใ นโครงการ พิเศษของโรงพยาบาลอีกดวย

รศ.นพ.วัชระ ใหขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลผูปวย หลังจากไดรับการผาตัดขอสะโพกเทียมวา ผูปวยสามารถ ใชชวี ติ ไดตามปกติ ทางทีมแพทยจะนัดหมายผูป ว ยตามโปรแกรม การเฝาดูแล เริ่มตนจากทุก ๆ 2 อาทิตย ในชวงแรกหลังเขา

รับการผาตัด จากนัน้ แพทยจะนัดหางขึน้ เปน 3 เดือน และคอย ๆ หางออกไปเปนปละ 1 ครั้ง และในทุก ๆ ครั้ง ที่ผูปวยกลับมาพบ แพทยตามนัดนั้น ทีมแพทยจะทําการตรวจเลือดเพื่อตรวจสอบ คาโลหะตาง ๆ ในรางกาย เพือ่ ไมใหมปี ริมาณมากเกินไปจนเปนอันตราย ตอผูปวยเอง รศ.นพ.วัชระ กลาวทิ้งทายวา ผลงานประดิษฐขอสะโพกเทียมนี้ นับเปนความภาคภูมิใจครั้งสําคัญและคุมคาอยางมากที่ไดทุมเท แรงกายแรงใจ คิดคนพัฒนา ตอยอดองคความรูจากประสบการณ ที่ ไ ด จ ากการรั ก ษาผู ป ว ยตลอดระยะเวลาการเป น ศั ล ยแพทย สู สิ่งประดิษฐขอสะโพกเทียมที่ใชงานไดใกลเคียงของจริงและเขากับ สรีระของคนไทย ถือเปนขอสะโพกเทียมทีผ่ ลิตโดยคนไทย เพือ่ คนไทย ซึ่งทดแทนการนําเขาขอสะโพกเทียมจากตางประเทศได ทําใหผูปวย สามารถเขาถึงการรักษาไดงายยิ่งขึ้น คาใชจายถูกลง สําหรับทิศทาง ในอนาคต มีโครงการตอยอดรวมกับทีมคณะวิศวกรรมศาสตร สาขา เครือ่ งกล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในการผลิตขอสะโพกเทียมแบบ 2 ชิ้นสูการผลิตขอสะโพกเทียมทั้งเบาสําหรับใชกับกลุมคนที่มีอายุ นอยลง และโครงการประดิษฐขอเขาเทียมซึ่งนับเปนประโยชนตอ ผูปวยสูงอายุเปนอยางยิ่ง

ตรวจการติดเชื้อโรค Covid-19 ดวยลมหายใจ ผลการศึ ก ษาเบื ้ อ งต น ในสหรั ฐ อเมริ ก าพบว า การใช breathalyzer technology สามารถตรวจคัดกรองการ ติดเชื้อโรค COVID-19 ไดอยางรวดเร็วและแมนยํา ใน ผูปวยวิกฤตที่นอนรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล แทนที่จะใช PCR (polymerase chain reaction) test ซึง่ เปน gold standard สําหรับการตรวจวินจิ ฉัยโรค COVID-19 ที่ใชกันอยูโดยทั่วไปในทั่วโลก ที่ตองอาศัย การทํา invasive nasal swab เพื่อตรวจการติดเชื้อไวรัส โคโรนา SARS-CoV-2 ซึ่งเปนสาเหตุของโรค COVID-19 คณะนักวิจัยของ Ohio State University Wexner Medical Center ในมลรัฐ Ohio ของสหรัฐอเมริกา ได ทําการศึกษาการตรวจหาการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ดวย การใช novel breathalyzer technology ที่มีตัว nanosensors ทําหนาทีค่ น หาและวัดปริมาณของ specific biomarkers ในลมหายใจ โดยพบวาอุปกรณที่ใช novel breathalyzer technology สามารถตรวจการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ไดอยางรวดเร็วและแมนยํา และที่สําคัญ 22

¾.Â.-¸.¤. 2564

ก็คือ เปนวิธีการตรวจคัดกรองที่ไมไดลวงลํ้าเขาไปในรางกายของ ผูที่ไดรับการตรวจคัดกรอง ผลการศึกษาที่นาสนใจอยางยิ่งดังกลาว ซึ่งกําลังกลายเปนอีก หนึ่งความหวังที่สําคัญในการตรวจหาการติดเชื้อโรค COVID-19 ได รับการตีพิมพเผยแพรในวารสาร PLOS ONE เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2021 ในชื่อการศึกษาวา Exhaled nitric oxide detection for diagnosis of COVID-19 in critically ill patients ซึ่งดําเนินการ โดย นายแพทย Matthew C. Exline และคณะ (Department of Internal Medicine,Division Pulmonary,Critical Care and Sleep Medicine,Ohio State University Wexner Medical) การศึกษาวิจัยของนายแพทย Matthew C. Exline และ คณะทําในผูปวยวิกฤตจํานวน 46 คน ที่นอนรักษาตัวอยูในหนวย intensivecare unit (ICU) ของ Ohio State University Wexner Medical Center เนื่องจากมีภาวะ acute respiratory failure จําเปนตองใสทอชวยหายใจ โดยราว ๆ ครึ่งหนึ่งของผูปวยวิกฤต เหลานี้ติดเชื้อ SARS-CoV-2 และอีกประมาณครึ่งหนึ่งไมไดติดเชื้อ SARS-CoV-2 คณะนักวิจัยเก็บรวบรวมตัวอยางลมหายใจออกของ


Medical Techology

ผูป ว ยไวในถุงแลวนําไปปลอยผานอุปกรณทเ่ี รียกวา nanosensor breathalyzer system ซึ่งใชเวลาในการวิเคราะหตัวอยาง ลมหายใจออกของผูปวยแคประมาณ 15 วินาที แลวแจงผล ตรวจการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ดวยความแมนยําถึง 88% เมื่อเทียบกับการตรวจมาตรฐานดวย PCR test การศึ ก ษานี้ถือ เป น การศึ ก ษาแรกที่แ สดงให เ ห็ น ถึ ง ประสิทธิภาพที่รวดเร็วและแมนยําของการใช nanosensor breathalyzer system ในการตรวจการติดเชือ้ โรค COVID-19 จาก exhaled breath prints หรือรองรอยลมหายใจออกของ ผูท ไ่ี ดรบั การตรวจ นายแพทย Matthew Exline ระบุไวใน press release ทีแ่ จกจายกับสือ่ มวลชนวา PCR test ซึง่ เปน gold standard สําหรับการตรวจวินิจฉัยโรค COVID-19 ตองใชวิธี invasive nasal swab ที่ลวงลํ้าเขาไปภายในรางกายของผูที่ไดรับการ ตรวจและตองใชเวลาหลายวันในหองปฏิบัติการ แต breath test ดวย nanosensor breathalyzer system เปนวิธีที่ ไมลวงลํ้าเขาไปภายในรางกายของผูที่ไดรับการตรวจและ ใหผลตรวจที่แมนยําภายในเวลาไมกี่วินาที

คณะนักวิจยั ระบุวา เราสามารถตรวจการติดเชือ้ SARS-CoV-2 จาก ตัวอยางลมหายใจออกของผูป ว ยได เนือ่ งจากไวรัสโคโรนา SARS-CoV-2 จะทําใหเกิด breath print ที่มีความแตกตางจาก breath print ของ ผูที่ไมไดติดเชื้อ SARS-CoV-2 เนื่องจากเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ปนอยู ในลมหายใจออกของผูปวยจะทําปฏิกิริยากับ oxygen, nitric oxide และ ammonia ในรางกายของผูปวย นอกจากนี้ คณะนักวิจยั ยังกําลังทําการศึกษาดวยการใช nanosensor breathalyzer system ในการตรวจการติดเชื้อโรค COVID-19 ใน ผูปวยที่ไมไดอยูในภาวะวิกฤต ดังนั้น คณะนักวิจัยภายใตการนําของนายแพทย Matthew Exline จึงไดยื่นขอรับการรับรองใช nanosensor breathalyzer system เปนกรณีฉกุ เฉินจากสํานักงานอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration) หรือ FDA แหลงทีม่ าของขอมูล : www.sciencedaily.com , www.straitstimes. com , http://cen.acs.org , http://journals.plos.org , http:// wexnermedical.osu.edu

