

คำนำ หนังสือรวมบทความวิจัย (Proceeding) ฉบับนี้ เป็นการรวบรวมบทความวิจัยและบทความ วิชาการที่ได้เข้าร่วมนาเสนอแบบ Oral presentation ในการสัมมนาเครือข่ายสานักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือ 8 แห่ง ครั้งที่ 12 ในระหว่างวันที่ 13 14 มกราคม 2565 ณ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นการจัดงานในรูปแบบผสมผลานออนไลน์และออนไซต์ โดยเป็นความร่วมมือของเครือข่ายสานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือ ซึ่งประกอบด้วย สานักหอสมุด และสานักดิจิทัลเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ สานักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ พิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เพื่อจัดสัมมนาทางวิชาการ และนาเสนอผลงานวิจัย ผลงาน วิชาการ การเรียนรู้นวัตกรรมที่เหมาะสมงานวิจัยอย่างยิ่งว่าองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการประชุมในครั้งนี้ทุกท่านดเทคโนโลยีสารสนเทศวัฒนธรรมในจังหวัดเชียงรายการจัดกิจกรรมการบรรยายการวิทยบริการฯสสารสนเทศที่เป็นองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานตามพันธกิจของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีทั้ง3ด้านได้แก่ด้านห้องสมุดด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมและด้านบริหารานักงานซึ่งได้รับความสนใจจากผู้บริหารและบุคลากรที่ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรในสังกัดสานักร่วมส่งผลงานวิจัยผลงานวิชาการเข้าร่วมนาเสนอในครั้งนี้โดยมีผลงานที่ผ่านพิจารณาคัดเลือกจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวน9บทความและในการประชุมครั้งนี้ยังได้มีการประชุมกลุ่มย่อยและการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางศิลปะและในนามของคณะกรรมการดาเนินการจัดกิจกรรมสัมมนาเครือข่ายสานักวิทยบริการและมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือ8แห่งครั้งที่12ขอขอบคุณคณะกรรมการาเนินงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาบทความผู้เข้าร่วมประชุมและผู้ให้การสนับสนุนที่มีส่วนร่วมทาให้การจัดกิจกรรมสัมมนาในครั้งนี้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและหวังเป็นจะช่วยสร้างความเข้มแข็งทางด้านวิชาการการให้บริการสารสนเทศการบริหารจัดการห้องสมุดและการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและมีประสิทธิภาพทันสมัยได้มาตรฐานของมหาวิทยาลัยในฐานะที่เป็นองค์กรแห่งและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนผชวยศาสตราจารยดร.ณรงคศกดศรสมผู้อานวยการสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย


คณะกรรมการอานวยการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ศักดิ์ ศรีสม นางสาวนฤมล เกรียงเกษม นายชาติ คนอยู่ตระกูล นายพีระ นางสาวไพรสนกอบแก้วทัพหน้า ผู้ออกแบบ/จัดทาหนังสือรวมบทความวิจัย นายชาติ นางศิรนันท์นางสาวพิชญาภัคนางสาวนฤมลคนอยู่ตระกูลเกรียงเกษมโชคพัฒนสกุลใจแก้ว คณะกรรมการดาเนินงาน นางสาวพิชญาภัค โชคพัฒนสกุล นางสาวจันทร์ศรี คาเปียน นางสาวพรพิมล ปาละอิน นายศักกพรรณ ปัสสาจันทร์ นางสาวดารณี ณ คีรี นายพงศ์เทพ มาลัย นางสาววัลทนา ภู่มา นายสุชาติ ปัญญายะ นางสาววรลักษณ์ โมสิกรัตน์ นายประสิทธิ์ มณีวรรณ นางกาญจนา นันตรัตน์ นายปรัชญา บรมพิชัยชาติกุล นางศิรนันท์ ใจแก้ว นายกฤษฎา วงค์ใย นางสาวเบญจมาส วรรณคา นายชัชพล ตันต้าว นางวิไลวรรณ ชุมแปง นายวสุ สารภี

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร นายอนุชา พวงผกา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อาจารย์ ดร.สุจิรา ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัมรักเลิศดร.กัลยา ใจรักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อาจารย์ ดร.พิมรินทร์ คีรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ อาจารย์อนุพงษ์ สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประหยัด ช่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิติศักดิ์ เกิดโต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กันยา อนุกูลธนากร อาจารย์ภูริพัศ เหมือนทอง

สารบัญ หน้า ด้านห้องสมุด สารสนเทศตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสาเร็จรูปออนไลน์สาหรับใช้ในการวิเคราะห์ทรัพยากร 1 กาญจนา อยู่ประยงค์ และ กษิดิศ ประมวลกมล การแพร่ระบาดของไวรัสการพัฒนาระบบการให้บริการยืมหนังสือออนไลน์เพื่อการให้บริการในช่วงสถานการณ์ COVID 19 11 อนุชา พวงผกา, รุ่งรุจี ศรีดาเดช, กาญจนา จันทร์สิงห์ และ อรุณลักษณ์ รัตนพันธุ์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม การพัฒนาระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต สาหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 25 กุลดา สวนสลา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาการพัฒนาระบบการจัดการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์2019( COVID 19) 35 ดวงพร สีระวัตร และ วิชชากร คูหาทอง การพัฒนาระบบฟอร์มออนไลน์ 44 ภูวิช กันทะยศ ของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีการพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล Block Chain 59 ชลัช แย้มชื่น, สุวิชา ชัยวรรณธรรม, ชุมพล แพร่น่าน, ปฐมพงศ์ อยู่จานงค์ และ ประภาพร วิชยศาสตรา ด้านบริหารสานักงาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯการจัดการองค์ความรู้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริสยามบรมราชกุมารีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 74 สุทธินันท์ ชื่นชม, สุจิรา อัมรักเลิศ และ ฐิติกา อาษากิจ

สารบัญ หน้า การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ : ระบบรายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร 78 ศรัญยา ไชยวงค์ และ มงคล อุตะมะแก้ว หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ : การจัดการเอกสารจดหมายเหตุ 83 ภัทราภรณ์ แสงปัญญา, ปิยวดี นิลสนธิ, ศรัญยา ไชยวงค์ และ นิตยา ทองนา

1 ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสาเร็จรูปออนไลน์สาหรับใช้ในการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ The Online Author Numbering of English Books for Analyzing Information Resources กาญจนา อยู่ประยงค์ กษิดิศ ประมวลกมล สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ e mail: kanchana yu@nsru ac th, gasidid p@nsru ac th บทคัดย่อ เลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษมีความพึงพอใจโดยรวมทั้งหมดอยู่ในระดับดีมากให้บริการวิชาการแก่ชุมชนผลจากการใช้เว็บไซต์ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสในการจัดการห้องสมุดเทคโนโลยีสารสนเทศหนังสือภาษาอังกฤษสซึ่งห้องสมุดดิจิทัลจะเน้นการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลเป็นหลัปัจจุบันห้องสมุดหลายแห่งได้พัฒนาจากห้องสมุดแบบดั้งเดิมสู่การเป็นห้องสมุดแบบดิจิทัลกตารางเลขผู้แต่งาเร็จรูปออนไลน์ในโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนของสานักวิทยบริการและจึงเป็นการสนับสนุนห้องสมุดให้มีการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศแบบดิจิทัลมาใช้และใช้เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการปฏิบัติงานด้านงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศาเร็จรูปออนไลน์ในโรงเรียนต่างๆที่ได้ลงพื้นที่จานวน39โรงเรียนโดยมีผู้ใช้งานระบบจานวน180คนพบว่าผู้ใช้งานเว็บไซต์( x = 4.46) สรุปได้ว่า ตาราง ความผิดพลาดในการเทียบเคียงเลขสามารถจัดเก็บหนังสือภาษาอังกฤษเข้าระบบได้เลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสาเร็จรูปออนไลน์ที่ได้พัฒนาขึ้นมานี้ช่วยให้ครูและนักเรียนที่ดูแลห้องสมุดทาให้ช่วยลดกระบวนการในการปฏิบัติงานและยังช่วยลดทาให้การกาหนดเลขผู้แต่งเป็นมาตรฐานสากล คาสาคัญ: เลขผู้แต่ง เลขหมู่หนังสือ ทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

2 Abstract

Keywords: Call number, Cataloging, Information resources, Classification number
Nowadays, many libraries have changed from traditional libraries to digital libraries which mainly focused on providing information resources in the form of digital data. The online author numbering of English books in the academic service project for the society of the NSRU Academic Resources Information and Technology Center (NSRU ARITC) which encouraged libraries to use digital information technology for library management and use for assisting in the analysis of information resources. The results of using the online author numbering of English books in different 39 academic serviced schools with a number of 180 users can be concluded that decrease difficulty of the classifying and cataloging the English books. The satisfaction level of the overall system was very good (x = 4 46). The student volunteers were able to help the teachers who took care of the libraries and systematically store books on the shelf. Moreover, the online author numbering of English books facilitated to reduced operational processes and mistakes. Additionally, the author numbering of English book in those servicing school libraries are standardized by using this program.
3 บทนา สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เป็นหน่วยงาน ที่สนับสนุนการให้บริการวิชาการ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งดาเนินงานตามพันธกิจของ มหาวิทยาลัยในการพัฒนาท้องถิ่น โดยจัดให้มีการบริการวิชาการแก่ชุมชนเป็นประจาทุกปี ในแต่ละปีได้ทาการ สารวจความต้องการบริการวิชาการของแต่ละโรงเรียน ส่วนใหญ่พบว่ายังมีความต้องการพัฒนาห้องสมุด ในด้านกายภาพ เช่น ด้านการจัดระบบหมวดหมู่ของทรัพยากรสารสนเทศ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา ใช้ในห้องสมุด ดังนั้น สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศจึงสนับสนุนงบประมาณด้านการบริการ วิชาการ ในการลงตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษให้กับโรงเรียนหรือหน่วยงานต่างในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็วทรัพยากรสารสนเทศเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมให้ครูนครสวรรค์บุคลากรที่มีความรู้และหนังสือเลขผู้แต่งหนังสือประกอบด้วยและการกการลงรายการทางบรรณานุกรมประกอบด้วยหนังสือออกตามหมวดหมู่เนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันไว้ด้วยกันพิจิตรหมวดหมู่ให้แก่ครูและนักเรียนในโรในรูปแบบของตัวเล่มหนังสือเทคโนโลยีสารสนเทศจึงได้พัฒนาตารางเลขผู้แต่งแบบออนไลน์สด้านการจัดหมวดหมู่ของหนังสือและไม่มีคู่มือที่ใช้สโรงเรียนในท้องถิ่นเพื่อให้บุคลากรในหน่วยงานได้นาความรู้และทรัพยากรที่มีไปช่วยบริหารจัดการห้องสมุดให้กับจากการลงพื้นที่ให้บริการพบว่าผู้ดูแลห้องสมุดโรงเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจาหรับปฏิบัติงานที่เหมาะสมดังนั้นสานักวิทยบริการและาเร็จรูปขึ้นเพื่อทดแทนการใช้ทรัพยากรพร้อมทั้งได้จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านการจัดการห้องสมุดและการจัดงเรียนที่ให้บริการวิชาการในเขตพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์อุทัยธานีชัยนาทและกาแพงเพชรการจัดระบบหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดจะทาการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่มีโดยใช้สัญลักษณ์แทนเนื้อหาของหนังสือและแบ่งประเภทของในการวิเคราะห์หมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศมีกระบวนการและขั้นตอน3ขั้นตอนคือการกาหนดเลขหมู่หนังสือการกาหนดหัวเรื่องาหนดเลขประจาตัวผู้แต่งหนังสือเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แทนเนื้อหาของหนังสือแต่ละเล่มการกาหนดอักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งเลขฮินดูอารบิกสามหลักตามด้วยอักษรตัวแรกของชื่อในการกาหนดเลขบางครั้งอาจใช้ระยะเวลานานในการเทียบเคียงตัวอักษรและตัวเลขซึ่งต้องอาศัยเชี่ยวชาญเฉพาะดังนั้นศูนย์วิทยบริการ(หอสมุด)สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาเว็บไซต์การให้เลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสาเร็จรูปเจ้าหน้าที่นักเรียนและยุวบรรณารักษ์ที่ดูแลรับผิดชอบห้องสมุดโรงเรียนได้นาระบบสนับสนุนการใช้เครื่องมือสืบค้นที่ช่วยพร้อมทั้งให้ความรู้ที่เป็นมาตรฐานและแนวทางเดียวกันๆได้ใช้งานต่อไป

5 2. การพัฒนาระบบ จากการวิเคราะห์ระบบเพื่อทาการพัฒนาเว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูป ผู้พัฒนา ได้ออกแบบระบบเป็น 2 ส่วนย่อย เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการข้อมูล ได้แก่ 1 ระบบจัดการข้อมูลเลขผู้แต่งหนังสือสาหรับบรรณารักษ์ โดยส่วนนี้ผู้ดูแลระบบจะสามารถเพิ่ม และแก้ไขรายชื่อผู้แต่งหนังสือหรือรายการเลขผู้แต่งหนังสือได้ ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชันดังนี้ 1.1 ฟังก์ชันตรวจสอบสิทธิ์การเข้าใช้งานเว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูป เพื่อเพิ่ม ความปลอดภัยในการแก้ไขข้อมูลจากผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง 1.2 ฟังก์ชันเพิ่ม แก้ไข และลบรายชื่อผู้แต่งหนังสือและรายการเลขผู้แต่งหนังสือ 2 หน้าแสดงผลลัพธ์การสืบค้นเลขผู้แต่งหนังสือสาหรับผู้ปฏิบัติงานด้านห้องสมุด ซึ่งผู้ใช้ทั่วไป สามารถสืบค้นเลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูปผ่าน URL:aritc nsru ac th/author_manager ซึ่งประกอบด้วยเมนูที่มีคาสั่งการใช้งาน ดังนี้ 2.1 เมนูสืบค้นแบบไล่เรียงตามตัวอักษร ช่วยให้ระบบดึงข้อมูลเลขผู้แต่งหนังสือได้อย่าง รวดเร็วและเพิ่มความแม่นยาของผลลัพธ์ให้กับผู้ใช้งาน 2.2 กล่องสืบค้นเลขผู้แต่งหนังสือในรูปแบบ Live Search โดยมีลักษณะการทางาน คือ เมื่อ ผู้ใช้เริ่มพิมพ์คาค้นหาในช่องสืบค้น ถ้ามีพยัญชนะในคาค้นที่เกี่ยวข้องกับชื่อผู้แต่งหนังสือ ระบบจะแสดงขึ้นมา ทันที 2.3 ลิงก์เชื่อมโยงไปยังเว็บหอสมุด และเมนูส่งข้อเสนอแนะ 3. การทดสอบระบบ เมื่อดาเนินการพัฒนาเว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสาเร็จรูปเสร็จสิ้น ผู้พัฒนาได้ ดาเนินการทดสอบกับบรรณารักษ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จานวน 6 คน ซึ่งจากการทดสอบ พบว่า และการใช้งานกล่องสืบค้นนั้นสามารถแสดงผลลัพธ์ได้อย่างแม่นยการดึงข้อมูลแต่ละตัวอักษรในเมนูสืบค้นแบบไล่เรียงนั้นสามารถเรียงได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วาและสะดวกในการจาแนกเลขผู้แต่งหนังสือ 4. การเปิดใช้งานระบบ หลังจากทดสอบระบบเรียบร้อยดีแล้ว จึงแจ้งต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสานักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อรับทราบและดาเนินการเปิดใช้งานระบบ โดยกลุ่มงานวิเคราะห์ทรัพยากร สารสนเทศได้เริ่มนาระบบมาใช้ในโครงการบริการวิชาการห้องสมุด ตั้งแต่วันที่ 24 พฤศจิกายน 2565 เป็นต้น มาจนถึงปัจจุบัน

6 ผลการดาเนินงาน อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และการนาไปใช้ประโยชน์ 1. ผลการพัฒนาระบบตารางเลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูปออนไลน์ จากผลการพัฒนาระบบตารางเลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูปออนไลน์ และได้ให้บริการวิชาการ โดยการนาระบบไปใช้กับโรงเรียนต่าง ๆ ซึ่งแสดงการดาเนินการกาหนดเลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษด้วยโปรแกรม สาเร็จรูป โดยมีขั้นตอนในการเพิ่มและปรับปรุงข้อมูลของรายการชื่อและเลขผู้แต่งหนังสือ ดังนี้ 1) บรรณารักษ์เข้าใช้งานผ่านเว็บลิงก์ aritc nsru ac th/author_manager จากนั้นกรอกชื่อ ผู้ใช้หรือที่อยู่อีเมลและรหัสผ่าน (ภาพที่ 1) ภาพที่ 1 หน้าจอลงชื่อเข้าใช้งานระบบ 2) เมื่อเข้าใช้งานระบบสาเร็จ จะแสดงเมนูสถิติการเข้าใช้งานเว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสือ อังกฤษสาเร็จรูป ซึ่งบรรณารักษ์สามารถดูข้อมูลผู้เข้าใช้งานได้ในรูปแบบรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน และ รายปี และสามารถดาวน์โหลดข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบ CSV เพื่อนาไปใช้ประกอบในการทารายงานได้ (ภาพที่ 2) ภาพที่ 2 หน้าจอสถิติการเข้าใช้งานเว็บไซต์ 3) ในส่วนของเมนูข้อมูลเลขผู้แต่ง บรรณารักษ์นั้นสามารถเพิ่มชุดข้อมูลชื่อและเลขผู้แต่งได้ ทันที โดยลักษณะการลงรายการจะอยู่ในรูปแบบเรียงตามตัวอักษรจากน้อยไปมาก ซึ่งการเพิ่มข้อมูลให้คลิกที่ ตัวอักษรในตาราง แสดงดังภาพที่ 3 (ก) จากนั้นคลิกปุ่ม “Add Data” ระบบจะปรากฏหน้าต่างให้พิมพ์ข้อมูล ชื่อและเลขผู้แต่ง จากนั้นคลิกปุ่ม “Add” ดังภาพที่ 3 (ข) จบขั้นตอนการเพิ่มชุดข้อมูล



7 ภาพที่ 3 หน้าจอแสดงข้อมูลตัวอักษร (ก) และ หน้าต่างเพิ่มชุดข้อมูลชื่อและเลขผู้แต่ง (ข) 4) การปรับปรุงชุดข้อมูลชื่อและเลขผู้แต่ง บรรณารักษ์สามารถทาได้โดยการเลือกชุดข้อมูล ที่ต้องการจะปรับปรุงของภาพที่ 3 (ก) จากนั้นคลิกที่ปุ่ม “Edit Data” (ปุ่มรูปดินสอสีฟ้าด้านขวามือ) ระบบ จะแสดงหน้าต่างให้พิมพ์ข้อมูลชื่อและเลขผู้แต่งที่ต้องการจะปรับปรุงจากนั้นปุ่ม “Update” (ภาพที่ 4) จบขั้นตอนการปรับปรุงชุดข้อมูล ภาพที่ 4 หน้าจอแสดงข้อมูลตัวอักษร 5) เมื่อเพิ่มหรือปรับปรุงชุดข้อมูลชื่อและเลขผู้แต่งหนังสือสาเร็จ ข้อมูลจะแสดงผลในหน้า สืบค้นของเว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูป โดยบรรณารักษ์สามารถสลับระหว่างหน้าเว็บไซต์กับ ระบบเพิ่มและปรับปรุงข้อมูลได้โดยคลิกที่เมนูด้านขวามือ ดังภาพที่ 5 ภาพที่ 5 หน้าจอแสดงข้อมูลตัวอักษร ((ข) ก)





8 2. ผลการประเมินความคิดเห็นต่อระบบตารางเลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูปออนไลน์ จากการดาเนินการให้บริการวิชาการของสานักวิทยบริการฯ โดยกลุ่มงานวิเคราะห์ทรัพยากร สารสนเทศ ได้นาระบบตารางเลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูปออนไลน์ มาใช้ในการจัดการทรัพยากร สารสนเทศของห้องสมุดของโรงเรียน พบว่า เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด ได้แก่ บรรณารักษ์ อาจารย์ นักเรียน และบุคคลทั่วไป ให้ความสนใจเป็นอย่างมาก และถูกนาไปใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากเทคนิค ในการสืบค้นที่รวดเร็วขึ้น และง่ายต่อการใช้งาน จากผลการสารวจความพึงพอใจโดยรวมของระบบอยู่ในระดับ ดีมาก (x = 4 46, S D. = 0 59) โดยมีผู้เข้าใช้บริการเว็บไซต์จานวน 5 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท พิจิตร กาแพงเพชร แบ่งออกเป็น 39 โรงเรียน จานวนผู้ใช้งานเว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นนี้มีจานวนทั้งหมด 180 คน พบว่า ผู้ใช้งานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 83.30 รองลงมาเป็นเพศชาย จานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 16.70 ผู้ที่ใช้เว็บไซต์ในการปฏิบัติงาน ส่วนใหญ่มีสถานภาพเป็นนักเรียน จานวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 57.20 รองลงมาเป็นครู จานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 นอกจากนี้ พบว่า มีบุคคลทั่วไปที่ไม่เป็นบุคลากรของโรงเรียนได้นาระบบนี้ไปใช้ปฏิบัติงาน จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 13.30 และส่วนน้อยที่สุดเป็นบรรณารักษ์ ซึ่งรวมถึงบุคลากรของสานักวิทยบริการฯ จานวน 8 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.40แบบสอบถามที่ใช้เป็นเครื่องมือของจานวนผู้ใช้ทั้งหมด สาหรับการประเมินระดับความคิดเห็นต่อการให้บริการการใช้งาน เว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูป (ตารางที่ 1) ซึ่งใช้สารวจโรงเรียนต่าง ๆ ที่ได้ลงพื้นที่อบรมและ ให้บริการวิชาการ จานวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถาม ส่วนที่ 2 สาหรับประเมินผลการใช้งาน ประกอบด้วย 1) ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบ 2) ด้านคุณภาพของเนื้อหา 3) ด้านการเข้าถึงข้อมูล และส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จากตารางที่ 1 สรุปผลของการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 180 คน พบว่า ผู้ใช้งาน เว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูป มีความพึงพอใจโดยรวมทั้งหมดต่อการให้บริการฯ อยู่ในระดับมาก (x = 4.46, S.D. = 0.59) เมื่อพิจารณาความพึงพอใจในด้านหลักสาคัญทั้ง 3 ด้าน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นเรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยสุด ดังนี้ ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบมีความพึงพอใจ ในระดับมากที่สุด (x = 4 63, S D. = 0 52) รองลงมา คือ ด้านคุณภาพเนื้อหา มีความพึงพอใจระดับมาก (x = 4.48, S D. = 0 53) และด้านการเข้าถึงข้อมูล มีความพึงพอใจเฉลี่ยน้อยที่สุด (x = 4.26, S D. = 0.64)

9 ตารางที่ 1 การประเมินระดับความพึงพอใจต่อการใช้งานเว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษสาเร็จรูป รายการ ระดับความพึงพอใจ x S.D. แปลผล 1. ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบ 1.1 ความทันสมัยของหน้าเว็บไซต์ 4.67 0.51 มากที่สุด 1.2 สีที่เลือกใช้บนหน้าเว็บไซต์มีความเหมาะสม 4.66 0.55 มากที่สุด 1.3 รูปแบบตารางและขนาดตัวอักษรง่ายต่อการอ่าน 4.62 0.51 มากที่สุด 1.4 ตาแหน่งของเมนูในเว็บไซต์มีความเหมาะสม ใช้งานง่าย 4.57 0.54 มากที่สุด เฉลี่ย (ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบ) 4.63 0.52 มากที่สุด 2. ด้านคุณภาพของเนื้อหา 2.1 ข้อมูลทันสมัยและมีความถูกต้อง 4.52 0.53 มาก 2.2 ข้อมูลครบถ้วนตรงกับความต้องการ 4.44 0.53 มาก เฉลี่ย (ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบ) 4.48 0.53 มาก 3. ด้านการเข้าถึงข้อมูล 3.1 ความรวดเร็วในการเข้าถึงหน้าเว็บไซต์ 4.08 0.74 มาก 3.2 สืบค้นได้อย่างสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูล 4.32 0.59 มาก 3.3 ระบบแสดงผลลัพธ์ได้อย่างแม่นยา และสะดวกในการจาแนก เลขผู้แต่งหนังสือ 4.39 0.54 มาก เฉลี่ย (ด้านการเข้าถึงข้อมูล) 4.26 0.64 มาก รวม 4.46 0.59 มาก จากผลประเมินระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการการใช้งานเว็บไซต์เลขผู้แต่งหนังสืออังกฤษ สาเร็จรูปสามารถนามาอภิปรายได้ ดังนี้ 1. ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบพบว่า โดยภาพรวมผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจเกี่ยวกับ การออกแบบและการจัดรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด (x = 4.63, S D. = 0 52) โดยด้านที่มีความพึงพอใจ สูงที่สุด คือ ความทันสมัยของหน้าเว็บไซต์ (x = 4 67, S D. = 0 51) รองลงมา ได้แก่ สีที่เลือกใช้บนหน้า เว็บไซต์มีความเหมาะสม (x = 4 66, S D. = 0 51) รูปแบบตารางและขนาดตัวอักษรง่ายต่อการอ่าน (x = 4.62, S D. = 0 51) และตาแหน่งของเมนูต่าง ๆ ในเว็บไซต์มีความเหมาะสม ใช้งานง่าย (x = 4 57, S D. = 0 54) ตามลาดับ2.ด้านคุณภาพของเนื้อหาพบว่า โดยภาพรวมผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจเกี่ยวกับคุณภาพของเนื้อหา อยู่ในระดับมาก (x = 4 48, S D. = 0 53) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ข้อมูลทันสมัยและมีความถูกต้อง

