จุลสารคณะนิติศาสตร์ ฉบับที่ 2

Page 1

จุลสารคณะนิ ต ิ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 มกราคม 2558

อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา (อัดตานัง ทะมะยันติ ปันฑิ​ิตา) บัณฑิตย่อมฝึกฝนตนเอง

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ประจำ�ปีการศึกษา 2556-2557


2

บทบรรณาธิการ

สวัสดีปีใหม่ทา่ นผูอ้ า่ นทีร่ กั ทุกท่าน ทางคณะนิตศิ าสตร์ ต้องขอแสดงความยินดี กับ ศาสตราจารย์พิเศษประสพสุข บุญเดช ที่ได้รับพระราชทานปริญญานิติศาสตรดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557 ที่ผ่านมาอีกครั้ง สำาหรับจุลสารฉบับนี้ ได้ รวบรวมกิจกรรมสำาคัญๆ ที่ทางคณะนิติศาสตร์ ได้เข้าร่วมตลอดจนดำาเนินการจัดขึ้นเพื่อ พัฒนาการเรียนการสอน เช่น โครงการสัมมนาวิชาการ “การจัดทำาหลักสูตรนิตศิ าสตรมหา บัณฑิต” นอกจากนัน้ ยังมีขอ้ คิดเห็นเกีย่ วกับปัญหาการจัดการทีด่ นิ จากนิสติ ชัน้ ปีที่ 4 และ เร�่องราวความประทับใจพร้อมทั้งแง่คิดมุมมองจากศิษย์เก่าคนแรกของคณะนิติศาสตร์ ที่ ได้รับพระราชทานปริญญานิติศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง อีกทั้งยังมี ความรู้ทางกฎหมายเกี่ยวกับ “หลักอำานาจเหนืออาณาเขตตามกฎหมายฝรั่งเศส” จาก หัวหน้าภาควิชากฎหมายเอกชน ให้พอได้รับทราบกัน สุดท้ายนี้ ทางคณะผูจ้ ดั ทำาจุลสารคณะนิตศิ าสตร์ ขอให้อาำ นาจคุณพระศรีรตั นตรัย คุณพระธาตุนาดูน พระประธานกันทรวิชัย และสิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์ที่ท่านเคารพนับถือ จงอำานวย อวยพรให้ผู้อ่านทุกท่านมีความสุข สมหวัง ปลอดโรค ปลอดภัย ตลอดปีและตลอดไป.

ร่วมงานเลี้ยงแสดงความยินดี แก่ผู้ ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์ รางวัลพระธาตุนาดูนทองคำา รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่น และรางวัลเชิดชูเกียรตินักประดิษฐ์คิดค้นดีเด่น เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557 คณบดีคณะนิติศาสตร์และผู้บริหารฯ ร่วมงาน เลีย้ งแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รบั ปริญญากิตติมศักดิ์ รางวัลพระธาตุนาดูนทองคำา รางวัล เชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่น และรางวัลเชิดชูเกียรตินักประดิษฐ์คิดค้นดีเด่น ณ บริเวณ ลานอัฐศิลป์ (ABCD) โดยผู้ ได้รับปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ศาสตราจารย์พิเศษประสพสุข บุญเดช โดยมี นายปัญญา ถนอมรอด นายกสภา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทำาหน้าที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม รอง ศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย สมัปปิโต ผู้รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย มหาสารคาม มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีและโล่ประกาศเกียรติคุณผู้ ได้รับรางวัล และนายชยาวุธ จันทร ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมหาสารคาม ร่วมมอบของทีร่ ะลึกแสดงความ ยินดี เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่มหาวิทยาลัยมหาสารคามสืบไป.

สารบัญ พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำาปีการศึกษา 2556-2557 1 บทบรรณาธิการ 2 ร่วมงานเลี้ยงแสดงความยินดี แก่ผู้ ได้รับ ปริญญากิตติมศักดิ์ รางวัลพระธาตุนาดูน ทองคำา รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัยดีเด่น และ รางวัลเชิดชูเกียรตินักประดิษฐ์คิดค้นดีเด่น 2 สวัสดีปีใหม่ 2558 3 โครงการสัมมนาวิชาการ “การจัดทำาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต” 4 เข้ารับการประเมินการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน 4 ร่วมงานมหกรรมปั่น เดิน-วิ่ง มมส-มหาสารคาม มินิ-ฮาล์ฟมาราธอน ครั้งที่ 9 4 ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5 ต้อนรับคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์และ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว 5 ร่วมแสดงความยินดีกับตำาแหน่งคณบดี คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสารคาม 5 ฉันจึงมาหาความหมาย 6 กราบนมัสการ พระพุทธชยันตีองค์ดำานาลันทา 6 เข้าร่วมโครงการ “Big Cleaning Day เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” 6 ศิษย์เก่าคนเก่ง 7 กฎหมายน่ารู้ 8