¾.Â.-¸.¤. 2564

23


หนึ่งโรคหนึ่งรู

โรคนํ้าในหูไมเทากัน (Meniere’s disease) อาการเวียนศีรษะ บานหมุน เปนอาการที่พบไดบอย โดยเกิด ไดจากหลายสาเหตุ เชน โรคของหูชน้ั นอก หูชน้ั กลาง หูชน้ั ใน ตลอดจนโรคของระบบทางเดินประสาทและสมอง โรคนํ้าในหู ไมเทากันเปนสาเหตุที่พบไดบอยสาเหตุหนึ่งของอาการเวียน ศีรษะ บานหมุน

ที่มา : https://www.houstonmethodist.org

โรคนํ้าในหูไมเทากัน พบไดบอยในผูปวยกลุมอายุประมาณ 20-50 ป พบไดทั้งเพศชายและเพศหญิง โดยสวนใหญมักจะพบ ในผูปวยอายุมากกวา 30 ปขึ้นไป สาเหตุของโรคเกิดจากการ ไมสมดุลกันของการสรางและการดูดซึมนํ้าในหูชั้นใน เมื่อนํ้า ในหูชั้นในมากผิดปกติ ทําใหเกิดความผิดปกติของเซลลประสาท ทีท่ าํ หนาทีเ่ กีย่ วกับการทรงตัวและการไดยนิ ของหูชน้ั ใน จึงทําให เกิดอาการเวียนศีรษะ บานหมุน และความผิดปกติทางการได ยินตามมา

ภาพเปรียบเทียบปริมาณนํ้าในหูของคนปกติเทียบกับโรคนํ้าในหูไมเทากัน ที่มา : https://www.nature.com/nrdp

อาการที่พบไดบอยของโรคนํ้าในหูไมเทากัน ไดแก 1. เวียนศีรษะ บานหมุน มักจะมีอาการนานมากกวา 20 นาที บางรายอาจมีอาการนานเปนชั่วโมง มักมีอาการคลื่นไสอาเจียน มากรวมดวย หลังจากที่หายบานหมุนแลวผูปวยอาจมีความรูสึก เวียนศีรษะโคลงเคลงตออีกหลายวัน อาการของโรคมักจะเกิดขึ้น ทันทีทนั ใด อาจมีอาการทุกวัน หรือนาน ๆ ครัง้ ก็ได แตละครัง้ ที่ มีอาการ อาจมีอาการเปนระยะเวลาเปนนาที หรือนานเปนชั่วโมง ก็ได ในรายที่มีอาการบอย ๆ และรุนแรง จะสงผลกระทบตอ คุณภาพชีวิตของผูปวยเปนอยางมาก 2. การไดยินผิดปกติ ไดแก ระดับการไดยินลดลงหรือหูดับ มีเสียงดังรบกวนในหู และอาการหูอื้อ โดยสวนใหญระยะแรกมัก พบในหูขางเดียว ระยะหลังอาจมีอาการที่หูทั้ง 2 ขาง อาการ อาจเปน ๆ หาย ๆ ในชวงแรก เมือ่ รางกายกลับคืนสูป กติ การไดยนิ อาจจะกลับมาดีเหมือนเดิม แตถาควบคุมโรคไดไมดี อาการจะ แยลงจนสูญเสียการไดยินถาวรและมีเสียงดังในหูถาวร การวินจิ ฉัย โรคนีป้ ระกอบดวย การซักประวัติ อาการทีส่ าํ คัญ 24

¾.Â.-¸.¤. 2564

พญ.สุธรรมา ตังควิเวชกุล

โสตศอนาสิกแพทยเฉพาะทางตอยอดโรคหูและโรคระบบประสาทหู แผนกโสต นาสิก ลาริงซวิทยา โรงพยาบาลสุโขทัย

ทัง้ 3 อาการ คือ เวียนศีรษะ บานหมุน การไดยนิ ลดลงและหูออ้ื หรือเสียงดังในหู การตรวจรางกายระบบทัว่ ไป ระบบหู คอ จมูก และระบบ ประสาทการทรงตัว การตรวจการไดยิน การตรวจเลือด เพื่อวินิจฉัยแยก จากโรคอื่น ๆ การตรวจการไดยินระดับกานสมอง (Auditory Brainstem Response : ABR) หรือการตรวจเอกซเรยคลื่นแมเหล็กไฟฟา (MRI) เพื่อประเมินเนื้องอกเสนประสาทหู การรักษา ประกอบดวย การใชยารักษาควบคูก บั การปรับพฤติกรรม และควบคุมอาหาร ถาไมไดผลหรือในรายที่อาการรุนแรงมากอาจจําเปน ตองใชวิธีการผาตัดรักษา การใชยารักษา แบงเปนยารักษาในชวงที่เกิดอาการเฉียบพลันและ ยาเพื่อควบคุมอาการในระยะยาว • ยารักษาในชวงที่เกิดอาการเฉียบพลัน เปนยาที่กดประสาทระบบ เวียนศีรษะเพื่อชวยยับยั้งอาการเวียนศีรษะและคลื่นไสอาเจียนเฉียบพลัน ไดแก ยากลุม Dimenhydrinate, Scopolamine ยาในกลุมนี้ไมควรใช ติดตอกันในระยะยาว เนื่องจากมีฤทธิ์กดระบบประสาท เมื่อรับประทาน ยาจําพวกนี้ควรงดการขับขี่รถเพราะยามีฤทธิ์ทําใหงวงมาก • ยาเพื่อควบคุมอาการในระยะยาว เชน ยาขยายหลอดเลือด จะชวย ใหการไหลเวียนของนํา้ ในหูดขี น้ึ บางรายทีอ่ าการรุนแรงแพทยอาจพิจารณา ใหยาขับปสสาวะ เพื่อทําใหนํ้าคั่งในหูชั้นในนอยลง โดยยาตาง ๆ เหลานี้ แพทยจะปรับปริมาณยาตามอาการ และตองใชอยางระมัดระวังเนื่องจาก อาจมีผลขางเคียงจากยาได การปรับพฤติกรรมและควบคุมอาหาร เปนสวนสําคัญอยางมากใน การรักษา พบวา ถาผูปวยปฏิบัติตัวตามคําแนะนําอยางเครงครัด อาการ และความถี่ของโรคจะลดลง การปฏิบัติตัวที่สําคัญ ไดแก • การควบคุมอาหาร - จํากัดอาหารเค็ม เพราะจะทําใหมีนํ้าคั่งในหูชั้นในมากขึ้น - หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มคาเฟอีน ไดแก ชา กาแฟ นํ้าอัดลม โกโก - งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล และงดสูบบุหรี่ • นอนหลับพักผอนใหเพียงพออยางนอย 6-8 ชั่วโมงตอวัน • หมั่นออกกําลังกายสมํ่าเสมอ นานครั้งละอยางนอยครึ่งชั่วโมง มากกวา 3-4 วันตอสัปดาห • ลดความเครียด การผาตัด ในรายทีม่ อี าการรุนแรง รบกวนคุณภาพชีวติ และไมสามารถ ควบคุมอาการของโรคไดจากยาและการปรับพฤติกรรม อาจจําเปนตอง ผาตัดหูชั้นในเพื่อระบายนํ้าที่คั่งอยูในหูชั้นใน การผาตัดรักษาจะชวยทําให อาการเวียนศีรษะบานหมุนดีขึ้น แตก็อาจทําใหสูญเสียการไดยินในหูขาง นั้นดวย โรคนํ้าในหูไมเทากัน รูเร็ว รักษาเร็ว ปรับพฤติกรรมสมํ่าเสมอ รับประทานยาตามแพทยแนะนํา ลดความรุนแรงของโรคได และผูปวย จะไดคุณภาพชีวิตที่ดีคืนกลับมา