10 (x = 4.52, S.D. = 0.53) รองลงมาคือ ข้อมูลครบถ้วนตรงกับความต้องการ (x = 4.44, S.D. = 0.53) ตามลาดับ3. ด้านการเข้าถึงข้อมูลพบว่า โดยภาพรวมผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการเข้าถึงข้อมูลอยู่ใน ระดับมาก (x = 4.26, S D. = 0 64) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ระบบแสดงผลลัพธ์ได้อย่างแม่นยา และสะดวกในการจาแนกเลขผู้แต่งหนังสือ อยู่ในระดับมาก (x = 4.39, S D. = 0 54) รองลงมา ได้แก่ สืบค้น ได้อย่างสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูล (x = 4.32, S D. = 0 59) และความรวดเร็วในการเข้าถึงหน้า เว็บไซต์ (x = 4 08, S D. = 0 74) ตามลาดับ ข้อเสนอแนะ จากผลการดาเนินงานและผลการสารวจความคิดเห็นของผู้ใช้ พบว่า มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. ควรมีการพัฒนาตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสาเร็จรูป ให้อยู่ในรูปแบบออฟไลน์ เนื่องจาก โรงเรียนบางแห่งตั้งอยู่นอกพื้นที่ที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2 ควรมีการพัฒนาตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสาเร็จรูป โดยทาการปรับปรุงข้อมูล เลขประจาตัวผู้แต่งภาษาอังกฤษอยู่เป็นประจา สรุปผล เว็บไซต์ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษสาเร็จรูปในรูปแบบออนไลน์ที่ได้พัฒนาขึ้นมานี้สามารถ นาไปใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ คือ ห้องสมุดโรงเรียนหรือหน่วยงานที่ใช้ สามารถนาข้อมูลจากเว็บไซต์ มาตรฐานเลขผู้แต่งภาษาอังกฤษสาเร็จรูปมากาหนดเลขประจาตัวผู้แต่งหนังสือภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องและเป็น รายการอ้างอิง Boedigheimer, A., & Guevara, S. (2562). The evolution of digital information and legal resources. Information Today, 36(2). Retrieved from https://link.gale.com/apps/ Dewey,doc/A578440595/GPS?J.(2562).Digitallibraries. Salem Press Encyclopedia. Retrieved Ungvarsky,https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=ers&AN=89550554fromJ.(2563).
Dewey Decimal Classification (DDC). Retrieved from https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=ers&AN=87321795 Cutter, R. A. (1969). Cutter Sanborn three figure author table: Swanson Swift Revision n.p.: n.p.

11 การพัฒนาระบบการให้บริการยืมหนังสือออนไลน์เพื่อการให้บริการในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID 19 Development of an Online Book Borrowing Service System for Providing Services During the COVID 19 Epidemic อนุชา พวงผกา, รุ่งรุจี ศรีดาเดช, กาญจนา จันทร์สิงห์ และ อรุณลักษณ์ รัตนพันธุ์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร e mail: anucha_pu@kpru.ac.th; rungruchi_sri@hotmail.com; kanchana.kpru2021@gmail.com; arunlak.tam@gmail.com บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบบริการยืมหนังสือ ออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร 2) เพื่อประเมิน ประสิทธิภาพของระบบบริการยืมหนังสือออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ราชภัฏกาแพงเพชร 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจการใช้บริการระบบบริการยืมหนังสือออนไลน์ สานักวิทย บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด จานวน 10 คน และผู้ใช้บริการระบบยืมหนังสือออนไลน์สานักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร จานวน 100 คน ที่ได้มาด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ระบบยืมหนังสือออนไลน์ แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญเพื่อ ตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบยืมหนังสือออนไลน์ แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบยืม หนังสือออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ การคานวณค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบยืมหนังสือออนไลน์ สามารถตรวจสอบสิทธิ์การเข้าใช้งาน แสดงเครื่องมือ ช่วยค้นหาหนังสือโดยเชื่อมโยงกับโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ รายการยืมหนังสือ ตรวจสอบข้อมูลสมาชิก เพิ่ม/แก้ไข/ลบ ข้อมูล และรายงานสถิติการยืมหนังสือ 2) ความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อระบบยืมหนังสือ ออนไลน์ พบว่า ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.02 โดยในส่วนของการแสดงผล หน้าจอตัวหนังสือสามารถอ่านได้ง่าย ชัดเจน อยู่ในระดับสูงสุดโดยมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการแสดงผลหน้าจอตัวหนังสือซึ่งในส่วนของระบบมีการรายงานสถิติการยืม

12

Keywords
ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจน้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับความพึงพอใจอื่น ๆ โดยมีระดับความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก ตามลาดับ คาสาคัญ: ระบบยืมหนังสือออนไลน์ Abstract
This research aims: 1) to analyze, design, and develop an online book borrowing service system of the Academic Resources and Information Technology Department, Kamphaeng Phet Rajabhat University, 2) to assess the efficiency of the online book borrowing service system of the Academic Resources and Information Technology Department, Kamphaeng Phet Rajabhat University, and 3) to assess the satisfaction of users on using the online book borrowing service system of the Academic Resources and Information Technology Department, Kamphaeng Phet Rajabhat University. The samples used in the research were 10 librarians and library staff and 100 users of the online book borrowing system of the Office of Academic Resources and Information Technology Department, Kamphaeng Phet Rajabhat University which were obtained by group sampling method. The tools used in this research are online book borrowing system and an expert questionnaire to check the effectiveness of the online book borrowing system. Data analysis and statistics used in the analysis were frequency, mean, and standard deviation.
The results showed that: 1) online book borrowing system can check accessible rights, displays a book search engine associated with an automated library program, book borrowing list, member information checking system, add/edit/delete information and book borrowing statistics report, 2) the satisfaction of users towards the online book borrowing system was at a high level of satisfaction. The mean was 4.02. In the part of the screen display, the texts were clear and easy to read. The users were satisfied with the display of the letters on the screen at the highest level with a high level of satisfaction. Meanwhile, the results showed that users had least satisfied on the borrowing statistics report system when compared to other systems. The satisfaction level was also at a high level, respectively. : Online book borrowing system
13 บทนา การระบาดของไวรัส COVID 19 ตั้งแต่ พ.ศ. 2562 จนถึงปัจจุบัน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อทุกคน ทุกองค์กร และทุกสาขาอาชีพ ที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริของไวรัสในการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์และการป้องกันการแพร่ระบาดเรียนการสอนใหม่ผ่านระบบออนไลน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของสถานศึกษาที่ต้องปรับตัวและปรับวิธีการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชรมีประกาศชัดเจนเกี่ยวกับแนวปฏิบัติสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหน่วยงานที่ให้บริการจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งการในรูปแบบ New Normal เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ดังกล่าว คณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาระบบยืมหนังสือออนไลน์บริการแก่ผู้ใช้ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และการเว้นระยะห่างของผู้ใช้บริการ วัตถุประสงค์ 1 เพื่อวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบบริการยืมหนังสือออนไลน์ สานักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร 2 เพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบบริการยืมหนังสือออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ3มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร.เพื่อประเมินความพึงพอใจการใช้บริการระบบบริการยืมหนังสือออนไลน์ สานักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ทบทวนวรรณกรรม การศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบการให้บริการยืมหนังสือออนไลน์เพื่อการให้บริการในช่วง สถานการณ์ COVID 19 ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 : COVID 19) มีผลกระทบกับทุกประเทศทั่วโลก ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม โดยเฉพาะด้าน การสาธารณสุข ข้อมูลขององค์การอนามัยโลก ณ วันที่ 3 เมษายน 2021 ทั่วโลกมีประชากรทั้งสิ้นประมาณ 7,856.72 ล้านคน มียอดผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 จากทั่วโลก 215 ประเทศ (ที่เป็นรัฐเอกราชและเขตปกครอง พิเศษ) จ านวน 131 ล้านคน รักษาหายแล้ว 74 ล้านคน ผู้เสียชีวิต 2.84 ล้านคน และ ณ วันที่30 มีนาคม 2021 มีการให้วัคซีนแล้วทั้งหมด ประมาณ 547.73 ล้านโดส สหรัฐอเมริกา เป็นประเทศที่มียอดผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 สูงสุด 30.7 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตมากที่สุด คือ 5.54 แสนคน

14 สาหรับประเทศไทยมียอดผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 จานวน 29,031 คน หายแล้ว 26,873 ผู้เสียชีวิต 95 คน จากประชากรทั้งประเทศประมาณ 69,790,830 คน (World Health Organization, 2021; Worldometer, 2021) จากตัวเลขดังกล่าว ประเทศไทยอาจดูมียอดผู้ติดเชื้อไม่มากเมื่อเทียบกับจานวนประชากรทั้งหมดแต่ก็มี ผลกระทบในทุกภาคส่วน ระยะเวลาอันยาวนานของสถานการณ์ที่ทาให้ผู้คนต้องกักตัว และทางานที่บ้าน (Work from Home: WFH) ได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการใช้ชีวิตหลายอย่าง สถานที่ที่เป็นแหล่งรวมของ ผู้คนจานวนมากทั่วโลก เช่น ห้างสรรพสินค้า สถานที่ราชการ และองค์กรภาคเอกชน ต้องปิดลงชั่วคราวหรือ อาจถาวรในบางแห่ง เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค บางแห่งใช้วิธีสลับวันเข้าทางาน ลดชั่วโมง การทางานของบุคลากร โรงเรียน การดดผู้คนจการสอนออนไลน์ผ่านแพลตฟอร์มต่างมหาวิทยาลัยปิดทาการเรียนการสอนในทางกายภาพและใช้ระบบการเรียนๆห้องสมุดเป็นสถาบันบริการสารสนเทศประเภทหนึ่งที่เป็นแหล่งรวมานวนมากเข้ามาใช้บริการจาเป็นต้องปรับตัวอย่างกะทันหันกับสถานการณ์โรคโควิด19เช่นกันห้องสมุดเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าข้อมูลสารสนเทศซึ่งต้องมีการปรับตัวเป็นอย่างมากเพื่อให้สามารถาเนินงานและให้บริการแก่ผู้ใช้บริการได้สอดคล้องกับจากหลายงานวิจัยที่ได้มีการวิจัยเกี่ยวกับาเนินงานของห้องสมุดเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID 19 ได้แก่ งานวิจัยของ ปราณี อัศวภูษิตกุล และ สุภาพร โรจนศุภมิตร (2564, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเกี่ยวกับโรคโควิด 19 ปฏิวัติห้องสมุด สู่อนาคตวิถีชีวิตใหม่ งานวิจัยของ กัลยา ยังสุขยิ่ง (2563, บทคัดย่อ) เขตภูมิศาสตร์ภาคใต้กียาฐานข้อมูลการให้บริการออนไลน์ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาเลิศรัตนบทคัดย่อ)การบัญชีการพัมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีระบบยืมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบต่าเพื่อการพัฒนาระบบการให้บริการยืมหนังสือออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพจการปรับตัวของห้องสมุดในประเทศไทยในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาได้ศึกษาการสารวจ2019เป็นต้นาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลและงๆเช่นสุภารักษ์เมินกระโทก(2561,บทคัดย่อ)ได้ศึกษาการใช้คืนหนังสือด้วยตนเองของนักศึกษาและคณาจารย์กรณีศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษางานวิจัยของพรพิมลสีเหลืองและคนอื่นๆ(2559,บทคัดย่อ)ได้ศึกษาฒนาระบบยืมคืนหนังสือกรณีศึกษาห้องสมุดสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะบริหารธุรกิจและมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษงานวิจัยของสมัยศรีสวยและสมศักดิ์ศรีสวการย์(2562,ได้ศึกษาระบบยืมคืนหนังสือออนไลน์โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคีงานวิจัยของประสิทธิชัยเคหกาล(2552,บทคัดย่อ)ศัชชญาส์ดวงจันทร์(2558,บทคัดย่อ)ได้ศึกษาการพัฒนาระบบมหาวิทยาลัยสวนดุสิตนูรีดาจะปะ(2555,บทคัดย่อ)ได้ศึกษาแนวโน้มการจัดบริการห้องสมุดในทศวรรษหน้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

15 ชั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน 1. สารวจข้อมูลเบื้องต้นโดยการศึกษาเอกสาร ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการสารสนเทศ ในรูปแบบออนไลน์ และการพัฒนาระบบและวิธีการในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล 2. ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบบริการยืมหนังสือออนไลน์ เป็นขั้นตอนของการศึกษา ปัญหาและความต้องการของบรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เพื่อออกแบบโครงสร้างของระบบงานให้ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน โดยจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จานวน 3 ครั้ง ประกอบด้วย บรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ซึ่งมีหน้าที่ให้บริการยืม คืนหนังสือ และนักพัฒนาระบบ จานวน 13 คน 3. พัฒนาระบบบริการยืมหนังสือออนไลน์ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 3.1 ออกแบบฐานข้อมูล โดยใช้ฐานข้อมูล MySQL 3.2 เขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษา PHP 3.3 ทาการเชื่อมโยงกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 3.4 ทาการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลทะเบียนนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัย 3.5 เวลาทดสอบและแก้ไขระบบเป็นเวลาการใช้งานตรงตามวัตถุประสงค์ห้องสมุดความเหมาะสมของประสิทธิภาพการทให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ทางด้านระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศประเมินางานของระบบ3.6จัดทาคู่มือการใช้งานระบบและจัดอบรมเพื่อทดลองใช้งานระบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น3.7ทดสอบระบบบริการยืมหนังสือออนไลน์โดยผู้เชี่ยวชาญบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่และผู้ใช้บริการระบบยืมหนังสือออนไลน์ของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้และนามาปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งานจริงโดยใช้2สัปดาห์3.8ประชาสัมพันธ์ระบบและเปิดการใช้งานระบบยืมหนังสือออนไลน์3.9ประเมินผลความพึงพอใจในการใช้ระบบยืมหนังสือออนไลน์ ผลการดาเนินงาน อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และการนาไปใช้ประโยชน์ สรุปผล 1 ผลจากการพัฒนาระบบยืมหนังสือออนไลน์และการประเมินประสิทธิภาพการใช้งานของระบบ พบว่า ระบบสามารถตรวจสอบสิทธิ์การเข้าใช้งาน แสดงเครื่องมือช่วยค้นหาหนังสือโดยเชื่อมโยงกับโปรแกรม ห้องสมุดอัตโนมัติ รายการยืมหนังสือ ตรวจสอบข้อมูลสมาชิก เพิ่ม/แก้ไข/ลบ ข้อมูล และรายงานสถิติการยืม หนังสือ ซึ่งอธิบายความสามารถของระบบได้ ดังนี้

16 1.1 เข้าไปที่ https://arit.kpru.ac.th/ap/orderbooks/ “สั่งหนังสือออนไลน์” 1.2 ลงชื่อเข้าใช้งานระบบ ระบบให้บริการสั่งหนังสือออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร (KPRU Order Books) ในการเข้าสู่ระบบ คลิกเลือกสถานะ 1.3 สาหรับผู้ใช้บริการเมื่อเข้าสู่ระบบเรียบร้อยแล้วคลิกไปที่ “สั่ง ยืมหนังสือ”




17 กรอกข้อมูลทรัพยากร ซึ่งขั้นตอนนี้ผู้ใช้สามารถสืบค้นหาหนังสือที่ต้องการได้โดยการ คลิกที่ “ระบบห้องสมุดอัติโนมัติ” และสืบค้นหาหนังสือที่ต้องการ และนามากรอกในระบบ Order Books ดังภาพ โดยนาชื่อทรัพยากร เลขหมวดหมู่ ชื่อผู้แต่ง ปีพิมพ์ บาร์โค้ด และ นาข้อมูลมากรอกในระบบ Order Book และ เลือกเวลารับตามที่ระบบกาหนด เพื่อสั่งคลิกบันทึกหนังสือ





18 1.4 ผู้ดูแลระบบเมื่อเข้าสู่ในระบบแล้ว ระบบจะแสดงออเดอร์รายการการสั่งทั้งหมดที่มีการสั่งเข้ามา ผู้ดูแลระบบ (Admin) สามารถแก้ไข หรือลบออเดอร์ได้ 1.5 ในการปรับเปลี่ยนสถานะออเดอร์นั้น ผู้ดูแลจะต้องประสานงานกันเป็นขั้นตอน เมื่อผู้ใช้สั่ง ออเดอร์มาแล้ว ผู้ดูแลระบบ หรือบรรณารักษ์จะจัดหาหนังสือ และยืมให้ผู้ใช้ เมื่อเสร็จแล้วผู้ดูแลระบบ จะเปลี่ยนสถานะเป็น “พร้อมรับ” กด บันทึก รายการออเดอร์สีของสถานะจะเปลี่ยนเป็นสีส้ม



19 1.6 พิมพ์สลิปรายการหนังสือ ดังภาพ 1.7 เมื่อกดพิมพ์ระบบจะแสดงตัวอย่าง สลิปรายการหนังสือ จากนั้นกดพิมพ์




20 1.8 เมื่อหนังสือส่งออกไปยังผู้ใช้แล้ว ผู้ดูแลระบบต้องมาอัพเดทสถานะเป็น “รับแล้ว” และ คลิก บันทึก ออเดอร์หนังสือจะไปอยู่ที่ “รายการรับแล้ว” 2. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบยืมหนังสือออนไลน์ ผู้ใช้บริการมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.02 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ความพึงพอใจในระดับมาก โดยในส่วนของการแสดงผลหน้าจอตัวหนังสือสามารถ อ่านได้ง่าย ชัดเจน ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการแสดงผลหน้าจอตัวหนังสือ อยู่ในระดับสูงสุด โดยมีระดับ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ที่ 4.08 ซึ่งในส่วนของระบบมีการรายงานสถิติ การยืม ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจน้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับความพึงพอใจอื่น ๆ โดยมีระดับความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากและมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ที่ 3.96 ดังตาราง



21 ประเด็นในการประเมิน X S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. ความง่ายต่อการใช้งานของระบบ 4.02 0.83 มาก 2. การแสดงผลหน้าจอของระบบไม่ซับซ้อนเข้าใจง่าย 4.05 0.47 มาก 3. การแสดงผลหน้าจอตัวหนังสือสามารถอ่านได้ง่าย ชัดเจน 4.08 0.84 มาก 4. ระบบสามารถประมวลผลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว 3.99 0.87 มาก 5. ระบบสามารถตรวจสอบรายการหนังสือได้อย่างถูกต้อง 3 96 0.96 มาก 6. ในการทระบบสามารถเก็บสถิติการยืมหนังสือที่สะดวกรวดเร็วางาน 3.98 0.89 มาก 7. ความเหมาะสมของระบบโดยรวม 4.05 0.82 มาก 8. ความพึงพอใจต่อการใช้งานโดยรวมของระบบ 4.05 0.82 มาก ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.02 0.04 มาก อภิปรายผล งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบยืมหนังสือออนไลน์ และศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ที่มีต่อระบบ ซึ่งสามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. ระบบยืมหนังสือออนไลน์ พัฒนาระบบขึ้นเพื่อให้บริการซึ่งได้เก็บข้อมูลปัญหาและความต้องการของบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ผู้วิจัยได้ดาเนินการในการพัฒนาระบบตามวิธีการของการพัฒนาระบบห้องสมุดนามาวิเคราะห์ออกแบบและเพื่อเพิ่มความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการของห้องสมุดในสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID 19 สอดคล้องกับงานวิจัยของ ปราณี อัศวภูษิตกุล และ สุภาพร โรจนศุภมิตร (2564, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเกี่ยวกับโรคโควิด 19 ปฏิวัติห้องสมุด สู่อนาคตวิถีชีวิตใหม่ โดยบทความนี้นาเสนอรายงานการปรับ การจัดการวิธีการรับมือและแกปัญหาการจัดการห้องสมุด รวมถึงแนวทางในการสร้างนวตักรรมใหม่ ๆ ของ ห้องสมุดประเภทต่าง ๆ ต่อสถานการณ์โรคโควิด 19 ในสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐอินเดีย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน และประเทศไทย การวิเคราะห์รวบรวมข้อมูลการปรับ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้(2555,การสอนในวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์การจัดบริการห้องสมุดการจัดการของห้องสมุดแต่ละประเทศและนาเสนอในรูปแบบข้อเสนอแนะสาหรับห้องสมุดประเทศไทยในด้านบุคลากรการจัดการอาคารและพื้นที่การจัดการเทคโนโลยีผู้ใช้ตลอดจนการเรียนสอดคล้องกับงานวิจัยของนูรีดาจะปะกียาบทคัดย่อ)ได้ศึกษาแนวโน้มการจัดบริการห้องสมุดในทศวรรษหน้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏผลการวิจัยพบว่าการให้บริการห้องสมุดในรูปแบบที่ผ่านมาและปัจจุบันไม่สามารถ

22 2. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาในการให้บริการ ในหลาย ๆ ด้านด้วยกัน กับบริบทของสังคมสารสนเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงดังนั้นแนวทางการบริการของห้องสมุดในอนาคตจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องอาทิเช่นการเปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งการให้บริการดังกล่าวจะเพิ่มความสะดวกและตอบสนองวิถีชีวิตของผู้ใช้บริการ สอดคล้องกับงานวิจัยของ กัลยา ยังสุขยิ่ง (2563, บทคัดย่อ) เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลหนังสือแม่ทะประชาสามัคคีประชาสามัคคีหนังสือออนไลน์โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคีสอดคล้องกับงานวิจัยของระยะห่างทางสังคมสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาได้ศึกษาการสารวจการปรับตัวของห้องสมุดในประเทศไทยในช่วง2019พบว่าห้องสมุดมีมาตรการป้องกันโดยเน้นการเว้นและปรับเปลี่ยนหรือจัดบริการใหม่เพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้รับบริการและสมัยศรีสวยและสมศักดิ์ศรีสวการย์(2562,บทคัดย่อ)ได้ศึกษาระบบยืมคืนพบว่าการพัฒนาระบบยืมคืนหนังสือออนไลน์โรงเรียนแม่ทะมีเป้าหมายเพื่อสร้างเครื่องมืออานวยความสะดวกให้กับบรรณารักษ์นักเรียนและครูโรงเรียนอาเภอแม่ทะจังหวัดลาปางเพื่อลดภาระบรรณารักษ์ห้องสมุดในการให้บริการยืมคืนสมาชิกสามารถสืบค้นข้อมูลหนังสือจองหนังสือล่วงหน้าและตรวจสอบรายการหนังสือที่ยืมได้คือระบบงานคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาบนหลักการของแอปพลิเคชันบนเว็บ( Web based application) ผลการศึกษาความพึงพอใจ พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีระดับความพึงพอใจต่อการใช้งาน ระบบโดยรวมอยู่ที่ระดับมากจากที่ได้กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า การพัฒนาระบบยืมหนังสือออนไลน์เพื่ออานวยความสะดวกแก่ ผู้ใช้บริการ การปรับตัวของห้องสมุดในประเทศไทยในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID 19 เพื่อเว้นระยะห่างของผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการในการให้บริการยืม คืนหนังสือ ผู้ใช้บริการสามารถ สืบค้นข้อมูลหนังสือ จองหนังสือล่วงหน้า และตรวจสอบรายการหนังสือที่ยืมได้ เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล คือ ระบบงานคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาบนหลักการของแอปพลิเคชันบนเว็บ2.การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบยืมหนังสือออนไลน์ โดยหลังจากที่ผู้วิจัยได้ ความพึงพอใจอื่นระดัผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการแสดงผลหน้าจอตัวหนังสือความพึงพอใจในระดับมากโดยสามารถสรุปผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริเจ้าหน้าที่ประเมินประสิทธิภาพของระบบแล้วดาเนินการในส่วนของการพัฒนาระบบจนสาเร็จและได้นาระบบไปทดสอบรวมไปถึงระบบให้แก่ผู้เชี่ยวชาญได้ผู้วิจัยได้นาระบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้แก่อาจารย์และนักศึกษาเพื่อประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อระบบยืมหนังสือออนไลน์การที่มีต่อระบบยืมหนังสือออนไลน์พบว่าอยู่ในเกณฑ์โดยในส่วนของการแสดงผลหน้าจอตัวหนังสือสามารถอ่านได้ง่ายชัดเจนอยู่ในระดับสูงสุดโดยมีระดับความพึงพอใจอยู่ในบมากในส่วนของระบบมีการรายงานสถิติการยืมผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจน้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับๆโดยมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากสอดคล้องกับงานวิจัยของประสิทธิชัย

