จุลสารคณะนิ ต ิ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 มกราคม 2559
อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา (อัดตานัง ทะมะยันติ ปันฑิิตา) บัณฑิตย่อมฝึกฝนตนเอง
พิธีมอบงานคณบดีคณะนิติศาสตร์
สารบัญ
บทบรรณาธิการ
ผศ.ศุภวุฒิ โมกข์เมธากุล
สวัสดีปใี หม่ทา่ นผูอ้ า่ นทีร่ กั ทุกท่าน ทางทีมงานจุลสารคณะนิตศิ าสตร์ ต้องขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.อิสระพัฒน์ ธีรพัฒน์สิริ ในโอกาสที่ได้รับ การแต่งตัง้ ให้ดาำ รงตำาแหน่งคณบดี คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ธีรศักดิ์ กองสมบัติ ในโอกาสที่ได้รับการ แต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งทางวิชาการ ในตำาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ คนที่ 5 ประจำาคณะนิตศิ าสตร์ ถือเป็นความสำาเร็จในการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ อย่างต่อเนือ่ ง สำาหรับจุลสารฉบับนี้ นอกจากจะได้รวบรวมกิจกรรมของคณะ นิติศาสตร์ บุคลากรและนิสิตไว้เหมือนทุกฉบับๆ ที่ผ่าน ยังได้เพิ่ม หัวข้อ เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน ที่จะได้นำาเสนอเกี่ยวกับคำาศัพท์ภาษาอังกฤษ หรือประเด็นทีน่ า่ สนใจทีเ่ กิดขึน้ ในอาเซียน มาให้ทา่ นผูอ้ า่ นทุกท่านได้รบั ทราบ เป็นข้อมูลเพิ่มเติมขึ้น แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าครับ.
พิธีมอบงานคณบดีคณะนิติศาสตร์ >1< คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สวัสดีปีใหม่ 2559 >3< สัมภาษณ์นิสิตเพื่อเข้ารับรางวัล คนดีศรี มมส ประจำาปีการศึกษา 2558 >3< ร่วมลงนามถวายพระพร และถวายราชสักการะ เนื่องใน “รัฐพิธีวันยุทธหัตถี” >4< สมาคมศิษย์เก่าคณะนิติศาสตร์ เข้าพบคณบดี >4< รับฟังสรุปผลประเมินจากคณะกรรมการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ >4< รับการประเมินการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายในการควบคุมภายใน >4< สโมสรนิสิตและตัวแทนนิสิต แสดงความยินดีและมอบของขวัญปีใหม่ >5< กีฬาเชื่อมความสัมพันธ์บุคลากร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม >5< ร่วมโครงการ Big Cleaning Day 2558 >5< สัมภาษณ์นิสิตเพื่อรับทุนการศึกษา “ทุนภูมิพล” >5< ฉันจึงมาหาความหมาย >6< เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน >6< ศิษย์เก่าคนเก่ง >7< กฎหมายน่ารู้ >8<
เจาของ : คณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ที่ปร�กษา : ผศ.ดร.อิสระพัฒน ธีรพัฒนสิร� บรรณาธิการ : ผศ.ศุภวุฒิ โมกขเมธากุล ผูชวยบรรณาธิการ : ผศ.สุภาพร พ�ทักษเผาสกุล กองบรรณาธิการ : คณาจารยและบุคลากรคณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ออกแบบและถายภาพ : มิ�งมนัสชน จังหาร, วาที่รอยตร�ประสาน ศาลางาม คณะนิติศาสตร อาคารราชนคร�นทร ชั้น 4 ตําบลขามเร�ยง อําเภอกันทรว�ชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทร. 0-4375-4333 ตอ 2118, 2119, 2123, 09-4310-0113 laws.msu.ac.th facebook.com/lawsmsu
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สวัสดีปี ใหม่ 2559
ศ.ดร.ปรีชา ประเทพา ผู้รักษาราชการแทนอธิการบดี
รศ.เทียนศักดิ์ เมฆพรรณโอภาส รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาบุคลากรและกิจการสภา
รศ.ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานิสิตและบริการวิชาการ
อ.อารีรัตน์ รักษาศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายอำ�นวยการ
รศ.สีดา สอนศรี คณบดีวิทยาลัยการเมืองการปกครอง
รศ.ดร.ปพฤกษ์บารมี อุตสาหะวาณิชกิจ คณบดีคณะการบัญชีและการจัดการ
ผศ.ดร.ธีรยุทธ ชาติชนะยืนยง รองอธิการบดีฝ่ายกองคลังและพัสดุ
ศ.ดร.ประดิษฐ์ เทอดทูล คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
นางสิริพร ศิระบูชา ผู้อำ�นวยการกองแผนงาน
รศ.ดร.อนงค์ฤทธิ์ แข็งแรง ผู้อำ�นวยการสำ�นักศึกษาทั่วไป
สัมภาษณ์นิสิตเพื่อเข้ารับรางวัลคนดีศรี มมส ประจำ�ปีการศึกษา 2558
เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2558 คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ได้สอบสัมภาษณ์นิสิต เพื่อเข้ารับรางวัลคนดีศรี มมส ประจำ�ปีการศึกษา 2558 ในวันคล้ายวันสถาปนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ครบรอบ 48 ปี (9 ธันวาคม 2558) โดยรางวัลคน ดีศรี มมส เป็นรางวัลที่มอบให้กับนิสิต และผู้นำ�องค์กรนิสิต ที่มีศักยภาพการ เป็นผู้นำ�ที่ดี เก่ง และฉลาดทางความคิดและการปฏิบัติ และตระหนักถึงความรับ ผิดชอบต่อสังคมและชุมชน เป็นบัณฑิตทีพ่ งึ ประสงค์ เป็นผูม้ คี ณ ุ ธรรม จริยธรรม ตามปรัชญามหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ว่า “ผู้มีปัญญา พึ่งเป็นอยู่เพื่อมหาชน”.
3
4
ร่วมลงนามถวายพระพรและถวายราชสักการะ สมาคมศิษย์เก่าคณะนิติศาสตร์เข้าพบ คณบดี เนื่องใน “รัฐพิธีวันยุทธหัตถี เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2559 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ร่วมลงนามถวายพระพรและถวายราชสักการะ เนื่อง ใน “รัฐพิธีวันยุทธหัตถีสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” โดยมีนาย โชคชัย เดชอมรธัญ ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็นประธาน นำ�ข้าราชการ และประชาชนชาวมหาสารคาม ประกอบพิธีวางพาน พุม่ ดอกไม้ ถวายราชสักการะหน้าพระบรมสาทิสลักษณ์สมเด็จพระ นเรศวรมหาราช เนือ่ งในวันยุทธหัตถีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ หอประชุมจังหวัดมหาสารคาม.
เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 สมาคมศิษย์เก่า คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แสดงความยินดีกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ อิสระพัฒน์ ธีรพัฒน์สริ ิ ในโอกาสได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำ�รงตำ�แหน่ง คณบดีคณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทัง้ นีท้ างสมาคม ศิษย์เก่าฯ ได้ปรึกษาหารือและพูดคุยถึงทิศทาง รวมถึงผลการ ดำ�เนินงานที่ผ่านมาของสมาคม.
รับฟังสรุปผลประเมินจากคณะกรรมการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
รับการประเมินการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายในการควบคุมภายใน
เมื่ อ วั น ที่ 1 ธั น วาคม 2558 คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ร่ ว มต้ อ นรั บ และรั บ ฟั ง สรุ ป ผลประเมิ น จากคณะ กรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ณ ห้องประชุมคณะนิติศาสตร์ RN-405 ชั้น 4 อาคารราช นครินทร์.
เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2558 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม เข้ารับการประเมินการบริหารความเสี่ยงและการ ควบคุมภายในของส่วนงานย่อย จากสำ�นักตรวจสอบภายใน ณ ห้อง ประชุมคณะนิตศิ าสตร์ RN-405 อาคารราชนครินทร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
5
สโมสรนิสิตและตัวแทนนิสิต แสดงความยินดี กีฬาเชื่อมความสัมพันธ์บุคลากร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมอบของขวัญปีใหม่ เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2559 สโมสรนิสิตและตัวแทนนิสิต คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แสดงความยินดีกับ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์อิสระพัฒน์ ธีรพัฒน์สิริ ในโอกาสได้รับการแต่งตั้งให้ ดำ�รงตำ�แหน่ง “คณบดีคณะนิติศาสตร์” นอกจากนี้ยังได้มอบของ ขวัญแด่คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในวาระ ดิถีขึ้นปีใหม่ 2559.
ร่วมโครงการ Big Cleaning Day 2558 เมื่ อ วั น ที่ 4 ธั น วาคม 2558 คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม เข้าร่วมโครงการ "Big Cleaning Day เฉลิมพระเกียรติ" เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสพระ ราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 88 พรรษา 5 ธันวาคม 2558 ณ บริเวณลานอาคารบรมราชกุมารีฯ.
เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2558 อาจารย์และบุคลากร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมเดินขบวนและแข่งกีฬาเชื่อมความ สัมพันธ์บุคลากรมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำ�ปี 2559 ณ อาคารพลศึกษาและสนามกีฬามหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สัมภาษณ์นิสิตเพื่อรับทุนการศึกษา "ทุนภูมิพล"
เมื่ อ วั น ที่ 26 พฤศจิ ก ายน 2558 คณาจารย์ ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้สัมภาษณ์นิสิตคณะนิติศาสตร์ เพื่อ มอบทุนการศึกษา “ทุนภูมิพล” ซึ่งเป็นทุนการศึกษาสำ�หรับนิสิตที่ เรียนดีและมีผลงานด้านกิจกรรมต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น ทุนละ 10,000 บาท จำ�นวน 1 ทุน เป็นทุนพระราชทานที่ได้รับในพิธี พระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย.
6
ฉันจึงมาหาความหมาย
“คนเราทำ�ในสิ่งที่ถูกต้องนั่นแหละดีแล้ว แต่อย่ายึดมั่นว่าสิ่งที่ตนเองทำ�นั้นต้อง ถูก เพราะเมื่อใดที่คิดอย่างนั้น ความแตกต่างจะกลายเป็นสิ่งผิดเสมอไป” เมื่อเราตั้งโจทย์ให้กับชีวิตได้แล้ว ต่อไป คือการหาคำ�ตอบ และหาความหมายของมัน เพราะตัวผมเองก่อนที่จะทำ�อะไร ต้องตั้งโจทย์ ก่อนว่าเราต้องการอะไร และหาคำ�ตอบนั้นจาก การกระทำ�ทีเ่ ราได้ท�ำ ไป จนวันหนึง่ สมัยผมเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผมได้ตั้งโจทย์กับชีวิตว่า เราอยากเป็นอะไรในอนาคต โจทย์ทตี่ งั้ ไว้ตอนนัน้ คือ “ปลัดอำ�เภอ” ซึ่งเป็นความฝันของเด็กที่เกิด นายจันทร์เพ็ง ขุนพิบาล ในครอบครัวเล็กๆ ครอบครัวหนึ่ง และหลังจาก นิสิตคณะนิติศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 นั้น ผมก็เริ่มที่จะหาคำ�ตอบว่า การเป็นปลัด อำ�เภอนั้น เราต้องเรียนสายไหน และผมก็ได้คำ�ตอบนั้นว่า ต้องเรียน “รัฐศาสตร์” หรือ “นิติศาสตร์” ก็ได้ แต่มันเเค่มีข้อแตกต่างกัน คือ นิติศาสตร์มีสายงานที่กว้าง กว่า และหลังจากนั้น ผมก็เริ่มหาความหมายของคำ�ว่า “นิติศาสตร์” เมื่อผมได้มีโอกาสเข้ามาเป็นนิสิตสาขานิติศาสตร์ วิทยาลัยการเมืองการ ปกครอง (คณะนิติศาสตร์ปัจจุบัน) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผมจึงเริ่มหาความ หมายของคำ�ว่านิตศิ าสตร์ในรัว้ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ และสิง่ ทีผ่ มได้คน้ พบ มันกลับได้ มากกว่าสิง่ ทีผ่ มต้องการ ตอนแรกผมต้องการแค่ความหมายของคำ�ว่านิตศิ าสตร์คอื อะไร แต่พอเข้ามาจริงๆ ครอบครัวแห่งนี้ให้ผมได้มากกว่าคำ�ตอบเดียว ไม่ว่าจะเป็น ทั้งการเรียนในห้องเรียน ประสบการณ์ทางด้านจิตอาสา ประสบการณ์ทางด้าน
วิชาชีพกฎหมาย และความใส่ใจของอาจารย์ รุ่นพี่ รุน่ น้อง ในคณะทีท่ �ำ ให้ผมรูส้ กึ อบอุน่ เหมือนกับทีเ่ รา อยู่บ้านของตนเอง ซึ่งทำ�ให้ผมเจอความหมายอย่าง แท้จริง เพราะการเรียนนิติศาสตร์ที่แท้จริงนั้น เรา ต้องเรียนทัง้ กฎหมายและปัญหา เพราะนักกฎหมาย มี ไ ว้ แ ก้ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น จากกฎหมาย และนั ก กฎหมายอย่ า งเราต้ อ งซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต เพราะ กฎหมายมีไว้เพื่อผดุงความยุติธรรม มิได้มีไว้เพื่อ เป็นเครือ่ งมือในการแสวงหาอำ�นาจและผลประโยชน์ เมื่อผมเรียนรู้และเข้าใจจากสิ่งที่ผ่านมา ทำ�ให้รู้ ว่ า การเรี ย นนิ ติ ศ าสตร์ ที่ แ ท้ จ ริ ง นั้ น ไม่ ใ ช่ แ ค่ ก าร ท่องจำ�ประมวล แต่เราต้องใช้ให้เป็นด้วย ดังนัน้ เมือ่ เราต้องดำ�รงตนเป็นนักกฎหมาย แล้ว ควรจะทำ�ในสิ่งที่ถูกต้อง และเรียนรู้มันจาก ประสบการณ์ในชีวติ อาจารย์ไม่ได้สอนเราแค่ให้เก่ง กฎหมาย แต่ท่านสอนเราให้ใช้กฎหมายเป็น เพราะ คำ�ว่า “ท่องได้” กับ “ใช้เป็น” มันต่างกัน และวันนี้ ผมจึ ง เข้ า ใจความหมายอย่ า งแท้ จ ริ ง ของคำ � ว่ า “นิติศาสตร์”.
เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน
ดร.ดวงเด่น นาคสีหราช1
ส
คำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับวิชาชีพที่เปิดเสรี ในอาเซียน
