จุลสารคณะนิ ต ิ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 มีนาคม 2558
อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา (อัดตานัง ทะมะยันติ ปันฑิิตา) บัณฑิตย่อมฝึกฝนตนเอง
กีฬาประเพณีสานสัมพันธ์นิติศาสตร์ มรม–มมส ครั้งที่ 5 วันที่ 2 มีนาคม 2558
2
บทบรรณาธิการ สวัสดีท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน สำาหรับจุลสารฉบับนี้ ได้รวบรวมกิจกรรมที่ สำาคัญๆ ทีท่ างคณะนิตศิ าสตร์ได้เข้าร่วม ตลอดจนดำาเนินการจัดขึน้ ภายใต้ภารกิจและ ยุทธศาสตร์ทที่ างคณะนิตศิ าสตร์ได้วางแผนไว้ เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ในการพัฒนา ระบบการเรียนการสอนภายในคณะนิตศิ าสตร์ ในจุลสารฉบับนี้ มีขอ้ สังเกตบางประการ ของกฎหมายใหม่ เกี่ยวกับกรณีการแก้ ไขเปลี่ยนแปลงในสิทธิของผู้ค้ำาประกัน ให้ผู้ อ่านได้ทราบเพื่อประโยชน์ในการทำาธุรกรรมต่อไปครับ.
รวมงานวันพื้นที่ชุมนำา้ โลก
เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 อาจารย์ศุภวุฒิ โมกข์เมธากุล รองคณบดีฝ่ายบริหารและ แผน และนายอานุภาพ งามสูงเนิน รักษาการในตำาแหน่งหัวหน้าสำานักงานเลขานุการคณะ นิติศาสตร์ ร่วมงานวันพื้นที่ชุ่มน้ำาโลก (Wetlands for Our Future) ณ สถานีปฏิบัติ การบ้านเกิ�ง (กุดแดง) สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
รวมงานเทศน์มหาชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2558 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้เข้าร่วมงาน เทศน์มหาชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนือ่ ง ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 60 พรรษา (2 เมษายน 2558) ณ บริเวณสวนป่าด้านข้างอาคารบรมราชกุมารี โดยคณะนิติศาสตร์ ได้เป็นเจ้าภาพกัณฑ์ที่ 9 กัณฑ์มทั รี ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์พฒ ั นาและประกันคุณภาพ การศึกษา.
สารบัญ กีฬาประเพณีสานสัมพันธ์นิติศาสตร์ มรม-มมส ครั้งที่ 5 >> 1 << บทบรรณาธิการ >> 2 << ร่วมงานวันพื้นที่ชุ่มน้ำาโลก >> 2 << ร่วมงานเทศน์มหาชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี >> 2 << ละคอนเวทีคณะนิติศาสตร์ คฤหาสน์เพลิงสวาท >> 3 << สัมภาษณ์นิสิตเพื่อรับทุนการศึกษา “ทุนเงินรายได้” >> 3 << กองทะเบียนและประมวลผลสัญจร คืนความสุขให้นิสิตคณะนิติศาสตร์ >> 3 << โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเตรียมความพร้อม การประกันคุณภาพฯ 2557 >> 4 << ต้อนรับนักกีฬา ผู้ควบคุมทีม และเจ้าหน้าที่กีฬามหาวิทยาลัยฯ >> 4 << ตรวจประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำารับรองการปฏิบัติราชการ พ.ศ.2557 >> 4 << แสดงความยินดีกับ รศ.ดร.สัมพันธ์ ฤทธิเดช >> 4 << งานกีฬาสานสัมพันธ์ 12 คณะ ประจำาปี 2558 >> 5 << สัมภาษณ์โครงการ “ต้นกล้านิติศาสตร์” >> 5 << สัมภาษณ์ผู้สมัครเข้าศึกษาในระดับ ปริญญาตรี ระบบรับตรง >> 5 << ฉันจึงมาหาความหมาย >> 6 << โครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร >> 6 << ศิษย์เก่าคนเก่ง >> 7 << กฎหมายน่ารู้ >> 8 <<