23 เลิศรัตนเคหกาล (2552, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio สาหรับห้องสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษกเชียงใหม่ พบว่า การพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio เป็นโปรแกรมที่เหมาะสมสาหรับห้องสมุดขนาดกลาง ช่วยเสริมประสิทธิภาพ ในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศและการบริการผู้ใช้ในการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ บริการยืม คืน ได้เป็นอย่างดี การประเมินความพึงพอใจ พบว่า ผู้ปฏิบัติงานมีความเห็นว่า โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสามารถ พัฒนาโมดูลการใช้งานเพียงพอต่อความต้องการใช้งาน มีความพึงพอใจการใช้งานระบบในส่วนโมดูลต่าง ๆ และระบบงานอยู่ในระดับมากที่สุด และผู้ใช้มีความพึงพอใจด้านการสืบค้น ทั้งในการแสดงผลค้นหารายการ ออนไลน์ การใช้ระบบงานยืม คืนอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับ ศัชชญาส์ ดวงจันทร์ (2558, ได้สะดวกและมีประสิทธิภาพในการให้บริการความพึงพอใจในระดับมากงานระบบโดยรวมอยู่ที่ระดับมากออนไลน์โรงเรียนแม่ทะประได้ศึกษาระบบยืมและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ฐานข้อมูลเพื่อการให้บริการออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้โดยผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อระบบที่พัฒนาขึ้นในระดับมากมหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้ศึกษาการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการให้บริการออนไลน์ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อกาบทคัดย่อ)รพัฒนาพบว่าระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้โดยผู้ใช้มีความพึงพอใจมากที่สุดต่อการที่ระบบนสามารถเป็นแหล่งการเรียนรู้มีความหลากหลายสอดคล้องกับสมัยศรีสวยและสมศักดิ์ศรีสวการย์(2562,บทคัดย่อ)คืนหนังสือออนไลน์โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคีพบว่าการพัฒนาระบบยืมคืนหนังสือชาสามัคคีผลของงานวิจัยพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีระดับความพึงพอใจต่อการใช้จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อระบบยืมหนังสือออนไลน์มีความเหมาะสมต่อผู้ใช้บริการหน้าจอแสดงผลได้อย่างชัดเจนผู้ใช้บริการใช้งาน ข้อเสนอแนะ และการนาไปใช้ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ 1. ในการพัฒนาระบบยืมหนังสือออนไลน์ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการให้บริการของห้องสมุดเท่านั้น ดังนั้นจึงควรมีระบบสารสนเทศอื่น ๆ ที่สามารถเชื่อมต่อเพื่อนาข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้มาใช้งานร่วมกัน เช่น ระบบการจัดซื้อหนังสือ ระบบการยืมระหว่างห้องสมุด เป็นต้น 2. เนื่องจาก ณ ปัจจุบันระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการข้อมูลของห้องสมุดเป็นสิ่งจาเป็น จึงควร ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มากขึ้นเพื่อการบริหารจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

24 การนาไปใช้ประโยชน์ ควรมีการขยายผลไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยเพื่อให้ทุกหน่วยงานมีการพัฒนาระบบ การบริการในรูปแบบออนไลน์เพื่อการดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ คล่องตัว สะดวกรวดเร็ว และมี ความเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน รายการอ้างอิง กัลยา ยังสุขยิ่ง. (2563). การสารวจการปรับตัวของห้องสมุดในประเทศไทยในช่วงสถานการณ์ การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019. วารสารห้องสมุด, 64(2), 80 90. นูรีดา จะปะกียา. (2555). เขตภูมิศาสตร์ภาคใต้แนวโน้มการจัดบริการห้องสมุดในทศวรรษหน้าของมหาวิทยาลัยราชภัฏ . กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ประสิทธิชัย เลิศรัตนเคหกาล. (2552). การพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio สาหรับห้องสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษกเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปราณี อัศวภูษิตกุล และ สุภาพร โรจนศุภมิตร. (2564). โรคโควิด 19 ปฏิวัติห้องสมุดสู่อนาคตวิถีชีวิต ใหม่. วารสารห้องสมุด, 65(1), 57 74. พรพิมล สีเหลือง และ คนอื่น ๆ. (2559). การพัฒนาระบบยืม คืนหนังสือ กรณีศึกษาห้องสมุด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2(2), 58 66. ศัชชญาส์ ดวงจันทร์. (2558). การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการให้บริการออนไลน์ศูนย์นวัตกรรมมหาวิทยาลัยสวนดุสิต . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. สมัย ศรีสวย และ สมศักดิ์ ศรีสวการย์ (2562). ระบบยืม คืนหนังสือออนไลน์โรงเรียนแม่ทะ ประชาสามัคคี. ลาปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง. สุภารักษ์ เมินกระโทก. (2561). การใช้ระบบยืม คืนหนังสือด้วยตนเองของนักศึกษาและคณาจารย์ กรณีศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. PULNET Journal, 5(2), 12 23. World Health Organization. (2021). Coronavirus Retrieved from https://www google com/ search?q=covid 19+definition+who&oq=&aqs=chrome3

25 การพัฒนาระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต สาหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ Developing the Employment Conditions System Graduates for Nakhon Sawan Rajabhat University กุลดา สวนสลา สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ e mail: kunlada@nsru.ac.th บทคัดย่อ การพัฒนาระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต สาหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดเก็บข้อมูลการตอบแบบสอบด้านภาวะการมีงานทาของบัณฑิต และนาข้อมูลมาใช้เป็น แนวทางกาหนดนโยบาย วางแผน และแก้ไขการผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงของ ตลาดแรงงาน โดยระบบสามารถทาการวิเคราะห์ข้อมูลส่งออกข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กาหนด ผลจากการศึกษาวิจัย ด้านขั้นตอนกระบวนการ พบว่า บุคลากรมีความพึงพอใจในการเข้าใช้งาน ระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต ด้านการเข้าใช้ระบบงานและการเข้าสู่ระบบ มีการกรอกรหัสผู้ใช้และ การกรอกรหัสผ่านเข้าใช้ระบบมีความปลอดภัยและเป็นส่วนตัว ด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัย พบว่า การตรวจสอบ การค้นหาและติดตามด้านต่าง ๆ เพื่อค้นหาและติดตามบัณฑิต ระบบยังทาให้เกิดประสิทธิภาพ ในการวางแผนการได้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการตรวจสอบ ติดตามการตอบแบบสอบถามของบัณฑิต และ ด้านความพึงพอใจต่อคุณภาพการใช้งานพบว่า ระบบตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ดี ซึ่งข้อมูล ดังกล่าวสามารถนาไปใช้ตอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะ และมหาวิทยาลัยได้ คาสาคัญ: บัณฑิต ภาวะการมีงานทา

Developing the employment conditions system for graduates, it is a system that stores information about the working conditions of graduates to be used as a guideline for formulating policies, planning and amending the production of graduates in accordance with the real needs of the labor market and analyze the data by exporting the graduate's employment data. Convert the data from the database into a file format as specified by the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. Research results process steps, it was found that the staff were satisfied with the graduates' access to the employment status system. Due to personnel deeming that access to the system and log in user id and password are entered into a secure and private system. Performance and safety found that the inspection searching and following fields to find and follow graduates. The system also ensures efficiency in planning. Get the best performance in the audit. Follow up on survey responses of graduates. In terms of satisfaction with the quality of use found that the system responds well to the needs of users that such information can be used to answer the work of quality assurance at the faculty level and the university Graduate, Employment
26 Abstract
Keywords:

27 บทนา ออกมาในรูปแบบไฟล์บัณฑิตสนวัตกรรมบัณฑิตและการสื่อสารประสิทธิภาพในพันธกิจที่สสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศาคัญคือการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินการด้านต่างๆให้มีและลดภาระค่าใช้จ่ายได้โดยมีกลุ่มงานพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศรับผิดชอบภารกิจหลักในการดาเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศระบบภาวะการมีงานทาของเพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลและบริหารจัดการข้อมูลการตอบแบบสอบถามได้เนื่องจากมีระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิตที่กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและได้พัฒนาไว้แล้วแต่เนื่องระบบมีข้อจากัดในการเข้าถึงข้อมูลเพื่อติดตามการตอบแบบสอบถามของาหรับผู้ดูแลระดับมหาวิทยาลัยเท่านั้นและในการนาข้อมูลออกใช้งานได้ต้องมีการส่งออกข้อมูล Excel ที่เป็นรูปแบบกระดาษประกันคุณภาพการศึกษาได้ความสการตอบแบบสอบถามภาวะการมีงานทการติดตามการตอบแบบสอบถามของภาวะการมีงานทและต้องนาข้อมูลมาจาแนกรายชื่อตามคณะเพื่อส่งไปให้แต่ละคณะได้มีาของบัณฑิตทาให้เกิดความไม่สะดวกในการติดตามาของบัณฑิตและมหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ได้เล็งเห็นถึงาคัญของข้อมูลการตอบแบบสอบถามภาวะการมีงานทาของบัณฑิตสามารถนาไปใช้ในการตอบงานโดยขั้นตอนการทางานของแต่หน่วยงานจะใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบสอบถามหรือ Google Form ซึ่งไปเป็นรูปแบบเดียวกัน ทาให้ได้ข้อมูลผลการตอบที่ไม่เป็น รูปแบบมาตรฐานที่ใช้ส่งในระบบของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาระบบภาวะการมีงานทางานของบัณฑิต เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลการตอบ การเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจของประเทศและนานาชาติได้และการวางแผนในการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัยให้ตรงตามความต้องการของผลการดภาวะการมีงานทแบบสอบถามแบบสอบถามที่มีรูปแบบเดียวกันและให้แต่ละหน่วยงานสามารถเข้าถึงข้อมูลและติดตามสถานะการตอบออกรายงานสรุปการตอบแบบสอบถามทั้งในรูปแบบสถิติและกราฟได้ซึ่งการพัฒนาระบบาของบัณฑิตมีความจาเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบันเพื่อเป็นรายงานที่ใช้ประกอบการรายงานาเนินงานด้านการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งเป็นข้อมูลสารสนเทศที่มีความสาคัญต่อนโยบายชุมชนและสังคมและรองรับ

28 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลการตอบแบบสอบถามภาวะการมีการทาของบัณฑิต 2 เพื่อติดตามสถานะการตอบแบบสอบถามของบัณฑิตได้ 3. เพื่อส่งออกข้อมูลตามรูปแบบที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมกาหนด ทบทวนวรรณกรรม การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้รวบรวมจากแหล่งข้อมูล ดังนี้ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ข้อมูลที่รวบรวมจากการเก็บแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดังนี้1.1สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่พัฒนาระบบภาวะการมีงานทาของ บัณฑิต 1.2 สานักงานส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มีหน้าที่ในการนาข้อมูลผู้สาเร็จการศึกษา เข้าระบบ 1.3 กองพัฒนานักศึกษา มีส่วนผลักดันให้บัณฑิตเป็นผู้ตอบแบบสอบถามในช่วงก่อนรายงานตัว ก่อนรับปริญญา1.4 คณะ/สาขาวิชา ประชาสัมพันธ์ให้บัณฑิตร่วมทาแบบสอบถาม 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ บทความ วารสาร ตารา งานวิจัย เว็บไซต์ เอกสารอ้างอิงต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับแนวทางการระบบภาวะการมีงานทาของ บัณฑิต และพัฒนางานวิจัยที่มีผู้อื่นได้ศึกษามาแล้วที่มีความใกล้เคียงกับการศึกษาครั้งนี้พงกะพรรณตะกลมทอง (2548) ได้ให้ความหมายของการติดตาม (Monitoring) ไว้ว่า หมายถึง ประสิทธิภาพแก้ไขขั้นต้นการติดตามผลจึงต้องดต่อการเร่งรัดให้งาน/โครงการดให้ผลงานเป็นไปตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดการเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนงานที่กาหนดไว้เพื่อตัดสินใจแก้ไขปรับปรุงวิธีการปฏิบัติข้อมูลจากการติดตามจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งาเนินไปตรงตามเป้าหมายของแผนงานและแล้วเสร็จภายในกาหนดเวลาาเนินการอย่างสม่าเสมอในหน่วยงานเพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับให้ตนเองผู้บังคับบัญชาผู้บังคับบัญชาระดับสูงตลอดจนผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการทุกระดับเพื่อให้คาแนะนาช่วยเหลืออานวยความสะดวกทั้งนี้เพื่อให้การดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมี

29 สมหวัง พิธิยานุวัตน์ (2541) กล่าวว่า การติดตามผลเป็นการศึกษาเชิงประเมินหลักสูตรและโปรแกรม ว่า มหาวิทยาลัยที่มีต่อผู้สการศึกษาไปแล้วยังเป็นการแสดงความห่วงใยในการพิจารณาปรับปรุงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคุณภาพและข้อบกพร่องของจริงเพียงใดโดประสิทธิภาพยิ่งขึ้นหรือไม่ผู้สาเร็จการศึกษาไปแล้วมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติสมเจตนารมณ์ของจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานเพียงใดผลจากการศึกษาจะช่วยในการปรับปรุงหลักสูตรให้มีพิลาวรรณประจาทอง(2561)กล่าวว่าการประเมินความก้าวหน้าของบุคคลในการปฏิบัติงานยอาศัยเครื่องมือและกระบวนการในการวัดเพื่อสารวจว่าผู้สาเร็จการศึกษามีความสามารถในการปฏิบัติงานมีอุปสรรคอะไรบ้างจะได้นาผลมาปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอนเป็นวิธีสาคัญที่จะให้ผู้สาเร็จการศึกษาผลที่ได้จากการติดตามผลจะเป็นแนวทางหลักสูตรการเรียนการสอนให้ดีขึ้นนอกจากนี้การศึกษาการติดตามผลผู้ที่สาเร็จความสนใจและความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของาเร็จการศึกษาอีกด้วย ชั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน1.เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา โปรแกรม PHPStorm ฐานข้อมูล MySQL 2. วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต ผู้วิจัยได้นาแนวคิดการวิจัยมาประยุกต์ใช้สาหรับ การดาเนินการวิจัย โดยมีขั้นตอนดาเนินการวิจัย ดังนี้ 2.1 การสารวจความต้องการของระบบและวิเคราะห์ระบบในการจัดการข้อมูลภาวะการมีงานทา ของบัณฑิต แบ่งผู้ใช้ออกเป็น 4 ประเภท และมีขอบเขตการจัดการข้อมูลในระบบดังนี้ 2.1.1 ผู้ดูแลระบบหลัก สามารถจัดการข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ดังนี้ การส่งออกข้อมูลการตอบแบบสอบถามในรูปแบบกาการค้นหาข้อมูลผู้สการนข้อมูลกข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ข้อมูลการติดต่อหน่วยงานข้อมูลผู้ใช้งานระบบข้อมูลสิทธิ์การเข้าใช้งานระบบาหนดวันเริ่มต้นวันสิ้นสุดในการตอบแบบสอบถามาเข้าข้อมูลของผู้สาเร็จการศึกษาาเร็จการศึกษารตรวจสอบข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม Excel

30 รายงานสรุปจานวนผู้สาเร็จการศึกษารายปี จาแนกตามคณะ สาขาวิชา เพศ พิมพ์รายชื่อผู้ที่ตรายงานสรุปข้อมูลการตอบแบบสอบถามในรูปแบบกราฟรายด้านรายงานสรุปข้อมูลการตอบแบบสอบถามในรูปแบบสถิติอบหรือยังไม่ตอบแบบสอบถาม 2.1.2 ผู้ดูแลของหน่วยงาน สามารถจัดการข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ที่สังกัดคณะตนเอง ดังนี้ รายงานสรุปจการลบข้อมูลการตอบแบบสอบถามการตรวจสอบข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามการค้นหาข้อมูลผู้สาเร็จการศึกษาานวนผู้สาเร็จการศึกษารายปี จาแนกตามคณะ สาขาวิชา เพศ รายงานสรุปข้อมูลการตอบแบบสอบถามในรูปแบบกราฟรายงานสรุปข้อมูลการตอบแบบสอบถามในรูปแบบสถิติ รายด้าน พิมพ์รายชื่อผู้ที่ตอบ หรือยังไม่ตอบแบบสอบถาม 2.1.3 ผู้บริหาร สามารถดูข้อมูลส่วนต่าง ๆ ทุกหน่วยงานของมหาวิทยาลัย ดังนี้ รายงานสรุปจการค้นหาข้อมูลผู้สาเร็จการศึกษาานวนผู้สาเร็จการศึกษารายปี จาแนกตามคณะ สาขาวิชา เพศ รายงานสรุปข้อมูลการตอบแบบสอบถามในรูปแบบกราฟรายงานสรุปข้อมูลการตอบแบบสอบถามในรูปแบบสถิติ รายด้าน พิมพ์รายชื่อผู้ที่ตอบ หรือยังไม่ตอบแบบสอบถาม 2.1.4 บัณฑิต สามารถใช้งานระบบ ได้ดังนี้ ตรวจสอบข้อมูลการตอบแบบสอบถามของตนเองทาแบบประเมินแบบสอบถามภาวะการมีงานทา จากการสารวจความต้องการ ผู้พัฒนาจะต้องวิเคราะห์การใช้งานระบบ รวมถึงศักยภาพ ในด้านต่าง ๆ ของระบบที่พัฒนา จึงเลือกพัฒนาระบบดังกล่าวในรูปแบบ Web Application เพื่อให้สะดวก ต่อการใช้งาน ระบบเก็บข้อมูลในรูปแบบฐานข้อมูล MySQL 2.2 การพัฒนาระบบภาวะการมีงานทการพัฒนาระบบาของบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้นาแนวคิดการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา 7 ขั้นตอน ของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2556) มาประยุกต์ใช้สาหรับการดาเนินการวิจัย โดยมีขั้นตอนดาเนินการวิจัย ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาองค์ความรู้หรือเนื้อหาสาระเกี่ยวกับต้นแบบชิ้นงาน ศึกษาหลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อนามาใช้เป็นข้อมูล

31 พื้นฐานในการกาหนดองค์ประกอบ และขั้นตอนของระบบสารสนเทศ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ ความต้องการ และบทบาทของผู้ใช้งานระบบสารสนเทศ เพื่อนามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบ ขั้นตอนการทางานของระบบสารสนเทศและศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการ ออกแบบระบบสารสนเทศ และ ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อนามาเป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาระบบภาวะการมีงานทา ของบัณฑิต ขั้นตอนที่ 2 สารวจและประเมินความต้องการต้นแบบชิ้นงาน ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความคิดเห็น และความต้องการใช้งานระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการกาหนดกรอบแนวคิดขั้นตอนที่3พัฒนากรอบแนวคิดต้นแบบชิ้นงาน กรอบแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมสาหรับ การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้แนวคิดเกี่ยวกับระบบ ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ประการ คือ1) ปัจจัย นาเข้า (Inputs) 2) กระบวนการ (Process) 3) ผลผลิต (Outputs) 4) ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) 5) สภาพแวดล้อม (Environment) สร้าง (ร่าง) กรอบแนวคิดต้นแบบ โดยการนาข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานที่ เกี่ยวข้องกับระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต และ ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความคิดเห็น และสอบถามความต้องการใช้งานระบบภาวะการมีงาน ทาของบัณฑิตกับผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากรและบัณฑิต เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการสร้าง (ร่าง) กรอบแนวคิดต้นแบบระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ขั้นตอนที่ 4 สอบถามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้วิธีการระดมความคิดเป็นกลุ่ม (Focus group) เพื่อตรวจสอบ (ร่าง) กรอบแนวคิดต้นแบบระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิตที่พัฒนาขึ้น โดยมาจาก การเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) และได้คัดเลือกผู้บริหารหน่วยงาน จานวน 12 คน ขั้นตอนที่ 5 พัฒนา (ร่าง) ต้นแบบชิ้นงาน ดาเนินการพัฒนาระบบภาวะการมีงานทาของ บัณฑิต ตามกรอบแนวคิดต้นแบบระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต ซึ่งผ่านการพิจารณาและรับรองจาก การระดมความคิดเป็นกลุ่มขั้นตอนที่ 6 ทดสอบประสิทธิภาพและรับรองต้นแบบชิ้นงาน ทดสอบประสิทธิภาพของระบบ ภาวะการมีงานทาของบัณฑิต โดยให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสมของระบบภาวะการมีงานทาของ บัณฑิต โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ ด้านกระบวนการดาเนินงาน และด้าน ระบบสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ จานวนด้านละ 3 คน ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ทาการทดสอบ ประสิทธิภาพด้านกระบวนการและผลลัพธ์ของระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต ดาเนินการแก้ไข ปรับปรุง ระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิตที่พัฒนาขึ้นตามคาแนะนา และเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญอีกครั้งเพื่อรับรองระบบ ภาวะการมีงานทาของบัณฑิต และนาระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิตที่ผ่านการรับรองจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ไปใช้จริงกับผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร และบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

32 ขั้นตอนที่ 7 ปรับปรุงและเขียนรายงาน นาข้อเสนอแนะที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญ และผู้ใช้งาน ระบบสารสนเทศ มาปรับปรุง แก้ไข สรุปผล และ อภิปรายผลการดาเนินการวิจัยให้มีความสมบูรณ์ 2.3 ระบบภาวะการมีงานทเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย2.3.1ระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์2.3.2แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้บริหารอาจารย์บุคลากรและบัณฑิตต่อการใช้งานาของบัณฑิต 3. การเปิดใช้งานระบบ หลังจากการทดสอบเป็นที่เรียบร้อยดีแล้วจึงแจ้งต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสานักฯ และที่ ประชุมกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยฯ รับทราบและดาเนินการเปิดใช้งานระบบ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2563 เป็นต้นมา ถึงปัจจุบัน ผลการดาเนินงาน อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และการนาไปใช้ประโยชน์ การพัฒนาระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ขึ้นมานั้นเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ คือ 1. เพื่อมีระบบจัดเก็บข้อมูลภาวะการมีการทาของบัณฑิต ตามรูปแบบที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมกาหนด ในการตรวจสอบการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ในด้านการจัดการเรียนการสอนในแต่ละหลักสูตร/สาขาวิชาซึ่งสามารถเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อประกอบการวางแผน2.มีระบบเพื่อติดตามสถานะการตอบแบบสอบถามของบัณฑิตได้ทาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดติดตามการตอบแบบสอบถามของบัณฑิต 3. มีรายงานข้อมูลตามรูปแบบที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กาหนด ในรูปแบบไฟล์ Excel ภาวะการมีงานทมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ได้ซึ่งผู้รายงานสามารถดาวน์โหลดไฟล์ผ่านระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิตข้อมูลสรุปแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้บริหารอาจารย์บุคลากรและบัณฑิตต่อการใช้งานระบบาของบัณฑิต