ข อมูลสุขภาพ “มะเร็งปอด ไมนากลัวอยางที่คุณคิด” ถึงแมวามะเร็งปอดยังคงครองสถิติตน ๆ ของโรคมะเร็ง ที่ ค ร า ชี วิ ต คนไทยในแต ล ะป ด ว ยจํ า นวนผู ป ว ยใหม 23,713 รายตอป หรือ 2.7 คนตอชั่วโมง ซึ่งการนําเสนอ สถิติผูปวยในที่นี้ ไมไดมีจุดประสงคเพื่อใหเกิดความ ตระหนกหรือตืน่ กลัว แตจาํ นวนผูป ว ยรายใหมและอัตรา การเสียชีวิตที่สูงขึ้นนี้ จะเปนโอกาสในการสรางการรับ รูใหมและความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับโรคมะเร็งปอด ในยุคปจจุบนั โดยถือโอกาสในเดือนพฤศจิกายนซึง่ เปน เดือนแหงการสรางความตระหนักรูและเขาใจมะเร็งปอด (World Lung Cancer Awareness Month) มา เปนชวงเวลาในการใหขอมูลและสรางการรับรูใหมวา “มะเร็งปอด ไมนากลัวอยางที่คุณคิด” รูหรือไม มะเร็งปอดมี 2 ชนิดใหญ ๆ ดวยกัน ซึ่ง 85% ของมะเร็งปอดที่พบบอยในผูปวยมะเร็งแตละป คือ มะเร็ง ปอดชนิดเซลลไมเล็ก (Non-small cell lung cancer) ขณะทีอ่ กี 15% ของผูป ว ยมะเร็งปอดทีพ่ บเปนชนิดเซลลเล็ก (Small cell lung cancer) ที่มีการเจริญเติบโตเร็วและ แพรกระจายกวาชนิดเซลลไมเล็ก ขณะที่วิทยาการและ เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยในปจจุบันกาวหนาไปมากกวา เมือ่ 10 ปกอ น ปจจุบนั มีการวินจิ ฉัยมะเร็งปอดดวยการสแกน คอมพิวเตอร (CT Scan) การสแกนคลื่นแมเหล็กไฟฟา (MRI) และลาสุดผานการสแกนดวย PET Scan รวมถึง เทคนิคการสองกลองทางหลอดลม และการเจาะตรวจ ชิ้นเนื้อ ทําใหการตรวจวินจิ ฉัยมะเร็งปอดในปจจุบนั มีความ รวดเร็ว ซึ่งสงผลดีโดยตรงตอผูปวยในการเขารับการรักษา ไดเร็วยิ่งขึ้น อนึ่ง ปจจุบันยังมีการคนพบวามะเร็งปอดสามารถ เกิดไดจากหลายปจจัย โดยสาเหตุหลักมาจากการสูบบุหรี่ แตอยางไรก็ตาม อาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ได รวมถึง พันธุกรรมและยีนในรางกายที่เกิดจากการกลายพันธุไป โดยไมเกี่ยวของกับการถายทอดทางพันธุกรรมแตอยางใด โดยมากจะพบในคนที่ไมไดสูบบุหรี่หรือเลิกบุหรี่ไปแลว ตั้งแต 10 ปขึ้นไป รวมทั้งความผิดปกติของยีน ไดแก การ กลายพันธุของยีน EGFR ซึ่งพบไดบอยในคนไทย โดยพบ ประมาณ 50% รวมทั้งความผิดปกติของยีนอีกชนิดหนึ่ง คือ การสลับที่ของยีน ALK พบไดประมาณ 5-10% และ ยังมียีนที่ผิดปกติชนิดอื่น ๆ อีก 3 ชนิด คือ มีการสลับที่ ของยีน ROS และ NTRK และการกลายพันธุของยีน BRAF

แตความผิดปกติของยีนใน 3 ชนิดหลังนี้พบนอยกวา โดยมีเพียง ชนิดละ 4% เทานั้น นวัตกรรมแนวทางการรักษามะเร็งปอดมีการพัฒนาไปมากใน ปจจุบัน ซึ่งเปนการเพิ่มทางเลือกในการรักษาและทางรอดใหกับผู ปวยมากขึ้น โดยการผาตัดยังเปนทางเลือกหลักในการรักษามะเร็ง ระยะเริ่มแรก ทั้งนี้ กระบวนการผาตัดในปจจุบันก็มีความทันสมัย และปลอดภัยมากขึ้น และการรักษามะเร็งปอดระยะลุกลามใน ชวงหลาย 10 ปที่ผานมา ใชการรักษาดวยยาเคมีบําบัด ซึ่งมีอยูไม กี่ชนิดและมีผลขางเคียงคอนขางมากกับผูปวย ขณะที่ปจจุบันการ รักษามะเร็งปอดระยะลุกลามมีทางเลือกมากขึ้น

รศ.พญ.ธัญนันท ใบสมุทร (เรืองเวทยวัฒนา)

รศ.พญ.ธัญนันท ใบสมุทร (เรืองเวทยวัฒนา) สาขาวิชา มะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาล รามาธิบดี กลาววา “มะเร็งปอด ไมนากลัวอยางที่คุณคิด เพราะ ปจจุบันมียาเคมีบําบัดกลุมใหม ๆ เกิดขึ้นหลายชนิด ซึ่งผลขางเคียงนอยกวากลุม เกา และยังมีการพัฒนายารักษามะเร็งกลุม ใหม ๆ เชน การรักษาแบบตรงจุด หรือ แบบมุง เปา (Targeted Therapy) และการรักษาดวยยากระตุนภูมิคมุ กันและเม็ดเลือดขาวในรางกาย (Immunotherapy) เปนทางเลือกใหกับผูปวยมะเร็งปอดบางราย อีกดวย”

¾.Â.-¸.¤. 2564

25


ข อมูลสุขภาพ

ฉันทนา วันอน ผูปวยมะเร็งปอดระยะลุกลาม

คุณฉันทนา วันอน หรือ “เป” ในฐานะผูปวย มะเร็งปอดระยะลุกลามที่ผานการรักษาดวยยาเคมีบําบัด และพบว า มะเร็ ง ลุ ก ลามไปยั ง กระดู ก ในระหว า งการให เคมีบําบัด ไดกลาวผานประสบการณวา “การไดรับขอมูล เกีย่ วกับโรคและการรักษาทีถ่ กู ตองครบถวนนัน้ เปนสิง่ สําคัญ มากสําหรับผูปวยปจจุบัน เพราะขอมูลจะชวยใหผูปวย เขาใจเกี่ยวกับโรคและอาการของตัวเอง ทั้งยังสามารถ วางแผนตั ด สิ น ใจร ว มกั บ หมอในการเลื อ กทางรั ก ษาที่ เหมาะสมกับตัวเองได นอกจากนี้ การรักษาทีม่ ผี ลขางเคียง นอย ยังมีสวนชวยใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น เมื่อเราสามารถใช ชีวิตไดตามปกติ ทํางานได ดูแลตัวเองได ดูแลครอบครัวได ก็จะมีกําลังใจในการตอสูกับโรคตอไป และจะยิ่งมีสุขภาพ ที่ดีขึ้นอีกดวย”