วัสดีค่ะท่านผู้อ่าน บทความนี้เป็นบทความแรกเกี่ยว กับภาษาอังกฤษของผู้เขียนในคอลัมน์ เปิดประตูสู่ ประชาคมอาเซียน วันนี้ผู้เขียนขอเสนอคำ�ศัพท์ (vocabulary) ที่สำ�คัญที่สุดของอาเซียน ได้แก่ คำ�ว่า ประชาคม อาเซียน (ASEAN Community: AC) ที่เชื่อมโยงประเทศ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia) เข้า ด้วยกัน และสื่อกลางการสร้างความรู้และความเข้าใจร่วม กันระหว่างรัฐสมาชิก (member States) และเป็นภาษา กลางในการติดต่อสื่อสาร ก็คือ “ภาษาอังกฤษ” นั่นเอง สำ�หรับประชาคมอาเซียนได้ก้าวเข้าสู่ประชาคม อาเซียนเสาหลักแรกเมือ่ ปลายปี พ.ศ. 2558 ทีผ่ า่ นมา โดย เริ่มต้น ได้แก่ คือ ASEAN Economic Community (อา เซี่ยน อิคอนอมิค คอมมิวนิทิ่) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือที่รู้จากกันดีในชื่อ AEC ตอนนี้ legal profession (ลีเกิล่ โพรเฟสชัน่ ) วิชาชีพ นักกฎหมาย ยังไม่เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ส่วน วิชาชีพที่เข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้วและสามารถเคลื่อนย้าย
แรงงานได้อย่างเสรีในกลุ่มรัฐอาเซียนได้แก่ คำ�ศัพท์เกี่ยวกับวิชาชีพ accountancy engineering surveying architecture
คำ�อ่าน (แอ็คเค่าแทนซิ่) (เอ็น จิ เนีย ริ่ง) (เซอร์เวย์อิ่ง) (อาร์ คิ เท็ค เชอร์)
คำ�แปล การบัญชี วิศวกรรมศาสตร์ การสำ�รวจ สถาปัตยกรรมศาสตร์
nursing medical services dental services tourism
(เนิร์สซิ่ง) (เมดิค่อล เซอร์วิสเซส) (เด้นท่อล เซอร์วิสเซส) (ทัวริสซึ่ม)
พยาบาลศาสตร์ แพทยศาสตร์ ทันตกรรม การท่องเที่ยว
บทความนี้จึงน่าสนใจมากๆ ถึงความท้าทายใหม่ของประเทศไทยในการ ฝึกทักษะภาษาอังกฤษให้กบั คนไทยก้าวเข้า สูต่ ลาดแรงงานในภูมภิ าคและในระดับ สากล โดยผูส้ นใจอ่านบทความเพิม่ เติมสามารถเข้าไปเรียนรูไ้ ด้ทนี่ คี่ ะ่ http://www. bangkokpost.com/learning/learning-from-news/813852/asean-communitychallenges-thai-english-skills น.ด. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, น.ม. (กฎหมายระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, น.บ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบนั เป็นอาจารย์ประจำ�ภาค วิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1
7
ศิษย์เก่าคนเก่ง
ก้
าวแรกของการเริ่มศึกษากฎหมายในระดับปริญญาตรีของผม นัน้ เป็นสิง่ ทีย่ ากมาก เนือ่ งจากไม่มคี นแนะนำ�หรือให้ค�ำ ปรึกษา ก่อนที่จะเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี และผมไม่มีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับกฎหมายเลย ไม่รู้แม้กระทั้งว่าประมวลกฎหมายคืออะไร การเรียนของผมจึงเหมือนกับเริ่มต้นจากศูนย์ ทำ�ให้ผลการเรียนใน ช่วงเทอมแรกๆ ของผมไม่ค่อยดีนัก ประกอบกับผมต้องกลับบ้าน (จังหวัดขอนแก่น) เกือบทุกอาทิตย์เพือ่ มาช่วยพ่อแม่ท�ำ งานเพือ่ เป็น ค่าใช้จ่ายในการเรียน แต่สิ่งเดียวที่ผมคิดอยู่เสมอคือการที่เราได้ ตัดสินใจทำ�อะไรแล้ว ไม่ว่าสิ่งนั้นจะยากลำ�บากหรือมีอุปสรรคเพียง ใด หรือไม่ว่าสิ่งนั้นเราจะชอบหรือไม่ก็ตาม ก็ต้องพยายามทำ�สิ่งนั้น ให้ดที สี่ ดุ ดังนัน้ ผมจึงพยายามเข้าเรียนอย่างสม่�ำ เสมอและตัง้ ใจฟัง อาจารย์สอนทุกครั้ง ซึ่งการเข้าเรียนนั้นทำ�ให้ผมได้รับความรู้ทั้งใน ด้านวิชาการ ด้านการดำ�เนินชีวิตในมหาวิทยาลัย