33 ตารางที่ 1 ระดับความคิดเห็นที่มีต่อเว็บไซต์ระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์จาแนกเป็นรายข้อ หัวข้อการประเมิน ผลการประเมิน ค่าเฉลี่ย X ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. ระดับ ด้านขั้นตอนกระบวนการ 1. การเข้าใช้งานระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต 4.22 0.61 มาก 2. ระบบมีขั้นตอนการทางานเป็นลาดับและเข้าใจง่าย 4.07 0.57 มาก 3. มีการจัดระบบข้อมูลเป็นหมวดหมู่ 3.77 0.80 มาก ด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัย 4 การจัดเก็บข้อมูลมีความปลอดภัย 4.25 0.58 มาก 5 สามารถรองรับการใช้งานกับอุปกรณ์ และระบบปฏิบัติการ บนเครื่อง Smart phone, Tablet หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ 4.05 0.87 มาก 6 การตรวจสอบ การค้นหาและติดตามด้านต่าง ๆ 4.27 0.71 มาก ด้านความพึงพอใจต่อคุณภาพการใช้งาน 7 ระบบตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ดี 4.20 0.72 มาก 8 มีประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้เสีย 4.07 0.69 มาก ภาพรวม 4.11 0.74 มาก ข้อเสนอแนะ 1. ให้ระบบภาวะการมีงานมีการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูล ที่เป็นปัจจุบัน2.การจัดการเรื่องสิทธิ์การเข้าใช้งานระบบภาวะการมีงานทา ในระดับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อติดตามสถานะการตอบแบบสอบถามของบัณฑิต สรุปผล ความพึงพอใจในการใช้งานระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์อยู่ใน ระดับมาก และผลจากการศึกษาวิจัยสรุปได้ว่า

34 1. ด้านขั้นตอนกระบวนการ พบว่า บุคลากรมีความพึงพอใจในการเข้าใช้งานระบบภาวะการมีงานทา ของบัณฑิต อาจเนื่องมาจากบุคลากรเห็นว่า การเข้าใช้ระบบงานและการเข้าสู่ระบบ มีการกรอกรหัสผู้ใช้และ การกรอกรหัสผ่านเข้าใช้ระบบมีความปลอดภัยและเป็นส่วนตัว 2. ด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัย พบว่า การตรวจสอบ การค้นหาและติดตามด้านต่าง ๆ เพื่อค้นหาและติดตามบัณฑิต ระบบยังทาให้เกิดประสิทธิภาพในการวางแผนได้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการตรวจสอบ ติดตามการตอบแบบสอบถามของบัณฑิต 3. ด้านความพึงพอใจต่อคุณภาพการใช้งาน พบว่า ระบบตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ดี ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถนาไปใช้ตอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะและมหาวิทยาลัยได้ รายการอ้างอิง พิลาวรรณ ประจาทอง. (2562). ภาวะการมีการทาของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีการศึกษา 2561. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564.) ระบบภาวะการมีงานทาของบัณฑิต สืบค้นจาก https://employ.mhesi.go.th/ สมหวัง พิธิยานุวัตน์. (2541). วิธีวิทยาการประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย

35 การพัฒนาระบบการจัดการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019( COVID 19) Development of an Online Computer Education Quality Assurance Examination Management System in the Situation of the Epidemic of Corona 2019 (COVID 19) ดวงพร สีระวัตร วิชชากร คูหาทอง สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ e mail: duangporn@nsru.ac.th บทคัดย่อ ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ทาให้การดาเนินการ จัดสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ไม่สามารถดาเนินการ สอบได้ปกติ ทาให้นักศึกษาไม่สามารถออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้ ดังนั้น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาจึงได้มีการจัดการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์2019( COVID 19) คุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดีการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นในระบบและอัปเดตข้อมูลผลการสอบไปยังฐานข้อมูลได้ทันทีวิชาชีพในปีการศึกษาจัดการสอบให้กับนักศึกษาที่จคุณภาพฯประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์มาทดแทนการดและพัฒนาระบบการสอบาเนินการจัดสอบประกันรูปแบบเดิมการจัดการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์สามารถาเป็นต้องสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา2564และเตรียมฝึกประสบการณ์2564ได้เจ้าหน้าที่คุมสอบสามารถจัดสอบออนไลน์และบันทึกผลคะแนนการสอบสรุปได้ว่าระบบการสอบประกันคุณภาพช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสอบประกัน คาสาคัญ: ระบบการสอบคอมพิวเตอร์ คลังข้อสอบ

36 Abstract With the epidemic situation of the Coronavirus Disease 2019 (COVID 19), the operation of organizing the computer quality assurance examination of students of Nakhon Sawan Rajabhat University unable to perform the exam normally making students unable to practice professional experience or practice teaching professional experience. Therefore, an online computer education quality assurance exam has been conducted. In the situation of the epidemic of the COVID 19, and developing an online computer education quality assurance examination system to replace the traditional quality assurance examination arrangements, quality assurance examination management online computer education able to manage the exam for students who need to graduate in the academic year 2021 and prepare to practice professional experience in the academic year 2021. Examination officers able to organize online exams and record results in the system and update the results to the database immediately. It can be concluded that the online computer education quality assurance examination system developed greatly improves the efficiency of the computer education quality assurance examination. Keywords: Computer examination system, Question bank

37 บทนา สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เป็นหน่วยงานที่ให้ การสนับสนุนการให้บริการ ด้านการให้บริการวิชาการ การจัดฝึกอบรม การบริการทรัพยากรสารสนเทศ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศต่าง ๆ ทั้งภายในหน่วยงานและภายนอกหน่วยงาน ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ของนัตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ศูนย์การทดสอบวัดความรู้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ให้แก่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์อีกทั้งเป็นเรื่องการสอบประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวกับความรู้กศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด๒๐๑๙( COVID 19) ประกาศ ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 และตามระเบียบ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวกับความรู้ความสามารถด้าน คอมพิวเตอร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2554 ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ข้อ 7 นักศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ทุกคน ต้องเข้ารับการทดสอบวัด ระดับความรู้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ ณ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศก่อนที่นักศึกษาจะ ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จะต้องมีความรู้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ ในระดับการใช้งานเบื้องต้นได้ ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาการจัดการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์ในสถานการณ์การแมหาวิทยาลัยฯการสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์กโดยจะต้องผ่านการทดสอบตามเกณฑ์การทดสอบที่คณะกรรมการดาเนินงานาหนดหากนักศึกษาผู้ใดยังไม่ผ่านการทดสอบดังกล่าวจะไม่อนุญาตให้ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูผู้วิจัยได้วิเคราะห์ถึงปัญหาและกระบวนการดาเนินการจัดสอบจึงได้ดาเนินการพัฒนาระบบพร่ระบาด2019( COVID 19) ขึ้น เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้แก่นักศึกษา และ ผู้ดาเนินการการจัดสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย วัตถุประสงค์ 1. ของมหาวิทยาลัยด้วยความเรียบร้อยราชภัฏนครสวรรค์ในรูปแบบออนไลน์เพื่อพัฒนาระบบการดาเนินการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย2เพื่อให้การดาเนินการจัดสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ดาเนินการตามประกาศ 3 เพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าสอบให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ในรูปแบบออนไลน์

38 ทบทวนวรรณกรรม การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้รวบรวมจากแหล่งข้อมูล ดังนี้ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) รวบรวมจากการดาเนินงานสอบประกันคุณภาพคอมพิวเตอร์เดิม ของกลุ่มงานวิชาการคอมพิวเตอร์2.ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary data) จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ บทความ วารสาร ตารา งานวิจัย เว็บไซต์ เอกสารอ้างอิงต่าง ๆ เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับผู้เชี่ยวชาญจเท่ากับของผู้ใช้งานระบบวิชาสามัญของวิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมาผู้ใช้งานระบบคลังข้อสอบออนไลน์(2)สามัญและพัฒนางานวิจัยที่มีผู้อื่นได้ศึกษามาแล้วที่มีความใกล้เคียงกับการศึกษาครั้งนี้ที่เกี่ยวกับแนวทางการการพัฒนาระบบคลังข้อสอบณัฐพลพานิชการ(2555)ได้ดาเนินการวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบคลังข้อสอบออนไลน์สาหรับวิชาวิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมางานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์(1)เพื่อพัฒนาระบบคลังข้อสอบออนไลน์เพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบคลังข้อสอบออนไลน์และ(3)เพื่อประเมินความความพึงพอใจของระบบถูกพัฒนาขึ้นด้วยการศึกษาระบบงานการวัดผลประเมินผลสาหรับจากการทดลองโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างพบว่าความพึงพอใจจานวน30คนอยู่ในระดับพึงพอใจมากด้วยค่าคะแนนเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน3.97และ0.39ตามลาดับนอกจากนี้ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบซึ่งถูกประเมินโดยานวน3ท่านพบว่าประสิทธิภาพของระบบเฉลี่ยอยู่ในระดับดีด้วยค่าคะแนนเฉลี่ยและค่า4.12และ0.28ตามลาดับจิตรานาปาเลน,อัญชลีสุขในสิทธิ์และมนตาตุลย์เมธาการ (2560) ได้ดาเนินการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบคลังข้อสอบอิเล็กทรอนิกส์ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) ในรูปแบบกระดาษได้เป็นอย่างดีชุดข้อสอบเเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ศรีนครินทรวิโรฒเพื่อพัฒนาและประเมินคุณภาพขอมีความมุ่งหมายเพื่อสารวจความต้องการจาเป็นในการพัฒนาระบบคลังข้อสอบอิเล็กทรอนิกส์งระบบคลังข้อสอบอิเล็กทรอนิกส์ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยประสานมิตร(ฝ่ายมัธยม)จากการพัฒนาระบบคลังข้อสอบอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีการนาพบว่ามีสมรรถนะในการใช้งานสูงระบบมีความสามารถจัดเก็บข้อสอบปรนัยแบบลือกตอบไว้ในฐานข้อมูลผู้สอนสามารถพิมพ์ข้อสอบตามมาตรฐานตัวชี้วัดตามความยากง่ายสามารถเลือกลบและแก้ไขข้อสอบได้สามารถจัดชุดข้อสอบและสามารถเก็บข้อสอบทุกรายวิชาแทนการเก็บ ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน1.การเก็บข้อมูลความต้องการของระบบและการวิเคราะห์ระบบ จากการศึกษาระบบเดิมในการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ พบว่า การบริหาร จัดการการสอบต้องดาเนินการภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เท่านั้นจึงจะสามารถดาเนินการได้ คือ ระบบคลังข้อสอบและระบบสอบ

39 จากการเก็บข้อมูลการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ สรุปได้ว่า การจัดสอบและ กระบวนการเข้าทดสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์มีข้อจากัดต้องดาเนินการ ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 2 ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ (อาคาร 15) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ และในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID 19 ยังไม่สามารถจัดการสอบให้แก่นักศึกษาได้ 2. การพัฒนาระบบ จากการวิเคราะห์ระบบการสอบแบบเดิม พบว่า ควรมีการพัฒนาระบบเพิ่มให้สามารถจัดการสอบ และเข้าทดสอบออนไลน์ได้ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1 ระบบการสอบ มีฟังก์ชันการทางานตามลักษณะการทางานตามสิทธิ์ของผู้ใช้งาน ดังนี้ 1) 1.1ผู้เข้าสอบฟังก์ชันการเข้าใช้งานระบบการสอบ เฉพาะรอบวันที่สมัครสอบเท่านั้น 1.2 ฟังก์ชันการสุ่มชุดข้อสอบจากระบบคลังข้อสอบ ทั้งข้อสอบปรนัยและข้อสอบปฏิบัติ โดยใช้การสุ่มชุดข้อสอบเมื่อผู้เข้าสอบถูกตรวจสอบชื่อเข้าห้องสอบ1.3ฟังก์ชันการดาเนินการสอบของผู้เข้าสอบ โดยสามารถเลือกทาข้อสอบข้อใดก่อน ก็ได้ภายในชุดข้อสอบ1.4 ฟังก์ชันการอัปโหลดไฟล์ Microsoft Word และ Microsoft Excel และแจ้งเตือน สถานะการทาข้อสอบ2)ควบคุมการสอบ2.1ฟังก์ชันตรวจสอบชื่อเข้าสอบ2.2ฟังก์ชันตรวจสอบชื่อขาดสอบ2.3ฟังก์ชันระงับการสมัครสอบ2.4ฟังก์ชันเปิดการอัปโหลดไฟล์2.5ฟังก์ชันปิดการส่งข้อสอบรายบุคคล2.6ฟังก์ชันปิดการส่งข้อสอบทั้งห้องสอบ2.7ฟังก์ชันการตรวจข้อสอบปรนัยและบันทึกผลคะแนนปรนัย2.8ฟังก์ชันการตรวจข้อสอบปฏิบัติสาหรับเจ้าหน้าที่และบันทึกผลคะแนน2.9ฟังก์ชันอัปเดตผลคะแนนไปยังฐานข้อมูลระบบจัดการการสอบเดิม2.10ฟังก์ชันการเรียกดูรายการสอบที่ผ่านมาและออกรายงานผลการสอบ 3. การทดสอบระบบ แอปพลิเคชันระบบเบื้องต้นเมื่อดาเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศเสร็จสิ้นจึงได้ดาเนินการทดสอบระบบการทางานของได้ดาเนินการสร้างรอบการสอบและจาลองการเข้าทดสอบการสอบระบบออนไลน์โดยใช้ Google Meet ร่วมในการควบคุมการทดสอบ โดยประสานกลุ่มงานระบบคอมพิวเตอร์และ

40 เครือข่ายตั้งค่าระบบดังกล่าวให้สามารถใช้งานออนไลน์ และขอความร่วมมือบุคลากรศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร จานวน 13 คน ประกอบด้วยกลุ่มงานระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 5 คน กลุ่มงานพัฒนาระบบสารสนเทศ จานวน 4 คน กลุ่มงานบริการคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 1 คน กลุ่มงาน ผลิตสื่อการเรียนออนไลน์ จานวน 1 คน จาลองเป็นนักศึกษาเข้าทดสอบระบบการสอบออนไลน์ และกลุ่มงาน วิชาการคอมพิวเตอร์ จานวน 2 คน เป็นผู้ควบคุมการสอบ พบว่า เมื่อผู้เข้าทดสอบสอบเสร็จเรียบร้อยแล้วต้อง ดาเนินการตรวจสอบไฟล์ที่เครื่องนักศึกษา การค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ ป้องกันการคัดลอกข้อสอบปรนัยและ ป้องกันการบันทึกไฟล์ข้อสอบผู้พัฒนาระบบจึงดาเนินการป้องกันการคัดลอกข้อความและใช้โปแกรม Quick Assist สาหรับรีโมท ควบคุมคอมพิวเตอร์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์ของนักศึกษา 4. การเปิดใช้งานระบบ ระบบสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2564 และใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน มีผู้เข้าใช้งานระบบสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ผ่าน ระบบออนไลน์แล้ว จานวน 911 คน และมีจานวนการสอบผ่านระบบ ทั้งหมด 1,270 ครั้ง ทั้งนี้เพราะนักศึกษา ที่เข้าสอบสามารถสอบมากกว่า 1 ครั้ง จนกว่าจะสอบผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงทาให้จานวนผู้เข้าใช้งาน ระบบไม่เท่ากับจานวนครั้งของการสอบผ่านระบบ (ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2564 ถึง วันที่ 27 ธันวาคม 2564) ผลการดาเนินงาน อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และการนาไปใช้ประโยชน์ การดาเนินการพัฒนาระบบการสอบประกอบด้วย 2 ระบบ ตามลักษณะการใช้งาน ดังนี้ 1. ระบบคลังข้อสอบสามารถบริหารจัดการข้อมูลข้อสอบปรนัยได้ โดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบสามารถ ลงชื่อเข้าใช้งานระบบคลังข้อสอบโดยใช้ Username และ Password ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อเข้าใช้งานระบบแล้วสามารถเปิด ปิดการใช้งานชุดข้อสอบ และสามารถเปลี่ยนแปลง ข้อสอบที่ใช้ในการสอบได้ แต่ไม่สามารถลบรายการชุดข้อสอบได้ เนื่องจากมีการใช้งานชุดข้อสอบไปแล้ว และ การนาเข้าข้อมูลข้อสอบภาคปฏิบัติ Microsoft Word และ Microsoft Excel สามารถทาได้โดยการอัปโหลด ไฟล์ข้อมูลเข้าสู่ระบบ โดยสามารถนาเข้าระบบได้เฉพาะไฟล์นามสกุล .jpg หรือ .pdf เท่านั้น เพื่อป้องกัน การคัดลอก2. ระบบการสอบ ประกอบด้วยผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสอบ คือ ผู้สอบและผู้คุมสอบ ดังนี้ 2.1 ผู้เข้าสอผู้เข้าสอบบจะสามารถลงชื่อเข้าสอบได้ เมื่อได้รับการตรวจสอบผ่านโปรแกรม Google Meet และ ตรวจสอบชื่อเข้าห้องสอบแล้วเท่านั้น เมื่อทาการตรวจสอบชื่อเข้าห้องสอบโดยเจ้าหน้าที่ควบคุมการสอบแล้ว

41 ระบบจะทาการสุ่มข้อมูลชุดข้อสอบปรนัยและชุดข้อสอบปฏิบัติโดยอัตโนมัติ ผู้เข้าสอบต้องสอบปรนัยทั้งหมด จานวน 30 ข้อ 30 คะแนน หากเลือกคาตอบแล้วให้ผู้เข้าสอบคลิกยืนยันคาตอบรายข้อ หากไม่มั่นใจ ผู้เข้าสอบสามารถคลิกปุ่ม ต่อไป เพื่อข้ามไปทาข้อถัดไปได้ หรือเปลี่ยนคาตอบได้โดยการคลิกลาดับข้อสอบ เปลี่ยนคาตอบและกดยืนยันและเมื่อดาเนินการทาข้อสอบปรนัยเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้เข้าสอบต้องคลิกที่ปุ่ม “ส่งข้อสอบ” เพื่อยืนยันการส่งข้อสอบ ระบบจะทาการแจ้งเตือนแก่ผู้เข้าสอบอีกครั้ง โดยจะแสดงสถานะ จานวนข้อสอบทั้งหมด และจานวนข้อสอบที่ดาเนินการทาไปแล้วของผู้เข้าสอบ หากผู้เข้าสอบตรวจสอบและ ยอมรับการส่ง ตามรูปแบบของไฟล์จึงยืนยันการส่งข้อสอบปรนัยเมื่อผู้เข้าสอบดาเนินการสอบภาคปฏิบัติเสร็จสิ้นแล้วให้ดาเนินการอัปโหลดไฟล์เข้าสู่ระบบในส่วนของการอัปโหลดไฟล์ Microsoft Word และ Microsoft Excel โดยระบบ จะดาเนินการเปลี่ยนชื่อไฟล์ให้อยู่ในรูปแบบ รหัสนักศึกษา รูปแบบไฟล์ รหัสการสอบ เมื่ออัปโหลดแล้ว โดยอัตโนมัติหลังจากดาเนินการสอบเสร็จสิ้นทั้งหมดแล้ว หรือต้องการส่งผลการสอบแล้ว ผู้เข้าสอบสามารถ คลิกปุ่ม “ยืนยันการส่งข้อสอบ” ระบบจะแสดงสถานะรายการการดาเนินการสอบทั้งหมดแก่ผู้เข้าสอบอีกครั้ง หากผู้เข้าสอบคลิก “ยืนยันการส่งข้อสอบ” จะไม่สามารถกลับมาแก้ไขรายการได้อีก และถือ ว่าเป็นการยอมรับการส่งข้อสอบ ถึงแม้ผู้เข้าสอบจะไม่ได้ดาเนินการส่งไฟล์ภาคปฏิบัติก็ตามเมื่อ “ยืนยันการส่ง ข้อสอบ” เรียบร้อยแล้ว ระบบจะแสดงตารางสถานะการส่งอีกครั้ง เป็นการเสร็จสิ้นกระบวนการสอบทั้งหมด สามารถออกรายงานเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการสอบแต่ละรอบได้ภาคปฏิบัติได้ภาคปฏิบัติของนักศึกษาเพื่อตรวจและให้คะแนนการสอบผ่านระบบการตรวจข้อสอบปรนัยและที่ต้องการตรวจข้อสอบสามารถบังคับการส่งข้อสอบรายบุคคลและทั้งห้องสอบเมื่อหมดเวลาสอบข้อสอบปฏิบัติเพื่อแสดงสถานะการสอบเมื่อผู้เข้าสอบยืนยันการส่งข้อสอบการสอบสามารถติดตามการสอบของแต่ละผู้เข้าสอบแต่ละคนได้โดยอัตโนมัติหลักฐานที่ผู้เข้าสอบแสดงแล้วการจ่ายเงินผ่านระบบหลังจากนั้นผู้เข้าสอบจะแจ้งผู้คุมสอบในการตรวจสอบไฟล์2.2ผู้ควบคุมการสอบในการดาเนินการสอบสาหรับผู้ควบคุมการสอบสามารถตรวจสอบสถานะการเข้าห้องสอบโดยระบบจะปรากฏรายละเอียดของผู้เข้าสอบได้แก่เลขที่นั่งสอบรูปชื่อนามสกุลสถานะวันที่จ่ายเงินหากผู้ควบคุมการสอบตรวจสอบแล้วว่าถูกต้องตามเกณฑ์การสอบและตรงกับจึงทาการยืนยันการเข้าสอบระบบจะดาเนินการสุ่มชุดข้อสอบให้ผู้เข้าสอบและแสดงรายการชุดข้อสอบที่ผู้เข้าสอบได้รับและเมื่อผู้เข้าสอบดาเนินการสอบแล้วผู้ควบคุมโดยหน้าจอจะโหลดหน้าใหม่ทุก30วินาทีทั้งการยืนยันการส่งข้อสอบปรนัยและการส่งผู้ควบคุมการสอบหรือเจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบชื่อขาดสอบและระงับการสมัครสอบผู้ตรวจข้อสอบเลือกรายการระบบจะแสดงรายชื่อของผู้ที่เข้าสอบในรอบการสอบนั้นระบบจะทาการตรวจข้อสอบบันทึกคะแนนปรนัยอัตโนมัติส่วนของการตรวจข้อสอบภาคปฏิบัติสามารถดาวน์โหลดไฟล์และบันทึกผลการสอบเมื่อดาเนินการตรวจเสร็จสิ้นแล้วสามารถอัปเดตข้อมูลผลการสอบไปยังระบบฐานข้อมูลระบบโดยจะสรุปจานวนผู้เข้าสอบขาดสอบและ

42 สรุปผลการสอบ สามารถค้นหารายการสอบที่ผ่านมาแล้วได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ระบบยังสามารถออกรายงาน ด้านคอมพิวเตอร์การระงับการสมัครสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์จากการขาดสอบจากผลการประเมินระดับความคิดเห็นต่อการให้บริการเกี่ยวกับการสอบประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์จานวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น319คนอยู่ในระดับมาก ตารางที่ 2 ระดับความคิดเห็นที่มีต่อการสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ออนไลน์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์จาแนกเป็นรายด้าน หัวข้อการประเมิน ผลการประเมิน ค่าเฉลี่ย X ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S.D.) ระดับ ด้านขั้นตอนกระบวนการ 1. การเข้าใช้งานการสอบรูปแบบออนไลน์ (การระบุข้อมูลผู้ใช้ และรหัสผ่าน) 4.30 0.78 มาก 2. ระบบมีขั้นตอนการทางานเป็นลาดับและเข้าใจง่าย 4.60 0.49 มากที่สุด 3. มีการจัดระบบข้อมูลเป็นหมวดหมู่ 3.49 0.53 มาก 4. การแก้ไขปัญหาระหว่างการสอบ (กรณีเกิดปัญหาด้านอินเทอร์เน็ต ไฟดับ ฯลฯ) 4.60 0.49 มากที่สุด ด้านการจัดสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ (ออนไลน์) 5. จานวนตารางสอบเพียงพอต่อความต้องการสอบของนักศึกษา 4.43 0.82 มาก 6. ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาความสะดวกในการสอบรูปแบบออนไลน์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด2019( COVID 19) 4.42 0.73 มาก 7. ความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดสอบรูปแบบออนไลน์ 4.59 0.50 มากที่สุด ด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัย 8 การจัดเก็บข้อมูลมีความปลอดภัย 4.40 0.67 มาก 9 สามารถรองรับการใช้งานกับอุปกรณ์ และระบบปฏิบัติการบนเครื่อง Smart phone, Tablet หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ 4.40 0.80 มาก 10 การตรวจสอบ การค้นหาและติดตามผลสอบ 4.30 0.78 มาก ด้านความพึงพอใจต่อคุณภาพการใช้งาน 11 ระบบตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ดี 4.22 0.66 มาก 12. มีประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้เสีย 4.40 0.67 มาก ภาพรวม 4.43 0.68 มาก