เจาของ : คณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ที่ปร�กษา : ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์, ดร.ดวงเดน นาคสีหราช, ดร.วนิดา พรมหลา, อ.ศักดิ์ชาย สุนทรธนาภิรมย, อ.รว�วรรณ อินทรว�ชา, อ.ธีรศักดิ์ กองสมบัติ, นายอานุภาพ งามสูงเนิน บรรณาธิการ : อ.ศุภวุฒิ โมกขเมธากุล ผูชวยบรรณาธิการ : อ.สุภาพร พ�ทักษเผาสกุล กองบรรณาธิการ : คณาจารยและบุคลากรคณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ออกแบบและถายภาพ : มิ�งมนัสชน จังหาร คณะนิติศาสตร อาคารราชนคร�นทร ชั้น 4 ตําบลขามเร�ยง อําเภอกันทรว�ชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทร. 0-4375-4333 ตอ 2118, 2119, 2123, 09-4310-0113 laws.msu.ac.th facebook.com/lawsmsu


ส วั ส ดี ปี ใ ห ม่ 2 5 5 8

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย สมัปปิโต ผู้รักษา และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา ประเทพา รองอธิการบดี ราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558. ฝ่ายวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558.

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2557 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ ผศ.ดร.สมเกียรติ ภู่พัฒน์วิบูลย์ คณบดีคณะการ และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ ผศ.ดร.พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร คณบดีคณะศึกษา ท่องเทีย่ วและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถขี น้ึ ปีใหม่ 2558. ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558.

เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ รองศาสตราจารย์ ดร.โรจน์ชัย ศัตรวาหา ผู้อำ�นวย และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ รองศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ ฤทธิเดช คณบดี การสถาบันวิจัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558.

เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2558 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2558 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ รศ.สีดา สอนศรี คณบดีวิทยาลัยการเมืองการ และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดี ปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558.

เมื่อวันที่ 7 มกราคม ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหารและ เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2558 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผู้บริหาร คณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ ศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร มากตุ่น คณบดีคณะ และคณาจารย์ มอบกระเช้าของขวัญ แด่ รศ.ดร.อนงค์ฤทธิ์ แข็งแรง ผู้อำ�นวยการสำ�นัก ศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558. วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในโอกาสศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ 2558.

3


4

โครงการสัมมนาวิชาการ

“การจัดทำ�หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต” เมื่อวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2557 คณะนิติศาสตร์ ได้จัด โครงการสัมมนาเชิงวิชาการภายใต้การจัดการเรียนการสอน “การจัดทำ� หลั ก สู ต รนิ ติ ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต ” ณ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับผู้ร่วมสัมมนาให้เข้าใจในการ จัดการความรูแ้ ละองค์ความรู้ เกีย่ วกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน วิชานิตศิ าสตร์เพือ่ พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย และสามารถนำ�องค์ความ รู้ที่ ได้เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาหลักสูตรนิติศาสตรมหา บัณฑิตต่อไป.

เข้ารับการประเมินการบริหารความเสี่ยง ร่วมงานมหกรรมปั่น เดิน-วิ่ง มมส-มหาสารคาม มินิ-ฮาล์ฟมาราธอน ครั้งที่ 9 และการควบคุมภายใน

เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2557 อาจารย์ศุภวุฒิ โมกข์เมธากุล รองคณบดี ฝ่ า ยบริ ห ารและแผน คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม พร้อมด้วยผู้บริหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ได้ต้อนรับ บุ ค ลากรจากสำ � นั ก ตรวจสอบภายใน ซึ่ ง ได้ รั บ มอบหมายจาก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ให้เป็นผูส้ อบทานการจัดทำ�รายงานฯ ณ ห้อง ประชุมคณะนิติศาสตร.์

เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2557 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมงานมหกรรม ปั่น-เดิน-วิ่ง มมส-มหาสารคาม มินิ-ฮาล์ฟมาราธอน ครั้งที่ 9 ประจำ� ปี 2557 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในโอกาส ฉลองพระชนมายุครบ 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 และเป็นการส่ง เสริมการออกกำ�ลังกายของประชาชนทุกกลุม่ อายุ ด้วยการปั่นจักรยาน และเดิน-วิง่ ให้มสี ขุ ภาพทีแ่ ข็งแรง ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยแบ่งการแข่งขันออกเป็น 3 ประเภท คือ ประเภทฮาล์ฟมาราธอน ระยะทาง 21. กิโลเมตร ประเภท มินิมาราธอน ระยะทาง 10.5 กิโลเมตร และประเภทปั่น – เดิน - วิ่ง เพื่อสุขภาพ 4 กิโลเมตร.


ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยมหาสารคาม

5

เมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม 2557 คณะนิตศิ าสตร์ ร่วมงานวันคล้าย วันสถาปนามหาวิทยาลัยมหาสารคาม ครบรอบ 47 ปี ณ ลานอัฐศิลป์ โดยในงานมีการมอบรางวัลเชิดชูเกียรติคนดีศรี มมส โครงการหนึ่ง หลักสูตรหนึ่งชุมชน และโครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม สำ�หรับรางวัลเชิดชูเกียรติคนดีศรี มมส ประเภทผลการเรียน ดีเด่น ระดับคณะ ได้แก่ นางสาวกัลยา ตุนก่อ นิสิตคณะนิติศาสตร์ ชั้น ปีที่ 4 และโครงการบทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วย งานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ของคณะนิติศาสตร์ ได้รับรางวัล ชมเชยของการประกวดโครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม.

ต้อนรับคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์และ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว

ร่วมแสดงความยินดีกับตำ�แหน่งคณบดี

เมื่ อ วั น ที่ 17 พฤศจิ ก ายน 2557 คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต้อนรับคณาจารย์จากคณะนิตศิ าสตร์และ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ซึ่งเดินทางมาร่วมงานประชุม นานาชาติ “The 3rd International Conference on ASEAN Connectivity : Current Issues and Future Prospects towards ASEAN Community”.

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ และผู้บริหารคณะฯ มอบช่อดอกไม้แสดงความ ยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุจิน บุตรดีสุวรรณ ในโอกาสที่เข้ารับ ตำ�แหน่งคณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสารคาม


6

ฉันจึงมาหาความหมาย

การจัดการที่ดิน

นผืนโลกแห่งนี้ ธรรมชาติได้ สร้างสรรค์ทดี่ นิ ไว้อย่างจำากัด เป็นสิง่ ทีธ่ รรมชาติมอบให้ ไม่มีใคร จะสร้างหร�อเจริญเติบโตขึ้นมาได้ เองเหมื อ นปั จ จั ย การผลิ ต อื่ น ๆ ฉะนั้ น แล้ ว เมื่ อ ที่ ดิ น เกิ ด ขึ้ น โดย ธรรมชาติ มิได้มีผู้ ใดสร้างขึ้นมา ทีด่ นิ ก็ควรจะถูกแบ่งสันปันส่วนให้ แก่มนุษย์ทุกๆ คนในการใช้สอย นรเศรษฐ นาหนองตูม ทำากินอย่างพอสมควร นิสิตคณะนิติศาสตร ชั้นป ที่ 4 แต่ถ้าหากเราหันกลับมามองดูสภาพปัญหาเกี่ยวกับที่ดินใน สังคมไทย จะเห็นได้ว่าเป็นปัญหาที่สำาคัญ เกิดขึ้นมายาวนานคู่กับ สังคมไทยก็ว่าได้ และถือเป็นปัญหาที่ยากจะแก้ ไข จากข้อมูลของ อ.ดวงมณี เลาวกุล ว่าด้วย “การกระจุกตัวของความมั่งคั่งในสังคม ไทย” พบว่าคนไทยทัง้ ประเทศมีผถู้ อื ครองทีด่ นิ มีโฉนดเพียง 15 ล้าน ราย แต่กลุม่ คนร่าำ รวย 20 เปอร์เซ็นต์แรก ถือครองทีด่ นิ รวมกันมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของโฉนดที่ดินทั้งหมดในประเทศ ขณะที่คนส่วนใหญ่ กว่า 80 เปอร์เซ็นต์ถอื ครองทีด่ นิ รวมกันเพียง 20 เปอร์เซ็นต์ของโฉนด ที่ดินทั้งประเทศเท่านั้น จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการถือครอง ทีด่ นิ ในสังคมไทยมีการกระจุกตัวเป็นอย่างมากในกลุม่ คนร่าำ รวยทีด่ นิ โดยปรากฏว่าตระกูลที่ถือครองที่ดินมากที่สุดได้มีการถือครองที่ดิน

