บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า

Page 1



หนึ่งคณะ หนึ่งศิลปวัฒนธรรม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับ หน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า



โครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญในการดำ�รงอยู่ของสิทธิชุมชน และการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม  จึงได้มีนโยบายให้บูรณาการโครงการ ทำ�นุบ�ำ รุงศิลปวัฒนธรรมเข้ากับพันธกิจด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจยั ด้านการบริการวิชาการ และด้านกิจกรรมนิสิต อันนำ�ไปสู่  “โครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม”  โดยกำ�หนดให้นิสิต เข้ามามีส่วนร่วมในการดำ�เนินโครงการ เพื่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย มหาสารคามและชุ ม ชนที่ มี ก ารแลกเปลี่ ย นความรู้ แ ละทำ � กิ จ กรรมร่ ว มกั น อย่ า งแท้ จริ ง   อั น สอดคล้องกับปณิธานของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  ที่มุ่งมั่นในการสั่งสมแสวงหาความเป็นเลิศ ทางวิชาการ  โดยศึกษาภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่   ผสมผสานกับวิทยาการทีเ่ ป็นสากลให้เกิดความงอกงาม ทางสติปัญญา สามารถพัฒนาตนเองให้เพียบพร้อมด้วยวิชาการ จริยธรรมและคุณธรรม รศ.ดร.ศุภชัย สมัปปิโต อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม



กฎหมายกับวัฒนธรรมการดูแลผืนป่า การศึกษาเป็นเรือ่ งสำ�คัญ  เนือ่ งจากเป็นการทำ�ให้คนมีความรูม้ ากขึน้   โดยเฉพาะการ ศึกษาทางด้านนิติศาสตร์  จะทำ�ให้ผู้ศึกษามีความรู้กฎหมายมากกว่าผู้อื่น  หากมีการนำ�ความรู้ นั้นไปใช้ในทางที่ดี  ก็จะก่อให้เกิดการพัฒนาต่อชุมชนและสังคม  แต่หากนำ�ไปใช้ในทางที่ไม่ดี ก็ จะก่อให้เกิดปัญหาอย่างมากมาย  ดังนัน้   การทีม่ หาวิทยาลัยมหาสารคามมีนโยบายเกีย่ วกับหนึง่ คณะหนึง่ ศิลปวัฒนธรรม ซึ่งจะทำ�ให้แต่ละคณะส่งเสริมให้การศึกษาควบคู่กับการทำ�นุบำ�รุงวัฒนธรรมอันดีงาม  และคณะ นิติศาสตร์ได้นำ�มาปฏิบัติ โดยจัดให้มีโครงการนิติศาสตร์เรียนรู้คู่บริการ เรื่อง “กฎหมายกับ วัฒนธรรมการดูแลผืนป่า”  ณ  วนอุทยานชีหลง  อันเป็นการบูรณาการระหว่างการให้การศึกษา การจัดการ และการรักษาผืนป่าวนอุทยานชีหลงอย่างยั่งยืน ดร.สุทธิศักดิ์ ภัทรมานะวงศ์ คณบดีคณะนิติศาสตร์



วัฒนธรรมชุมชนกับการรักษาผืนป่า โครงการ “บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกีย่ วกับการรักษา ผืนป่า” ภายใต้โครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม จัดทำ�ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วัฒนธรรมเกีย่ วกับการรักษาผืนป่าในชุมชนบ้านวังหว้า อำ�เภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจต่อประชาชนในชุมชนเกีย่ วกับบทบาทของวัฒนธรรมในการรักษาผืนป่าใน วนอุทยานชีหลง อำ�เภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม ตลอดจนธำ�รงไว้ซงึ่ วัฒนธรรมอันดีงามของ ชุมชนในการรักษาผืนป่า ซึ่งต้องขอกราบขอบพระคุณ คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ที่ให้คำ�ปรึกษา ตลอดจนกำ�กับติดตามดูแลการดำ�เนินกิจกรรมจนบรรลุวัตถุประสงค์ ขอกราบขอบพระคุณผู้ใหญ่ บ้านบ้านวังหว้า ทีใ่ ห้ความอนุเคราะห์สถานทีแ่ ละอำ�นวยสะดวกในการจัดกิจกรรม ขอขอบพระคุณ ชาวบ้านบ้านวังหว้าทุกท่าน ที่เข้าร่วมเป็นเกียรติในการจัดกิจกรรม และขอขอบคุณนิสิตคณะ นิติศาสตร์ ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจในการดำ�เนินกิจกรรมตามโครงการในครั้งนี้ อันจะเป็น ผลให้ วัฒนธรรมท้องถิ่น ได้ถูกจรรโลงเอาไว้บนโลกมนุษย์อีกระยะหนึ่งต่อไป อาจารย์ชาคริต ขันนาโพธิ์ หัวหน้าโครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม



ประเพณีฮีตสิบสองคองสิบสี่ การรับกิจนิมนต์ โดยเริ่มแรกบ้านวังหว้าไม่มีวัดประจำ�หมู่บ้าน โดยตัวของอาตมภาพ เองได้มาโปรดชาวบ้านบ้านวังหว้า ตอนแรกการรับกิจนิมนต์ของอาตมาก็ล�ำ บาก เพราะต้องมารับ บิณฑบาตของชาวบ้าน  แล้วเดินทางกลับ  เพราะที่หมู่บ้านวังหว้ายังไม่มีวัดประจำ�หมู่บ้าน  ชาว บ้านต้องเดินไปทำ�บุญที่หมู่บ้านท่าขอนยาง ซึ่งเป็นระยะทางไกล อาตมาจึงมาโปรดชาวบ้าน ซึ่ง ตามธรรมเนียมที่ว่า  หมู่บ้านไหนไม่มีวัด  หมู่บ้านนั้นเป็นหมู่บ้านเถื่อน  โดยตอนแรกอาตมาได้ ร่วมมือกับผู้นำ�หมู่บ้านในการทำ�ศาลาอเนกประสงค์เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา  โดยการสวดมนต์ในหมูบ่ า้ น อาตมาและพระในวัดต้องเดินทางมาพาชาวบ้านประกอบพิธกี รรมทาง ศาสนา เพื่อจะขัดเกลาจิตใจชาวบ้านให้ดีงาม และอาตมาและพระอีกหลายๆ  รูป ตลอดจนชาว บ้านได้ร่วมกันสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมของบ้านวังหว้า  คือประเพณีฮีตสิบสองคองสิบสี่แบบ ญ้อภูไท ซึง่ ในแต่ละปีจะมีการประกอบพิธที ศี่ าลากลางบ้าน  โดยอาตมาและพระอีกหลายรูปต้อง เดินทางไปโปรดญาติโยมที่นั่น ซึ่งชาวบ้านเห็นความลำ�บาก  จึงได้มีจิตศรัทธาร่วมกันซื้อรถยนต์ มาถวาย ทำ�ให้การเดินทางสะดวกขึ้น สุดท้ายนี้ อาตมาขออำ�นาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก ขอมาอำ�นวยอวยพรให้ญาติโยมทั้งหลาย ชาวบ้าน คณาจารย์ นิสิต นักศึกษาทั้งหลายจงประสบ แต่ความสุขความเจริญ  อายุ  วรรณะ  สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสารสมบัตทิ กุ ประการเทอญ  เจริญพร พระสุเมธี สุเมโธ เจ้าอาวาสวัด


ชุมชน : ผู้นำ�ชุมชน


การย้อนกลับสิ่งดีๆ ให้กับชุมชน ในความคิดเห็นของผู้นำ�ชุมชน  เป็นกิจกรรมที่ดี  ไม่เคยมีคณะไหนทำ�แบบนี้  มีการ ย้อนกลับสิง่ ดีๆ  ให้กบั ชุมชน  มีกจิ กรรมให้ชมุ ชนได้สนุกสนาน  ทำ�ให้ชมุ ชนมีความอบอุน่ ทีผ่ า่ น มาชุมชนไม่เคยได้รับความอบอุ่นหรือการตอบรับแบบนี้  ถ้ามีโครงการแบบนี้  ทางชุมชนบ้านวัง หว้าก็พร้อมทีจ่ ะต้อนรับคณะนิตศิ าสตร์เป็นอย่างดี  คณะนีเ้ ป็นคณะทีช่ ว่ ยให้ชมุ ชนผ่อนคลาย ทำ�ให้ ชาวบ้านมีความร่าเริงสนุกสนาน ทางผู้นำ�ชุมชนอยากให้มีกิจกรรมแบบนี้อีก เพราะชาวบ้านได้เข้าร่วม  ให้ความอบอุ่น กับชาวบ้าน ชาวบ้านได้รับผลลัพธ์เป็นอย่างดี  อยากให้มีโครงการแบบนี้จากคณะนิติศาสตร์มา ทุกๆ  ปี  จึงขอชื่นชมไว้ ณ  ที่นี้ ผู้ใหญ่ทวีศักดิ์ อ้วนมี ผู้นำ�ชุมชนบ้านวังหว้า



ป่าไม้เป็นสิ่งสำ�คัญต่อการดำ�รงชีวิตของคนในชุมชน กิจกรรมของคณะนิตศิ าสตร์เป็นกิจกรรมทีด่ ี ให้ความอนุเคราะห์ชาวบ้าน ทำ�ให้ชาว บ้านได้ทำ�บุญทำ�ทานร่วมกับนิสิตนักศึกษา ตลอดจนครูอาจารย์ ชาวบ้านได้รับความสุข ความ สนุกสนาน ความเพลิดเพลินสำ�ราญใจ คณะนิติศาสตร์ได้ทำ�กิจกรรมที่เป็นการอนุรักษ์ป่าไม้ ซึ่งป่าไม้เป็นสิ่งสำ�คัญต่อการดำ�รงชีวิตของคนในชุมชนบ้านวังหว้า เมื่อลูกหลานชาวคณะ นิตศิ าสตร์มากระตุน้ ให้ชาวบ้านตระหนักถึงสิง่ ทีส่ ำ�คัญต่อชีวติ ของเขาก็ถอื ว่าเป็นเรือ่ งดีมากแล้ว ยายเองก็อยากให้มีกิจกรรมดีๆ แบบนี้จากคณะนิติศาสตร์ทุกๆ ปี คุณยายพิณ เติมอินทร์ สมาชิกชุมชนบ้านวังหว้า


