7chaingkong6

Page 3

จับปลาบึกไดก็จะไดรับการประกันราคากิโลกรัมละ ๒๕๐ บาท โดยขายใหกับชมรมปลาบึกซึ่งติดตอขาย ใหกับเจาของภัตตาคารโดยตรง ไมผานพอคาคนกลาง สื่อมวลชนประโคมขาวการจับปลาบึกของชาวบานหาดไคร จนป ๒๕๓๙ เกิดกระแสอนุรักษ ปลาบึกขึ้น ซึ่งมีมูลนิธิคุมครองสัตวปา กรมประมงและหนวยราชการไดมีการรณรงคซื้อปลาบึกคืนลงสู แม น้ํ า โขง มีก ารจั ด โครงการรั ก ษ ป ลาบึ ก รั ก ษ เ ชี ย งของร ว มฉลองกาญจนาภิ เ ษก ในป เ ดี ย วกั น นั้ น มกุ ฏ ราชกุ ม ารญี่ ปุ น เสด็ จ ทอดพระเนตรพิ ธี บ วงสรวงและการจั บ ปลาบึ ก ของชาวบ า น ราชการได ตระเตรียมการเลี้ยงผีลวงจําลอง แสดงใหพระองคไดทอดพระเนตร ตอมากลายเปนประเพณีท่ีจัดขึ้นเพื่อ เปนการทองเที่ยว อยางไรก็ตาม หลังที่แสดงการบวงสรวงปลาบึกแลว พวกเขาก็ตองไปเลี้ยงผีลวงตาม ความเชื่อที่ทําสืบกันมา ป พ.ศ.๒๕๔๓ เจาหนาที่กรมประมงนําปลาบึกที่ผสมพันธุเลี้ยงในบออนุบาล ตัวโตเทากับแขน จํานวน ๑๐,๐๐๐ ตัว ปลอยลงสูแมน้ําโขง เพื่อไมใหปลาบึกสูญพันธุอีกตอไป แตปลาที่ปลอยไมสามารถ ปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม หรือระบบนิเวศของแมน้ําโขงได พากันลอยโผลหัวขึ้นมาจากน้ําเปนจํานวน มาก ชาวบานก็พากันไปจับมาขาย และกิน พวกเขาบอกวา ปลาที่เจาหนาที่ปลอยไมใชปลาบึก แตเปน ปลาลูกผสมระหวางปลาบึกกับปลาสวาย นับตั้งแตป ๒๕๔๔–๒๕๔๖ เปนเวลา ๓ ปแลวที่ชาวบานหาด ไครจับปลาบึกไมไดเลย การทํามาหากินของคนรอบนอกเวียง ในเขตอําเภอเวียงแกนไดเริ่มปลูกพืชเศรษฐกิจที่ สําคัญ คือ ลําไย ลิ้นจี่ สม และสมโอ ชาวอําเภอเวียงแกนนําพันธุสมโอจากอําเภอนครชัยศรี จังหวัด นครปฐมมาปลูก ซึ่งใหผลผลิตดีมากทั้งจํานวนและคุณภาพเทียบเทากับสมโอนครชัยศรี มีพอคาจํานวน หนึ่งไดนําตราสมโอนครชัยศรีมาติดแลวนําออกจําหนายในที่ตาง ๆ โดยพอคาเหลานี้ไดเขาไปรับซื้อดวย ตนเอง สมโอเปนพืชเศรษฐกิจที่สรางชื่อเสียงใหกับเวียงแกนมาก ในฤดูกาลที่ผลผลิตออกมาก็มีการจัด งานเทศกาลสมโอเวียงแกน เพื่อกระตุนใหเกิดกระแสการทองเที่ยว มีการประกวดเทพีสมโอ การออกราน ขายสมโอสดจากสวน เปนตน การจัดงานไดรับการสนับสนุนจากหนวยราชการในอําเภอเวียงแกน ในวัน เป ด งานก็เ ชิญ ผูว า ราชการ หรื อ ส.ส.มาเปน ประธานเป ด งานอย า งเปน ทางการ เนื่อ งจากส ม โอให ผลตอบแทนทางการเงินใหกับชาวบานไดดี จึงเกิดการถางปาเพื่อปลูกสมโอมากขึ้น ชุมชนที่เคยหาปลาเปนอาชีพหลักอยางบานหวยลึก อําเภอเวียงแกนเพื่อที่จะนําปลาไปแลกขาว เพราะพื้นที่ลักษณะทางภูมิประเทศบานหวยลึกตั้งอยูใกลแมน้ําโขง เปนเชิงเขา ปลูกขาวไรไดจํานวน จํากัดใหผลผลิตไมเต็มที่ ประกอบกับมีสัตวปา หมูปาเปนตน และสัตวของคนเมืองในตําบลมวงยายมา ทําลาย การปลูกสมโอจึงเปนทางเลือกที่ดีที่ทํารายไดเปนกอบเปนกํา นอกจากนั้น การหาปลาสามารถทํา ในเวลาวางได อยางไรก็ตาม ชุมชนบานหวยลึกก็ยังมีความผูกพันอยางแนบแนนกับการหาปลาในน้ําโขง เปนอยางมาก ซึ่งเราสามารถไปชมไดที่บริเวณผาได อยางไรก็ตาม ในยุคนี้การสัญจรไปมาไดสะดวก รวมทั้งการคาขายสามารถไปถึงไดทุกหัวบาน พรอมกับที่ไฟฟาไดเขาไปทุกหมูบาน ชุมชนกลุมชาติพันธุบนพื้นที่สูงไดเขาสูสภาพเศรษฐกิจที่รอยรัด รวมกับเมืองใหญ การปลูกขาวโพด ขิง และพืชเศรษฐกิจหลักอื่นๆ เชน สม สมโอ ลิ้นจี่ ลําไย นําไปสู


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.