กราบนมัสการ พระพ�ทธชยันตีองค์ดำานาลันทา

มากถึง 6.3 แสนล้านไร่ อันดับรองลงมาได้มีการถือครองที่ดินมากถึง 2 แสนล้านไร่ และที่หนักไปกว่านั้นก็คือมีประชาชนหลายล้านคนไม่มี แม้กระทัง่ ทีด่ นิ ทำากินเป็นของตนเองสักแปลงเดียว จากจุดนีส้ ะท้อนให้ เห็นถึงความเหลื่อมล้ำาทางสังคมที่สูงมาก ทั้งนี้แม้ว่าปัญหาเกี่ยวกับ ที่ดินแม้จะได้มีการเรียกร้องและพยายามแก้ ไขมาหลายครั้งแล้วจาก อดีตจนถึงปัจจุบนั ยกตัวอย่างเช่น แผนเค้าโครงเศรษฐกิจทีค่ ณะราษฎร นำาเสนอเนื้อหาในหมวด 5 ว่าด้วย การจัดหาที่ดินทำากิน หร�อจะเป็น นโยบายในการปฏิรูปที่ดินสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม จนมาถึงช่วง ปี 2516 การเรียกร้องของสมาพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย, การ เรียกร้องของสมัชชาคนจนในปี 2540 เร�่อยมาจนถึงการเรียกร้องของ ภาคประชาชนในปัจจุบนั อาทิเช่น ขบวนการประชาชนเพือ่ สังคมทีเ่ ป็น ธรรม แต่ปัญหาดังกล่าวก็ยงั ไม่ได้รบั การแก้ไขแต่อย่างใด รังแต่เพิม่ ขึน้ มากเร�่อยๆ สังคมเรามันเกิดอะไรขึน้ กันแน่ ขณะทีน่ ายทุนกำาลังกอบโกย เอาทรัพยากรไปเป็นของตนเองจนร่าำ รวยมหาศาล ทีด่ นิ เกิดการกระจุก ตัว คนจนไม่มีที่ดินทำากิน เกิดการไล่ร�้อ-ไล่จับให้ประชาชนออกจาก พืน้ ทีท่ าำ กิน การกระจายอำานาจสูป่ ระชาชนไม่มเี ท่าทีค่ วร มันเป็นเพราะ อะไร ปัญหามันเกิดขึ้นจากตรงไหน จะแก้ ไขปัญหานี้ได้ยังไง แล้วใคร จะเป็นคนแก้ ไขปัญหา ใช่เราหร�อเปล่า ทีด่ นิ ควรเป็นของผูท้ าำ การผลิต จริงหร�อไม่ เราใช่ไหมผูเ้ ป็นเจ้าของผืนดินนีจ้ ะมาร่วมแก้ ไขปัญหาทีด่ นิ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำาทางสังคม.

เข้าร่วมโครงการ “Big Cleaning Day เฉล�มพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว”

เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2557 ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 คณะนิติศาสตร์ ได้เข้าร่วม คณบดีคณะนิตศิ าสตร์ ร่วมกราบนมัสการพระพุทธชยันตีองค์ดาำ นาลันทา โครงการ Big Cleaning Day เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ ผู้เป็นเลิศแห่งปัญญาและการเยียวยาสังคม ซึ่งได้อัญเชิญประดิษฐาน พระเจ้ า อยู่ หั ว เนื่ อ งในโอกาสพระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม ณ หน้าอาคารบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พระชนมพรรษา 87 พรรษา ภายในกิจกรรมได้ดำาเนินการทำาความ สะอาดบริเวณใต้อาคารบรมราชกุมารี บริเวณสำานักงานของหน่วยงาน ต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามให้สวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย ทำาให้มหาวิทยาลัยมีความร่มร�่น.