เจาของ : คณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ที่ปร�กษา : ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์, ดร.ดวงเดน นาคสีหราช, ดร.วนิดา พรมหลา, อ.ศักดิ์ชาย สุนทรธนาภิรมย, อ.รว�วรรณ อินทรว�ชา, อ.ธีรศักดิ์ กองสมบัติ, นายอานุภาพ งามสูงเนิน บรรณาธิการ : อ.ศุภวุฒิ โมกขเมธากุล ผูชวยบรรณาธิการ : อ.สุภาพร พ�ทักษเผาสกุล กองบรรณาธิการ : คณาจารยและบุคลากรคณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ออกแบบและถายภาพ : มิ�งมนัสชน จังหาร คณะนิติศาสตร อาคารราชนคร�นทร ชั้น 4 ตําบลขามเร�ยง อําเภอกันทรว�ชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทร. 0-4375-4333 ตอ 2118, 2119, 2123, 09-4310-0113 laws.msu.ac.th facebook.com/lawsmsu
3
ละคอนเวทีคณะนิติศาสตร์ คฤหาสน์เพลิงสวาท (นิติดราม่า คดีดำ�หมายเลข 7)
ละครเวทีคณะนิติศาสตร์ เรื่องคฤหาสน์เพลิงสวาท (นิติดราม่า คดีดำ�หมายเลข 7) ถือเป็นกิจกรรมที่ได้จัดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในรายวิชาว่าความ และศาลจำ�ลอง ที่เปิดโอกาสให้นิสิตได้เข้ามีส่วนร่วมในการ ดำ�เนินการจัดกิจกรรมดังกล่าว ซึง่ ในปีนี้ได้ท�ำ การแสดงเมือ่ วัน ที่ 26 มีนาคม 2558 เวลา 17.00 น. ณ. ห้องประชุมใหญ่ MU 300 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์.
สัมภาษณ์นิสิตเพื่อรับทุน การศึกษา “ทุนเงินรายได้”
เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2557 เวลา 13.30 น. คณาจารย์คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้สัมภาษณ์นิสิตคณะ นิตศิ าสตร์ เพือ่ มอบทุนการศึกษา “ทุนเงินรายได้” ซึง่ เป็นทุน การศึกษาที่มอบให้กับนิสิตระดับปริญญาตรี ตั้งแต่ชั้นปีที่ 2 ขึ้นไปและมีผลการเรียนสะสมไม่ต่ำ�กว่า 2.50 ขาดแคลนทุน ทรัพย์ เป็นนิสิตที่ ไม่ ได้รับทุนประเภทต่อเนื่องหรือทุนอื่น ภายในปีการศึกษา 2557 (ยกเว้นทุก กยศ. หรือ กรอ.) เป็น นิสิตที่มีความประพฤติเรียบร้อย และไม่เคยถูกลงโทษหรือ อยู่ระหว่างการพิจารณาโทษวินัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยคณะนิติศาสตร์ ได้รับการจัดสรรทุนจำ�นวน 2 ทุน ทุนละ 5,000 บาท.
กองทะเบียนและประมวลผลสัญจร คืนความสุขให้นิสิตคณะนิติศาสตร์
เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2558 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ ให้การต้อนรับนางอรอนงค์ เมฆพรรณโอภาส ผู้อำ�นวยการกองทะเบียนฯ พร้อมด้วยคณะ “โครงการจัดการความรู้ : กองทะเบียนและประมวลผล สัญจร คืนความสุขให้นสิ ติ ” ณ ห้อง RN-504 เพือ่ เป็นการสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับงานวิชาการและบริการต่างๆ ของกองทะเบียนและประมวลผล และเพื่อให้นิสิต บุคลากร คณาจารย์ สามารถนำ�ไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการเปิดโอกาสให้นิสิตและผู้เข้าร่วมได้ ซักถามปัญหาและข้อเสนอแนะต่างๆ ซึ่งได้รับความสนใจจากนิสิตของ คณะเป็นจำ�นวนมาก.