ปจจุบันคุณฉันทนารับการรักษาดวยยาแบบมุงเปา โดยเธอ และครอบครัวอยูร ว มกับมะเร็งมาแลวเปนเวลา 1 ป 10 เดือน ซึง่ กอนหนานี้แพทยไดประเมินวาเธออาจมีชีวิตอยูไดเพียง 3 เดือน เทานั้น และเพื่อเปนการสรางความรับรูและความเขาใจที่ถูกตอง กลุม ผูป ว ยโดยมูลนิธเิ ครือขายมะเร็ง กลุม แพทยผเู ชีย่ วชาญเกีย่ วกับ มะเร็ง โดย Thai Lung Cancer Group จึงไดใชเวลาในเดือน แหงการสรางความตระหนักรูมะเร็งปอดนี้ ในการจัด 2 กิจกรรม เพื่อสรางความตระหนักรูและเขาใจเกี่ยวกับมะเร็งปอด ไดแก การจัดเสวนาใหความรูใ นหัวขอ “มะเร็งปอดไมนา กลัวอยางทีค่ ดิ ” เพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับมะเร็งปอด การวินิจฉัย และแนวทางการ รักษามะเร็งปอดในยุคปจจุบัน โดยแพทยผูเชี่ยวชาญดานมะเร็ง วิทยา ไดแก รศ.พญ.ธัญนันท ใบสมุทร (เรืองเวทยวัฒนา) และ พ.อ.ผศ.นพ.ไนยรัฐ ประสงคสขุ พรอมดวยการแชรประสบการณ ตรงจากคุณฉันทนา วันอน (เป) ผูปวยมะเร็งปอดระยะลุกลาม รวมถึ ง ไขข อ ข อ งใจและการตอบคํ า ถามเรื่ อ งการดู แ ลผู ป ว ย มะเร็งปอด ผานทางเฟสบุค ไลฟทางเพจของมูลนิธเิ ครือขายมะเร็ง ในวันอาทิตยท่ี 21 พฤศจิกายน 2564 ตัง้ แตเวลา 13.30 – 15.30 น. โดยผูที่สนใจสามารถลงทะเบียนเขารวมงานและสงคําถามลวง หนาไดที่ https://bit.ly/3Co7ALU และติดตามการไลฟสด ไดท่ี https://www.facebook.com/thaicancersociety/ นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมรณรงค Healthy Lung Healthy You “สรางกําลังปอด สงกําลังใจ ใหผูปวยมะเร็งปอด” โดย กิจกรรมรณรงคนี้เพื่อใหผูปวยมะเร็งปอดและบุคคลทั่วไปไดรวม กันฝกบริหารปอดดวยกิจกรรมเปาลูกบอลและเปาเทียน โดยผูที่ สนใจสามารถติดตามและรวมกิจกรรมรณรงคพรอมลุนรางวัล ตาง ๆ มากมายไดจาก Facebook Page: Thai Stronger Than Cancer ตั้งแตวันที่ 4 พฤศจิกายน 2564 เปนตนไป สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ https://thaicancersociety. com/lung-cancer-hub

ร.พ.เมตตาฯ ไขขอของใจ “โรควุนตาเสื่อม” นากลัวหรือเปลานะ กรมการแพทย โดย ร.พ.เมตตาฯ แนะอาการมองเห็น จุดดําหรือคราบดํา ๆ เหมือนคราบติดกระจก เห็นจุดดํา หรือมีเงาดําลอยไปมา หรือหยากไย เวลาที่มองทองฟา ผนังพื้นผิวเรียบสวาง ฝาผนังสีพื้น หรือเห็นฟาแลบ หรือไฟวาบขึ้นมาอยางฉับพลัน ขณะหลับหรืออยูในที่ มืด ควรพบจักษุแพทยเพื่อตรวจดูจอตาและวุนตาอยาง ละเอียด 26

¾.Â.-¸.¤. 2564

นพ.ไพโรจน สุรัตนวนิช รองอธิบดีกรมการแพทย กลาว วา เมื่ออายุมากขึ้นและเขาสูวัยกลางคน อวัยวะดวงตาสวนที่เรียก วา นํ้าวุนลูกตา จะมีการเสื่อมตามอายุวัย เมื่อเริ่มเขาสูวัยกลางคน วุนลูกตาจะเริ่มเสื่อมจับตัวกันเปนกอนเล็ก ๆ หรือเสนเล็ก ๆ ซึ่ง เปนการเสื่อมไปตามธรรมชาติ บางทีเห็นจุดดําลอยเปนเจลหรือ เศษเซลลที่จับกันเปนกอนเล็กลอยอยูในวุนลูกตา โดยมากจุดดํา ลอยพบไดในผูที่สายตาสั้น หรืออาจเกิดกับผูที่ผานการผาตัด


ข อมูลสุขภาพ ตาหรือผูที่ฉายเลเซอร ซึ่งอาจจะรบกวนการมองเห็นหรือ เวลาอานตัวหนังสือ แตไมเปนอันตราย อยางไรก็ตาม สมองจะทําการปรับใหมองไมเห็นจุดเงานี้ แมจุดจะยังอยู อาจจะใชวิธีกลอกตาไปมาจนกวาจุดลอยจะลอยหลีกการ บดบังการมองเห็นได นพ.อภิชัย สิรกุลจิรา ผูอํานวยการโรงพยาบาล เมตตาประชารักษ (วัดไรขิง) กลาวเพิ่มเติมวา ปจจุบันมี ผูป ว ยมาพบจักษุแพทยดว ยโรควุน ตาเสือ่ มมากขึน้ อาการ มองเห็นจุดดําลอยไปมาเหมือนหยากไยลอยไปมาคลาย คราบที่ติดกระจก เห็นชัดเมื่อมองไปยังภาพที่มีสีสวาง มองไปที่พื้นผิวเรียบ ฝาผนังสีพื้น หรือทองฟา หากตรวจ พบอาการแทรกซอนเพิ่มขึ้น เชน ประสาทตาฉีกขาด อาการคือ จะมองเห็นแสงแฟลช ไฟวาบ ฟาแลบในที่มืด ไมวาหลับตาหรือลืมตา อาการดําเนินของโรควุนตาเสื่อม นี้จะดึงตัวและทําใหจอประสาทตาฉีกขาด อาจทําใหมี เลือดออกเปนจุด มองเห็นเปนจุดลอยบดบังสายตา ซึ่ง รอยขาดที่จอประสาทตานี้เปนอันตรายและกอใหเกิด จอประสาทตาลอกไดในที่สุด โดย พญ.อุมาภรณ จิตตวัฒนรัตน จักษุแพทย ศูนยจอตาและวุนตา กลาวเสริมวา วุนตาเปนสารใส คลายเจลบรรจุอยูภายในลูกตาสวนหลัง ทําหนาที่เปน ตัวกลางใหแสงผาน ใหสารอาหารแกจอตาและผนังลูกตา ชัน้ ใน การมองเห็นจุดดําลอยไปมาหรือหยากไยลอยไปมา บางเห็นเปนจุด เปนเสนคลายใยแมงมุมเคลื่อนไปมา เมือ่ กลอกตาสวนใหญ สาเหตุมกั เกิดจากภาวะวุน ตาเสือ่ ม ซึ่งเดิมวุนตามีลักษณะเหมือนเจลลี่ แตเมื่ออายุมากขึ้น ภาวะวุนตาจะเปนลักษณะของเหลวมากขึ้น จึงพบวา เสนใยในวุนตาเปนเงากระทบบนจอตาซึ่งทําใหเห็นเปน เงาจุดดําลอยไปมานัน่ เอง ซึง่ ความเสีย่ งทีท่ าํ ใหเกิดดวยอายุ