ศิษยเกาคนเกง

สวัสดีค่ะ ดิฉันชื่อวิชุฎา อารีมิตร ชื่อเล่นอะตอม เป็นคน จังหวัดปราจีนบุรี จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนปราจีน กัลยาณี สายวิทย์-คณิต เกรดเฉลีย่ สะสม 3.80 ค่ะ ปัจจุบนั จบปริญญา ตรี เกียรตินิยมอันดับ 1 และเหรียญทอง เกรดเฉลี่ยสะสม 3.82 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และกำาลังศึกษาต่อที่เนติ บัณฑิตยสภา สำาหรับการเดินทางเข้าสูเ่ ส้นทางสายกฎหมายก็เพราะ คุณพ่อเป็นตำารวจและ�นอยากเห็นลูกสาวเป็นผูพ้ พิ ากษา ดิฉนั ก็เลย ถูกปลูก�งมาตั้งแต่เด็กว่าโตขึ้นจะต้องเรียนกฎหมาย เริ่มเข้าสู่ชีวิต ม.ปลาย ก็ยังคงมุ่งมั่นที่จะเรียนกฎหมายต่อ ไป เวลาใครถามก็จะบอกเสมอว่าจบไปแล้วจะเรียนกฎหมายต่อ จน ขึ้นมา ม.6 ก็เริ่มมีโควต้าเรียนต่อมาให้เลือกหลายคณะหลายที่ และ เกรดเฉลี่ยของดิฉันก็ถึงเกือบทุกคณะ ก็เลยลองไปสัมภาษณ์หา ประสบการณ์ดู แต่ตอนนั้นในความคิดไม่ได้สนใจในสิ่งเหล่านี้มาก นัก เพราะสนใจอยูเ่ พียงอย่างเดียวว่าต้องการจะเรียนกฎหมายจึงไป สอบเข้าที่ธรรมศาสตร์ เพราะนี่ก็คงเป็นความหวังแรกของนักกฎ หมายหลายๆ คน แต่พอไปสอบเข้าจริงๆ ประกาศผลคะแนนปรากฎ ว่า ดิฉันไม่ติดธรรมศาสตร์ ก็รู้สึกเสียใจจนคิดว่าจะเรียนรามฯ ต่อ แต่กเ็ ลือกทีจ่ ะมารายงานตัวทีม่ หาสารคามด้วย เพราะเป็นอีกทีห่ นึง่ ที่ติดรอบรับตรงและตรงตามสายที่อยากเรียน สุดท้ายก็ได้เข้าเป็น นิสติ ชัน้ ปีที่ 1 สาขานิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีแรกของ การเรี ย นก็ ยั ง ไม่ ส นใจอะไรมากนั ก คงอยากเรี ย นรู้ ชี วิ ต ในรั้ ว มหาวิทยาลัยก่อนเลยไม่สนใจอ่านหนังสือสอบ แต่การสอบเทอม แรกก็จบมาด้วยเกรดเฉลี่ยที่น่าพอใจอยู่ เพราะวิชาเอกกฎหมายมี เพียงแค่ตัวเดียว จนมาในเทอม 2 ของปี 1 รู้สึกว่าต้องเรียนวิชาเอก กฎหมายมากถึง 4 ตัว และรุ่นพี่ในคณะต่างพูดกันว่า “ยากมากนะ รุ่นพี่ตกกันเยอะเลย เห็นเทอมแรกเกรดเยอะๆ อย่างนี้ เดี๋ยวเทอม นี้เกรดก็ตก” ดิฉันก็เริ่มกังวลใจมาก เพราะกลัวเกรดตกเหมือนกัน ก็เลยบอกกับตัวเองว่า จะต้องตั้งใจให้มากกว่านี้ ในเทอมนี้ผลออก มาก็ยังไม่ดีเท่าไหร่เมื่อเทียบกับเทอมแรกที่ผ่านมา ต่อมาในชั้นปีที่ 2 ก็ตั้งใจเรียนและอ่านหนังสือมากขึ้นอีก และก็เป็นไปอย่างที่คาด หวัง ดิฉันเก็บ A วิชาเอกได้อย่างที่ตั้งใจ และจบปี 2 มาด้วยคะแนน เฉลี่ย 3.85 ก็รู้สึกภูมิใจในตัวเองมากว่า “เราก็ทำาได้นะ ไม่เห็นจะ ยากเลยถ้าตัง้ ใจ” ผลก็มาจากความตัง้ ใจของตัวเองด้วย ดิฉนั เชือ่ ว่า ทุกคนก็ต้องทำาได้เช่นกันถ้ามีความตั้งใจ ไม่มีอะไรยากเกินความ