16 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

เสียงจากนิสิต

อนิวัฒน์ คลังทอง

ครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม เป็นโครงการหนึ่งที่คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีโอกาสได้จัดขึ้น เป็น โครงการที่เป็นประโยชน์อย่างมาก ทำาให้นิสิตได้เรียนรู้ในการทำา กิจกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ เพราะเป็นกิจกรรมที่ได้ทำางานใน พื้นที่ข้างนอกมหาวิทยาลัย เราได้ศึกษาเรียนรู้ในแหล่งพื้นที่จริง ซึ่งเปรียบเสมือนวิชาเล่มหนึ่งที่มีชีวิตที่เราต้องศึกษาและเรียนรู้ใน หนังสือ ซึ่งเป็นวิชาที่ผมชอบมากในการทำางานทำากิจกรรมร่วมกับ ชุมชน ทำาให้เราได้เห็นแนวคิดในการอนุรักษ์วัฒนธรรมว่าเขาคิดยัง ไงกับการอนุรกั ษ์สบื สานวัฒนธรรมประเพณีอสี านบ้านเฮา จากการ ลงสอบถามข้อมูลชุมชนบ้านวังหว้า ตำาบลท่าขอนยาง อำาเภอ กันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเป็นชุมชนขนาดปานกลาง ใน ชุมชนได้มกี ารทำาบุญตามประเพณีฮตี 12 คอง 14 ซึง่ ในแต่ละเดือน ก็จะมีประเพณีทแี่ ตกต่างกันออกไป ทำาให้ผมรูส้ กึ ว่าวัฒนธรรมอีสาน ยังดำารงอยู่ในปัจจุบัน ทำาให้เราได้ภูมิใจที่เกิดเป็นลูกหลานของคน อี ส าน เราได้ เ รี ย นรู้ อ ะไรหลายๆ อย่ า งที่ จ ะเป็ น การอนุ รั ก ษ์ วัฒนธรรมให้คงอยูค่ คู่ นอีสานเพือ่ เป็นการอนุรกั ษ์สบื สานไว้ ถ้าไม่มี การอนุรักษ์ไว้ซึ่งลูกหลาน รุ่นต่อๆ ไปก็จะไม่มีโอกาสที่จะได้เห็น ประเพณีอนั ดีงามของคนอีสาน สุดท้ายนีผ้ มก็อยากจะขอฝากกลอน ต่อผญาสืบสานประเพณีอีสาน "อย่าสุไลลืมทิ้มพงศ์พันธุ์พี่น้องเก่า อย่าสุละเซื้อเหง้าหาญ้องผู้อื่นดี เพิ่นว่าไทไกลนี้เจงเลงน้ำาแจ่วข่า บ่ท่อใสจิ่งหลิ่งไทใกล้น้ำาแจ่วขิ่ง เพิ่นว่าสิ่งของนี้บ่ขัดสีปัดเป่า อีกบ่โดนกะสิเศร้าเสียค่าของแพง ให้ค่อยแหย่งเอาไว้ของไทเฮาซาวอีสาน ฮีตเก่าของโบราณอย่าพาลข้ามทิ้มเสีย ซั่นแล้ว.