43 สรุปผล สรุปได้ว่า คุณภาพด้านคอมพิวเตอร์การศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ในรูปแบบปกติตามวัตถุประสงค์ที่กการพัฒนาระบบการสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ด้านออนไลน์ขึ้นมานั้นเป็นไปาหนดไว้คือ1.ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถทดแทนการดาเนินงานเดิมของการสอบประกันคุณภาพจึงจาเป็นต้องจัดสอบประกันในรูปแบบออนไลน์ช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID 19 การศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์อยู่ในระดับมากสอบประกันคุณภาพคอมพิวเตอร์ด้านคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์ประสบการณ์วิชาชีคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ต่อนักศึกษาที่จสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบออนไลน์สามารถตอบสนองความต้องการในการสอบประกันและการจัดาเป็นต้องสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา2564และเตรียมตัวฝึกพในปีการศึกษา2564ได้เป็นอย่างดี2การศึกษาผลต่อความพึงพอใจในการใช้งานระบบการสอบประกันคุณภาพการศึกษาด้านทั้ง5ด้านได้แก่ด้านขั้นตอนกระบวนการด้านการจัดสอบประกันคุณภาพ(ออนไลน์)ด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยและด้านความพึงพอใจในการใช้งานระบบสรุปได้ว่าความพึงพอใจในการใช้งานระบบการสอบประกันคุณภาพ รายการอ้างอิง จิตรา นาปาเลน, อัญชลี สุขในสิทธิ์ และ มนตา ตุลย์เมธาการ. (2560) การพัฒนาระบบคลังข้อสอบ อิเล็กทรอนิกส์ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 “ราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรม ที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0” (Creative RMUT and Sustainable Innovation for Thailand 4.0) (น.1025 1035). มปท.: มปพ. ณัฐพล พานิชการ. (2555). การพัฒนาระบบคลังข้อสอบออนไลน์สาหรับวิชาสามัญ วิทยาลัยอาชีวศึกษา นครราชสีมา (ออนไลน์). (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน นครราชสีมา. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. (2564). ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เรื่อง ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาการศึกษาเกี่ยวกับความรู้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์การประกันคุณภาพ2019 (COVID 19) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. (2554). พ.ศ.การศึกษาเกี่ยวกับความรู้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ว่าด้วยการประกันคุณภาพ2554

44 การพัฒนาระบบฟอร์มออนไลน์ Development of Form Online ภูวิช กันทะยศ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง e mail: puwichkuntayos@g.lpru.ac.th บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทาแบบฟอร์ม QP ต่าง ๆ ให้ทุกแบบฟอร์มอยู่ในรูปแบบ Web Application เพื่อสะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งจะสามารถลดความผิดพลาดในการทางาน ลดการใช้งาน เอกสารด้วยกระดาษและลดขั้นตอนการทางานให้น้อยที่สุด ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการแบบฟอร์ม QP ในสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง โดยใช้กรอบการพัฒนาตามทฤษฎี วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) ข้อค้นพบจากการศึกษาวิจัย พบว่า การพัฒนาระบบฟอร์มออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นโดยใช้ภาษา PHP เป็นภาษาหลักในการพัฒนาร่วมกับภาษา JavaScript เพื่อให้ระบบ มีการ ตอบสนองกับผู้ใช้งานได้ดีขึ้นรวมถึงใช้ My SQL Server เป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาระบบ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ผู้ใช้งานต้องทาการลงทะเบียนผ่านระบบ Single Sign On 2) ผู้ใช้งานต้อง ทาการเลือกฟอร์ม QP ที่ต้องการใช้งาน 3) ผู้ใช้งานต้องทาการกรอกแบบฟอร์มให้ครบถ้วนและส่งคาร้องขอ 4) ผู้ดูแลในฟอร์ม นั้น ๆ รับเรื่องดาเนินการและแจ้งผลกลับ ระบบจึงสามารถเก็บข้อมูลทางสถิติในการใช้งาน ของแต่ละฟอร์มและข้อมูลต่าง ๆ ไม่เกิดการสูญหายระหว่างทาง และควรพัฒนาต่อในการจัดการแบบฟอร์ม QP ของหน่วยงานอื่น ๆ ภายในมหาวิทยาลัย คาสาคัญ: ระบบสารสนเทศ ฟอร์มออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

45 Abstract This research aims to prepare various QP forms so that all forms are in web application format for ease of use. This can reduce errors in the work, reduce the use of paper documents and reduce the work process to a minimum. Information system to manage QP forms in Academic Resources and Information Technology of Lampang Rajabhat University. This was done by using a development framework based on the System Development Life Cycle (SDLC) theory Research findings found that the development of online form systems Academic Resources and Information Technology of Lampang Rajabhat University was a system developed using PHP as the main language, developed in conjunction with JavaScript to provide the system with better user responsiveness, including My SQL Server as a database in the development of the system consists of 4 steps; 1) user must register via Single Sign On system, 2) user must select the QP form that he wants to use, 3) user must complete the form and submit a request, and 4) staff who take care of the form, get the action and notify the result back. The system is therefore able to collect statistical data on the usage of each form and any data will not be lost along the way and should further develop the QP form of other departments within the university
Keywords: Information system, Online form, Academic Resources and Information Technology, Lampang Rajabhat University

46 บทนา เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการทางาน ซึ่งสามารถใช้ในการจัดการ บริหารงานได้เป็นอย่างดี สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเล็งเห็นว่าการจัดการเอกสาร ในรูปแบบ Electronic Document เป็นตัวช่วยในการทางานที่ดีและยังลดการสิ้นเปลืองทรัพยากรต่าง ๆ ในการทางาน หากนาระบบ Single Sign On (ระบบระบุตัวตนผ่านเครื่อข่ายภายใน) ซึ่งมีอยู่แล้วจะสามารถ ลดความผิดพลาดและเวลาของการใช้งาน แบบฟอร์ม QP ต่าง ๆ ได้ ระบบฟอร์มออนไลน์ (Form Online System) เป็นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการ แบบฟอร์ม QP ต่าง ๆ ซึ่งสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ทาการปรับรูปแบบเดิม ซึ่งให้ผู้ขอใช้ บริการกรอกแบบฟอร์ม QP ในกระดาษเพื่อทาการร้องขอในกิจกรรม ๆ นั้น ๆ ยกตัวอย่างเช่น ใบแจ้งซ่อม ใบจองห้องประชุม และ ใบขอยืมวัสดุอุปกรณ์ ซึ่งผู้ใช้งานต้องทาการยื่นเอกสาร ณ จุดให้บริการ จึงได้เล็งเห็น ต่อไปโดยการพัฒนาและนการดประโยชน์ที่สผลสัมฤทธิ์ความคุ้มค่าและการลดขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันอีกทั้งยังเป็นการเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรอีกประการหนึ่งสามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ง่ายและยังมีการเก็บข้อมูลเพื่อนว่าระบบฟอร์มออนไลน์สามารถลดระยะเวลาและยังไม่ทาให้เกิดการสูญหายของเอกสารในระหว่างทางได้าไปใช้ในทางรายงานแบบสถิติได้สิ่งสาคัญบุคลากรทุกคนสามารถยื่นแบบฟอร์มได้ทุกสถานที่ทุกเวลาที่มีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเพิ่มมาตรฐานการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพทันสมัยและเป็นการสอดคล้องกับการบริหารราชการแนวทางใหม่ที่มุ่งเน้นจากแนวคิดเหตุผลดังที่กล่าวมาข้างต้นและความสาคัญของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศจะได้รับจึงเห็นสมควรวางฟอร์มออนไลน์ให้เป็นาเนินงานที่ีมีระบบมีความรวดเร็วมีประสิทธิภาพและลดการใช้กระดาษในการปฏิบัติงานเอกสาราฟอร์มออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสานักและมหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ 1. แม่นยอย่างถูกต้องชัดเจนเพื่อพัฒนาระบบการใช้งานเอกสารให้อยู่ในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชันและระบุตัวตนผู้ใช้งาน2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานและการติดต่อสื่อสารจากหน่วยงานอื่นให้มีความรวดเร็วาลดขั้นตอนการทางานลดความผิดพลาดและสะดวกต่อการทางาน3.เพื่อลดการใช้เอกสารในรูปแบบกระดาษ 4 รูปทุกแบบฟอร์มมาอยู่ในจุด ๆ เดียวเพื่อลดขั้นตอนและง่ายต่อการสืบค้นต่าง ๆ

47 ทบทวนวรรณกรรม รุ่งทิพย์ โคบาล (2551) กล่าวในการนาเสนอผลิตภัณฑ์สาหรับผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดย่อม ด้วยคอมพิวเตอร์กราฟิก 3 มิติผ่านเว็บไซต์ ว่า ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อมมีความพึงพอใจโดยรวม ทุกด้านในระดับมาก ( X = 3 99, S D. = 0 49) มีความพึงพอใจต่อการพัฒนาหน้า Gallery ในระดับมากที่สุด ( X = 4 26, S D. = 0 64) ผลการศึกษาและการประเมินประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาเว็บไซต์ และระบบงานจานวน 5 คน พบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพของการพัฒนาเว็บไซต์ รวมทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4 47, S D. = 0 25) สาหรับระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพ มีค่าระดับประสิทธิภาพสูงสุด ได้แก่ ด้านการประมวลผลข้อมูล ( X = 4 60, S D. = 0 29) ผู้ตอบแบบสอบถาม ออนไลน์มีความพึงพอใจโดยรวมทุกด้านในระดับมาก ( X = 3 57, S D. = 0 68) มีความพึงพอใจต่อการใช้งาน ด้านการจัดวางตาแหน่งของภาพ 2 มิติมีความเหมาะสมในระดับมาก ( X = 3.68, S.D. = 0.88) มีค่าใช้จ่ายที่สูงครุภัณฑ์นั้นเป็นระบบที่หน่วยงานเกือบทุกหน่วยงานต้องมีให้บริการมากที่สุดผลการประเมินประสิทธิภาพและความพึงพอใจต่อการใช้งานเว็บไซต์ทุกกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมากและสรุปได้ว่าอดิศักดิ์พวงสมบัติ(2555)กล่าวในระบบยืมคืนครุภัณฑ์ด้วยบาร์โค้ดสองมิติว่าระบบยืมคืนในการลงทุนทาระบบครั้งแรกนั้นหน่วยการเรียนรู้ทางการพยาบาลคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่( NLU) เป็นหนึ่งในหน่วยงานที่มีความต้องการในการจัดทาาระบบยืม คืนครุภัณฑ์ขึ้นมาใหม่ ข้อมูลแทนเครื่องอ่านบาร์บาร์โค้ดสองมิติแทนบาร์โค้ดรูปแบบเดิมในการจัดเก็บข้อมูลเลขครุภัณฑ์ความผิดพลาดสูงครุภัณฑ์แต่ละครั้งเพื่อทดแทนระบบงานเดิมที่ใช้การจดบันทึกด้วยมือและจัดเก็บในรูปแบบเอกสารเท่านั้นด้วยงบประมาณที่จากัดเมื่อมีการยืมคืนการบันทึกหรือแก้ไขข้อมูลทาได้ไม่สะดวกการค้นหาทาได้ยากต้องใช้เวลานานและมีในงานวิจัยนี้ได้นาเสนอระบบยืมคืนครุภัณฑ์ที่พัฒนาในรูปแบบของเว็บแอปพลิเคชันโดยใช้ใช้กล้องเว็บแคมเมราในการอ่านโค้ดแบบเดิมออกแบบระบบด้วยยูเอ็มแอล( UML) ใช้โปรแกรมไมโครซอฟท์วิชชวล สตูดิโอดอทเน็ท 2008 (Microsoft Visual Studio NET 2008) ในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน ใช้โปรแกรม ไมโครซอฟต์เอสคิวแอลเซิร์ฟเวอร์ 2008 (Microsoft SQL Server 2008) ในการจัดการฐานข้อมูล โดยใช้ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบจาลองน้าตก (Waterfall Model) เป็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อให้ การพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นไปตามมาตรฐานกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ TQS 12207 จากผลการทดสอบระบบ ในการใช้งาน พบว่า ระบบที่พัฒนาขึ้นนั้นช่วยทาให้การยืม คืนครุภัณฑ์เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว สะดวก มีความถูกต้องของข้อมูลมากขึ้น และสามารถนาไปใช้งานได้จริงในการยืม คืนครุภัณฑ์ของหน่วยการเรียนรู้ ทางการพยาบาล

48 นันท์นภัส สุจิมา (2556) กล่าวใน การพัฒนาและประชาสัมพันธ์ฐานข้อมูลและเว็บไซต์การท่องเที่ยว เชิงบาเพ็ญประโยชน์ของภาคเหนือตอนบน ว่า การศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการ สารวจข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์โดยการสอบถามโดยตรงกับแหล่งท่องเที่ยวเชิงบาเพ็ญประโยชน์ เป้าหมาย ด้านพื้นที่ คือ แหล่งท่องเที่ยวเชิงบาเพ็ญประโยชน์ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) องค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวโดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ผ่านเกณฑ์( 5A’s) จากข้อมูลที่ได้นามาออกแบบ ความสัมพันธ์ของข้อมูล โดยใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (Entity Relationship Diagram: E R Diagram) เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลและจัดทาเว็บไซต์ โดยเว็บไซต์แหล่งท่องเที่ยวเชิงบาเพ็ญประโยชน์ของ ภาคเหนือตอนบน พัฒนาขึ้นโดยใช้ภาษาพีเอชพี และสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ด้วยระบบจัดการฐานข้อมูล มายเอสคิวแอล (MySQL) อีกทั้งโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสมทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อ ออนไลน์นัฐพงศ์ ส่งเนียม และ คนอื่น ๆ (2559) กล่าวใน การพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับศาสนสถาน ว่า การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับศาสนสถานและพัฒนาเว็บไซต์ โดยผู้วิจัย ได้ดาเนินการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานทาการวิเคราะห์งานปัจจุบัน ดาเนินการ ออกแบบระบบให้มีความเหมาะสม สร้างระบบสารสนเทศตามที่ออกแบบไว้ จากนั้นนาเอาระบบสารสนเทศ ไปทดสอบและประเมินผลระบบ และผลจาการประเมินจากกลุ่มตัวอย่างพระภิกษุสงฆ์ จานวน 15 รูป พบว่า 1) ความพึงพอใจในภาพรวมต่อระบบสารสนเทศที่สร้างขึ้นอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.63) 2) มีความพึงพอใจต่อการทางานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.69) 3) มีความพึงพอใจด้านความง่ายต่อการใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.65) และ 4) มีความพึงพอใจ ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4 75) ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ได้ดาเนินการวิจัยตามขั้นตอนการพัฒนา ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ (Analysis) ได้แก่ 1) การศึกษาและวิเคราะห์ระบบงานโครงสร้างและรูปแบบ การทางานเดิม ของแบบฟอร์มต่าง ๆ 2) การวิเคราะห์ระบบงานและกาหนดปัญหา เช่น การหาแบบฟอร์ม เพื่อดาวน์โหลด ปัญหาขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3) การวิเคราะห์ความต้องการระบบฟอร์มออนไลน์ สานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง โดยมีผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ธุรการ บุคลากรประจาสานัก และผู้บริหาร 4) การกาหนดขอบเขตและหน้าที่ของผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับระบบฟอร์ม ออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

49 ผู้ใช้งานจากหน่วยงานอื่น (บุคลากรและนักศึกษา) ผู้ดูแลระบบ (เจ้าหน้าที่รับผิดชอบฟอร์ม) ผู้บริหารของ ระบบฟอร์มนั้น 2 การออกแบบ (Design) ผู้วิจัยดาเนินการออกแบบระบบแบบฟอร์มออนไลน์ สานักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (Transaction processing systems) ที่มุ่งเน้นที่กระบวนการบันทึก และประมวลข้อมูลที่เกิดจากการกรอก แบบฟอร์ม เช่น การจองห้องประชุม การแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และการยืมวัสดุอุปกรณ์ มีการประมวล ข้อมูลโดยระบบออนไลน์ (Online processing) ทั้งนี้ข้อมูลจะได้รับการประมวลผล และทาให้เป็นผลลัพธ์ ทันทีที่มีการป้อนข้อมูลของธุรกรรมที่เกิดขึ้น โดยมีบริบทของระบบใหม่ และกระแสข้อมูล ดังนี้ 2.1 แผนภาพบริบทของระบบใหม่ (Context Diagram) การออกแบบระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง เพื่อให้ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้ ผู้วิจัยได้นาข้อมูลจากผลการวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการของผู้ใช้มาช่วยใน การออกแบบ ระบบใหม่ ภาพที่ 1 แผนภาพบริบท (Context Diagram)


50 2.2 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD) การออกแบบแผนภาพกระแสข้อมูล แสดงให้เห็นภาพการไหลของข้อมูลและการประมวลผลต่าง ๆ ในระบบสัมพันธ์กับแหล่งที่ใช้เก็บข้อมูลของ ระบบฟอร์มออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ภาพที่ 2 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram)


51 ภาพที่ 3 แสดงการออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) 3. การพัฒนา (Development) 3.1 การตัดสินใจเลือกคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การพัฒนาระบบสารสนเทศนี้ จาเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ จานวน 1 เครื่อง ซึ่งมีระบบฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ (Software) ดังนี้ 3.1.1 ระบบฮาร์ดแวร์ (Hardware) ประกอบด้วย 3.1.1.1 มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) เป็นแบบความเร็ว 2.67 GHz 3.1.1.2 มีหน่วยความจาสารอง (RAM) 4.00 GB 3.1.1.3 ขนาดฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เท่ากับ 1 TB 3.1.1.4 จอภาพแสดงผล (Monitor) ขนาด 17 นิ้ว 3 1 2 ระบบซอฟต์แวร์ (Software) ประกอบด้วย 3 1 2 1 ระบบปฏิบัติการ (Operating system) Windows 10 3.1.2.2 โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล My SQL Server 3.2 ออกแบบความปลอดภัยของระบบ เป็นการล็อกอินเข้าสู่ระบบงาน โดยผู้ใช้จะต้องกรอกชื่อ ผู้ใช้งาน และรหัสผ่านจึงสามารถเข้าสู่ระบบงานได้ 3 3 เลือกภาษาที่ใช้สาหรับการเขียนระบบที่เหมาะสม 3 4 ออกแบบฟอร์มนาข้อมูลเข้า ทารายงาน และการแสดงผลบนจอภาพ


52 3 5 ผู้ใช้ฝ่ายบริหารและนักวิเคราะห์ระบบ ทบทวน เอกสารข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ เพื่อความถูกต้องและสมบูรณ์แบบของระบบ4.การทดสอบ( Testing) 4.1 ดูแลการเตรียมสถานที่และติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อทดสอบโดยผู้พัฒนาระบบและ ผู้เชี่ยวชาญ 4.2 วางแผนและดูแลการเขียนระบบ รวมถึงการทดสอบระบบ การทดสอบ คุณภาพระบบ ดาเนินการ 2 ส่วน ได้แก่ 1) ทดสอบโดยผู้พัฒนาระบบและผู้เชี่ยวชาญ 2) ทดสอบ โดยผู้ใช้ระบบ 4.3 ผู้วิจัยเขียนและทดสอบระบบ หรือแก้ไขระบบ ทดสอบโดย ผู้พัฒนาระบบและผู้เชี่ยวชาญ 4.4 ทดสอบระบบที่พัฒนาตรงตามต้องการของผู้ใช้งาน 4.5 ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของระบบที่พัฒนาขึ้น อภิปรายผล จากการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบฟอร์มออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง มีประเด็นสาคัญที่สามารถนามาอภิปรายผลได้ ดังนี้ ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับ งานวิจัยของกีรติ พุทธารักษา (2556) ที่ศึกษาเรื่องการจัดทาฐานข้อมูลจัดเก็บข้อมูลสินทรัพย์ ศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ พบว่า ของระบบสารสนเทศที่ดีประการหนึ่งความปลอดภัยในระดับสูงเพื่อป้องกันการขัดแย้งของข้อมูลข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลได้ถูกจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นจุดศูนย์กลางอีกทั้งข้อมูลยังมีการกาหนดสิทธิการเข้าถึงอย่างเป็นระบบทาให้มีและสอดคล้องกับแนวคิดของจิตติมาเทียมบุญประเสริฐ(2544)ที่ระบุคุณสมบัติคือต้องมีความปลอดภัย( Secure) ของข้อมูล และสรุปผลได้อย่าง รวดเร็วทันต่อความต้องการของผู้ใช้ด้านการทางานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ อยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ กัญญาภัทร จิตมาตย์ (2555) ที่ศึกษาเรื่องพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานพัสดุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสาหรับ วิทยาลัยการอาชีพธาตุพนม ซึ่งสอดคล้องกันในด้านการจัดเก็บข้อมูล การทารายการเพิ่มข้อมูล การทารายการ ปรับปรุงข้อมูลลงในระบบที่ผู้ใช้ระบบเห็นว่าเหมาะสมมาก ทาให้ผู้ใช้ในแต่ละคณะวิชาและฝ่ายสนับสนุน วิชาการเกิดความเข้าใจในตัวระบบ สามารถที่จะบันทึกข้อมูล แก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลได้อย่างสะดวก ส่งผลให้ ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในระบบมีความถูกต้อง ชัดเจน เป็นปัจจุบัน

53 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับ งานวิจัยของอุบล ธงสถาพรวัฒนา (2555) ที่ศึกษาเรื่อง พัฒนาระบบการบริหารจัดการครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ กรณีสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ มีข้อค้นพบในทิศทางเดียวกัน คือ การประมวลผลของระบบสารสนเทศ ด้านการจัดการคุณภาพที่เหมาะสมนั้น ควรมีการประมวลผลที่รวดเร็วแม่นยาถูกต้อง มีการรายงาน ผลที่มีรูปแบบชัดเจน สามารถระบุเงื่อนไขการรายงานผลตามความต้องการของผู้ใช้ อันจะส่งผลให้ข้อมูล มีความน่าเชื่อถือ รวมไปถึงการกนั้นควรประกอบไปด้วยความง่ายในการใช้งานและการใช้เมนูต่างราชภัฏมหาสารคามของฝ่ายสนับสนุนวิชาการต่อไปและนาไปต่อยอดวิเคราะห์การบริหารจัดการทะเบียนทรัพย์สินในแต่ละคณะวิชาและด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบอยู่ในระดับมากที่สุดผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยณัฐพงษ์พันธุ์มณี(2549)ที่ศึกษาเรื่องพัฒนาโปรแกรมการบริหารพัสดุสาหรับหน่วยงานในมหาวิทยาลัยที่ให้ข้อสรุปตรงกันว่าการออกแบบโปรแกรมสารสนเทศด้านการจัดการพัสดุทรัพย์สินที่ดีๆการจัดหมวดหมู่ของข้อมูลที่ชัดเจนาหนดขนาดของตัวอักษรภาพเป็นต้น ข้อเสนอแนะ ควรสารวจการดาเนินงานของหน่วยงานอื่น ๆ ภายในมหาวิทยาลัยว่า การทางานยังคงใช้การจัดเก็บ ข้อมูลหนังสือแบบปกติ (Manual) กี่หน่วยงาน และสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศควรเผยแพร่ พร้อมจัดการอบรมการใช้งานโปรแกรมที่พัฒนานี้ให้หน่วยงานอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยนาไปใช้งาน ซึ่งจะช่วยลด ขั้นตอนในการทางาน และงบประมาณของมหาวิทยาลัยลงได้ การนาไปใช้ประโยชน์ จากการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 2 ประเด็น ดังนี้ 1. บุคลากร/นักศึกษา ผู้ใช้งานสามารถใช้งานได้ทันทีไม่ต้องนาเอกสารแบบฟอร์มไปยื่นด้วยตัวเอง 2. เจ้าหน้าที่รับผิดชอบแบบฟอร์มนั้น ผู้ปฏิบัติงานได้รับการแจ้งเตือนและสามารถตรวจสอบข้อมูล เพื่อทาการดาเนินการได้ทันที3.ผู้บริหารสามารถดูรายงานต่าง ๆ รวมถึงสถิติการใช้งานของแต่ละแบบฟอร์มได้ และสามารถ อนุมัติแบบฟอร์มได้ทันที