7

สามารถของเราได้ หากเราตั้งใจทำามันแล้วจริงๆ ส่วนการเตรียมตัวในการเรียนการสอบ ดิฉนั ก็เน้นเข้าเรียน เป็นหลัก เล็คเชอร์ทุกวิชา และอ่านหนังสือประกอบ พอใกล้สอบก็ อ่านในสิง่ ทีเ่ ราจดในห้องเป็นหลัก และเพิม่ เติมรายละเอียดในหนังสือ ที่สำาคัญเน้นในส่วนที่อาจารย์ผู้สอนสอนในห้องเรียน และเพื่อนก็มี ส่วนสำาคัญในการเรียน เพราะการเรียนกฎหมายนั้นมีเนื้อหาที่ค่อน ข้างมาก การพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนจะทำาให้เรามีความ เข้าใจและจดจำาได้ดียิ่งขึ้น และสิ่งที่ภูมิ ใจที่สุดของการที่ ได้เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัย มหาสารคาม คือ การได้รบั คัดเลือกเป็นนักเรียนทุนภูมพิ ล ในปี 2555 ในงานรับพระราชทานปริญญาบัตรฯ ซึง่ ก็ไม่คดิ ว่าตัวเองจะมีโอกาส นัน้ เพราะตอนนัน้ ก็แข่งขันกันหลายคนมาก และไม่ใช่แค่นสิ ติ สาขา นิตศิ าสตร์เพียงเท่านัน้ แต่แข่งขันกันถึง 5 สาขา เพือ่ หาตัวแทนเพียง 1 คน และสุดท้ายดิฉนั ก็ได้รบั เลือกให้เป็นตัวแทน รูส้ กึ ภูมิใจมากค่ะ พอจบปริญญาตรีแล้ว ดิฉันก็วางแผนว่าอยากจะเรียนต่อ เนติบัณฑิตและปริญญาโทไปพร้อมกัน แต่คิดว่าตัวเองยังไม่พร้อม ด้วยปัจจัยหลายๆ อย่าง จึงเลือกเรียนต่อเนติบัณฑิตก่อน และรอ สอบตั๋วทนายในระหว่างนั้น ถ้าจบเนติบัณฑิตไทยแล้วต่อไปก็คงจะ เรียนต่อปริญญาโททันทีเลย เพราะความรู้ยังคงแน่นอยู่ และใน อนาคตข้างหน้าถ้ามีโอกาสก็คงจะสอบผู้ช่วยผู้พิพากษาให้ ได้สม ความตัง้ ใจของคุณพ่อ และก็อยากจะเรียนต่อให้ถงึ ระดับปริญญาเอก ต่อไปอีกด้วย และตอนนี้สอบเนติบัณฑิตไทย ผ่านภาค 1 มาแล้ว ก็ ตั้งใจว่าจะเรียนเนติบัณฑิตไทยให้ ได้ภายในปีเดียว ซึ่งดิฉันเชื่อว่า “ความพยายามอยูท่ ี่ไหน สักวันความสำาเร�จต้องมีมาเสมอ” ดิฉนั เชือ่ แบบนี้ค่ะ และสุ ด ท้ า ยนี้ ดิ ฉั น ขอใช้ โ อกาสนี้ ข อบ คุณทุกๆ กำาลังใจทีม่ อบให้ ในระหว่างการเรียนเสมอ มา ไม่วา่ จะเป็นอาจารย์ทกุ ท่ า น เพื่ อ นๆ ที่ รั ก พี่ ๆ น้องๆ ที่น่ารักทุกคน และ อยากบอกว่ า ดิ ฉั น คิ ดไม่ ผิดจริงๆ ที่ ได้เข้ามาสู่รั้ว เหลือง-เทาแห่งนี้ ได้มา เจอประสบการณ์ดีๆ ใน ชีวติ ทีค่ รัง้ หนึง่ เด็กต่างถิน่ คนหนึ่ ง ได้ ม าสั ม ผั ส และ เรียนรูช้ วี ติ ในดินแดนทีอ่ บอวลไปด้วยความสวยงาม “สารคามแดน �น” นี… ่ ไม่ใช่ แค่เป็นเพียงทีศ่ กึ ษาหาความรู้ แต่เปรียบเสมือน บ้านหลังที่ 2 อันแสนอบอุ่นและรู้สึกสุขใจทุกครั้งที่ได้มา ขอบคุณ ทุกความรูส้ กึ ดีๆ ตลอด 4 ปีที่ได้รบั และสัญญาว่าจะไม่มวี นั ลืมเลือน บ้านที่หล่อเลี้ยงให้ดิฉันเติบโตเป็นผู้ ใหญ่ที่ดี ขอบคุณมากๆ ค่ะ รักนะคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.


กฎหมายนารู

คณาจารย คณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม

หลักอำานาจเหนืออาณาเขตตามกฎหมายฝรั่งเศส (Territorial Competence) อ.ธีรศักดิ์ กองสมบัติ หัวหน้าภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในประเทศฝรั่งเศส หลักเกณฑ์ที่จะใช้เพื่อกำาหนดว่าการ กระทำาใดที่ ไ ด้กระทำาขึ้น แล้วจะต้องนำาคดีขึ้น สู่ศาลใช้หลักเกณฑ์ “หลักอํานาจเหนืออาณาเขต” ซึง่ พิจารณาจากสถานทีท่ กี่ ารกระทำาเกิด ขึน้ โดยต้องเป็นสถานทีท่ มี่ กี ารติดต่อทางกฎหมายอย่างสม่าำ เสมอใน ภูมิลำาเนาของคู่ความที่จะมีการฟ องร้องดำาเนินคดี และเมื่อพิจารณา ตามมาตรา 14 และ 15 ตามประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศสบัญญัติ ว่า “การกระทําความผิดใดๆ อาจถูกฟ องร องดําเนินคดีได ในประเทศ ฝรั่งเศส” แต่สำาหรับในส่วนของเขตอำานาจที่เป็นการเฉพาะของศาล ฝรั่ ง เศสนั้ น จะกำ า หนดว่ า การกระทำ า ใดบ้ า งที่ ส ามารถนำ า เข้ า สู่ ก าร พิจารณาของศาลได้ ซึ่งการกำาหนดดังกล่าว ศาลประเทศฝรั่งเศสจะ กำาหนดโดยการนำาหลักของการมีอาำ นาจเหนืออาณาเขตทีโ่ ดยปกติแล้ว จะขึ้นอยู่กับภูมิลำาเนาของจำาเลย แม้ว่าในบางครั้งการติดต่อสัมพันธ์ กันทางอื่นๆ นั้น ยกตัวอย่างเช่น สถานที่แห่งการละเมิดหร�อสถานที่ ที่สัญญามีการทำาขึ้น อาจจะกำาหนดได้เช่นเดียวกันว่า ที่ซึ่งได้มีการ กระทำานัน้ อาจจะเป็นทีซ่ งึ่ ใช้ ในความเกีย่ วพันในการฟ องร้องดำาเนินคดี ได้

ภูมิลำาเนาโจทก์ ในประเทศฝรั่งเศส2 อย่างไรก็ตาม หากทางเลือก ดังกล่าวไม่อาจเป็นไปได้เนื่องมาจากโจทก์มีภูมิลำาเนานอกประเทศ ฝรัง่ เศส โจทก์อาจเลือกสถานที่ใดสถานทีห่ นึง่ ในประเทศฝรัง่ เศสเป็น ทีฟ่ อ งร้องดำาเนินคดี แต่การเลือกดังกล่าวจะต้องสมเหตุสมผลด้วย3 สำาหรับในส่วนของการกระทำาละเมิดนั้น พบว่าในปี ค.ศ. 4 1923 ได้มกี ารบัญญัตกิ ฎหมายเพือ่ ให้สามารถดำาเนินคดีกบั การกระทำา ละเมิด (delit) หร�อคล้ายว่าจะเป็นการละเมิด (quasi–delit) สามารถ ฟ องร้องดำาเนินคดี ได้ ในศาลแห่งท้องที่ที่การกระทำาละเมิดได้กระทำา ขึน้ 5 เช่นเดียวกันกับเป็นสถานทีท่ จ่ี าำ เลยมีภมู ลิ าำ เนา การบัญญัตกิ ฎหมาย ในครั้งนี้บัญญัติเพื่อให้ศาลประเทศฝรั่งเศสสามารถที่จะวินิจฉัยได้ว่า สถานที่ใดเป็นสถานทีท่ อี่ บุ ตั เิ หตุทางรถยนต์ได้เกิดขึน้ ยกตัวอย่างเช่น นักท่องเทีย่ วชาวอเมริกาได้เดินทางมาท่องเทีย่ วในประเทศฝรัง่ เศสและ ได้ รั บ บาดเจ็ บ โดยการกระทำ า ของผู้ ขั บ ขี่ ร ถยนต์ ช าวเยอรมั น ซึ่ ง มี ภูมิลำาเนาอยู่ในเยอรมัน อาจฟ องร้องดำาเนินคดีกับผู้ขับขี่รถยนต์ชาว เยอรมันยังศาลในประเทศฝรั่งเศสได้6.