ที่เพิ่มมากขึ้น ภาวะสายตาสั้น อุบัติเหตุทางตา หรือภายหลังการ ผาตัดตา โรคเบาหวานขึ้นจอตา และภาวะอักเสบในตา โดยสาเหตุ จากอายุทม่ี ากขึน้ วุน ตาเดิมทีม่ ลี กั ษณะเปนเจลลีจ่ ะเปลีย่ นเปนของเหลว มากขึ้น และนํามาซึ่งการลอกตัวหลุดจากชัน้ จอตาดานในเปนเหตุให เกิดอาการเห็นจุดดําลอย ภาวะอักเสบในวุนตาและจอตาดานหลัง มีสาเหตุไดจากการติดเชือ้ ภาวะอักเสบอันเกิดจากภูมคิ มุ กันตอตนเอง เลือดออกเขาในวุนตา มีสาเหตุไดจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เสนเลือดดําอุดตันภายในตา จอตาฉีกขาด หรือจอตาลอก การผาตัด หรือการฉีดยาเขาวุนตาก็เปนอีกสาเหตุ ซึ่งการฉีดยาเขาวุนตา อาจ ทําใหมฟี องอากาศทีเ่ ปนสาเหตุใหเห็นจุดดําลอยไปมา แตจะหายไปไดเอง หรือการผาตัดจอตาโดยใสนํ้ามันหรือกาซกดทับจอตาจะทําใหเปน จุดดําลอยไปมาได หลายคนอาจสงสัยวาเมือ่ ไหรควรรีบพบจักษุแพทย ทั้งนี้ หากมีอาการเมื่อพบจุดดําลอยไปมาเพิ่มขึ้นทันทีทันใดมากกวา ในภาวะปกติ พบแสงแฟลชในตาขางที่พบเห็นจุดดําลอยไปมา หรือ เห็นมานดําในสวนใดสวนหนึ่งของภาพการมองเห็น

อย. ชี้ประโยชนจากการอานฉลาก GDA วันเบาหวานโลก อย. แนะผูบริโภคใชประโยชนจาก ฉลาก หวาน มัน เค็ม เพื่อชวยควบคุมปริมาณนํ้าตาลที่ ไดรับในแตละวัน เช็กขอมูลโภชนาการบนฉลาก GDA กอนซื้อ ลดเสี่ยงเปนโรคเบาหวาน นพ.วิทิต สฤษฎีชัยกุล รองเลขาธิการคณะกรรมการ อาหารและยา เปดเผยวา 14 พฤศจิกายน ของทุกป เปนวันเบาหวานโลก ซึ่งโรคเบาหวานถูกจัดใหเปนหนึ่ง ในโรคไมติดตอเรื้อรัง (NCDs) ที่คุกคามประชากร ทัว่ โลก อาการเบือ้ งตนของโรคเบาหวาน เชน ปสสาวะบอย

กระหายนํ้าบอย กินจุแตนํ้าหนักลด เปนแผลหายยาก ชาปลายมือ ปลายเทา ตาพรามัว โดยปจจัยเสี่ยงสําคัญของการเกิดโรคเบาหวาน ชนิดที่มักพบในผูใหญ หรือผูสูงอายุ คือ การมีพฤติกรรมทางสุขภาพ ที่ไมเหมาะสม เชน การรับประทานอาหารที่มีนํ้าตาลสูงเปนประจํา โดยเฉพาะเครื่องดื่ม อาหารสําเร็จรูป และขนมขบเคี้ยว บริโภคผัก ผลไมนอย รวมไปถึงขาดการออกกําลังกาย สํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) ตระหนักถึงความสําคัญของปญหาสุขภาพ ที่เกิดจากโรคเบาหวาน จึงไดรณรงคใหประชาชนลดการบริโภค อาหารหวาน สงเสริมใหอานและใชประโยชนจากขอมูลบนฉลาก

¾.Â.-¸.¤. 2564

27


ข อมูลสุขภาพ หวาน มัน เค็ม (GDA) เพื่อชวยควบคุมพลังงาน ปริมาณ นํ้าตาล ไขมัน โซเดียม ที่จะไดรับจากการบริโภค นอกจากนี้ ยังชวยในการเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารที่มี คุณคาทางโภชนาการใหเหมาะสมกับตนเอง เชน ผูท ต่ี อ งการ ควบคุมระดับนํ้าตาลหรือตองการลดปริมาณนํ้าตาล เพื่อ ลดความเสี่ยงของโรคเบาหวาน ควรเลือกบริโภคอาหาร ที่มีปริมาณนํ้าตาลนอย

(2) ปริมาณของพลังงาน นํ้าตาล ไขมัน และโซเดียม ที่จะไดรับ เมื่อบริโภคอาหารทั้งบรรจุภัณฑ (3) ปริมาณของพลังงาน นํ้าตาล ไขมัน และโซเดียม ที่ไดรับคิดเปนรอยละเทาใดของปริมาณสูงสุด ที่แนะนําใหบริโภคไดตอวัน การอานฉลาก หวาน มัน เค็ม ชวยให เราสามารถควบคุมการบริโภค หรือเลี่ยงอาหาร หวาน มัน เค็ม ได โดยขอแนะผูบ ริโภคอานฉลาก หวาน มัน เค็ม พิจารณาปริมาณ นํ้าตาลที่จะไดรับจากการรับประทานผลิตภัณฑอาหาร และควรปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค หันมารับประทานอาหารใหครบ 5 หมู เพิ่มการรับประทาน ผัก ผลไมที่หวานนอย เพื่อใหไดรับสารอาหาร ครบถวนที่รางกายตองการ รวมทั้งออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ เพื่อหางไกลจากโรคเบาหวาน อยางไรก็ตาม สามารถติดตามขาว เกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภาพไดจากสื่อออนไลนของ อย. หรือหากพบ ทั ้ ง นี ้ บนฉลาก GDA ใหข อมูลที่สําคัญ ไดแก ผลิตภัณฑที่สงสัยวาจะไมปลอดภัย แจงไดที่สายดวน อย.1556 หรือ (1) จํานวนครั้งที่แนะนําใหบริโภค (ควรแบงรับประทาน) รองเรียนผาน Facebook หรือ Line @FDAThai

ปลัดสธ. แจงกรณีฉีดวัคซีนแลวขอมูลไมขึ้น/ขึ้นไมตรง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข สั่งประสานหนวยบริการและ ผูรับผิดชอบโครงการฉีดวัคซีนโควิด-19 เรงบันทึกผล การฉีดใหเปนปจจุบัน แนะประชาชนตรวจสอบขอมูล การฉีดวัคซีนผานแอปพลิเคชัน/ไลน “หมอพรอม” หาก ไมมีขอมูลหรือมีแตไมถูกตอง ใหติดตอหนวยบริการหรือ ผูรับผิดชอบโครงการเพิ่มขอมูลในระบบ MOPH IC เพื่อ แสดงผลในหมอพรอมทันทีและใชเปนเอกสารรับรอง การฉีดวัคซีนได นพ.เกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข พรอมดวยผูบ ริหารกระทรวงสาธารณสุข และคณะผูเ ชีย่ วชาญ รวมประชุมหารือประเด็นการพัฒนาการแสดงขอมูลผลการ ฉีดวัคซีนในระบบหมอพรอมรายบุคคล และใหสมั ภาษณวา จากกรณีที่ประชาชนฉีดวัคซีนโควิด-19 แลว แตไมมขี อ มูล ขึน้ ในระบบหมอพรอม ทําใหไมมขี อ มูลการนัดหมายฉีดวัคซีน เข็มตอไป หรือไมมีขอมูลใน Digital Health Pass จึงไม สามารถออกใบรับรองการฉีดวัคซีน หรือเขาสถานทีต่ า ง ๆ ได ขณะนี้กระทรวงสาธารณสุขไดประสานหนวยบริการฉีด วัคซีนและผูรับผิดชอบโครงการตาง ๆ อาทิ ไทยรวมใจ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ ประกันสังคม เปนตน เรงบันทึกผล การฉีดวัคซีนใหเปนปจจุบันแลว ในสวนของประชาชน ขอใหตรวจสอบขอมูลการฉีด วัคซีนใน Application หรือ Line OA “หมอพรอม” 28