คติสอนใจ และ ด้านอืน่ ๆ ทีไ่ ม่มใี นตำ�ราเรียน แต่เป็นการถ่ายทอดจากประสบการณ์ ของอาจารย์แต่ละท่าน ซึ่งเป็นสิ่งที่ผมนำ�มาปรับใช้กับการเรียน กฎหมายได้เป็นอย่างดี ทำ�ให้ผลการเรียนของผมเริ่มดีขึ้นเรื่อยๆ การเรียนกฎหมายนั้นจะอาศัยการเข้าเรียนอย่างเดียวนั้น คงจะไม่เพียงพอ ดังนัน้ ภายหลังจากเลิกเรียนผมจะกลับมาทบทวน เนื้อหาวิชาในสิ่งที่อาจารย์ได้สอนไปในแต่ละวัน และพยายามอ่าน หนังสือในตอนเย็นทุกวัน เนือ่ งจากรูว้ า่ ตัวเราเองมีพนื้ ฐานความรูไ้ ม่ เท่ากับเพื่อนคนอื่นๆ (จึงต้องพยายามมากขึ้นเป็นสองเท่า) เพื่อจะ ได้เข้าใจในสิ่งที่อาจารย์สอนและตามเพื่อนคนอื่นๆ ได้ทัน การทำ�กิจกรรมในช่วงของการเรียนมหาวิทยาลัยก็ถือว่า เป็นสิง่ สำ�คัญเช่นกัน เพราะจะทำ�ให้เรารูจ้ กั รุน่ พี่ รูจ้ กั เพือ่ น รูจ้ กั การ ใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น ซึ่งเป็นสิ่งที่สำ�คัญมากที่จะช่วยให้ปรับตัวเข้ากับ สังคมได้ ผมจึงพยายามเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของทางมหาวิทยาลัย หรือของทางคณะ ทางสาขานิตศิ าสตร์จดั ขึน้ เพราะผมเชือ่ ว่าสิง่ เหล่า นี้ช่วยส่งเสริมให้การเรียนในระดับมหาวิทยาลัยมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น การเรียนในระดับปริญญาตรีนนั้ ถือว่าเป็นพืน้ ฐานสำ�คัญใน การทีจ่ ะนำ�ไปใช้ในการประกอบวิชาชีพหรือศึกษาต่อในระดับทีส่ งู ขึน้ ซึง่ หากเราพยายามตัง้ ใจทำ�ให้เต็มทีต่ งั้ แต่เริม่ ต้นแล้ว ปลายทางแห่ง
การเรี ย นกฎหมายนั้ น จะอาศั ย การเข้ า เรี ย น อย่างเดียวนั้นคงจะไม่เพียงพอ ดังนั้น ภายหลัง จากเลิกเรียนผมจะกลับมาทบทวนเนือ้ หาวิชาใน สิ่งที่อาจารย์ ได้สอนไปในแต่ละวัน และพยายาม อ่านหนังสือในตอนเย็นทุกวัน เนื่องจากรู้ว่าตัว เราเองมีพื้นฐานความรู้ไม่เท่ากับเพื่อนคนอื่นๆ (จึงต้องพยายามมากขึน้ เป็นสองเท่า) เพือ่ จะได้ เข้าใจในสิง่ ทีอ่ าจารย์สอนและตามเพือ่ นคนอืน่ ๆ ได้ทัน
นายไสว ไชยแสง (โก้)
ประวัติการศึกษา - สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขานิตศิ าสตร์ วิทยาลัยการเมือง การปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รุ่นที่ 2 - สอบไล่ได้ความรู้ชั้นเนติบัณฑิต ของสำ�นักอบรมศึกษากฎหมายแห่ง เนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ 64 - สอบผ่านหลักสูตรวิชาว่าความของสำ�นักฝึกอบรมวิชาว่าความแห่ง สภาทนายความ รุ่นที่ 35 - สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขา กฎหมายภาษีอากร มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ประวัติการทำ�งาน - ทนายความ - นิติกร (เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์) กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม - ปัจจุบันรับราชการในตำ�แหน่งเจ้าพนักงาน ป.ป.