Epoux Testasecca, Cass. Req., August 1, 1930, (1930) D.H. 521, (1931) S.I. 43, 58 CLUNET 385 (1931). 3 หมายความวา การกระทํานัน้ ควรจะถูกนําขึน้ สูศ าลทีใ่ กลกบั เขตแดนของประเทศทีจ่ าํ เลยอาศัย อยู ถาจําเลยอาศัยในประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศฝรัง่ เศส หรือ ณ ทีอ่ น่ื ใดทีม่ เี หตุผลเพียง พอในการติดตอกันของคูค วาม. Dame Boulaud v. Boulaud, Weiller, Cass. Civ. April 23, 1959, 48 REV. CRIT. DR. INT. PRIVÉ 549. (1959) ; BATIFFOL No. 766. และหลัก เกณฑดงั กลาวขางตนยังพบไดในคดี Dal Fiume v. dame Dal Fiume, Cass. Civ ., Feb. 14, 1962, 52 REV. CRIT. DR. INT. PRIVÉ 87 (1963) (Note Lagarde). 4 Law of November 26, 1923 J.O. Nov. 27, 1923 ; (1923) BULLETIN DES LOIS 3477, adding a subsection to articles2 and 59 of the CODE DE PROCÉDURE CIVILLE. This Law is now codified in CODE DE PROCÉDURE CIVILLE art.59 (11) (tribunal de grande instance) and DECRET No. 58 – 1284, supra note 113, art. 21 (tribunal d’instance). See also 6 NIBOYET No.1829. 5 คําจํากัดของการละเมิด (delit) ในกฎหมายฝรั่งเศสไมไดเหมือนกับคําจํากัดความในกฎหมาย ของประเทศสหรัฐอเมริกา ยกตัวอยางเชน ในคดีที่มีการกระทําของผูที่เปนเจาของรถที่รถกึ่ง เทรลเลอรตอผูเปนเจาของรถแทรกเตอรที่ไดทําการลากรถเทรลเลอรและเปนสาเหตุที่ทําให เกิดการพลิกคว่ําเกิดขึ้น ซึ่งจากการกระทําดังกลาว ศาลของประเทศฝรั่งเศสพิจารณาวาสถาน ที่ที่ไดมีการกระทําตามสัญญาเปนสถานที่ที่มีการกระทําละเมิด โดยไมพิจารณาถึงสถานที่ที่ อุบัติเหตุไดเกิด. Calopin et Cie d’assurances La Providence v. Soc. Des transports Rozanne, Trib. Saverne, July 24,1957, (1958) D.J. 343. 6 Cf. BATIFFOL No. 700. กฎหมายฝรั่งเศสใหอํานาจดําเนินคดีโดยตรงตอผูรับประกันภัยใน คดีอุบัติเหตุทางรถยนต อยางไรก็ตาม การใหอํานาจดังกลาวไมไดครอบไปถึงยังสถานที่ที่กอให เกิดการกระทําขึ้น .Dalaume, AMERICAN–FRENCH PRIVATE INTERNATIONAL LAW 152 (2d ed. 1961). 2

ในอดีตนัน้ การใช้หลักสัญชาติของคูค่ วามเพียงอย่างเดียวก็ เพียงพอแล้วที่ศาลของประเทศฝรั่งเศสจะมีอำานาจพิจารณาพิพากษา คดีได้ แม้ว่าจะไม่ปรากฏหลักทั่วไปของการมีอำานาจเหนืออาณาเขต ทีจ่ ะชีว้ า่ ศาลใดเป็นศาลทีม่ กี ารกระทำาเกิดขึน้ เช่น บริษทั ทีม่ สี าำ นักงาน ใหญ่อยู่ภายนอกประเทศฝรั่งเศส แต่มีสาขาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ก็ อาจถูกฟ องร้องยังศาลที่สาขานั้นตั้งอยู่ได้1 ถ้าเป็นการกระทำาที่เกิด จากการทำาสัญญาระหว่างชาวฝรัง่ เศสกับชาวต่างประเทศ ซึง่ สัญญานัน้ มีผลเสร�จสิ�นในต่างประเทศแล้ว การฟ องคดีอาจเกิดขึ้นยังศาล ณ DALLOZ, RÉPERTOIRE DE PROCÉDURE CIVILLE ET COMMERCIAL, Compétence International No.51(1956). 1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.