¾.Â.-¸.¤. 2564

เชน ชื่อ นามสกุล เลขบัตรประจําตัวประชาชน วันที่ฉีดวัคซีน ชนิด วัคซีน จํานวนเข็ม วาไดรับการบันทึกถูกตองครบถวน หากพบวา ขอมูลใดไมถูกตอง หรือยังไมมีขอมูลแสดงในระบบหมอพรอม ขอใหติดตอหนว ยบริการ หรือโครงการที่ทานลงทะเบี ย นเข า รับการฉีดวัคซีน เพื่อใหเพิ่มเติมขอมูลในระบบฐานขอมูลการฉีด วัคซีนกระทรวงสาธารณสุข (MOPH IC) ซึ่งเมื่อหนวยบริการลง ขอมูลเรียบรอยจะแสดงผลในระบบหมอพรอมทันที นอกจากนี้ กระทรวงสาธารณสุ ข กํ า ลั ง ให ทุ ก จั ง หวั ด เป ด ศู น ย รั บ เรื่ อ ง (call center) เพือ่ ลงขอมูลสําหรับผูท ไ่ี มมขี อ มูลในระบบ MOPH IC หรือแกไขขอมูลที่ไมถูกตอง สําหรับพื้นที่กรุงเทพมหานคร สามารถ ติดตอไดที่ สถานีกลางบางซื่อ หรือหนวยบริการที่กรุงเทพมหานคร กําหนดขึ้น ทั้งนี้ การที่ขอมูลการฉีดวัคซีนของประชาชนบางรายไมปรากฏ ในระบบหมอพรอม หรือ ระบบฐานขอมูลการฉีดวัคซีนกระทรวง สาธารณสุข (MOPH IC) สวนหนึ่งมาจากหนวยบริการออกให บริการฉีดวัคซีนนอกสถานที่ แลวคอยกลับมาบันทึกขอมูลภายหลัง หรือเปนหนวยบริการฉีดวัคซีนที่เขารวมกับโครงการตาง ๆ ซึ่งตอง สงขอมูลการฉีดวัคซีนใหผูรับผิดชอบโครงการตรวจสอบกอนบันทึก ลงระบบของกระทรวงสาธารณสุข จึงทําใหมีการแสดงผลลาชาหรือ บันทึกขอมูลไมครบถวน เชน ไมไดลงหมายเลขประจําวัคซีนแต ละลอต เปนตน ซึ่งอยูระหวางการพิจารณาวามีผลตอการใชขอมูล ใน Digital Health Pass หรือไม


ปฏิทินข าว

สมาคมแพทยผิวหนังฯ เชิญรับชมเพจเฟซบุก “ครบเครื่องเรื่องผิวหนัง” EP.14 ตอน “ผื่นแพยา”

ผื่นผิวหนังจากการแพยา (Cutaneous drug eruption) หรือผื่นแพยา เปนอาการไมพึงประสงคจาก การแพยาที่เกิดความผิดปกติขึ้นกับระบบผิวหนัง รวม ทั้ง ผม ขน เล็บ และเยื่อบุ อาการดังกลาวไมสามารถ คาดเดาได แ ละสามารถเกิ ด ขึ้ น แม จ ะได รั บ ยาขนาด ปกติหรือไมจําเปนตองไดรับในขนาดสูงก็สามารถเกิด ผื่นแพยาได กลไกของการเกิดการแพยาอาจเกี่ยวกับ ปฏิ กิ ริ ย าทางภู มิ คุ ม กั น หรื อ ไม เ กี่ ย วกั บ ปฏิ กิ ริ ย าทาง ภูมิคุมกัน หรือไมทราบสาเหตุก็ได หลักเกณฑที่พอ จะบงชีถ้ งึ การเกิดอาการแพยาไดโดยคราว ๆ คือ ประวัติ การไดรับยาตัวนั้น ๆ มากอนในชวง 1 - 2 อาทิตย ประวัติภูมิแพ โรครวมอื่น ๆ สถิติของการเกิดผื่นแพ ยาของยาชนิดนั้น ๆ รูปแบบของผื่นที่เกิดขึ้น เปนตน สมาคมแพทยผิวหนังแหงประเทศไทย หรือ DST ตระหนักที่จะทําหนาที่เพื่อตอบแทนสังคมและเผยแพร และทําการรักษาและใหความรูกับประชาชนทั่วประเทศ จึงขอเชิญประชาชนและผูส นใจทัว่ ไปเขาชม Facebook Live

ผานเพจเฟซบุก “ครบเครื่องเรื่องผิวหนัง ” ใน EP.14 ตอน “ผื่นแพยา” ในวันพุธ ที่ 1 ธันวาคม 2564 เวลา 12.00-13.00 น. โดยไดรบั เกียรติจาก รศ.พ.ญ.ภาวิณี ฤกษนมิ ติ ร แพทยผเู ชีย่ วชาญ สมาคมแพทยผวิ หนังแหงประเทศไทย และ รศ.พ.ญ.ปภาพิต ตูจ นิ ดา แพทยผเู ชีย่ วชาญสมาคมแพทยผวิ หนังแหงประเทศไทย เปนวิทยากร และ ศ.พ.ญ.รังสิมา วณิชภักดีเดชา ประชาสัมพันธสมาคมแพทย ผิวหนังแหงประเทศไทย เปนผูดําเนินรายการ สํ า หรั บ ผู ส นใจท า นใดที่ ต อ งการสอบถามเกี่ ย วกั บ ป ญ หา เรื่อง“ผื่นแพยา” สามารถฝากขอมูลไดที่เพจครบเครื่องเรื่องผิวหนัง หรื อ เข า ศึ ก ษาข อ มู ล ได ที่ เ ว็ บ ไซต ส มาคมแพทย ผิ ว หนั ง แห ง ประเทศไทย (WWW.DST.OR.TH) ///////////////////////////////////////////

ที่มา : หนังสือพิมพมติชน : สสส.

¾.Â.-¸.¤. 2564

29


News in Medicine องคมนตรีประธานเปดบริการ อินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูงฟรี

องคมนตรี เปนประธานการเปดใหบริการอินเทอรเน็ต ไรสายความเร็วสูง ในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทาบอ จ.หนองคาย และโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชบานดุง จ.อุดรธานี ภายใตโครงการ Buzz Privilege Wifi เพื่อ อํานวยความสะดวกผูปวย ประชาชน และบุคลากร ทางการแพทยไดเขาถึงระบบอินเทอรเน็ตที่รวดเร็ว และ ไมเสียคาใชจาย และจะขยายไปยังโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชและศูนยแพทยชมุ ชนในจังหวัดตาง ๆ ทัว่ ประเทศ รวม 22 แหง วันนี้ (17 พฤศจิกายน 2564) ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ในฐานะประธานกรรมการมูลนิธิ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช พรอมดวย พล.อ.กัมปนาท รุดดิษฐ องคมนตรี ในฐานะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาล สมเด็จพระยุพราช นพ.โสภณ เมฆธน ผูชวยรัฐมนตรี ประจํากระทรวงสาธารณสุข นพ.ปราโมทย เสถียรรัตน ผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 8 พล.อ.พิศาล วัฒนวงษครี ี ประธานทีป่ รึกษาบริษทั เอ็นที ไอบัซซ จํากัด คณะผูบริหาร และหนวยงานที่เกี่ยวของ 30

¾.Â.-¸.¤. 2564

รวมเปดบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูงในโรงพยาบาล สมเด็จพระยุพราชทาบอ จ.หนองคาย และโรงพยาบาลสมเด็จ พระยุพราชบานดุง จ.อุดรธานี เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูปวย ประชาชน ที่มารับบริการ และบุคลากรทางการแพทย