54 สรุปผลการวิจัย 1. การพัฒนาระบบฟอร์มออนไลน์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ราชภัฏลาปาง จากกรอบแนวคิดการวิจัย คณะผู้วิจัยได้พัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สานักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง โดยการพัฒนาระบบประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การลงทะเบียนผ่านเข้าใช้งานผ่านระบบ Single Sign On ของมหาวิทยาลัย 2) เลือกฟอร์ม QP 3) กรอกแบบฟอร์มและส่งคาร้องขอ 4) รับเรื่องดาเนินการและแจ้งผลกลับ ซึ่งมี User Interface ดังนี้ ภาพที่ 1 แสดงส่วนของฟอร์มลงชื่อเข้าใช้ผ่านระบบ Single Sign On ภาพที่ 2 ค้นหาฟอร์มที่ต้องการใช้งาน



55 ภาพที่ 3 ตัวอย่างฟอร์มการขอใช้บริการอุปกรณ์ ภาพที่ 4 ตัวอย่างการใช้งานฟอร์มการขอใช้บริการอุปกรณ์



56 ภาพที่ 5 ประวัติการใช้งานฟอร์มต่าง ๆ พร้อมแสดงสถานะและการสืบค้นได้ ภาพที่ 6 ระบบหลังบ้านแสดงการร้องของานจากผู้ใช้งาน



57 ภาพที่ 7 การอนุมัติฟอร์ม 2. การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจในการใช้ระบบฟอร์มออนไลน์ สานักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ผู้วิจัยได้จัดทาแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน โดยแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 5 ระดับ และมี เกณฑ์การแปลผลดังนี้ (Best, 1986) ค่าเฉลี่ย 4 51 5 00 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3 51 4 50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2 51 3 50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1 51 2 50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1 00 1 50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด ตารางที่ 1 ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการวัสดุสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ความพึงพอใจ ค่าระดับคะแนนเฉลี่ย มาตราฐานเบี่ยงเบนส่วน การแปลผล อันดับ ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบด้าด้านการทด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบางานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบนความง่ายต่อการใช้งานระบบ 4.72 4 63 4 60 4 77 0.45 0 50 0 52 0 44 มากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุด 1432 รวม 4 68 0 48 มากที่สุด


58 จากตารางที่ 1 พบว่า ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ในระดับมากที่สุด ( X = 4 68, S D = 0 48) โดยเรื่องที่กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจมากที่สุด 3 เรื่อง ได้แก่ 1) ด้านการรักษา ความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ ( X = 4 77, S D = 0 44) 2) ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ ( X = 4 72, S D = 0 45) และ 3) ด้านการทางานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ ( X = 4 63, S D = 0 50) รายการอ้างอิง กีรติ พุทธารักษา. (2556). การจัดทาฐานข้อมูลจัดเก็บข้อมูลสินทรัพย์ศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์. (วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. กรุงเทพฯ. กัญญาภัทร จิตมาตย์. (2555). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานพัสดุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสาหรับวิทยาลัย การอาชีพธาตุพนม (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อุบลราชธานี. จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ. (2544). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. ณัฐพงษ์ พันธุ์มณี. (2549). การพัฒนาโปรแกรมการบริหารพัสดุสาหรับหน่วยงานในสถาบันราชภัฏ มหาสารคาม. มหาสารคาม: สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม. นัฐพงศ์ ส่งเนียม และ คนอื่น ๆ. (2559). การพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับศาสนสถาน. วารสารวิจัยราชภัฏ พระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(1) นันท์นภัส สุจิมา (2556) ประโยชน์ของภาคเหนือตอนบนการพัฒนาและประชาสัมพันธ์ฐานข้อมูลและเว็บไซต์การท่องเที่ยวเชิงบาเพ็ญ วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น FEU Academic Review, 7(1) รุ่งทิพย์ โคบาล (2551) การนาเสนอผลิตภัณฑ์สาหรับผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดย่อมด้วยคอมพิวเตอร์กราฟิก 3 มิติผ่านเว็บไซต์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. อดิศักดิ์ พวงสมบัติ. (2555). ระบบยืม คืนครุภัณฑ์ด้วยบาร์โค้ดสองมิติ เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555. อุบล ธงสถาพรวัฒนา. (2555). ระบบการบริหารจัดการครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยี ป้องกันประเทศ. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กรุงเทพฯ โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2554). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. Best, J W. (1986). Research in education New Jersey: Prentice Hall

59 การพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยี Block Chain The Development of Data Storage Model for Digital Literacy Test of Student with Block Chain Technology ชลัช แย้มชื่น และ สุวิชา ชัยวรรณธรรม สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ชุมพลแพร่น่าน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปฐมพงศ์ อยู่จานงค์ และ ประภาพร วิชยศาสตรา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ e mail: charach@uru.ac.th, swicha.cha@uru.ac.th, chumpon.p@uru.ac.th, pk.patompong@uru.ac.th, prapaporn.vic@uru.ac.th บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) เพื่อทาการพัฒนา แบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยี Block Chain ร่วมกับทาการประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลองที่ได้พัฒนาขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อแนวทาง ในการได้ต้นแบบเพื่อการนาไปพัฒนาตามกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา ตามตัวบ่งชี้องค์ประกอบที่ 1 การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะและระดับสถาบัน ตัวชี้วัดที่ 1.7 การส่งเสริมสมรรถนะและ ด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีทักษะดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์โดยผลการประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะ Block Chain โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบ พบว่า การประเมิน ประสิทธิภาพของแบบจาลอง โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.39) คาสาคัญ: การพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูล การทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล เทคโนโลยี บล็อกเชน

60 Abstract

Keywords:
The objective of this research is to develop a model for collecting data of students' digital competency and skills test results. With the Block Chain technology together with the performance evaluation of the developed model. This is for the benefit of the guidelines for obtaining a model for development in accordance with the educational quality assurance process. According to component indicator 1 , internal educational quality assessment at faculty and institutional levels, indicator 1.7: promotion of digital competency and skills of Uttaradit Rajabhat University Students. The results of the evaluation of the model's performance of data storage of students' competency and digital skills testing with Block Chain technology by system development experts found that the model's performance assessment overall, it's in a very good level. ( X = 4.39) Data storage model, Digital literacy test, Block Chain technology
61 บทนา ในปี พ.ศ. 2563 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์และสร้างสรรค์สังคมแห่งชาติเพื่อสนับสนุนการพัฒนาพลเมืองด้านการเข้าใจดิจิทัลกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกับสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและหรือ“สดช.”เพื่อขับเคลื่อนนโยบายภาครัฐให้ประชาชนมีความตระหนักความรู้ความเข้าใจ( Digital literacy) ให้แก่นักศึกษา บุคลากร และประชาชน โดยส่งเสริมการใช้ระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลสมรรถนะดิจิทัล ในการทดสอบสมรรถนะ และความเชี่ยวชาญทางด้านดิจิทัล การเข้าถึงข้อมูลในระบบ และการออกหนังสือรับรองผลการทดสอบ การจัดทาข้อมูลและรายงานผลการทดสอบสมรรถนะ รวมทั้งการพัฒนาตัวชี้วัดสมรรถนะทางด้านดิจิทัลให้เกิด ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ได้จัดทบุคลากรและประชาชนในเขตพื้นที่บริการของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏาแผนพัฒนานักศึกษาด้านสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563 2567) ขึ้นเพื่อกาหนดกรอบทิศทาง และแนวทางการขับเคลื่อนแบบมีส่วนร่วมของระบบ และกลไกเพื่อกากับติดตาม ตามกรอบการประกันคุณภาพการศึกษาที่ได้กาหนดตัวบ่งชี้ในองค์ประกอบที่ 1 การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะและระดับสถาบัน ตัวชี้วัดที่ 1.7 การส่งเสริมสมรรถนะและ ทักษะดิจิทัลของนักศึกษาการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ได้มอบหมายภารกิจให้สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นหน่วยงานหลักในการกาหนดกรอบ ทิศทาง และแนวทางการขับเคลื่อนแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีสมรรถนะ และทักษะด้านดิจิทัลเป็นไปตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีราชภัฏอุตรดิตถ์นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุการประกันคุณภาพการศึกษาภายในการพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ให้มีสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลที่สอดคล้องกับเกณฑ์โดยกาหนดให้มีกระบวนการโดยกาหนดแนวทางการดาเนินงานด้านการพัฒนาและการส่งเสริมตรดิตถ์ดังนี้ยุทธศาสตร์ที่1พัฒนาระบบกลไกการพัฒนาและการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของยุทธศาสตร์ที่2พัฒนาและส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัยจากที่มาและความสาคัญดังกล่าวผู้วิจัยจึงได้ทาการพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูล Block Chain โดยการศึกษา แนวคิด เอกสารและงานวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พัฒนาตามกระบวนการประกันประสิทธิภาพของแบบจการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ร่วมกับทเพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบกลไกในการพัฒนาและาการประเมินาลองที่ได้พัฒนาขึ้นทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อแนวทางในการได้ต้นแบบเพื่อการนาไปคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้องค์ประกอบที่1การประเมินคุณภาพ

62 การศึกษาภายในระดับคณะและระดับสถาบัน ตัวชี้วัดที่ 1.7 การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะดิจิทัลของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ วัตถุประสงค์ 1. ดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีเพื่อศึกษาแนวคิดและพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้าน Block Chain 2. ทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีเพื่อการประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและ Block Chain ที่ได้พัฒนาขึ้น โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนา ระบบ ทบทวนวรรณกรรม David Yermack นักวิชาการจาก New York University Stern School of Business ได้ให้นิยาม ความหมายของ Block Chain คือ เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบ Shared Database หรือที่รู้จักกันในชื่อ “Distributed Ledger Technology (DLT)” ชุดเดียวกันทั้งหมดข้อมูลที่ถูกบันทึกไปก่อนหน้านั้นไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงโดยเป็นรูปแบบการบันทึกข้อมูลที่รับประกันความปลอดภัยว่าหรือแก้ไขได้ซึ่งทุกผู้ใช้งานจะได้เห็นข้อมูลโดยใช้หลักการ Cryptography และความสามารถของ Distributed Computing เพื่อสร้างกลไกความน่าเชื่อถือ (2017 อ้างถึงใน สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน), 2564) โดยหลักการทางานของเทคโนโลยี Block Chain คือ ฐานข้อมูลจะแชร์ให้กับทุก Node ที่อยู่ในเครือข่ายและ การทางานของเทคโนโลยี Block Chain จะไม่มีเครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางหรือเครื่องแม่ข่าย ซึ่งการทางานแบบกระจายศูนย์นี้จะไม่ถูกควบคุมโดยคนเพียงคนเดียว แต่ทุก Node จะได้รับสาเนาฐานข้อมูล เก็บไว้และจะมีการอัปเดตฐานข้อมูลแบบอัตโนมัติเมื่อมีข้อมูลใหม่เกิดขึ้น ทั้งนี้สาเนาฐานข้อมูลของทุกคน ในเครือข่ายจะต้องถูกต้อง และตรงกันกับของสมาชิกคนอื่นในเครือข่าย ร่วมกับการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ Block ทั้งนี้ Node คือ อุปกรณ์ในเครือข่าย Block Chain เปรียบได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์หรืออื่น ๆ ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและประมวลผลได้ ซึ่งถือว่าเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญในการกระจายและ เชื่อมโยงกันในเครือข่ายเพื่อให้ระบบสามารถทางานและประมวลผลได้ ทั้งนี้ประเภทของ Node ในเครือข่าย Block Chain สามารถจาแนกได้เป็น 1) Node ที่ทาหน้าที่ในการจัดเก็บสาเนาข้อมูลเท่านั้นประกอบด้วย Full Node และ Light Node 2) Node ที่ทาหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องเท่านั้น หรือที่รู้จักกันในชื่อ Consensus Node ซึ่งคือการกาหนดข้อตกลงและความเห็นชอบร่วมกันระหว่างสมาชิกในเครือข่าย (พรรณนิภา รอดวรรณะ, 2564) สาหรับองค์ประกอบของเทคโนโลยี Block Chain ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบสาคัญ คือ 1) Block คือ ชุดบรรจุข้อมูล ประกอบด้วยส่วนของข้อมูลที่จัดเก็บเรียกว่า Item และส่วนป้ายแสดง หรือ header เพื่อใช้แสดงการพิสูจน์ว่าข้อมูลนั้นถูกต้องและเชื่อถือได้ตามหลัก Proof of work และทุกคนในระบบ

63 สามารถรับทราบและยืนยันร่วมกันได้ โดยการเรียงตัวของ Block ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นก็จะเป็นการเรียงตัวกันแบบ ตามลาดับต่อกันไปเรื่อย ๆ หรือเรียกว่าแบบ Chronological order 2) Chain คือ หลักการจดจาทุก ๆ ธุรกรรมของทุกคนในระบบและบันทึกข้อมูลพร้อมจัดทาเป็นสาเนาบัญชี Ledger แจกจ่ายให้กับทุกคน ในระบบ สาเนาบัญชี Ledger ที่ว่านั้นจะถูกกระจายส่งต่อไปให้ทุกๆ Node ในระบบเพื่อให้ทุกคนรับทราบว่า มีธุรกรรมอะไรเกิดขึ้นมาบ้างตั้งแต่เปิดระบบ Block Chain นั้นขึ้นมา แม้ Node ใดเสียหายไปก็สามารถยืนยัน หรือกู้ข้อมูล Ledger จาก Node อื่นๆ กลับมาอัปเดตให้ทั้งระบบได้เหมือนเดิม 3) Consensus คือ ข้อตกลง ร่วมกันหรือ General agreement ที่ผู้ที่อยู่ในเครือข่าย Block Chain นั้นทาข้อตกลงในการใช้งานร่วมกัน ข้อตกลงนี้จะเป็นข้อตกลงในการพิสูจน์ความถูกต้องของข้อมูล Proof of work ว่าไม่ได้ถูกแฮกข้อมูลมา ซึ่งข้อตกลงเหล่านี้ถือเป็นสิ่งสาคัญสาหรับการกาหนดเครือข่าย Block Chain ใด ๆ ขึ้นมาใช้เพื่อยืนยัน ความถูกต้องและน่าเชื่อถือให้กับระบบ Block Chain นั้น ๆ 4) Validation คือ การตรวจสอบความถูกต้อง แบบทบทวนทั้งระบบและทุก Node ในระบบ Block Chain เพื่อให้แน่ใจว่าจะไม่มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นไม่ว่าจะ มาจากส่วนใดก็ตาม (ชาติชาย วิเรขรัตน์, 2560) ดังนั้น จากข้างต้นจึงสามารถนามาสรุปได้ถึงคุณลักษณะ พื้นฐานที่สาคัญของเทคโนโลยี Block Chain ที่ได้กล่าวไว้โดย Oscar Lage Serrano หัวหน้าคณะทางานด้าน ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ สถาบันวิจัยและนวัตกรรมเทคนาเลีย (Head of Cyber Security & Block Chain of TECNALIA Research & Innovation) ที่ได้นาเสนอไว้ดังนี้ คือ การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของ Block โดยการเชื่อมต่อแต่ละ Block ด้วย Hash function และการกระจายให้ทุก ๆ Node เก็บข้อมูล จึงทาให้เกิดคุณสมบัติที่สาคัญของ Block Chain 3 ประการ คือ 1) ความถูกต้องเที่ยงตรงของข้อมูล (Data integrity) เนื่องจากการเชื่อมโยง Block ปัจจุบันและ Block ก่อนหน้าด้วย Hash Function และทา การกระจายให้ทุก Node เก็บ จึงทาให้ข้อมูลที่ถูกบันทึกลงใน Block Chain แล้วไม่สามารถแก้ไข หรือ เปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ (Immutability) ดังนั้นหากมีความพยายามในการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่ถูก บันทึกลงใน Block แล้วจะทาให้ทราบได้ทันที เนื่องจากข้อมูลใน Node ดังกล่าวจะมีข้อมูลที่ต่างออกไปจาก Node อื่น ๆ ในระบบ และไม่สามารถสร้าง Consensus กับ Node อื่นได้ ซึ่งทาให้ถูกแยกออกจาก Chain หลักไปในที่สุด 2) ความโปร่งใสในการเข้าถึงข้อมูล (Data transparency) เนื่องจากทุก Node ในระบบ Block Chain จะเก็บข้อมูลเดียวกันทั้งหมด โดยไม่มี Node ใด Node หนึ่งเป็นตัวกลางที่มีอานาจแต่เพียง ผู้เดียวในการเก็บข้อมูล ดังนั้นการเข้าถึงข้อมูลใด ๆ จึงทาได้จาก Node ตัวเองทันที โดยไม่จาเป็นต้องร้องขอ ข้อมูลจากตัวกลาง จึงเรียกว่าเป็นระบบที่มีความโปร่งใสในการเข้าถึงข้อมูลสูงมาก และ 3) ความสามารถ ในการทางานได้อย่างต่อเนื่องของระบบ (Availability) เนื่องจากทุก Node ในระบบ Block Chain จะเก็บ ข้อมูลเดียวกันทั้งหมด จึงสามารถทางานทดแทนกันได้เมื่อมี Node ที่ไม่สามารถให้บริการได้ในขณะนั้น โดยระบบจะทาการคัดลอกสาเนาข้อมูลให้เป็นข้อมูลชุดเดียวกัน เมื่อ Node กลับขึ้นมาให้บริการได้อีกครั้ง (2017 อ้างถึงใน สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน), 2564)

64 Zheng, Xie, Dai, Chen & Wang (2017) ได้ทาการศึกษาวิจัย เรื่อง ภาพรวมของเทคโนโลยีบล็อค เชน : รูปแบบโครงสร้าง ข้อตลกลงร่วมกัน และแนวโน้มในอนาคต ( An overview of Block Chain technology : Architecture, consensus, and future trends) พบว่า คณะผู้วิจัยได้นาเสนอภาพรวม ที่ครอบคลุมเกี่ยวกับเทคโนโลยีบล็อกเชน ได้แก่ แอพพลิเคชั่นและความความสามารถในการแก้ไขปัญหาด้านความปลอดภัยของข้อมูลด้านศักยภาพในการปรับขนาดรูปแบบโครงสร้างและการเปรียบเทียบด้านเทคนิควิธีการและก้าวหน้าของการทาข้อตกลงร่วมกันตลอดจนแนวโน้มในอนาคตสาหรับการนาไปประยุกต์พัฒนาระบบ Internet of Things (IoT) ดุษฎี จินต์วิริยะ (2562) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่อง การยอมรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง เทคโนโลยีบล็อกเชนนั้นมีความน่าสนใจและทเทคโนโลยีบล็อกเชนในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างเทคโนโลยีนี้มาประยุกต์ใช้ในองค์กรต่อไปบล็อกเชนในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างโดยได้ทาการศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทั้งนี้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมสาหรับการนาซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการประยุกต์ใช้คือต้องอาศัยปัจจัยภายนอกที่สาคัญเป็นตัวช่วยผลักดันทาให้าให้เกิด Business Use Case ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการศึกษาและ การเรียนรู้ที่จะนามาต่อยอดการนาไปใช้งานให้เกิดขึ้นได้จริง่ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน ด้วยเทคโนโลยีการพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษา Block Chain เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R & D) โดยแบ่ง วิธีการดาเนินงานออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีศึกษาแนวคิดและพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูล Block Chain ด้วยการศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี Block Chain จากนั้นนาข้อมูลที่ได้มาศึกษารายละเอียดเพื่อเป็น ออกแบบพัฒนาแบบจแบบจแนวทางในการสร้างและพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลรวมถึงกาหนดขั้นตอนและขอบเขตของาลองโดยกาหนดให้มีความสอดคล้องและตรงตามวัตถุประสงค์หลักของการวิจัยซึ่งในการสร้างและาลองประกอบด้วย1กระบวนการสร้างแพลตฟอร์มด้วยแนวคิดเทคโนโลยี Block Chain ที่มีคุณสมบัติเด่น ได้แก่ 1.1) ความถูกต้องเที่ยงตรงของข้อมูล 1.2) ความโปร่งใสในการเข้าถึงข้อมูล และ 1.3) ความสามารถ ในการทางานได้อย่างต่อเนื่องของระบบ โดยใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับการทา Cryptography และ Distributed Computing โดยนามาอธิบายได้ดังนี้ *Hash คือ ค่าที่ได้จากการนาข้อมูลต้นฉบับที่ต้องการมาเข้ารหัส ผ่านกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ส่งผลให้ข้อมูลที่ถูกแปลงนั้นมีลักษณะเฉพาะที่มีค่าไม่ซ้ากันและมีขนาดความยาวคงที่ Hash จึงเปรียบได้กับ

65 Digital Signature ของ Block นั้น ๆ โดยในกระบวนการสร้างระบุตัวตนด้วยรหัสบัตรประจาตัวประชาชน และรหัสบัตรนักศึกษา *Previous Hash คือค่า Hash ของ Block ก่อนหน้า (เปรียบได้กับรหัสระบุตัวตนของ Block ก่อนหน้า) โดยจะถูกจัดเก็บอยู่ใน Block ถัดไปด้วย หากมีการแก้ไขข้อมูลใน Block ก่อนหน้า จะส่งผลให้ค่า Hash ของ Block ไม่เท่ากันทั้งหมด ดังนั้น Block อื่น ๆ ที่เชื่อมต่อกันก็จะทราบว่าในระบบนั้น มีการปลอมแปลงหรือแก้ไขข้อมูลเกิดขึ้นก็จะทาการตัด Chain ของ Block นั้นออกไป ภาพที่ 1 แบบจาลองโครงสร้างด้วยแนวคิดเทคโนโลยี Block Chain ภาพที่ 2 แบบจาลองแสดงการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของเทคโนโลยี Block Chain ภาพที่ 3 แบบจาลองแสดงตัวอย่างกระบวนการสร้างแพลตฟอร์มด้วยเทคโนโลยี Block Chain




66 ภาพที่ 4 แบบจาลองแสดงตัวอย่างกระบวนการทางานของแพลตฟอร์มด้วยเทคโนโลยี Block Chain ที่มีการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลเกิดขึ้นใน Block ก่อนหน้า ขั้นตอนที่ 2 การจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีนาเสนอแบบจาลองที่ได้พัฒนาขึ้นเพื่อทาการประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลอง Block Chain โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบ จานวน 7 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่ แบบสอบถามที่ได้พัฒนาขึ้นตามวัตถุประสงค์หลักของการวิจัย และตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert Scale) โดยมีเกณฑ์พิจารณาการให้คะแนน 5 ระดับ ตามลาดับดังนี้ ดีมาก = 5 คะแนน ดี = 4 คะแนน ปานกลาง = 3 คะแนน ควรปรับปรุง = 2 คะแนน และควรปรับปรุงอย่าง ยิ่ง = 1 คะแนนโดยแบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลของผู้ประเมิน ตอนที่ 2 การประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลองตามรายการประเมิน 2 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านประสิทธิภาพ การทางานของแบบจาลอง 2) ด้านความพึงพอใจที่มีต่อแบบจาลอง และตอนที่ 3 ปัญหาและข้อเสนอแนะที่มี ต่อการพัฒนาแบบจาลองสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าความถี่ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล


67 ผลการดาเนินงาน 1 ดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีศึกษาแนวคิดและพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้าน Block Chain โดยผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างและออกแบบพัฒนาแบบจาลอง ผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีของการวิจัยดังนี้ตามขั้นตอนและขอบเขตของแบบจาลองที่กาหนดไว้โดยให้มีความสอดคล้องและตรงตามวัตถุประสงค์หลัก1.1ออกแบบพัฒนาโครงสร้างกระบวนการทางานของแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูล Block Chain โดยกาหนดให้มีกระบวนการทางาน คือ ผลการสอบแต่ละครั้งจะถูกจัดเก็บไว้ใน 1 Block โดยมีรูปแบบ การแลกเปลี่ยนข้อมูลคอมพิวเตอร์ (API) ในลักษณะ JSON (JavaScript Object Notation) ซึ่งการเพิ่มข้อมูล ผลการสอบครั้งต่อไปจะอยู่ในรูปแบบของกระบวนการ Proof of Work (PWO) ซึ่งเป็นกระบวนการยืนยัน ข้อมูลก่อนที่จะนาข้อมูลใหม่มาต่อกับข้อมูลเก่า โดยหลักการของกระบวนการ Proof of Work (PWO) คือ กระทาการสุ่มหาค่า nonce โดยใช้หลักการคานวณทางคณิตศาสตร์แบบเชิงลึก ซึ่งถ้า Mining ทาการหาค่า nonce ที่เหมาะสมสาเร็จจะทาการประกาศผลที่ได้และทาการเพิ่ม Block ต่อเข้าไปยังระบบ Block Chain โดยทาการเข้ารหัสของ Block ก่อนหน้านี้ให้อยู่ในรูปแบบ SHA 256 (Hash) และนามาเก็บไว้ยัง Block ปัจจุบัน 1.2 นาเข้าการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล (Digital Literacy Test) ของนักศึกษาจากฐานข้อมูล https://ru.dlbaseline.com 1.2.1 ชื่อ นามสกุลของนักศึกษาเป็นภาษาไทย 1.2.2 รหัสบัตรประจาตัวประชาชนและรหัสบัตรนักศึกษา 1.2.3 คณะและหลักสูตรสาขาวิชา 1.2.4 ผลการสอบ (คะแนนผ่าน/ไม่ผ่าน) *เกณฑ์การสอบผ่านที่ 60 คะแนน โดยนักศึกษาสามารถสอบได้ไม่จากัดเวลา และจานวนครั้ง **การทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล (Digital Literacy Test) ของนักศึกษา ได้แก่ ทักษะ ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนาเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อ ออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทางานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนา กระบวนการทางาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ โดยทักษะดังกล่าว ครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ ได้แก่ 1) การเข้าใจดิจิทัล: Digital literacy 2) การใช้ดิจิทัล: Digital skill/ ICT skill 3) การแก้ปัญหาด้วยเครื่องมือดิจิทัล: Problem solving with digital tools และ 4) การปรับตัวการ เปลี่ยนแปลงดิจิทัล: Adaptive digital transform

68 ทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาการที่ได้ออกแบบพัฒนาขึ้นนี้โดยโครงสร้างกระบวนการทางานของแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและสามารถนามาอธิบายแสดงผลได้ตามภาพที่5 9 ภาพที่ 5 แบบจาลองแสดงหลักการทางานของกระบวนการ Proof of Work (PWO) ภาพที่ 6 แบบจาลองแสดงกระบวนการ Proof of Work (PWO) ของระบบ Block Chain ภาพที่ 7 ภาพหน้าจอของ Code Proof of Work (PWO) ด้วยภาษา Python




69 ภาพที่ 8 ภาพหน้าจอการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาที่ได้ในแต่ละครั้งที่ถูกจัดเก็บไว้ในแบบจาลอง ภาพที่ 9 ภาพหน้าจอการแสดงผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษา ที่ได้ทาการจัดเก็บข้อมูลด้วยเทคโนโลยี Block Chain โดยนามาแสดงผลผ่านโปรแกรมที่ได้พัฒนาขึ้น



70 2 ด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยีทาการประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะ Block Chain โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบ จานวน 7 ท่าน ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลการประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลอง รายการประเมิน ผลการประเมินประสิทธิภาพ X S. D. ความหมาย 1. ด้านประสิทธิภาพการทางานของแบบจาลอง1.1แนวคิดและการประยุกต์ใช้มีความทันสมัย น่าสนใจ 4.37 0.82 ดีมาก 1.2 มีความถูกต้องเที่ยงตรงของข้อมูล 4.46 0.71 ดีมาก 1.3 มีความโปร่งใสในการเข้าถึงข้อมูล 3.98 1.05 ดี 1.4 ความสามารถในการทางานได้อย่างต่อเนื่องของระบบ 4.59 0.82 ดีมาก 1.5 การทางานโดยรวมของแบบจาลอง 4.35 0.82 ดีมาก 2. ด้านความพึงพอใจที่มีต่อแบบจาลอง2.1รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ 4.85 0.35 ดีมาก 2.2 และสามารถตรวจสอบข้อมูลได้รูปแบบการแสดงข้อมูลผลการสอบมีความครบถ้วน 4.62 0.56 ดีมาก 2.3 รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลมีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ 4.19 0.83 ดี 2.4 แบบจาลองสนับสนุนการประยุกต์ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล 3.77 1.07 ดี 2.5 ความพึงพอใจโดยรวมที่มีต่อแบบจาลอง 4.52 0.79 ดีมาก รวม 4.39 0.74 ดีมาก จากตารางที่ 1 เมื่อพิจารณาตามรายการประเมินทั้ง 2 ด้าน พบว่า การประเมินประสิทธิภาพของ แบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยี Block Chain โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบ โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.39) โดยแยกตามรายการ ประเมินเป็นรายด้านตามลาดับ ดังนี้ 1) ด้านประสิทธิภาพการทางานของแบบจาลอง พบว่า ลาดับแรก ผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก ได้แก่ ความสามารถในการทางานได้อย่างต่อเนื่องของระบบ ( X = 4.59) รองลงมาได้แก่ มีความถูกต้องเที่ยงตรงของข้อมูล ( X = 4.46) และแนวคิดและการประยุกต์ใช้มีความทันสมัย น่าสนใจ ( X = 4.37) และ 2) ด้านความพึงพอใจที่มีต่อแบบจาลอง พบว่า ลาดับแรกผลการประเมินอยู่ใน ระดับดีมาก ได้แก่ รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ ( X = 4.85) รองลงมา ได้แก่ รูปแบบ

71 การแสดงข้อมูลผลการสอบมีความครบถ้วนและสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ ( X = 4.62) และความพึงพอใจ โดยรวมที่มีต่อแบบจาลอง ( X = 4.52) ตารางที่ 2 ข้อมูลปัญหาและข้อเสนอแนะที่มีต่อการพัฒนาแบบจาลอง ปัญหาและข้อเสนอแนะ จานวน 1 ข้อเสนอแนะที่มีต่อการพัฒนาแบบจาลอง 1.1 โดยให้นักศึกษาสามารถดาวน์โหลดเอกสารใบประกาศได้ควรพัฒนาต่อให้สามารถจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารประกาศผลการสอบ 3 1.2 เพื่อเพิ่มจุดควรพัฒนาโดยเพิ่มการออกแบบอินเตอร์เฟสการแสดงผลการสอบของนักศึกษาเด่นและความน่าสนใจของแบบจาลองให้มากขึ้น 1 จากตารางที่ 2 ปัญหาและข้อเสนอแนะที่มีต่อการพัฒนาแบบจาลอง โดยผู้เชี่ยวชาญด้าน การพัฒนาระบบ มีข้อเสนอแนะที่มีต่อการพัฒนาแบบจาลอง พบว่า ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบส่วนใหญ่ (จานวน 3 คน) ได้ให้ข้อมูลประเด็นควรควรพัฒนาต่อให้สามารถจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารประกาศผล การสอบ โดยให้นักศึกษาสามารถดาวน์โหลดเอกสารใบประกาศได้ สรุปผลและอภิปรายผล 1. การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา เพื่อทาการพัฒนาแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูล ผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาด้วยเทคโนโลยี Block Chain ร่วมกับ ทาการประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลองที่ได้พัฒนาขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อแนวทางในการได้ ต้นแบบเพื่อการนาไปพัฒนาตามกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา ตามตัวบ่งชี้องค์ประกอบที่ 1 การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะและระดับสถาบัน ตัวชี้วัดที่ 1.7 การส่งเสริมสมรรถนะและ ด้านดิจิทัลของนักศึกษทักษะดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์2.ทาการประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลองการจัดเก็บข้อมูลผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะาด้วยเทคโนโลยี Block Chain โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบ ผลการศึกษาพบว่า การประเมินประสิทธิภาพของแบบจาลอง โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.39)

72 ข้อแสนอแนะ เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลผลการสอบที่ถูกจัดเก็บอยู่ในระบบ Block Chain มีคุณสมบัติครบถ้วน ได้แก่ 1) มีความถูกต้องเที่ยงตรงของข้อมูล 2) มีความโปร่งใสในการเข้าถึงข้อมูล และ 3) มีความสามารถ ในการทางานได้อย่างต่อเนื่องของระบบ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องควรจะทาการกระจายข้อมูลไปยัง โครงข่ายของ Block Chain โดยกาหนดให้จานวนเครื่องที่ใช้ในการจัดเก็บควรมีจานวนมากกว่า 1 เครื่องขึ้นไป การนาไปใช้ประโยชน์ สามารถนาต้นแบบของแบบจาลองโครงสร้าง Block Chain ที่ได้พัฒนาขึ้นนี้ไปประยุกต์ใช้ ในการจัดเก็บข้อมูลของผลการสอบที่อยู่ในรูปแบบ Unique เพื่อให้ข้อมูลที่จะถูกนาไปใช้มีความน่าเชื่อถือของ ข้อมูลมากยิ่งขึ้น โดยใช้หลักการของเทคโนโลยี Block Chain แนวทางการพัฒนาต่อและการนาไปประยุกต์ใช้ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Consensus Protocol เพื่อนาโครงสร้าง Block Chain ที่ผู้วิจัยได้ทาการพัฒนาแบบจาลองมาทางานบนเครือข่าย Block Chain Network โดยการทางาน ผ่าน Consensus Protocol หน่วยงานและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษาที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์และการสร้างระบบการจัดเก็บข้อมูลเอกสารใบประกาศผลการทดสอบสมรรถนะทั้งนี้เพื่อให้องค์กรหรือที่นักศึกษาไปสมัครงานสามารถเข้ามาทาการตรวจสอบหรือเข้าถึงข้อมูลผลการสอบของนักศึกษาได้ รายการอ้างอิง ชาติชาย วิเรขรัตน์. (2560). ทาความเข้าใจเทคโนโลยี Block Chain จุดเปลี่ยนของหลายอุตสาหกรรม สืบค้นจาก http://www.veedvil.com/news/Block Chain/ ดุษฎี จินต์วิริยะ. (2562). การยอมรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง. (วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ. พรรณนิภา รอดวรรณะ (2564). ความรู้ขั้นพื้นฐานด้านเทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) สืบค้นจาก https://www.tfac.or.th/Article/Detail/135089 สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). (2564). Block Chain for government services: การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสาหรับภาครัฐ สืบค้นจาก https://www.dga.or.th/document sharing/dga e book/annual Block Chain/47115/

73 Zheng, Z., Xie, S., Dai, H., Chen, X., & Wang, H. (2017). An overview of Block Chain technology: Architecture, consensus, and future trends. Paper presented at the Conference: 6th IEEE International Congress on Big Data doi: 10.1109/BigDataCongress.2017.85 [IEEE]

74 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯการจัดการองค์ความรู้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริสยามบรมราชกุมารีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Knowledge Management of Plant Genetic Conservation Project under the Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn Chiang Mai Rajabhat University สุทธินันท์ ชื่นชม, สุจิรา อัมรักเลิศ และ ฐิติกา อาษากิจ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ e mail: sutthinan@cmru.ac.th บทนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้ดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ตามแนวพระราชดาริภายใต้กรอบการดาเนินงาน เพื่ออนุรักษ์ 3 ฐานทรัพยากร อันได้แก่ ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญา โดยได้ดาเนินโครงการภายใต้กรอบกิจกรรม 8 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช 2) กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร 3) กิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร 4) กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ ทรัพยากร 5) กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร 6) กิจกรรมวางแผนพัฒนาทรัพยากร 7) กิจกรรมสร้างจิตสานึก ในการอนุรักษ์ทรัพยากร และ 8) กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร ตลอดระยะเวลา การดาเนินงานตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ได้สร้างองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ทั้งกับนักวิจัย และประชาชนทั่วไปอย่างต่อเนื่องอย่างไรก็ตามตลอดระยะเวลาการดาเนินงานตามโครงการ อพ. สธ. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตลอดจนผู้สนใจทั้งที่อยู่ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยแหล่งเรียนรู้และใช้ความรู้)ของการจัดการความรู้อพ.สธ.ประชาชนทั่วไปและชุมชนท้องถิ่นยังไม่ได้ดาเนินการเพื่อจัดการองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบเพื่อการเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์แก่นักวิจัยจึงได้ดาเนินการสารวจจัดเก็บและจัดการองค์ความรู้จากโครงการอย่างเป็นระบบภายใต้โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อพ.สธ.มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่โดยใช้แนวคิดซึ่งจะส่งผลให้กระบวนการหมุนเวียนความรู้(สร้างรวบรวมจัดเก็บเผยแพร่แบ่งปันเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องและพิพิธภัณฑ์อพ.สธ.มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่จะเป็นศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สาคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อนักเรียนนักศึกษาอาจารย์นักวิจัย

75 วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย เพื่อรวบรวมองค์ความรู้จากกิจกรรมโครงการ อพ.สธ. ที่เกี่ยวกับต้นรักใหญ่ ถั่วลายเสือ เมี่ยง ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ 1. ศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ 2. สารวจและรวบรวมองค์ความรู้ อพ.สธ. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ โดยใช้แบบสารวจข้อมูล และข้อมูลปฐมภูมิโดยการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการเกี่ยวกับต้นรักใหญ่ ถั่วลาย เสือ เมี่ยง 3. จัดหมวดหมู่องค์ความรู้ อพ.สธ. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่เกี่ยวกับต้นรักใหญ่ ถั่วลายเสือ เมี่ยง ผลการดาเนินการ อภิปรายผล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้ดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ตามแนวพระราชดาริไปแล้วทั้งสิ้น 32 โครงการ สามารถแบ่งออกเป็น 3 หมวด ได้แก่ งานวิจัย 10 โครงการ งานบริการวิชาการ 13 โครงการ และงานอื่น ๆ ที่ เป็นโครงการดาเนินการภายในมหาวิทยาลัย 9 โครงการ ดังตาราง โครงการ พืช ต้นรักใหญ่ (จานวนโครงการ) ถั่วลายเสือ (จานวนโครงการ) เมี่ยง (จานวนโครงการ) งานวิจัย 1 1 8 งานบริการวิชาการ 9 1 3 งานอื่น ๆ 6 2 1 รวม 16 4 เมื่อจัดหมวดหมู่ขององค์ความรู้จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด12าริ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่แล้ว สามารถแบ่งออกเป็น 13 หมวดหมู่ ได้แก่ พระราชดาริที่เกี่ยวข้อง พื้นที่เพาะปลูก (GIS) นิเวศวิทยา (ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ฯลฯ) การเพาะ การปลูก การขยายพันธุ์ เครื่องมือในการเจาะและเก็บ การใช้ประโยชน์ ภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้อง สื่อ/ นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ การปลูกจิตสานึก เครือข่ายชุมชน/ศักยภาพชุมชน กลยุทธ์การตลาด โมเดลธุรกิจ พัฒนาผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิตและการแปรรูป และพฤติกรรมผู้ซื้อ ดังตาราง

76 องค์ความรู้ ต้นรักใหญ่ เมี่ยง ถั่วลายเสือ พระราชดาริ / พื้นที่เพาะปลูก GIS / / / นิเวศวิทยา (ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ฯลฯ) / / / การเพาะ การปลูก การขยายพันธุ์ / / / เครื่องมือในการเจาะและเก็บ / / การใช้ประโยชน์ / / ภูมิปัญญา / / สื่อ/นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ / ปลูกจิตสานึก / / เครือข่ายชุมชน/ศักยภาพชุมชน / กลยุทธ์การตลาด โมเดลธุรกิจ พัฒนาผลิตภัณฑ์ / กระบวนการผลิตและการแปรรูป / พฤติกรรมผู้ซื้อ / สรุปผล ข้อเสนอแนะ และการนาไปใช้ประโยชน์ องค์ความรู้เกี่ยวกับต้นรักใหญ่ ถั่วลายเสือ เมี่ยง จากการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้สารวจ รวบรวม วิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ สามารถแบ่งออกเป็น 13 หมวดหมู่ ซึ่งสามารถนาไปออกแบบ และจัดทาสื่อ/นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ แบบจาลอง นิทรรศการ ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) พิพิธภัณฑ์ อพ.สธ. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อีกทั้งระบบพิพิธภัณฑ์เสมือนเพื่อการเรียนรู้ เพื่อให้ เกิดการหมุนเวียนความรู้ด้วยการสร้าง รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ แบ่งปันองค์ความรู้ที่ได้จากโครงการ อพ.สธ. รายการอ้างอิง กานต์รวี ชมเชย. (2557). การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์: กรณีศึกษามิวเซียมสยามและพิพิธภัณฑ์บ้านไทย จิม ทอมป์สัน กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปรรฐมาศ พสิษฐภคกุล. (2556). พิพิธภัณฑชาติพันธุทองถิ่น: รูปแบบการจัดพิพิธภัณฑเพื่ออนุรักษ ภูมิปญญา กลุมชาติพันธุภาคกลาง (ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม.

77 ภัทราวดี ศิริวรรณ. (2559). การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ นนทบุรี สิริลักษณ์ กัลยา. (2553). การเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการพิพิธภัณฑ์ทางวัฒนธรรม ระหว่างพิพิธภัณฑ์ วังสวนผักกาดและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร. สืบค้นจาก http://thesis.swu.ac.th/ swuthesis/Eco_Pla_Man/Siriluk_K.pdf

78 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ : ระบบรายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร ศรัญยา ไชยวงค์ และ มงคล อุตะมะแก้ว สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ e mail: sarunya_ch@g.cmru.ac.th, mongkon.uta@g.cmru.ac.th บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการไปพัฒนาตนเองของ บุคลากรสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดยพัฒนาขึ้นตามวงจรการพัฒนาระบบ ( SDLC) ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารและบุคลากรของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จานวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โมดูล รายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร สามารถดาเนินการได้ 2 ส่วน คือ ส่วนการดาเนินงานของบุคลากร และส่วนการดาเนินงานของผู้บริหาร ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ พบว่า ในภาพรวมระบบมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก บทนา ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ข้อมูล ข่าวสาร ตลอดจน ระบบสารสนเทศจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้องค์กรขับเคลื่อนไปอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้องค์กรมีศักยภาพและได้เปรียบทางการแข่งขันกับองค์กรอื่นได้การมีระบบสารสนเทศที่ดีดังจะเห็นได้จากาสตร์ชาติ(พ.ศ. 2561 2580) (ราชกิจจานุเบกษา, 2561, น. 67 69) ที่ได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยให้มีการพัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติ ราชการให้ทันสมัย นานวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหาร และการตัดสินใจ ซึ่งสารสนเทศที่มีคุณภาพจะต้องสามารถใช้ได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ และ สามารถเชื่อมโยงได้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร สานักหอสมุดจึงได้ ตระหนักถึงความสาคัญของ การดาเนินงานบริหารจัดการเพื่อให้องค์กรมีคุณภาพในทุกด้าน โดยการนาระบบการบริหารจัดการสารสนเทศ มาใช้ในการบริหารองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพ สามารถนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ตัดสินใจในการบริหารงานได้ทัน ต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ อีกทั้งเป็นการลดความซ้าซ้อนของข้อมูลและการปฏิบัติงานของบุคลากร สานักหอสมุดไม่มีระบบสารสนเทศทางด้านการบริหารงานเพื่อใช้ในการตัดสินใจ มีการจัดเก็บเอกสารและ ข้อมูลไม่เป็นระบบ ทาให้การค้นหาข้อมูลหรือการประมวลผลค่อนข้างช้า บุคลากรมีการรายงาน ข้อมูล ที่คลาดเคลื่อน ไม่เป็นปัจจุบัน นาเสนอข้อมูลต่อผู้บริหารไม่ครบถ้วน และล่าช้า ผู้บริหารไม่สามารถนาข้อมูล

79 มาใช้เพื่อประกอบการตัดสินใจได้อย่างทันเวลา การวางแผนในการบริหารงานจึงไม่คล่องตัวเท่าที่ควร ส่งผลให้ การบริหารจัดการขาดประสิทธิภาพและไม่เป็นไปตามเป้าหมาย สานักหอสมุดจึงได้สารวจปัญหา สภาพปัจจุบัน และความต้องการระบบ พบว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศของสานักหอสมุด ควรประกอบไปด้วย 4 โมดูล ได้แก่ 1) ภาระงานของบุคลากร 2) การพัฒนาตนเอง 3) การประชุม และ 4) ข้อมูลสถิติ โดยในระยะแรกได้ดาเนินการพัฒนาระบบภาระงานของบุคลากรสาเร็จลุล่วงไปเรียบร้อย แล้ว การดาเนินงานในระยะที่ 2 จึงได้มีการพัฒนาระบบรายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร เพื่อเป็น การพัฒนางานและพัฒนาการบริหารจัดการของสานักหอสมุดให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โมดูล รายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร ชั้นตอนและวิธีการดาเนินงานขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ 1. วางแผนการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ 2. ดาเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ โมดูลรายงานการพัฒนาตนเอง ของบุคลากรสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 3. ทดลองใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ โมดูล รายงานการพัฒนาตนเอง ของบุคลากร สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 4. ประเมินระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ โมดูล รายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

80 ผลการดาเนินงาน การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โมดูล รายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ผลการพัฒนาระบบ ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โมดูล รายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร ระบบสามารถทางานได้ดังนี้ 1.1 การดาเนินการของบุคลากร ระบบรายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร ได้กาหนดให้บุคลากรดาเนินการดังนี้ 1) ดาเนินการป้อนข้อมูลการพัฒนาตนเอง จากการเข้าร่วมประชุม สัมมนา ฝึกอบรม และ เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ ทั้งภายในและภายนอกสานักหอสมุด เพื่อพัฒนาตนเองในวิชาชีพ หรือที่เป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ของบุคลากร ตามรายละเอียด ได้แก่ หัวข้อการเข้าร่วมประชุม สัมมนา ฝึกอบรม ระยะเวลา หน่วยงานที่จัด สถานที่ จังหวัด งบประมาณที่ใช้ เอกสารแนบ เช่น คาสั่งการเดินทาง ไปราชการ วัตถุประสงค์ของการเข้าร่วมประชุม สัมมนา ฝึกอบรม สรุปสาระสาคัญที่ได้จากการเข้าร่วม ประชุม สัมมนา ฝึกอบรม และการนาข้อมูลหรือความรู้ที่ได้มาพัฒนางาน ภาพที่ 1 แสดงการป้อนข้อมูลการพัฒนาตนเองของบุคลากร 2) รายงานผลการไปพัฒนาตนเองต่อผู้บริหารตามลาดับการบังคับบัญชา 3) นาข้อเสนอแนะของผู้บังคับบัญชาไปปฏิบัติ และรายงานผลการปฏิบัติงาน


81 ภาพที่ 2 แสดงสรุปผลการพัฒนาตนเองของบุคลากร 1.2 การดาเนินการของผู้บริหาร ระบบรายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร ได้กาหนดให้ผู้บริหารดาเนินการดังนี้ 1) ตรวจสอบผลการไปพัฒนาตนเองของบุคลากรตามระดับการบังคับบัญชา 2) ให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไปพัฒนางาน ภาพที่ 3 แสดงความเห็นหรือข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไปพัฒนางาน 2. ผลการประเมินการใช้งานระบบ จากการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ โมดูล รายงานการพัฒนาตนเอง ได้มีการกาหนดให้ผู้บริหารและบุคลากรของสานักหอสมุดทั้งหมด จานวน 28 คน ทาการทดลองใช้งานระบบ และประเมินประสิทธิภาพของระบบ โดยใช้แบบประเมินประสิทธิภาพ ของระบบ ทั้ง 5 ด้าน สรุปได้ว่า ในภาพรวมผู้บริหารและบุคลากรเห็นว่าระบบมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก (X = 4.36) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านสมรรถนะของระบบ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.67) ส่วนด้านอื่น ๆ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากทุกด้าน ได้แก่ ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล



82 (X = 4.47) ด้านความสามารถทางานได้ตามหน้าที่ (X = 4.33) ด้านความง่ายต่อการใช้งาน (X = 4.26) และ ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน (X = 4.24) สรุปผล ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โมดูล รายงาน การพัฒนาตนเอง พัฒนาขึ้นตามวงจรการพัฒนาระบบ หรือ SDLC การดาเนินงานในระบบสารสนเทศฯ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) การดาเนินงานของบุคลากร สามารถบันทึกและรายงานข้อมูลการไปพัฒนาตนเอง 2) การดาเนินงานของผู้บริหาร สามารถตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนางานของบุคลากร สาหรับ ประสิทธิภาพของระบบ ผู้บริหารและบุคลากรเห็นว่าระบบมีประสิทธิภาพในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะ เนื่องจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ โมดูล รายงานการพัฒนาตนเอง เป็นการปรับเปลี่ยนวิธีการรายงานการพัฒนาตนเองจากรูปแบบ กระดาษให้เป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ อย่างสมบูรณ์ยิ่งขึ้นมาทความต้องการของผู้บริหารและบุคลากรได้อย่างครบถ้วนการใช้งานระบบในระยะเริ่มแรกยังไม่สามารถตอบสนองผู้พัฒนาระบบจึงควรนาข้อเสนอแนะของผู้ใช้งานาการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาระบบรวมถึงมีการจัดอบรมการใช้งานระบบเพื่อให้สามารถใช้งานได้ การนาไปใช้ประโยชน์ในงานห้องสมุด สามารถนามาใช้ในจัดการรายงานการพัฒนาตนเองของบุคลากร และสามารถนาความรู้ที่ได้รับจาก การเข้าร่วมประชุม สัมมนา ฝึกอบรม มาเผยแพร่ให้กับบุคลากรในหน่วยงาน อีกทั้ง ยังสามารถนามาใช้ ในการตัดสินใจของผู้บริหาร เพื่อวางแผนการพัฒนาบุคลากรในด้านต่าง ๆ ให้ตรงกับตาแหน่งและหน้าที่ต่อไป รายการอ้างอิง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 2580). (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอนที่ 82ก, น.67 68. โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2554). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

83 หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ : การจัดการเอกสารจดหมายเหตุ ภัทราภรณ์ แสงปัญญา, ปิยวดี นิลสนธิ, ศรัญยา ไชยวงค์ และ นิตยา ทองนา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ e mail: phattaraphon_san@g.cmru.ac.th บทนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จะมีอายุครบ 100 ปีแห่งการสถาปนา ในปี พ.ศ. 2567 เพื่อเป็น การเฉลิมฉลองในวาระดังกล่าว สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการงาน หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เพื่อให้เป็นสถานที่รวมรวม จัดเก็บ บารุงรักษา และเผยแพร่ เอกสารที่มีคุณค่าของมหาวิทยาลัย และจัดทาคู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ เพื่อกาหนดแนวทาง และขั้นตอนการดาเนินงานให้กับหอจดหมายเหตุ โดยขับเคลื่อนการทางาน ในรูปแบบคณะกรรมการดาเนินงานหอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดยอธิการบดีเป็นประธาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 2. เพื่อจัดทาคู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 1.1 วิเคราะห์สภาพเอกสารจดหมายเหตุ การศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ ใช้วิธีการสารวจและวิเคราะห์ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ 1.2 ประเมินระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ การประเมินระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จากใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือสาหรับเก็บรวมรวบข้อมูลจากบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่27หน่วยงานจานวน56คน

84 2. จัดทาคู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ การจัดทาคู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้ทาการค้นคว้า การจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่กและศึกษาจากคู่มือการจัดตารางกาหนดอายุการเก็บเอกสารหน่วยงานของรัฐและจากคู่มือการจัดตารางาหนดอายุการเก็บเอกสารจากมหาวิทยาลัยที่มีการดาเนินงานด้านหอจดหมายเหตุและจัดทาเป็นคู่มือ ผลการดาเนินงาน/อภิปรายผล 1. การศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารจดหมายเหตุ เอกสารจดหมายเหตุของมหาวิทยาลัย ถือเป็นเอกสารสาคัญของมหาวิทยาลัยที่มีคุณค่า และควรค่าแก่การเก็บรักษาไว้อย่างยิ่ง ดังนี้ (สมสรวง พฤติกุล, 2539, น.7 8; สวนีย์ วิเศษสินธุ์, 2540, น.14 16; อุบล ใช้สงวน, 2533, น.22) 1) ด้านการบริหาร ใช้ในการวางแผนและกาหนดนโยบายเพื่อพัฒนา มหาวิทยาลัย 2) ด้านการเป็นพยานหลักฐานข้อเท็จของการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยในแต่ละยุคสมัย 3) ด้านการเป็นทรัพย์สินและภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัยที่ได้รับการสั่งสมและถ่ายทอดจากอดีตสู่ปัจจุบัน และ ต่อเนื่องไปถึงอนาคต ให้ความรู้หลากหลายสาขาวิชา เป็นแหล่งข้อมูลที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้า ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การศึกษา ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 4. ด้านความทรงจาร่วมกันของประชาคมในมหาวิทยาลัย ซึ่งเกิดจาก และยังไม่สิ้นกระแสการปฏิบัติงานเพื่อใช้ในการบริหารงานและทุติยภูมิการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติการบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดจากการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยที่สะท้อนให้เห็นถึงภาพรวมของการบริหารเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่หมายถึงทรัพยากรสารสนเทศปฐมภูมิทุกรูปแบบที่หน่วยงานหรือบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ได้จัดทาขึ้นหรือรับไว้หรือดาเนินกิจกรรมตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายทั้งสิ้นกระแสการปฏิบัติงานแต่ได้รับการประเมินว่ามีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ต่อมหาวิทยาลัย ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม ดังนี้ 1. เอกสารจดหมายเหตุ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศปฐมภูมิ ทุติยภูมิทุกรูปแบบที่หน่วยงานหรือ ต่างของกิจกรรมนั้นบุคคลของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่จัดทาขึ้นเพื่อการดาเนินงานตามหน้าที่และเก็บเป็นหลักฐานๆเช่นเอกสารการประชุมบันทึกความทรงจาเอกสารการปฏิบัติงานของคณะศูนย์สถาบันๆเช่นคาสั่งประกาศแผนปฏิบัติงานเป็นต้น 2 สิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศทุติยภูมิ ทุกรูปแบบที่หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยจัดทาขึ้นเพื่อเผยแพร่กิจการของมหาวิทยาลัย หรือทรัพยากร สารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยแต่จัดทาขึ้นโดยหน่วยงานภายนอกและมหาวิทยาลัยได้จัดหาไว้

85 เช่น รายงานประจาปี แผนปฏิบัติงานประจาปี ทาเนียบบัณฑิต วารสารพิงค์ราชภัฏ พิฆเนศวร์สาร วารสาร บัณฑิตวิจัย หนังสือที่ระลึกเกษียณอายุราชการ เป็นต้น 3. โสตทัศนวัสดุและสื่ออิเล็กทรอนิกส์จดหมายเหตุ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ ที่อยู่ในรูปของภาพถ่าย ฟิล์มเนกาตีฟ สไลด์ เทปบันทึกเสียง วีดิทัศน์ แผนที่ แผนผัง พิมพ์เขียว แบบจาลอง ของจริง ซีดีรอม แผ่นบันทึกข้อมูล ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ 4. ประวัติคาบอกเล่า หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกคาบอกเล่าจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หรือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 5. วัสดุจดหมายเหตุ ได้แก่ วัสดุ สิ่งของ เครื่องใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในพิธีสาคัญหรือที่เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย6.จดหมายเหตุส่วนบุคคลได้แก่เอกสารสิ่งพิมพ์ โสตทัศนวัสดุ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ ของที่ระลึกส่วนตัวของผู้บริหารระดับสูง หรือผู้สร้างชื่อเสียงหรือผู้ทาคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัย 1.2 การวิเคราะห์สภาพเอกสารจดหมายเหตุ สานักหอสมุดสารวจและวิเคราะห์ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุในเบื้องต้น พบว่า เอกสารจดหมายเหตุทั้งหมดมีลักษณะเป็นสิ่งพิมพ์ และโสตทัศนวัสดุ สิ่งพิมพ์ ได้แก่ คาสั่ง ประกาศ เอกสารการประชุม แผนการปฏิบัติงาน ผลการดาเนิน โครงการ ทาเนียบบัณฑิต สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องของมหาวิทยาลัย เช่น วารสารพิงค์ราชภัฏ พิฆเนศวร์สาร วารสาร บัณฑิตวิจัย เป็นต้น หนังสือที่ระลึกงานเกษียณอายุราชการ แผ่นพับ ใบปลิว ฯลฯ โสตทัศนวัสดุ ได้แก่ ภาพถ่าย แบบแปลนอาคารบางส่วน นอกจากนี้พบว่า เอกสารจดหมายเหตุเคยได้รับการจัดเรียงและให้รหัสเอกสารจดหมายเหตุแล้ว แต่ยังไม่ได้จัดทาคู่มืออธิบายการจัดเรียงและคู่มือการจัดทาคาอธิบายเอกสารจดหมายเหตุ ประกอบกับ มีการขนย้ายเอกสารจดหมายเหตุหลายครั้งไปเก็บยังหลายสถานที่ กล่องเอกสารจดหมายเหตุทั้งหมด จึงปะปนกัน ไม่ได้จัดเก็บตามรูปแบบเดิมที่เคยมีการจัดเรียงไว้ตั้งแต่แรก จึงทาให้ไม่สามารถดาเนินงาน ต่อเนื่องจากเดิมได้ ผู้เกี่ยวข้องให้ข้อเสนอแนะว่าควรคัดแยก จัดเรียงเอกสารจดหมายเหตุ และจัดทาคาอธิบาย เอกสารจดหมายเหตุใหม่ เพื่อให้การจัดการเอกสารเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ

86 ภาพที่ 1 2 การสารวจสภาพปัจจุบันของเอกสารจดหมายเหตุ พบว่า เอกสารจดหมายเหตุเคยได้รับ การจัดเรียงและให้รหัสเอกสารจดหมายเหตุแล้ว แต่ยังไม่ได้จัดทาคู่มืออธิบายการจัดเรียงและคู่มือการจัดทา คาอธิบายเอกสารจดหมายเหตุ 1.3 การประเมินระดับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ สานักหอสมุดได้ศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ ราชภัฏเชียงใหม่โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือสาหรับเก็บรวมรวบข้อมูลจากบุคลากรในมหาวิทยาลัยจานวน27หน่วยงาน56คนพบว่า 1. ระดับความรู้ ความเข้าใจในลักษณะของเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ อยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.32) 2. ระดับความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการคัดเลือกเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ อยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.16) 3. ระดับความรู้ ความเข้าใจความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการส่งมอบเอกสารจดหมาย เหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.39) 4. ระดับความรู้ ความเข้าใจในเกี่ยวกับสถานที่จัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ อยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.15) แสดงให้เห็นว่า เรื่องการจัดเก็บเอกสารโสตทัศน์จดหมายเหตุเชียงใหม่ราชภัฏเชียงใหม่มากที่สุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่นอกจากนี้ความเข้าใจในเกี่ยวกับงานเอกสารจดหมายเหตุบุคลากรจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่มีระดับความรู้รวมทั้งขั้นตอนและแนวทางการปฏิบัติงานอยู่ในระดับน้อยแต่ละหน่วยงานมีความต้องการการอบรมเกี่ยวกับการสร้างความรู้ความเข้าใจในงานจดหมายเหตุในเรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับลักษณะของเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยรองลงมาคือเรื่องการประเมินคุณค่าเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยราชภัฏแนวทางการคัดเลือกเอกสารและส่งมอบเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่



87 งานจดหมายเหตุ มีผลสัมฤทธิ์หลังการอบรมสูงขึ้นกว่าก่อนการอบรมทุกคนมหาวิทยาลัยเรื่องวิธีการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานจึงได้ดาเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจจดหมายเหตุทุกหน่วยงานภายในโดยมีผู้เข้าร่วมการอบรมทั้งหมด77คนจาก26หน่วยงานหลังจากการอบรมผู้เข้าร่วมอบรมผลสัมฤทธิ์ก่อนอบรมคะแนนเฉลี่ย 11.98 คะแนน ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน 15 คะแนน 2. การจัดทาคู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คณะกรรมการดาเนินงานจดหมายเหตุมหาวิทยาลัย (ระดับมหาวิทยาลัย) ได้มอบหมายให้ สานักหอสมุดจัดทาคู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เพื่ออธิบายลักษณะ ของเอกสารจดหมายเหตุ แนวปฏิบัติ และขั้นตอนการส่งมอบเอกสารจดหมายเหตุให้กับหอจดหมายเหตุ และลงทะเบียนรายการบรรณานุกรมต่อไปฐานข้อมูลขึ้นมาเพื่อรองรับโดยให้จัดส่งไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ทางระบบฐานข้อมูลจดหมายเหตุดิจิทัลของมหาวิทยาลัยที่กการจัดเก็บเอกสารจดในความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานขั้นตอนการจัดการเอกสารจดหมาเอกสารจดหมายเหตุของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่คู่มือการจัดตารางกรวมทั้งจัดทาตารางกาหนดอายุเอกสารจดหมายเหตุจากการศึกษาคู่มือการจัดตารางกาหนดอายุการเก็บเอกสารหน่วยงานของรัฐของกรมศิลปากรและาหนดอายุการเก็บเอกสารจากมหาวิทยาลัยที่มีการดาเนินงานด้านหอจดหมายเหตุจากหลากหลายมหาวิทยาลัยได้นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และดาเนินการจัดทาคู่มือการจัดเก็บคู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ได้กาหนดนโยบายแนวทางและยเหตุของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยดังต่อไปนี้1.ให้ทุกหน่วยงานทาการสารวจรวบรวมคัดเลือกและประเมินคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุตามเกณฑ์ตารางกาหนดอายุเอกสารจดหมายเหตุที่ปรากฏในคู่มือหมายเหตุมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่2.ส่งมอบให้กับหอจดหมายเหตุภายในเดือนมกราคมของทุกปีในรูปแบบของไฟล์อิเล็กทรอนิกส์าลังพัฒนาระบบเอกสารจดหมายเหตุจากทุกหน่วยงาน3.หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่จดหมายเหตุจะทาการลงทะเบียนรับและตรวจสอบเอกสารจดหมายเหตุ

88 ภาพที่ 3 5 คู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่ได้อธิบายลักษณะ ของเอกสารจดหมายเหตุ แนวปฏิบัติ นอกจากนี้คู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุและขั้นตอนการส่งมอบเอกสารจดหมายเหตุให้กับหอจดหมายเหตุได้กาหนดรูปแบบรหัสอ้างอิงเอกสารจดหมายเหตุ จานวน 8 กลุ่ม คือ หมวดหมู่หลัก หมวดหมู่รอง หมวดหมู่ย่อย หมวดหมู่หน่วยงาน หน่วยงานหลัก หน่วยงาน ย่อย ปีพิมพ์เอกสาร ลาดับเอกสาร โดยที่รหัสอ้างอิงแต่ละตาแหน่งมีหน้าที่แตกต่างกันไป ดังนี้ 1 รหัสกลุ่มที่ 1 3 คือ หมวดหมู่เอกสาร ประกอบด้วยหมวดหมู่หลัก หมวดหมู่รอง หมวดหมู่ย่อย 1.1 หมวดหมู่หลัก มีการจาแนกหมวดหมู่หลัก 14 หมวดหมู่ ดังนี้ (หมวด 01) กง การเงิน งบประมาณ (หมวด 02) กม พระราชบัญญัติ มติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด คาสั่ง ประกาศ (หมวด 03) ทป โต้ตอบทั่วไป (หมวด 04) บห บริหารทั่วไป (หมวด 05) บค บริหารบุคคล (หมวด 06) ปช การประชุม (หมวด 07) พน การพัฒนาบุคลากร (หมวด 08) วด วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง (หมวด 09) รง รายงาน สถิติ และแบบสอบถาม (หมวด 10) ผง แผนงาน โครงการ งานวิจัย (หมวด 11) นศ นักศึกษา (หมวด 12) บศ บริการการศึกษา (หมวด 13) พธ พิธีการต่าง ๆ และ (หมวด 14) ปก การประกันคุณภาพและ ระบบบริหารงานคุณภาพ 1.2 หมวดหมู่รอง เป็นหมวดหมู่รองที่แยกออกจากหมวดหมู่หลักแต่ละหมวดหมู่ มีการจาแนก หมวดหมู่รองออกเป็น 67 หมวด 1.3 หมวดหมู่ย่อย เป็นหมวดหมู่ที่แยกออกจากหมวดหมู่รอง โดยมีการกาหนดเกณฑ์อายุเอกสาร จดหมายเหตุในหมวดต่าง ๆ ทั้ง 14 หมวดถึงระดับหมวดหมู่ย่อย




89 2 รหัสกลุ่มที่ 4 6 คือ หมวดหมู่หน่วยงาน ประกอบด้วย หมวดหมู่หน่วยงาน หน่วยงานหลัก หน่วยงานย่อย 2.1 หมวดหมู่หน่วยงาน มีการจาแนกหมวดหมู่หน่วยงาน 5 หมวดหมู่ ได้แก่ (01) จษ หน่วยงาน จัดการศึกษา (02) สก หน่วยงานสนับสนุนวิชาการ (03) ภน หน่วยงานภายใน (04) ลฉ หน่วยงาน ลักษณะเฉพาะ และ (05) ศปล ศูนย์ความเป็นเลิศ 2.2 หน่วยงานหลัก เป็นหน่วยงานทั้งหมดในมหาวิทยาลัยที่แบ่งตามหมวดหมู่หน่วยงาน 5 หมวดหมู่ (ตามโครงสร้างการบริหารงานของมหาวิทยาลัย) เช่น (01) จษ หน่วยงานจัดการศึกษา ประกอบ ไปด้วยหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการศึกษา จานวน 10 หน่วยงาน คือ คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาลัย นานาชาติ วิทยาลัยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชนแห่งเอเชีย บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน และ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เป็นต้น 2.3 หน่วยงานย่อย การบริหารงานของแต่ละหน่วยงานเป็นงานหรือหน่วยงานในระดับที่ต่าลงมาจากหน่วยงานหลักตามโครงสร้าง 3 รหัสกลุ่มที่ 7 คือ ปีพิมพ์เอกสาร 4 รหัสกลุ่มที่ 8 คือ ลาดับเอกสาร ตัวอย่างเช่น รายงานประจาปี 2545 ของโรงเรียนสาธิตสถาบันราชภัฏเชียงใหม่ ฉบับครบรอบ 20 ปี (2526 2546) ใช้รหัสอ้างอิงเอกสารจดหมายเหตุ คือ รง 01 003 จษ สธ บร 2545 0001 หมายความว่า ตารางที่ 1 ตัวอย่างคาอธิบายรหัสอ้างอิงเอกสารจดหมายเหตุ กลุ่มที่ หมวดหมู่ รหัสอ้างอิงจดหมายเหตุ คาอธิบายรหัสอ้างอิงเอกสาร 1 หมวดหมู่หลัก รง รายงาน สถิติ และแบบสอบถาม 2 หมวดหมู่รอง 01 รายงาน 3 หมวดหมู่ย่อย 003 รายงานประจาปีของมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน 4 หมวดหมู่หน่วยงาน จษ. หน่วยจัดการศึกษา 5 หน่วยงานหลัก สธ. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 6 หน่วยงานย่อย บร. ฝ่ายบริหารทั่วไป 7 ปีพิมพ์เอกสาร 2545 ปี 2545 8 ลาดับเอกสาร 0001 เอกสารลาดับที่ 1

90 ภาพที่ 6 7 ตารางจาแนกหมวดหมู่และเกณฑ์หนดอายุเอกสารจดหมายเหตุ สรุปผล ข้อเสนอแนะ และการนาไปใช้ประโยชน์ สรุปผล การศึกษาสภาพปัจจุบันของเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พบว่า เอกสาร จดหมายเหตุเคยได้รับการจัดเรียงและให้รหัสเอกสารจดหมายเหตุแล้ว แต่ยังไม่ได้จัดทาคู่มืออธิบาย การจัดเรียงและคู่มือการจัดทาคาอธิบายเอกสารจดหมายเหตุ และจากการประเมินระดับความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ แสดงให้เห็นว่าบุคลากรมีระดับความรู้ความเข้าใจ ในเกี่ยวกับงานเอกสารจดหมายเหตุ รวมทั้งขั้นตอน และแนวทางการปฏิบัติงานอยู่ในระดับน้อย คณะกรรมการดาเนินงานจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จึงได้มอบหมายให้สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จัดทาคู่มือการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ เพื่อกาหนดนโยบาย แนวทาง และ ขั้นตอนการส่งมอบเอกสารจดหมายเหตุให้กับหอจดหมายเหตุ ข้อเสนอแนะ 1. เอกสารจดหมายเหตุเก่า ๆ ของหน่วยงานบางส่วนอาจจะไม่ได้ถูกจัดเก็บตามเกณฑ์กาหนดอายุ เอกสารจดหมายเหตุ ให้กับงานจดหมายเหตุอย่างต่อเนื่องควรมีการสร้างความรู้ความเข้าใจและทอาจสูญหายระหว่างการขนย้ายหรือถูกทาลายไปเนื่องด้วยความไม่รู้และไม่เข้าใจาให้หน่วยงานเห็นความสาคัญของการส่งมอบเอกสารจดหมายเหตุ 2. ควรมีการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุประเภทอื่น ๆ ควบคู่ไปกับการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ ประเภทสิ่งพิมพ์หรือสื่อโสตทัศน์ อาทิเช่น เอกสารจดหมายเหตุประเภทประวัติคาบอกเล่า วัสดุจดหมายเหตุ รวมทั้งเอกสารจดหมายเหตุส่วนบุคคล เพื่อทาให้หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยมีข้อมูลที่ครอบคลุมทุกด้าน



91 การนาไปใช้ประโยชน์ 1. หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เป็นสถานที่เก็บรักษา รวบรวม และอนุรักษ์ เอกสารสาคัญของมหาวิทยาลัยไม่ให้สูญหายหรือถูกทาลาย ซึ่งเอกสารเหล่านี้เป็นเอกสารสาคัญและมีคุณค่า ต่อมหาวิทยาลัย อีกทั้งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษา ค้นคว้า วิจัย สาหรับนักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และผู้ที่สนใจ รายการอ้างอิง กรมศิลปากร. (2557). คู่มือการจัดตารางกาหนดอายุการเก็บเอกสารหน่วยงานของรัฐ. กรุงเทพฯ: กรมฯ กรมศิลปากร. สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2559). คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหารและจัดการงาน จดหมายเหตุ (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมฯ. บุหลัน กุลวิจิตร. (2559). เอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยกับการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์, 18(2), 101 112. สืบค้นจาก http://hs.pbru.ac.th/ phocadownloadpap/hs_magazine/2 2559/8.pdf ปิยะฉัตร ลุนลา และ อังษณา แก้วหณุ. (2562). การศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่: สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคเชียงใหม่.โนโลยีสุรนารี. งานจดหมายเหตุมหาวิทยาลัย. ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการสอน. (2556). เอกสารและจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีหลักเกณฑ์การคัดเลือกและตารางกาหนดอายุการเก็บ (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 4) สืบค้นจาก http://203.158.6.10/sut_archive/archive_manual.pdf มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. คณะอนุกรรมการดาเนินงานจดหมายเหตุ. (2563). คู่มือการจัดเก็บเอกสาร จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. เชียงใหม่: สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. สมสรวง พฤติกุล. (2539). หลักและแนวปฏิบัติงานจดหมายเหตุสาหรับภาครัฐและเอกชน. นนทบุรี: โครงการส่งเสริมการแต่งตารา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สวนีย์ วิเศษสินธุ์. (2540). คุณค่าทางประวัติศาสตร์ของเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัย. บรรณสาร มศก.ท. 12(1), 14 16. สุชาดา สุรางค์กุล และ ลาปาง แม่นมาตย์. (2553). แนวทางการจัดการเอกสารจดหมายเหตุในสถาบัน อุดมศึกษา: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. (บศ.),10(3), 145 156. สืบค้นจาก https://ph02.tci thaijo.org/index.php/gskku/article/view/22594 อุบล ใช้สงวน. (2533). เอกสารจดหมายเหตุมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ. สารกรมศิลปากร, 3(11), 21 23.