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 17

บัณฑิตย์ ตรียสูตร

เสียงจากนิสิต

ากกิจกรรมภายใต้โครงการหนึง่ คณะหนึง่ ศิลปวัฒนธรรมทีผ่ า่ น มา เป็นกิจกรรมทีเ่ ปิดโอกาสให้นสิ ติ นักศึกษาได้มสี ว่ นร่วมหรือ เรียนรูเ้ กีย่ วกับทีม่ าของวัฒนธรรมในตำาบลหรือหมูบ่ า้ น ซึง่ ชาวบ้าน ก็ได้ให้ความร่วมมือกับโครงการนี้เป็นอย่างดี รวมทั้งได้ให้นิสิต นักศึกษาทำากิจกรรม ได้มีส่วนร่วมกับชาวบ้าน และได้ให้ความรู้ และประสบการณ์ จึงทำาให้นสิ ติ นักศึกษาได้รถู้ งึ วัฒนธรรมประเพณี ที่สืบทอดต่อกันมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ และสามารถนำากลับไป พัฒนาและต่อยอดความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน ซึ่งกิจกรรม หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรมนี้เป็นโครงการเกี่ยวกับประเพณีและ วัฒนธรรมซึง่ รวมไปถึงการบวชป่า ปลูกต้นไม้ให้กบั ธรรมชาต เพือ่ ให้ทกุ คนได้ตระหนักและควรอนุรกั ษ์ตน้ ไม้และป่าไม้ไม่ให้ใครมาตัด ไม้หรือทำาลายป่า รวมไปถึงปลูกต้นไม้เพือ่ ให้ปา่ ไม้อดุ มสมบูรณ์และ ทดแทนต้นไม้ทสี่ ญ ู เสียไปให้กลับมาเป็นป่าไม้ทอี่ ดุ มสมบูรณ์มากยิง่ ขึ้น จึงเป็นที่มาของโครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม และได้ มีการทำากิจกรรมภายในโครงการคือ สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง คณะอาจารย์ นิสติ นักศึกษา และเจ้าหน้าทีว่ นอุทยานป่าไม้ เพือ่ ให้ เกิดความสัมพันธ์อันดีงามในการร่วมกิจกรรม และช่วยให้นิสิตมี ความคิดความกล้าแสดงออกในทางที่สร้างสรรค์และนำาความคิดที่ ได้ไปพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น หลังจากนั้นก็ได้มีการจัดเวทีเสวนาแลก เปลี่ยนความรู้ที่มาของประเพณีและวัฒนธรรมจากชาวบ้านและ ผูใ้ หญ่บา้ น เพือ่ เรียนรูค้ วามเป็นมาของประเพณีและวัฒนธรรมของ หมู่บ้านว่ามีความเป็นมาอย่างไร ควรปฏิบัติตามประเพณีและ วัฒนธรรมแบบไหน หลังจากเสร็จจากการเสวนาก็ได้ร่วมกับคณะ อาจารย์ นิสติ นักศึกษา และชาวบ้านร่วมกันทำาบุญถวายผ้าป่า และ ในช่วงเย็นมีการจัดกิจกรรมสังสรรค์และวงดนตรีรื่นเริงพร้อมร่วม รับประทานอาหารกับคณะอาจารย์ นิสติ นักศึกษาและชาวบ้าน เพือ่ สร้างความปรองดองกับชาวบ้านดัง่ เสมือนคนในครอบครัวเดียวกัน เพื่อแสดงคุณงามความดีและอ่อนน้อมถ่อมตนให้เหมาะสมกับ โครงการที่ร่วม.


18 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

จ จตุรงค์ ดำาดี

ลกาภิวัตน์ก้าวหน้า วัฒนธรรมย่อมสานต่อ ทอประเพณีแห่ง ความเป็นอีสาน เฉกเช่นเดียวกับโครงการบทบาทของวัฒนธรรม ชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ภาย ใต้ โ ครงการหนึ่ ง คณะหนึ่ ง ศิ ล ปวั ฒนธรรม ที่ จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 18 สิ ง หาคม 2557 ณ บ้ า นวั ง หว้ า อำ า เภอกั น ทรวิ ชั ย จั ง หวั ด มหาสารคาม เป็นอีกหนึง่ โครงการของคณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ทีไ่ ด้จดั ทำาขึน้ เพือ่ สะท้อนบทบาทของชุมชน ตลอดจน หน่วยงานของรัฐ ที่นำาวัฒนธรรมของชุมชนมารักษาผืนป่า ซึ่ง เป็นการเชื่อมโยงระหว่างวัฒนธรรมกับป่าให้มีส่วนเกื้อหนุนซึ่งกัน และกัน อันจะนำาไปสู่ความเจริญงอกงามทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม และความเป็ น อยู่ ข องคนในชุ ม ชน ตลอดจนเป็ น การสื บ สาน วัฒนธรรมที่ดีงามให้คงอยู่คู่ชุมชน

เสียงจากนิสิต

ณัฐพงศ์ วงษ์ภูธร

ากการที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรมนี้ ทำาให้ได้เห็นถึงความสำาคัญของจารีตประเพณีในท้องถิ่นว่ามี ความสำาคัญอย่างไรต่อวิถีชีวิตของชาวบ้าน จากที่ไม่ค่อยได้สนใจ อะไรเกีย่ วกับจารีตประเพณีนกั เพียงแต่เขาพาทำาอะไรก็ทาำ ตามเขา แต่ เ มื่ อ ได้ ม าร่ ว มกิ จ กรรมนี้ ก็ ทำ า ให้ ไ ด้ เ ห็ น อี ก มุ ม หนึ่ ง ของจารี ต ประเพณี ทีค่ นรุน่ ก่อนได้ซอ่ นกุศโลบายในการรักษาป่าไว้ในพิธกี รรม บวชป่า แม้หลายคนอาจมองว่ามันเป็นเรื่องงมงาย แต่เพราะเรื่อง งมงายนีแ้ หละทีท่ าำ ให้สามารถรักษาป่าแห่งนีไ้ ว้ได้ภายใต้ความเจริญ แห่งยุคสมัยที่ล้อมรอบป่าแห่งชีหลง.

ในนามผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องในการดำาเนินกิจกรรมโครงการบทบาทของ วัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษา ผืนป่า ตั้งแต่การตระเตรียมกิจกรรม วางแผนงาน จนถึงวันดำาเนิน กิจกรรม ทำาให้ตัวนิสิตเองได้เรียนรู้การทำางานร่วมกับคนหมู่มาก และได้สร้างสรรค์กิจกรรมดีๆ ให้กับชุมชน ในภาคเช้าได้มีกิจกรรม ที่ ดำ าเนิ นการ อาทิ กิ จกรรมทำ า บุ ญตั กบาตรที่ ว นอุ ท ยานชี ห ลง กิจกรรมพิธสี ขู่ วัญป่า พีธบี วชป่า กิจกรรมปลูกป่า และกิจกรรมสาน สัมพันธ์ระหว่างนิสิต อาจารย์ และชาวบ้าน ซึ่งกิจกรรมในภาคเช้า ส่วนมากแล้วจะเป็นกิจกรรมในด้านพิธีกรรม และสันทนาการบ้าง เล็กน้อย แต่ก็ล้วนเป็นกิจกรรมที่ทรงคุณค่า สร้างความสามัคคีให้ กับอาจารย์ ชาวบ้านและนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตลอดจน


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 19

เสียงจากนิสิต

ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทำาบุญกุศล อันจะเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตร่วม กันด้วย ส่วนกิจกรรมในภาคบ่ายนั้นเป็นกิจกรรมที่รวมไว้ทั้งด้าน วิชาการ พิธีการ และสันทนาการ อาทิ กิจกรรมเวทีวิชาการ ซึ่ง เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ทำาให้ชาวบ้าน อาจารย์ และนิสิต ได้แลก เปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านวัฒนธรรมชุมชนกับการรักษาผืนป่าว่า ใน ความเห็นหรือมุมมองของแต่ละฝ่ายเป็นอย่างไร และจะมีแนวคิด หรือวิธกี ารในการรักษาป่าให้คงอยูค่ บู่ า้ นวังหว้าตลอดไปได้อย่างไร ส่วนกิจกรรมต่อมาคือกิจกรรมแห่ผ้าป่า เป็นกิจกรรมที่แสดงออก ถึงการมีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งคนในชุมชนก็ดี นิสิตนักศึกษา ครู อาจารย์ก็ดี ต่างก็ให้ความสนใจและร่วมทำาบุญกันเป็นอย่างมาก ส่วนกิจกรรมสุดท้ายนั้นคือกิจกรรมสันทนาการรับประทานอาหาร ร่วมกัน ถือว่าเป็นกิจกรรมทีส่ านสัมพันธ์ได้ด เพราะชาวบ้าน รวม ทั้งตัวนิสิตนักศึกษาได้มีความใกล้ชิดสนิทสนมเฉกเช่นเป็นคนใน ครอบครัวเดียวกัน ได้มาร่วมกันพบปะพูดคุยถึงสารทุกข์สกุ ดิบของ ชาวบ้าน ตลอดจนการศึกษาเล่าเรียนของนิสิตนักศึกษาด้วย

กล่าวได้วา่ การจัดกิจกรรมโครงการบทบาทของวัฒนธรรมชุมชนใน การร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่าในครั้งนี้ได้ให้ ประโยชน์แก่ชุมชน คือทำาให้คนในชุมชนได้ฟื้นวัฒนธรรมที่อาจถูก มองข้ามให้เกิดขึ้นมาใหม่ ทำาให้คนในชุมชนได้รู้จักคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามมากขึ้น อันจะเป็นการดีในอนาคต ที่ มหาวิทยาลัยกับชุมชนจะเป็นองค์กรทีจ่ ะรักษาวัฒนธรรมร่วมกันต่อ ไป หากมองย้อนกลับมาทางด้านนิสิตเอง สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนนั้นก็ คงจะเป็นเรื่องประสบการณ์ในการทำางานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทำาให้ได้เรียนรูค้ วามเป็นอยูข่ องชาวบ้าน ท้ายสุดคือการได้มสี ว่ นร่วม รับผิดชอบสังคม สมกับขึ้นชื่อว่า ผู้มีปัญญาพึงเป็นอยู่เพื่อมหาชน.