4
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเตรียม ความพร้อมการประกันคุณภาพฯ 2557 เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09.00 น. คณบดี ผู้บริหาร คณาจารย์และบุคลากร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้ า ร่ว มโครงการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ก ารเตรี ย มความพร้ อ มการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2557 เพือ่ สร้างความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวบ่งชี้ เกณฑ์ และแนวปฏิบัติในการดำ�เนิน การประกั น คุ ณ ภาพ ตามคู่ มื อ ประกั น คุ ณ ภาพภายใน ระดั บ อุดมศึกษา ปีการศึกษา 2557 ณ ห้องประชุมคณะนิติศาสตร์.
ต้อนรับนักกีฬา ผู้ควบคุมทีม
และเจ้าหน้าที่ กีฬามหาวิทยาลัยฯ เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 คณบดี ผู้บริหาร คณาจารย์ คณะ นิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต้อนรับนักกีฬา ผูค้ วบคุมทีม และเจ้าหน้าที่ กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (นนทรีเกมส์) ซึง่ มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีนักกีฬาที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ มหาวิทยาลัยจำ�นวน 10 เหรียญ ในการแข่งขันกีฬาครัง้ นี้ นิสติ คณะ นิตศิ าสตร์ คือ นายภูภริต ธรรมานุยตุ นิสติ ชัน้ ปีที่ 1 ได้รางวัลเหรียญ ทองแดง ในกีฬามวยสากลสมัครเล่น ประเภท ไลท์เฮฟวี่เวต-ชาย น้ำ�หนักเกิน 75 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 81 กิโลกรัม.
กพร. ตรวจประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ตามคำ�รับรองการปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2557 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2558 คณบดี ผู้บริหาร คณาจารย์และบุคลากร คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมการตรวจประเมินผลการ ปฏิบัติราชการตามคำ�รับรองการปฏิบัติราชการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (หน่วยงานจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา) ณ ห้องประชุมคณะ นิ ติ ศ าสตร์ RN1- 405 ชั้ น 4 อาคารราชนคริ น ทร์ คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
แสดงความยินดีกับ
รศ.ดร.สัมพันธ์ ฤทธิเดช เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13.30 น. อาจารย์ศุภวุฒิ โมกข์เมธา กุล รองคณบดีฝา่ ยบริหารและแผน พร้อมด้วยผูร้ กั ษาการในตำ�แหน่งหัวหน้า สำ�นักงานเลขานุการคณะฯ และคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม มอบดอกไม้แสดงความยินดีกับ รศ.ดร.สัมพันธ์ ฤทธิเดช คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ในโอกาสได้รับพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่ง “ศาสตราจารย์”.
5
งานกีฬา
สานสัมพันธ์ 12 คณะ ประจำ�ปี 2558 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2558 คณบดี ผู้ บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรคณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้เข้าร่วมเดินขบวนและเข้าร่วมการ แข่งขันกีฬาชนิดต่างๆ ในงานกีฬาสาน สัมพันธ์ 12 คณะประจำ�ปี 2558 เพื่อ เป็นความเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง แต่ละหน่วยงาน เกิดความสามัคคีกลม เกลียว ช่วยเหลือปรองดองซึ่งกันและ กัน และทำ�ให้ร่างกายแข็งแรง รู้แพ้ รู้ ชนะ รูอ้ ภัย มีปฏิสมั พันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน เพือ่ รองรั บ การทำ � งานร่ ว มกั น อย่ า งมี ประสิทธิภาพในอนาคต.
สัมภาษณ์ โครงการ “ต้นกล้านิติศาสตร์”
สัมภาษณ์ผู้สมัครเข้าศึกษาในระดับ ปริญญาตรี ระบบรับตรง
เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558 เวลา 09.00 น. คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ สอบสั ม ภาษณ์ โ ครงการต้ น กล้ า นิ ติ ศ าสตร์ ณ ห้ อ งประชุ ม คณะ นิตศิ าสตร์ (RN-405) โดยโครงการต้นกล้านิตศิ าสตร์นน้ั ถือเป็นโครงการ รับตรงของทางคณะฯ.
เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2558 คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ สอบ สั ม ภาษณ์ ผู้ ส มั ค รเข้ า ศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ระบบรั บ ตรง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำ�ปีการศึกษา 2558 ณ ณ ห้อง ประชุมคณะนิตศิ าสตร์ (RN-405).
6
ฉันจึงมาหาความหมาย
การศึกษาคือ… นายภัทรพงษ์ วรรณพงษ์ นิสิตคณะนิติศาสตร์ชั้นปีที่ 2
“การศึกษา” คำานี้เป็นคำาที่คนส่วนใหญ่คงคุ้นเคยกัน จะมิให้ คุ้นเคยได้อย่างไร ก็ตั้งแต่เรา 5 ขวบ จนถึงอายุ 22 ปี เราต้องอยู่ใน วงจรที่เรียกว่าการศึกษา ตั้งแต่อนุบาลเมื่อเราหัดท่อง ABC ประถมที่ เราหัดบวกเลขสะกดคำา มัธยมที่เราต้องเรียนฟิสิกส์ เคมี และสอบเอา คะแนนเพื่อไปต่อมหาวิทยาลัย โดยเราทุกคนคงหวังจะได้เรียนคณะ และมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง ปัจจัยที่กล่าวมาดังกล่าว ส่งผลต่ออนาคตความเป็นอยู่ของ ชีวิตและครอบครัวของเราทั้งสิ�น แต่ถึงอย่างไรก็ตาม เรายังเห็นคนที่ เรียนจบคณะเด่นๆ จากมหาวิทยาลัยดังๆ แต่บุคคลเหล่านั้นกลับมา ประกอบอาชีพที่มิได้เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ ได้ศึกษามาเลย จึงได้ เกิดคำาถามขึ้นมาในจิตใจของข้าพเจ้าว่า “เราเร�ยนไปทําไม” หากบอก ว่าเรียนไปเพื่อให้ ได้ออกมาทำางานในสายวิชาที่เรียนมา ตามที่ข้าพเจ้า ได้กล่าวมาแล้วในข้างต้น มีหลายคนที่มิได้ทำางานเกี่ยวข้องกับสาย วิชาทีเ่ รียนเลย อาทิ “ตูน” นักร้องนำาวง Bodyslam เรียนจบการศึกษา สาขาวิชานิตศิ าสตร์ ปัจจุบนั เป็นนักร้อง และก่อนหน้านัน้ เคยเป็นพนักงาน ต้อนรับบนเครื่องบิน เห็นได้ชัดว่าการศึกษาของเขามิได้มีผลต่อการ ประกอบอาชีพของเขาในปัจจุบนั เลย ดังนัน้ หากจะถามว่าการศึกษาให้
สิ�งใดแก่เรา ข้าพเจ้าคงตอบได้จากการคิดวิเคราะห์ของสมองอัน โง่เขลาว่า มิได้ ให้สิ�งใดนอกจากความรู้ที่นำาไปสอบ และเรียนต่อๆ ไป “แต ทําไมการศึกษาจ�งสําคัญ” ข้าพเจ้าเห็นว่าการที่การศึกษาสำาคัญ นัน้ มิใช่เพราะการศึกษาให้สงิ� ใดแก่เรา แต่เรานัน้ ไปเอาอะไรมาจากการ ศึกษาบ้าง หลักสูตรประถมไม่เคยสอนให้เรามีรักแรก หลักสูตรมัธยม ก็มิได้สอนให้เรามีช่วงเวลาที่น่าจดจำา มีเพื่อน มีพวกพ้อง หลักสูตร อุดมศึกษาก็มิได้พร่ำาสอนให้เรามีการงานที่มั่นคงหรือร่ำารวย