ช. (ผู้ช่วยพนักงาน ไต่สวนปฏิบัติการ สายงานปราบปรามการทุจริต) สำ�นักงานคณะ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ความสำ�เร็จในการประกอบวิชาชีพหรือการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ก็จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป หลังจากที่ผมสำ�เร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีแล้ว ผม ก็ได้รบั แรงบันดาลใจและคำ�แนะนำ�จากอาจารย์หลายท่านให้ศกึ ษาต่อ ในระดับชัน้ เนติบณ ั ฑิต เพือ่ ทีจ่ ะใช้เป็นเส้นทางในการสอบเป็นอัยการ เป็นผู้พิพากษา ผมจึงได้เข้าศึกษาต่อในชั้นเนติบัณฑิต ซึ่งการเรียน เนติบณ ั ฑิตนัน้ หากเรามีพนื้ ฐานทีด่ ใี นระดับปริญญาตรีแล้วจะช่วยให้ เราศึกษาได้เข้าใจง่ายขึ้น แต่การจะเรียนให้จบก็ไม่ใช่เรื่องง่ายเช่น เดียวกัน จะต้องใช้ความอดทนและความพยายามในการอ่านหนังสือ มาก อย่างไรก็ตามผมก็เชื่อว่าไม่มีอะไรที่จะยากเกินไปกว่าความ พยายามและความตั้งใจของเราอย่างแน่นอน ดังคำ�กล่าวที่ว่า “ความ พยายามอยู่ที่ไหน ความสำ�เร็จอยู่ที่นั้น” สุดท้ายนี้ผมต้องขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ให้โอกาสทางการศึกษาแก่ผม ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกๆ ท่านที่ ได้ประสิทธิประสาทวิชาความรู้ให้แก่กระผม และขอขอบคุณเพื่อนๆ พีๆ่ น้องๆ ทุกๆ คนในความมีไมตรีจติ ทีด่ ตี อ่ กันตลอดมา...สวัสดีครับ.
กฎหมายน่ารู้
คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เงื่อนไขในการร้องขอทำ�งานบริการสังคมแทนค่าปรับ
ปั
จจุบนั เราจะพบว่าหนึง่ ในปัญหาทีส่ �ำ คัญของการบริหารจัดการ เรือนจำ�หรือสถานกักขังในประเทศไทย คือ ความแออัดของ นักโทษหรือผู้ถูกกักขัง จำ�นวนพื้นที่ในเรือนจำ�หรือสถานกักขังยัง ไม่มีความสัมพันธ์ต่อจำ�นวนนักโทษและผู้ถูกกักขัง จำ�นวนนักโทษ หรือผูถ้ กู กักขังมีจ�ำ นวนมากเกินกว่าความจุปกติทเี่ รือนจำ�และสถาน กักขังจะรองรับได้อย่างมีมาตรฐาน ประเทศไทยมีความพยายามที่ จะแก้ไขปัญหานี้เสมอมา ไม่ว่าจะออกมาในรูปมาตรการในเชิง ป้องกันทีจ่ ะมิให้เกิดการกระทำ�ผิดอันจะส่งผลให้เกิดปริมาณนักโทษ หรือผู้กักขังเพิ่มขึ้นหรือปรากฏออกมาในเชิงแก้ไข และในช่วงหนึ่ง ถึงสองปีทผี่ า่ นมาประเทศไทยมีนโยบายทีจ่ ะผันคนออกจากเรือนจำ� หรือสถานกักขัง หนึ่งในวิธีการที่รัฐบาลที่เห็นว่าจะเป็นการแก้ไข ปัญหาข้างต้นได้ คือ การนำ�กฎหมายเรื่องการทำ�งานบริการสังคม แทนค่าปรับซึ่งถูกบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญามาใช้ โดยปกติผู้ที่ต้องโทษปรับ หากไม่ชำ�ระค่าปรับภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีศ่ าลพิพากษาจะต้องถูกยึดทรัพย์สนิ ใช้คา่ ปรับ หรือมิ ฉะนั้นจะต้องถูกกักขังแทนค่าปรับตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 28 ฉะนัน้ ถ้าผูท้ ตี่ อ้ งโทษปรับไม่มที รัพย์สนิ พอทีจ่ ะชำ�ระค่า ปรับ เห็นได้แน่นอนว่าบุคคลดังกล่าวย่อมต้องถูกกักขังแทนค่าปรับ ซึง่ จะส่งผลให้ปริมาณของผูต้ อ้ งโทษกักขังในสถานกักขังเพิม่ ขึน้ และ เกิดปัญหาดังที่กล่าวมาในข้างต้น เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวรัฐบาลจึง ได้เพ่งเล็งไปทีม่ าตรา 30/1 แห่งประมวลกฎหมายอาญาโดยดำ�เนิน การเผยแพร่ความรูใ้ ห้แก่ผตู้ อ้ งกักขังแทนค่าปรับในเรือนจำ�ว่ามีสทิ ธิ