20 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ากกิจกรรมในโครงการบทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วม กับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ภายใต้โครงการ นิติศาสตร์ร่วมใจ สานสายใยวัฒนธรรมสู่ชุมชน ที่ผ่านมาเป็น กิจกรรมที่ทำาให้ชาวบ้านในชุมชนและนิสิตนักศึกษา คณาจารย์ ได้ มีส่วนร่วมในการดำาเนินโครงการและเป็นการเรียนรู้ในวัฒนธรรม และประเพณี ข องชุ ม ชน (บ้ า นวั ง หว้ า ) และให้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ของ วัฒนธรรมที่มีต่อผืนป่า ในการช่วยเหลือดอนป่าหรืออนุรักษ์ต้นไม้ และป่าให้คงอยู่กับชุมชน กิจกรรมภายใต้โครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม (โครงการ นิติศาสตร์ร่วมใจสานสายใยวัฒนธรรมสู่ชุมชน) เป็นโครงการที่ช่วย ให้นิสิตนักศึกษาได้ทำากิจกรรมร่วมกับชุมชน (บ้านวังหว้า) ในการ เรียนรู้ และได้ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีที่สืบทอดต่อ กันมา ทำาให้ข้าพเจ้าได้ความรู้ที่จะนำาไปอนุรักษ์วัฒนธรรมและ ประเพณีทมี่ คี วามเกีย่ วข้องและความเชือ่ เกีย่ วต้นไม้และป่า ในบาง วัฒนธรรมและประเพณีที่ผู้เฒ่าผู้แก่มีต่อต้นไม้และป่า ข้าพเจ้ามี ความรู้สึกว่า บางอย่างอาจขัดแย้งกับความเชื่อของข้าพเจ้าเอง แต่ พอได้เข้าร่วมในโครงการนี้ ทำาให้ข้าพเจ้ามีความรู้สึกที่ดีและรู้แจ้ง วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของชุมชนนี้ และยังมีความสนุกสนาน อิ่มบุญ สามารถนำากลับไปพัฒนา ปรับใช้ในชีวิตประจำาวันได้ ซึ่ง กิจกรรมภายในโครงการนิติศาสตร์ร่วมใจ สานสายใยวัฒนธรรมสู่ ชุมชน เป็นโครงการที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมและประเพณี ซึ่ง รวมไปถึงกิจกรรมสู่ขวัญป่า บวชป่า ปลูกต้นไม้ เพิ่มความสมบูรณ์ ให้กับธรรมชาติของชุมชน เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงป่าและควร อนุรกั ษ์ปา่ ไม้ยงิ่ ขึน้ และได้มกี ารทำากิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างชาว บ้าน คณาจารย์ เจ้าหน้าที่วนอุทยาน และนิสิตนักศึกษา เพื่อ เชื่อมสัมพันธ์และช่วยให้นิสิตนักศึกษามีความกล้าแสดงออก กล้า คิด กล้าแลกเปลี่ยนความรู้ที่มีต่อวัฒนธรรมประเพณีของหมู่บ้าน ว่า วัฒนธรรมและประเพณีจากชาวบ้านมีความเป็นมาอย่างไร แล้วควรปฏิบัติตามวัฒนธรรมและประเพณีแบบไหน และยังมี กิจกรรมวงดนตรีรื่นรมย์ รับประทานอาหารค่ำาร่วมกับชาวบ้าน คณาจารย์ นิสิตนักศึกษา เป็นเสมือนครอบครัวเดียวกัน แสดงให้ เห็ น ถึ ง ความปรองดอง เห็ น ถึ ง คุ ณ งามความดี ข องชาวบ้ า น

เสียงจากนิสิต

กิตติคุณ ติโพธัง


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 21

คณาจารย์ และนิสิตนักศึกษา ฉะนั้นโครงการนิติศาสตร์ร่วมใจ สานสายใยวัฒนธรรมสู่ชุมชน จึง เป็นโครงการที่ช่วยให้คณาจารย์ นิสิตนักศึกษา และเจ้าหน้าที่ วนอุทยาน และชาวบ้าน ณ บ้านวังหว้า เกิดความสัมพันธ์อันดีงาม ภายใต้โครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปะวัฒนธรรม ทำาให้ทุกฝ่ายนำา ความรู้ที่ได้กลับไปพัฒนาและต่อยอดในชีวิตประจำาวันได้.

กิ

สุดท้ายนี้ข้าพเจ้าขอฝากว่า เรื่องทุกเรื่องมีเหตุและผลของมัน คน เราเกิดกับธรรมชาติ อยู่กับธรรมชาติ และสุดท้ายก็ต้องตายไปกับ ธรรมชาติในทีส่ ดุ สิง่ ใดควรรักษาให้รบี รักษาก่อนจะสูญหายไปตาม กาลเวลา.

วัชระพล ศรีบุญเรือง

เสียงจากนิสิต

จกรรมหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับ การบวชป่า รักษาผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติ โดยอาศัย ความเชื่อของชาวบ้านเข้าไปเป็นกุศโลบาย ตามความเชื่อของชาว บ้านทีเ่ ชือ่ ว่า “ต้นไม้ใหญ่ยอ่ มมีรกุ ขเทวดา ผีสาง นางไม้ปกปักรักษา” โดยที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ รู้สึกยินดีอย่างยิ่งที่ได้เป็น ส่วนหนึ่งในการจัดทำาโครงการของคณะนิติศาสตร์ โดยอาศัยความ ร่วมมือจากครูบาอาจารย์ ชาวบ้านและเพือ่ นๆ ข้าพเจ้ายังคิดเสมอ ว่า ถ้าวัฒนธรรมประเพณีนสี้ ญ ู หายไป ป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติ ก็คงหมดไปเช่นกัน แต่เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งคือ “เยาวชนทุกวัน นี้ต่างมองข้ามวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษสร้างขึ้น เห็นว่าเป็นเรื่อง งมงาย ไม่รู้จะยึดติดทำาไม แต่หารู้ไม่ว่า สิ่งที่บรรพบุรุษท่านได้ สร้างขึน้ มาจนเป็นวัฒนธรรม ได้มแี ง่ของความคิดอะไรหลายๆ อย่าง แฝงอยู่” ข้าพเจ้าไม่เคยคิดว่าเรื่องพวกนี้เป็นเรื่องงมงายเลย และ ดีใจด้วยซ้ำาที่ผู้เฒ่าผู้แก่ท่านยังรักษาศิลปวัฒนธรรมแบบนี้ไว้ให้ลูก หลานได้ศึกษา สังคมปัจจุบันจะมั่นคงอยู่ได้ก็ด้วยมีอดีตฝังรากลึก มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีอนั ดีงามทีม่ นั่ คงและสืบต่อกัน มา ข้าพเจ้าขอขอบคุณชาวบ้านทีย่ งั คงรักษาแบบประเพณีของอีสาน คือ “ฮิตสิบสอง คองสิบสี่” ไว้ให้ลูกหลาน