หรือมี ความสุข สิง� เหล่านีม้ ิใช่สงิ� ทีห่ ลักสูตรการศึกษาให้เรา แต่เราได้สงิ� เหล่า นัน้ มาจากการทีเ่ ราไปเอามาจากการศึกษา หากเรามิใฝ่หา เราก็จะมิได้ มันมา ทำาไมข้าพเจ้าถึงคิดเช่นนั้นทั้งที่ข้าพเจ้าเป็นเพียงเด็กปี 2 ที่ยัง หาเงินเองมิได้เสียด้วยซ้ำา ก็เพราะมีตัวอย่างให้เราเห็นได้ ในสังคม คน บางคนจบเพียง ม.3 แต่เป็นเจ้าของธุรกิจใหญ่โต คนบางคนจบปริญญา ตรี แต่ไปขายก วยเตี๋ยว ข้าพเจ้าหาได้ดูถูกอาชีพดังกล่าวไม่ เพียงแต่ จะยกขึน้ มาเพือ่ บอกว่าสิง� ทีก่ ารศึกษาให้เรานัน้ จะไม่มปี ระโยชน์กบั ชีวติ เราเลย หากเราไม่เรียนรู้โดยตัวเราเอง ตัวข้าพเจ้าตระหนักได้ถึงความ คิดเรื่องนี้ว่า หากข้าพเจ้าเพียงเรียนจบปริญญาตรี โดยที่ข้าพเจ้ามิได้ ใฝ่หาเรียนรูส้ งิ� ใดเลย ก็จะไม่มอี ะไรนำาไปใช้กบั โลกภายนอกได้ ในเมือ่ อีกเพียง 2 ปีข้างหน้า ตัวข้าพเจ้าเองก็จะต้องจบออกไปเผชิญกับโลก ภายนอกทีแ่ ท้จริงแล้ว ข้าพเจ้าจึงได้มาหาความหมายในคณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามแห่งนี้ “การเร�ยนนิตศิ าสตร ต องขยันกว าปกติและแม นยํา ประกอบ ทั้งความพากเพียรพยายาม ไม ย อท อเพื่อไปสอบให ได ตําแหน งผู ช วย ผู พิพากษาในปลายทาง” เป็นคำาที่บิดาของข้าพเจ้าพร่ำาบอกข้าพเจ้า เองตัง้ แต่ยงั เล็ก แต่ตวั ข้าพเจ้ากลับคิดว่า หากจะเป็นผูพ้ พิ ากษาทีเ่ พียง แต่แม่นยำาในกฎหมาย มิได้ ใส่ใจถึงความเป็นธรรมทีค่ วรจะพึงมี ก็คงจะ มิ ใ ช่ ผู้ พิ พ ากษาที่ ดีนั ก มิ ต่ า งอะไรจากคอมพิ ว เตอร์ ที่ บ รรจุ ตั ว บท กฎหมายเข้าไปและลงโปรแกรมคิดวิเคราะห์ผดิ ถูก แล้วอย่างนัน้ เราจะ ต้องมีผู้พิพากษาไปทำาไม ?.
โครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร เมือ่ วันที่ 20 มกราคม 2558 คณะนิตศิ าสตร์ ได้จดั โครงการสัมมนาเพือ่ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรคณะนิตศิ าสตร์ “การลงทะเบียนเรียน การ จัดตารางเรียนตารางสอน การดำาเนินการเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา และการจัดการศึกษาทั่วไป” ณ ร้าน ซี แอนด์ ซี มหาสารคาม (ศูนย์มี ชัย) โดยมีวิทยากรจากกองทะเบียนและประมวลผลมาให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อให้บุคลากรคณะนิติศาสตร์นำาความรู้ที่ได้ ไปใช้ประโยชน์ ในคณะต่อไป.