https://inside.trinity.edu/sites/inside.trinity.edu/files/file_attachments/76/ trinity-community-service-days-caring02.jpg
อ.กรัณย์ กาญจนรินทร์ อาจารย์ประจำ�ภาควิชากฎหมายเอกชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่จะร้องขอทำ�งานบริการสังคมแทนค่าปรับได้ ในการนี้กระทรวง ยุติธรรมได้มีการวางนโยบายให้เจ้าพนักงานคุมประพฤติเข้าไปใน สถานกักขังต่างๆ ทัว่ ประเทศเพือ่ ดำ�เนินการแจ้งสิทธินใี้ ห้ผตู้ อ้ งกักขัง แทนค่าปรับทราบ ซึง่ ผูท้ มี่ สี ทิ ธิรอ้ งขอทำ�งานบริการสังคมแทนค่าปรับ ต้องเข้าเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1.เป็นผู้ต้องโทษปรับไม่เกินไม่เกินแปดหมื่นบาท 2.ผู้ต้องโทษปรับนั้นต้องมิใช่นิติบุคคล กล่าวคือ ต้องเป็น บุคคลธรรมดา 3.ผู้ต้องโทษปรับนั้นไม่มีเงินชำ�ระค่าปรับ 4.ต้ อ งมี ก ารยื่ น คำ � ร้ อ งต่ อ ศาลชั้ น ต้ น ที่ พิ พ ากษาคดี เ พื่ อ ทำ�งานบริการสังคมแทนค่าปรับ เมื่อเข้าเงื่อนไขทั้ง 4 ประการในทางปฏิบัติผู้ต้องโทษปรับ อาจยื่นคำ�ร้องต่อศาลขอทำ�งานบริการสังคมแทนค่าปรับในวันที่ศาล มีค�ำ พิพากษาได้ทนั ทีหรืออาจยืน่ คำ�ร้องในระหว่างทีถ่ กู กักขังแทนค่า ปรับได้โดยยื่นผ่านเรือนจำ�หรือสถานกักขัง เมื่อมีการยื่นคำ�ร้องดังกล่าวต่อศาล การที่ศาลจะอนุญาต ตามคำ�ร้องหรือไม่ ศาลจะพิจารณาจากฐานะการเงิน ประวัติและ สภาพความผิดของผูต้ อ้ งโทษปรับ ถ้าอนุญาตก็จะสัง่ ให้ท�ำ งานบริการ สังคมภายใต้การดูแลของพนักงานคุมประพฤติ ซึ่งตามระเบียบ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยการกำ�หนดจำ�นวนชั่วโมง ที่ถือเป็นการทำ�งานหนึ่งวัน และแนวปฏิบัติในการให้ท�ำ งานบริการ สังคมหรือสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับและการเปลี่ยนสถานที่ กักขัง พ.ศ.2546 ข้อ 6 การทีศ่ าลจะพิจารณาว่าเห็นสมควรให้ท�ำ งาน บริการสังคมแทนค่าปรับหรือไม่นั้น โดยหลักแล้วสภาพความผิดที่ ไม่สมควรอนุญาตให้ทำ�งานแทนค่าปรับ ได้แก่ ความผิดที่ได้กระทำ� ไปด้วยเจตนาร้ายหรือทุจริตฉ้อฉล อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ส่ ว นรวม หรื อ ความผิ ด ที่ ก ฎหมายมุ่ ง ประสงค์ จ ะลงโทษในทาง ทรัพย์สินต่อผู้กระทำ�ผิด เพื่อมิให้ผู้นั้นได้รับประโยชน์จากการกระ ทำ�ความผิด เช่น ความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ความผิดเกี่ยวกับ การค้ายาเสพติด ความผิดเกี่ยวกับการฟอกเงิน ความผิดตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ความผิดตาม กฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการสถาบันการเงิน หรือความผิด ตามกฎหมายศุลกากร เป็นต้น.