22 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

นการดำาเนินโครงการบทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับ หน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่าในครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้รับ สิ่งต่างๆ มากมายไม่ว่าจะเป็นมิตรภาพใหม่ๆ ซึ่งเกิดกับผู้คนที่ได้ ทำางานร่วมกัน ได้รบั ความรักความอบอุน่ จากอาจารย์หลายๆ ท่าน ที่ได้มาร่วมทำาโครงการฯ ครั้งนี้ด้วย อีกทั้งชาวบ้านหมู่บ้านวังหว้าที่ แสดงให้เห็นถึงความมีไมตรีจติ ความเป็นกันเองของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ และ ความน่ารักของเด็กๆ ในหมูบ่ า้ น ซึง่ มันเป็นสิง่ ทีล่ า้ำ ค่ามากทีข่ า้ พเจ้า ได้รับ สิ่งแรกที่ข้าพเจ้าคิดในหัวเมื่อทราบว่าจะได้ร่วมทำาโครงการฯ คือ มันจะต้องเหนื่อยแน่ๆ และมันก็เป็นอย่างนั้นจริงๆ เริ่มจากการที่ จะต้องลงไปสำารวจสถานทีใ่ นการจัดกิจกรรม ซึง่ ข้าพเจ้าจะต้องเดิน ทางไปที่วนอุทยานชีหลง ถึงแม้ว่ามันจะไม่ไกลเท่าใดนัก แต่มัน กลับมีความยากลำาบากมากกว่าจะเดินทางเข้าไปถึงตัววนอุทยานชี หลง เพราะมันอยู่ในช่วงฤดูฝน แต่ในความลำาบากมันก็แฝงไว้ด้วย ความสุขมากมาย ในครัง้ ทีข่ า้ พเจ้าได้เข้าไปสำารวจข้อมูลกับชาวบ้าน วังหว้า ข้าพเจ้าได้รับความรู้ใหม่ๆ ที่ข้าพเจ้าไม่เคยรู้มาก่อนจากผู้ เฒ่าผู้แก่ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านวังหว้า ข้าพเจ้าได้รับความเป็นมิตร และความเป็นกันเองในระหว่างที่พูดคุยกันกับชาวบ้าน ก่อนจะถึง วันจัดกิจกรรมจริง ข้าพเจ้าคิดว่าคงจะไม่ค่อยมีชาวบ้านเข้าร่วม กิจกรรมเท่าใดนัก แล้วก็คิดว่างานมันจะออกมาเป็นเช่นไร บอกได้ เลยว่ารูส้ กึ ไม่คอ่ ยดี แต่พอถึงวันจัดกิจกรรมจริงมันกลับไม่เป็นอย่าง ที่ข้าพเจ้าคิด ชาวบ้านวังหว้าให้ความร่วมมืออย่างมาก และงานก็ ออกมาดีกว่าที่ข้าพเจ้าคิดไว้เสียอีก ข้าพเจ้าได้ร่วมปลูกป่ากับ อาจารย์ ชาวบ้าน และน้องๆ นิสิตปี1 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่เข้าร่วมกิจกรรม มันทำาให้ข้าพเจ้ารู้สึกมีความสุขและได้รับความ อบอุ่นมากๆ ในช่วงบ่ายมีการแห่กลองยาวรอบหมู่บ้านวังหว้าซึ่งมี ชาวบ้านเข้าร่วมมากมาย และข้าพเจ้าสัมผัสได้ว่าชาวบ้านที่มาเข้า ร่วมนัน้ มีความสุขเพราะมีรอยยิม้ ทีแ่ สดงให้เห็นถึงความสนุกสนาน ทีพ่ วกเขาได้รบั ส่วนในช่วงค่าำ ได้มกี ารรับประทานอาหารค่าำ ร่วมกัน