ศิษย เก าคนเก ง
7
เมื่อจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ก็ ได้เข้าเรียนที่สำานัก อบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาในพระบรมราชูปถัมภ์ สมัยที่ 64 ซึ่งมีโอกาสเรียนได้แค่ 1 ปีเท่านั้น เนื่องจากสภาพปัญหา ทางบ้าน ฉะนั้นจึงต้องตั้งใจเรียนเพื่อให้จบภายใน 1 ปี ซึ่งการเรียน เนติบณ ั ฑิตนัน้ แตกต่างจากการเรียนมหาวิทยาลัยโดยสิน� เชิง เพราะ เนื้อหาจะยากและมากกว่าระดับปริญญาตรี จึงได้เริ�มอ่านหนังสือ รวมคำาบรรยายเนติบัณฑิตตั้งแต่เรียนจบมหาวิทยาลัยเรื่อยมา จน เปิดภาคการศึกษาภาคที่ 1 สมัย 64 โดยในการเรียนจะต้องขยันอ่าน หนังสือ ขยันจดแลคเชอร์ ในระหว่างช่วงเวลาที่ไม่เข้าเรียนจะต้อง อ่านหนังสือ ซึ่งในวันที่มีเรียนจะอ่านหนังสืออย่างน้อยวันละ 5 ชั่วโมง และวันหยุดเรียนจะอ่านหนังสืออย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง สำาหรับหนังสือที่ ใช้ ในการอ่านก็จะเป็นหนังสือรวมคำาบรรยายเนติ บัณฑิตสมัย 63 และสมัย 64 หนังสือคำาอธิบายกฎหมายวิชาต่างๆ หนังสือสรุปกฎหมาย และข้อสอบเก่า สำาหรับการท่องประมวลจะ เป็นการท่องแบบสะสมโดยท่องวันละ 5 มาตราไปเรื่อยๆ ทำาแบบนี้ เป็นประจำา จึงทำาให้ประสบผลสำาเร�จจบเป็นเนติบัณฑิตสมัยที่ 64 ชื่อ นางสาวสุภาพร วันทะมาตร ชื่อเล่น ยุ้ย อายุ 26 ปี จบ ภายใน 1 ปี การศึกษาระดับมัธยมศึกษาทีโ่ รงเรียนบ้านไผ่ และได้ศกึ ษาต่อระดับ ปริญญาตรี สาขานิตศิ าสตร์ รุน่ 3 คณะวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สำาหรับการเรียนมหาวิทยาลัย ช่วงแรกๆ ก็ตั้งใจที่จะเรียนเพียงเพื่อให้จบมหาวิทยาลัยเหมือนคนอื่นๆ เพราะ ลูกชาวนานัน้ ไม่งา่ ยเลยทีจ่ ะสามารถเรียนให้จบมหาวิทยาลัยได้งา่ ยๆ เมื่อเข้าเรียนปี 1 ผลการเรียนก็ได้ระดับกลางๆ แต่ด้วยความที่เป็น คนทีช่ อบอ่านหนังสือ และคิดว่าการเรียนเป็นเพียงสิง� เดียวทีจ่ ะทำาให้ เรามีอาชีพที่ดี เลี้ยงพ่อกับแม่ได้ จึงได้ตั้งใจเรียน ขยันอ่านหนังสือ เพิ�มขึ้นเรื่อยๆ จากวันละ 1 ชั่วโมงก็เพิ�มขึ้นเรื่อยๆ เป็นวันละ 3 ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย และเพิ�มระยะเวลาในการอ่านให้มากขึ้นเมื่อ ใกล้สอบ ทำาให้ผลการเรียนเริม� ดีขนึ้ เรือ่ ยๆ จนกระทัง่ จบปี 4 ได้เกรด ประวัติการทํางาน เฉลี่ย 3.61 เป็นอันดับ 1 ของรุ่น ซึ่งไม่เคยคาดคิดมาก่อน สำาหรับ เมือ่ จบเนติบณ ั ฑิตก็ได้สมัครสอบเข้าทำางานทีส่ าำ นักอำานวย การใช้ ชี วิ ต ในมหาวิ ท ยาลั ย ก็ จ ะเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า งๆ ของ การศาลจังหวัดหนองคาย ตำาแหน่งนิติกร แต่ ในระหว่างนี้ก็สมัคร มหาวิทยาลัยและทางคณะจัดขึ้น แต่จะเน้นหนักในเรื่องการอ่าน สอบเข้ารับราชการไปด้วย และได้รบั ราชการทีส่ าำ นักงานป องกันและ หนังสือ เพราะเป็นคนที่ไม่ได้เรียนเก่งจึงต้องขยันให้มาก และด้วย ปราบปรามการฟอกเงิน ตำาแหน่งนักสืบสวนสอบสวนปฏิบตั กิ าร และ ความที่ ไม่ชอบอ่านหนังสือซ้ำาเล่มเดิม จึงทำาให้ต้องขวนขวายหา ได้ทำางาน (ปัจจุบัน) หนังสือกฎหมายใหม่ๆ มาอ่านเสริมนอกจากตำาราเรียน เช่น คำา บรรยายเนติบณ ั ฑิต หนังสือทีอ่ าจารย์เนติบณ ั ฑิตเป็นผูแ้ ต่ง แม้กระทัง่ ข้อสอบเก่าจากมหาวิทยาลัยรามคำาแหง ข้อสอบเก่าจากสถาบันฝ ก ผลงานทางด านว�ชาการอื่นๆ 1. โครงการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการกองทุนการ อบรมกฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา และข้อสอบเก่าที่ใช้ ในการสอบ ป องกันและปราบปรามการฟอกเงิน สำานักงานป องกันและปราบ ผู้พิพากษา – อัยการสนามใหญ่ เป็นต้น การศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทำาให้ ได้รู้ว่าการ ปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2557 2. โครงการศึกษาวิจยั การพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ เรียนไม่ ใช่เรื่องที่ ใครก็จะเรียนให้จบได้ แต่ต้องขยัน รับผิดชอบ ขวนขวายหาความรู้ ใหม่ๆ ให้กับตัวเอง นอกจากการได้รับความรู้ ทรัพย์สนิ สำานักงานป องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2557 แล้วยังได้รจู้ กั อาจารย์ทเี่ ป็นทัง้ พีแ่ ละอาจารย์ในเวลาเดียวกัน ได้รจู้ กั รุน่ พีท่ คี่ อยให้คาำ ปรึกษาและแนะแนวทางในการเรียน ได้รจู้ กั เพือ่ นที่ คติประจําใจ คุยและแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน และได้รู้จักรุ่นน้องที่น่ารัก การทำางานย่อมมีปัญหาและข้อผิดพลาดอยูเ่ สมอ คนที่ไม่มี โดยได้ให้คาำ ปรึกษากับน้องๆ ในเรือ่ งการเรียนและชีวติ ในมหาวิทยาลัย ปัญหาและข้อผิดพลาดคือคนไม่ทำางาน. ซึ่งสิ�งนั้นคือ “มิตรภาพ”
กฎหมายน ารู
คณาจารย คณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม
กรณีเกี่ยวกับการแก ไขเปลี่ยนแปลง ในสิทธิของผู ค้ําประกัน อ.สุภาพร พิทักษ์เผ่าสกุล อาจารย์ประจำาภาควิชากฎหมายเอกชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นทีช่ ดั เจนแล้วว่า พ.ร.บ.แก้ไขเพิม� เติมประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 20) พ.ศ.2557 เป็นเรื่องเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงในสิทธิของผู้ค้ำาประกันและผู้จำานอง ซึ่งบทความฉบับ นีจ้ ะได้มกี ารกล่าวถึงบางประเด็นที่ได้มกี ารแก้ไขเพิม� เติม เนือ่ งจาก บทบัญญัตเิ ดิมในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้คมุ้ ครองสิทธิ และให้ความเป็นธรรมกับผู้ค้ำาประกันและผู้จำานองไม่เพียงพอ ซึ่ง เมือ่ พิจารณาเปรียบเทียบกับบทบัญญัตทิ แี่ ก้ ไขเพิม� เติมดังกล่าวแล้ว จะเห็นว่า เป็นการเพิม� ความคุม้ ครองให้กบั ผูค้ า้ำ ประกันและผูจ้ าำ นอง มากขึ้น โดยเฉพาะในประเด็นที่ว่า ผู้ค้ำาประกันต้องรับผิดอย่างลูก หนี้ร่วมตาม ปพพ.