News in Medicine

นพ.โสภณกลาววา นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข ไดมอบ หมายใหรวมพิธีเปดใหบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็ว สูงในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ซึ่งมูลนิธิโรงพยาบาล สมเด็จพระยุพราชไดรวมมือกับ บริษัท โทรคมนาคมแหง ชาติ จํากัด (มหาชน) หรือ NT โดยมี บริษัท เอ็นที ไอบัซซ จํากัด เปนผูดําเนินการ ภายใตโครงการ Buzz Privilege Wifi ติดตั้งระบบบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง 30/30 เมกะบิตตอวินาที สําหรับใหบริการผูป ว ย ประชาชน ที่เขารับบริการ และบุคลากรทางการแพทย ชวยขยาย การเขาถึงระบบอินเทอรเน็ตที่รวดเร็วและไมเสียคาใชจาย สามารถใชงานไดจากโทรศัพทเคลื่อนที่หรือแท็บเล็ตทุก เครือขายโดยติดตั้งเลาจเตอรภายในอาคาร เชน อาคาร ผูป ว ยใน อาคารผูป ว ยนอก อุบตั เิ หตุฉกุ เฉิน เปนตน ซึง่ จะ มีการขยายโครงการไปยังโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช และศูนยแพทยชุมชนที่ตั้งอยูในจังหวัดตาง ๆ ทั่วประเทศ รวม 22 แหง รวมถึงพื้นที่อื่น ๆ ใหเกิดความครอบคลุม ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ไดรับมอบเครื่องกระตุกหัวใจดวยไฟฟาอัตโนมัติ AED สําหรับโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทาบอ และโรงพยาบาล สมเด็จพระยุพราชบานดุง โรงพยาบาลละ 1 เครื่อง บริษัท สยามไบโอไซเอนซ จํากัด เพื่อนําไปพัฒนาโรงพยาบาลและ และเงินมูลคา 300,000 บาทตอโรงพยาบาล จาก ใชใหเกิดประโยชนตอประชาชนตอไป

¾.Â.-¸.¤. 2564

31


News in Medicine สธ. ตัง ้ เปาป 2565 เพิม ่ หอผูป  ว  ยใน ดูแลผูป  ว ยฉุกเฉินทางจิตเวชและยาเสพติด

ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปดหอผูปวยในรองรับผูปวย จิ ต เวชและยาเสพติ ด ที่ มี ภ าวะเร ง ด ว นฉุ ก เฉิ น ใน โรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทั่วไป ใหไดรับการรักษา อยางมีประสิทธิภาพ กลับไปใชชวี ติ ในสังคมอยางมีความสุข ป 2564 เปดแลว 15 แหง ตัง้ เปาป 2565 เพิม่ อีก 23 แหง วันนี้ (16 พฤศจิกายน 2564) ณ โรงแรม เซอร เจมส ลอดจ อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี นพ.เกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข พรอมดวย นพ.ม.ล.สมชาย จักรพันธุ ประธานคณะทีป่ รึกษารัฐมนตรีวา การกระทรวง สาธารณสุข รวมประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการเปด หอผู ป ว ยในจิ ต เวชและยาเสพติ ด ในโรงพยาบาลศู น ย / โรงพยาบาลทัว่ ไป สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปงบประมาณ 2565 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูแนวทาง การเปดหอผูปวยในจิตเวชและยาเสพติด โดยมีผูบริหาร และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของเขารวม นพ.เกียรติภูมิกลาววา การเปดหอผูปวยในจิตเวชและ ยาเสพติดในโรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทั่วไป สังกัด สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จะชวยใหผูปวยจิตเวช และยาเสพติดที่มีความเสี่ยงกอความรุนแรงและมีภาวะ เรงดวนฉุกเฉิน หรือมีโรครวม และมีภาวะแทรกซอนทางกาย ไดรับการรักษาอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีระบบการ สงตอเปนเครือขายอยางไรรอยตอ ตามแผนปฏิบตั กิ ารดาน การปองกันและปราบปรามยาเสพติด ภายใตยุทธศาสตร 32

¾.Â.-¸.¤. 2564

ดานความมั่นคงของชาติ และเปนนโยบายเรงดวนของรัฐบาลในการ แกไขปญหายาเสพติด ซึ่งสอดคลองกับนโยบายมุงเนนของกระทรวง สาธารณสุขในการพัฒนาคุณภาพระบบบริการกาวหนา โดยบูรณาการการทํางานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิ กระทรวงมหาดไทย ชุมชน เปนตน และดําเนินงานตามประมวล กฎหมายยาเสพติด ป 2565 ซึ่งเพิ่งประกาศเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2564 ที่ผานมา และจะมีผลบังคับใช 30 วันหลังประกาศ เนนการ บําบัดยาเสพติดอยางตอเนื่อง (โรคเรื้อรัง) ลดอันตรายและปองกัน อาการทางจิต รวมถึงยกเลิกการบังคับบําบัด เหลือการบําบัดแบบ สมัครใจและแบบตองโทษ โดยศาลจะใชดุลยพินิจใหมาบําบัดกอน จะพิจารณาลงโทษ และเนนการดูแลรักษารวมกับชุมชน “ผูติดยาเสพติดทุกคนถือเปนผูปวยที่มีปญหาดานสังคมและ จิตใจ การชวยเหลือดูแลรักษาอาจมีความยุงยากซับซอน การพัฒนา ระบบบริการดานจิตเวชและยาเสพติดจะชวยใหผูปวย ครอบครัว และชุมชนสามารถเขาถึงการบําบัดรักษาไดมากขึ้น กลับมาใชชีวิต รวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข” นพ.เกียรติภูมิ กลาว ทั้งนี้ ในปงบประมาณ 2564 ศูนยอํานวยการปองกันและ ปราบปรามยาเสพติด กระทรวงสาธารณสุขไดขับเคลื่อนการเปด หอผูปวยในจิตเวชและยาเสพติดในโรงพยาบาลแลว 15 แหง อาทิ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห โรงพยาบาลตาก โรงพยาบาล แพร เปนตน ปงบประมาณ 2565 ตั้งเปาเพิ่มอีก 23 แหง โดย ภาพรวมขณะนี้มีทรัพยากรเตียงดานจิตเวชทั่วประเทศจํานวนกวา 6,661 เตียง


News in Medicine Social Media แฝงอันตราย….ใชอยางไรใหเด็ก ๆ ปลอดภัย กรมการแพทย โดยสถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี เผย ปจจุบันเด็ก ๆ สามารถเขาถึง Social Media ไดงาย โดยเฉพาะในช ว งเรีย นออนไลนที่ตอ งใชอุปกรณในการ เรียนและใชเวลาอยูกับสิ่งเหลานี้คอนขางนาน ผูปกครอง เปนตัวชวยทีส่ าํ คัญในการคัดกรองการเขาถึง Social Media ตาง ๆ รวมทั้งแกปญหาและปกปองเด็ก ๆ จากอันตรายใน การใช นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย เปดเผยวา ในชวงเรียนออนไลนเด็กสามารถเขาถึงอุปกรณที่ใชในการ เขา Social Media ไดงาย และใชเวลาคอนขางมาก อีกทั้ง ผูปกครองอาจดูแลไมทั่วถึง ทําใหเด็ก ๆ รับขาวสารผานสื่อ ไดมาก ซึ่งมีขอดี คือ สามารถหาความรูตาง ๆ ไดทันโลก และกวางขวาง แตบางครั้งขอมูลอาจไมถูกตองหรือบางอยาง อาจสงผลกระทบตอจิตใจได โดยหากเด็กที่ไดรับผลกระทบ โดยตรงจาก Social Mediao แนะนําใหงดใช Social Media ชั่วคราว เพื่อลดการรับขอมูลที่กระทบตอจิตใจ หากเป น ข อ มู ล ที่ ไ ม ถู ก ต อ งหรื อ ข อ มู ล ที่ ทํ า ให ต นเองหรื อ ครอบครัวเสียหาย เชน การวิจารณโดยใชคําพูดไมเหมาะสม เด็กสามารถกด report โพสตนั้น และ block เพื่อไมใหถูก คุกคาม รวมกับสามารถ capture หนาจอเพื่อเปนหลักฐาน สําหรับดําเนินคดีทางกฎหมายได และใหแจงเรื่องที่เกิดขึ้น กับผูป กครองเพือ่ ใหไดรบั การชวยเหลือ ใหหากิจกรรมทีช่ ว ย ผอนคลายความเครียดที่เกิดขึ้น และหากขอมูลขาวที่ทําให ไมสบายใจนั้นเกิดจากสิ่งที่ผูปกครองเผยแพร สามารถบอก ผูปกครองใหลบขอมูลนั้นและแจงวาครั้งหนาจะตองไดรับ ความยินยอมกอนเผยแพรขอมูล เชน รูป วิดีโอ หรือขอความ ตาง ๆ ที่เกี่ยวกับเด็ก นพ.อดิศัย ภัตตาตั้ง ผูอํานวยการสถาบันสุขภาพเด็ก แหงชาติมหาราชินี กลาวเพิ่มเติมวา เด็ก ๆ ที่ไดรับขอมูล จาก Social Media ควรตรวจสอบขอมูลใหถูกตองโดย ปรึกษากับผูป กครอง สําหรับขอมูลทีเ่ ปนภาพนิง่ หรือคลิปวิดโี อ อาจจะไมสามารถเลาเหตุการณที่เกิดขึ้นไดจริงทั้งหมด เพราะ สามารถเปนมุมกลอง หรือตัดตอคลิปได ทําใหไมสามารถ เขาใจเหตุการณที่เกิดขึ้นทั้งหมดได ควรงดการสงตอขอมูล ที่มีผลเสียตอตนเองและผูอื่น ถาอยากแสดงความคิดเห็นตอ ขอมูลนั้น ๆ ใหแสดงความเห็นอยางสุภาพ ถาเปนเรื่องราว ทีเ่ กีย่ วของกับคนทีร่ จู กั อาจจะตองคํานึงถึงผลกระทบตอจิตใจ และไมควรตอกยํ้าเกี่ยวกับขาว ควรใหกําลังใจหรือพรอมที่จะ ชวยเหลือถาตองการได