มาตรา 691 เดิมนั้นมีผล คือ ให้ผู้ค้ำาประกันต้อง รับผิดอย่างลูกหนีร้ ว่ ม และผูค้ า้ำ ประกันหมดสิทธิในการทีจ่ ะเกีย่ งขอ ให้เจ้าหนี้บังคับชำาระหนี้เอาจากลูกหนี้ชั้นต้นก่อน ตามมาตรา 688 รวมถึงผูค้ า้ำ ประกันสิน� สิทธิในการทีจ่ ะพิสจู น์วา่ ลูกหนีม้ ที างทีจ่ ะชำาระ หนีแ้ ละการบังคับชำาระหนี้ไม่เป็นการยาก ตามมาตรา 689 และผูค้ า้ำ ประกันสิน� สิทธิในการทีจ่ ะขอให้เจ้าหนีบ้ งั คับชำาระหนีเ้ อาจากทรัพย์ ของลูกหนีท้ เ่ี จ้าหนี้ได้ยดึ ถือไว้เป็นหลักประกันนัน้ ก่อนได้ ตามมาตรา 690 หรือเมือ่ หากถือว่าเป็นลูกหนีร้ ว่ มแล้ว เจ้าหนีส้ ามารถทีจ่ ะเรียก ให้ตัวลูกหนี้ชั้นต้นหรือผู้ค้ำาประกันให้ชำาระหนี้ก่อนก็ ได้ ซึ่งการ แก้ ไขเพิ�มเติมในครั้งนี้ได้มีการให้ยกเลิกมาตรา 6911 ในเรื่องของ การรับผิดอย่างลูกหนีร้ ว่ มของผูค้ าำ้ ประกัน และได้บญ ั ญัตขิ อ้ กฎหมาย ใหม่โดยการห้ามเจ้าหนีท้ าำ สัญญาค้าำ ประกันทีก่ าำ หนดให้ผคู้ า้ำ ประกัน รับผิดอย่างเดียวกับลูกหนี้ หรือเข้าร่วมเป็นลูกหนี้ร่วมในหนี้ที่ตน เป็นผูค้ า้ำ ประกัน ซึง่ หากสัญญาค้าำ ประกันใดมีขอ้ สัญญาทีก่ าำ หนดใน ลักษณะให้ผู้ค้ำาประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมแล้วให้ถือว่าข้อ
1
พระราชบัญญัตแิ กไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับที่ 20) พ.ศ. 2557
ตกลงดังกล่าวเป็นโมฆะ มีผลคือ ทำาให้ผู้ค้ำาประกันไม่ต้องรับผิด อย่างเดียวกับการเป็นลูกหนี้ร่วม ถึงแม้ว่าผู้ค้ำาประกันจะยินยอมใน ข้อตกลงดังกล่าวก็ตาม เพราะข้อตกลงดังกล่าวนัน้ จะมีผลเป็นโมฆะ นั่นเอง
ดังนัน้ เราจะเห็นได้วา่ การแก้ ไขเพิม� เติมในครัง้ นีอ้ าจจะก่อ ให้เกิดผลกระทบต่อกลุม่ บุคคลธรรมดาหรือกลุม่ ผูป้ ระกอบการราย ย่อยก็เป็นได้ เนื่องจากกลุ่มบุคคลเหล่านี้เป็นกลุ่มที่ไม่มีทรัพย์สิน ทีม่ มี ลู ค่าสูงมาค้าำ ประกันเงินกู้ จึงจำาเป็นต้องอาศัยบุคคลทีม่ ที รัพย์สนิ หรือหลักประกันเพียงพอมาค้ำาประกันให้ แต่เมื่อกฎหมายใหม่ได้มี การระบุหา้ มมิให้เจ้าหนีท้ าำ ข้อตกลงให้ผคู้ า้ำ ประกันรับผิดอย่างลูกหนี้ ร่วมดังกล่าวแล้ว อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบคือธนาคารหรือสถาบัน การเงินต่างๆ อาจจะไม่มีการอนุมัติหรือปล่อยเงินกู้เลย เพราะหาก ธนาคารปล่อยเงินกูด้ งั กล่าวแล้ว อาจเกิดความเสีย่ งทำาให้เกิดหนีเ้ สีย ผลคือ การมีผู้ค้ำาประกันก็ไม่ก่อให้เกิดผลดีเท่าใดนัก ซึ่งจะส่งผล กระทบต่อมาคือ หากธนาคารจะปล่อยสินเชื่อก็ต่อเมื่อบุคคลนั้นมี ทรัพย์สินที่เพียงพอมาเป็นหลักประกันนั่นเอง.