สําหรับผูป กครองทีต่ อ งการลงขอมูล ภาพ หรือวิดโี อใน Social Media ที่เกี่ยวกับเด็ก ควรคํานึงถึงเรื่องสิทธิและเรื่องสวนตัว (privacy) ของเด็ก สอดสองเรือ่ งการใช Social Media ของเด็ก ๆ อยางสมํ่าเสมอ หากสังเกตวาเด็ก ๆ มีอารมณหรือพฤติกรรมที่ เปลี่ยนไปในชวงที่ใชหรือหลังใช Social Media ใหเขาไปพูดคุย สอบถามรับฟงปญหาที่เกิดขึ้น เปนตัวอยางที่ดีในการใช Social Media แกเด็ก เชน การเคารพสิทธิผูอื่น การแสดงความเห็น อยางสุภาพ การตรวจสอบขอเท็จจริงของขอมูล การมีวินัยใน การใชใหเปนเวลา การแกปญหาที่เกิดขึ้นเมื่อไดทําผิดพลาดจาก การใช Social Media ทั้งนี้ สิ่งที่ตองระวังอยางมากทั้งเด็กและ ผูปกครอง คือ การที่เขาไปเปนผูเกี่ยวของกับ Cyber bully เพราะจะสงผลเสียตามมาไดอยางมาก โดยเฉพาะทางดานจิตใจ แตหากเกิดขึ้นแลว ทุกอยางสามารถที่จะแกไขปญหาที่เกิดขึ้นได โดยมีครอบครัวเปนตัวชวยทีส่ าํ คัญสําหรับเด็ก จัดการแกไขปญหา ไปดวยกัน

¾.Â.-¸.¤. 2564

33


News in Medicine สธ. จับมือ 34 หนวยงาน จัดงานสัปดาหความตระหนักรู เรื่องยาตานจุลชีพโลกของประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขจับมือ 34 หนวยงาน จัดงานสัปดาหความ ตระหนักรูเรื่องยาตานจุลชีพโลกของประเทศไทย ป 2564 เพื่อ สรางความรูความเขาใจเรื่องเชื้อดื้อยาและการใชยาตานจุลชีพ อยางเหมาะสม เผย 4 ปที่ผานมา ประเทศไทยใชยาตานจุลชีพ ในมนุษยลดลงรอยละ 15 วันนี้ (18 พฤศจิกายน 2564) นายอนุทนิ ชาญวีรกูล รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข ดร.เฉลิมชัย ศรีออน รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ และ นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีวา การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม พรอมดวย นพ.ไพศาล ดั่นคุม เลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยา รวมในพิธีเปดงาน “สัปดาหความ ตระหนักรูเรื่องยาตานจุลชีพโลกของประเทศไทย ป 2564” ภายใตธีม “สงตอความรู สูวิถีใหม หยุดภัยเชื้อดื้อยา” (Spread awareness, Stop resistance) ผานการประชุมแบบ virtual ซึ่งจัดโดยกระทรวงสาธารณสุข และหนวยงานทั้งภาครัฐ สมาคม และองคกรวิชาชีพ เครือขายภาคประชาสังคม และองคกรเพื่อ การพัฒนาระหวางประเทศ นายอนุทิน ชาญวีรกูล ในฐานะประธานกรรมการนโยบาย การจัดการการดื้อยาตานจุลชีพ กลาววา ปญหาการดื้อยาตาน จุลชีพเปนปญหาที่ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยใหความสําคัญ โดย ประเทศไทยมีแผนยุทธศาสตรการจัดการการดื้อยาตานจุลชีพ ของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2565 เพื่อเปนการบูรณาการการ ดําเนินงานกับทุกภาคสวนภายใตแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว (One

34

Á.¤.-¡.¾. 2564

Health approach) ซึ่งจากการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร 4 ปลาสุด (พ.ศ. 2560-2563) พบวา ประเทศไทยมีการใชยาตานจุลชีพลดลงรอยละ 15 โดยเฉพาะบุคลากรทางการแพทยที่มีอัตราการสั่งใชยาปฏิชีวนะลดลงในกลุม โรคที่ไมจําเปนตองใช เชน หวัด และโรคทองรวงเฉียบพลัน โดยมีการสั่งจายไม เกินเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว คือ รอยละ 20 อีกทั้งผลการสํารวจของสํานักงาน สถิติแหงชาติ ป 2562 พบวา คนไทยจํานวน 54 ลานคน มีผูที่รูและเขาใจเรื่อง เชื้อดื้อยาและยาตานจุลชีพในระดับที่ดีพอ ประมาณ 13 ลานคน และพบวา บุคลากรทางการแพทยมีบทบาทสําคัญในการสื่อสารทําความเขาใจที่ถูกตอง เกี่ยวกับการใชยาปฏิชีวนะและเรื่องเชื้อดื้อยาแกประชาชน ดาน นพ.ไพศาล ดัน่ คุม เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา กลาววา การจัดงานสัปดาหความตระหนักรูเรื่องยาตานจุลชีพโลกของประเทศไทยใน ปนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีจากหนวยงานภายในประเทศและหนวยงาน ตางประเทศ เชน WHO OIE USAID และ TUC-CDC กิจกรรมภายในงาน แบงเปน 3 ธีมยอย ไดแก 1) การทําประชาพิจารณรางประเด็นยุทธศาสตร ของแผนปฏิบตั กิ ารดานการดือ้ ยาตานจุลชีพประเทศไทย ระยะที่ 2 (พ.ศ. 25662570) จัดโดย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ซึ่งจะมีขึ้นใน วันที่ 25-26 พฤศจิกายนนี้ 2) การสรางความตระหนักรูดานเชื้อดื้อยาโดย ภาคประชาชน จัดโดย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สํานักงานกองทุนสนับสนุน การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) และศูนยวิชาการเฝาระวังและพัฒนาระบบยา รวมกับภาคีเครือขาย และ 3) การสรางความตระหนักรูดานการดื้อยาตาน จุลชีพและการใชยาตานจุลชีพอยางสมเหตุผลในสัตว จัดโดย กรมปศุสัตว และคณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สามารถติดตามขอมูล เกี่ยวกับงานฯ ไดที่ website: https://www.eventdee.com/amr/




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.