เสียงจากนิสิต

อธิปปัตย์ จีระสมบัติ


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 23

เสียงจากนิสิต

ระหว่างชาวบ้านวังหว้ากับอาจารย์และนิสติ ซึง่ มันทำาให้รสู้ กึ ใกล้ชดิ กับชาวบ้านมากขึน้ อีกด้วย ระหว่างการรับประทานอาหารนัน้ ก็มวี ง ดนตรีมาให้ชาวบ้านวังหว้าได้รับชมกัน และชาวบ้านหลายๆ คนก็ อดใจไม่ไหวที่จะลุกขึ้นมาเต้นไปกับเพลง มันยิ่งทำาให้รู้สึกว่าที่เรา เหนื่อยที่เราลำาบากมานั้นมันไม่ได้สูญเปล่าเลย มันยิ่งทำาให้รู้สึกอีก ว่าอยากจะทำาโครงการฯ แบบนี้ไปอีกหลายๆ โครงการฯ เพราะมัน เป็นสิ่งที่เราสามารถทำาให้อีกหลายๆ คนมีความสุขได้อีกมากมาย และข้าพเจ้าคิดว่าการที่จะทำาให้คนอื่นมีความสุขได้มันจะต้องเริ่ม จากตัวเราเสียก่อน ถ้าตัวเรามีความสุข มีรอยยิม้ คนอืน่ ก็จะมีความ สุขและยิ้มไปกับเราเอง.


24 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ประวัติบ้านวังหว้า ความเป็นมาของบ้านวังหว้า

คณะพยาบาลศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  ได้มกี ารประชาคมและสำ�รวจความ ต้องการของชุมชนในวันที่ 17 มีนาคม 2554 และได้ลงพื้นที่สำ�รวจชุมชนในวันที่ 26 มิถุนายน 2554 จากการประชาคมและสำ�รวจชุมชนได้ข้อมูล ดังนี้ ประวัติความเป็นมาคือชื่อวังหว้า เพราะว่ามีต้นหว้าใหญ่ 3 ต้นอยู่กลางทุ่งนา เมื่อก่อน เป็นบ้านน้อยกะตากวย  เพราะตากวยเป็นคนมาอยู่ก่อน  ชาวบ้านเรียกบ้านน้อยกะตากวย แต่ ก่อนอยู่บ้านท่าขอนยาง บ้านเกิดเมืองนอน ดั้งเดิมเป็นคนญ้อ ย้ายมาจากเวียงจันทน์ สกลนคร กาฬสินธุ์ แล้วมาตั้งเป็นบ้านท่าขอนยาง ผู้เฒ่าท่าขอนยางมีลูกแตกหลาน มีประมาณ 30 กว่า หลังคาเรือน เดี๋ยวนี้เพิ่มเป็น 90 กว่าหลังคาเรือน มีผู้ใหญ่บ้านจนถึงปัจจุบันดังนี้

1. พ่อใหญ่คาน เหล่าโพธิ์

2 .พ่อใหญ่มา จันทจร

3. พ่อใหญ่ชม เนื่องอุดม

4. พ่อใหญ่จรัญ เนื่องอุดม

5. ผู้ใหญ่อัมรา จันทร์เปล่ง

6. ผู้ใหญ่ทวีศักดิ์ อ้วนมี ซึ่งเป็นคนปัจจุบัน

อาณาเขตบ้านวังหว้า

ทิศเหนือ

จรด

บ้านดอนยม

ทิศตะวันออก

จรด

บ้านใคร่นุ่น

ทิศใต้

จรด

บ้านป่าม่วง

ทิศตะวันตก

จรด

บ้านท่าขอนยาง

บ้านวังหว้าเป็นพืน้ ท่รี าบลุม่ ต่�ำ และมีโนนเป็นบางส่วน  น้�ำ ชีทว่ มล้น  ไหลมาจากชัยภูมิ และน้ำ�จากเขื่อนอุบลรัตน์ปล่อยลงมาท่วมมาก การประกอบอาชีพ ชาวบ้านส่วนมากทำ�นา 2-3 ครั้งต่อปี ส่วนใหญ่ทำ�นาปี เสร็จจากนาปีจะทำ�นาปรังต่อปีละ 2-3 ครั้ง น้ำ�ท่วมทำ�นาปรัง ฝนตก มาน้ำ�ท่วมตลอด แต่ถ้าทำ�นาปรังจะเกี่ยวข้าวทัน ชาวบ้านเลี้ยงวัว  โดยเจ้านายของรัฐเอามาให้


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 25

เลี้ยง เอาวัว 20 ตัวมาเลี้ยง ตัวละหนึ่งหมื่นบาท (200,000 บาท) เอามาจับฉลากเลี้ยง ต้นทุน คืนรัฐบาล ออกลูกมาคนนั้นได้ แม่เป็นของหลวง ถ้าไม่คืนต้องจ่ายเงิน 10,000 บาท

สาธารณูปโภคในชุมชน

ใช้น้ำ�ประปาทุกหลังคาเรือน น้ำ�ประปาหมู่บ้านใช้น้ำ�ชี 5 บาทต่อหน่วย ไม่ใช่ประปา ภูมิภาค ไฟฟ้าภูมิภาคมีใช้ทุกหลังคาเรือน

ฮีต 12

- เดือนอ้าย -

- เดือนยี่  ถือว่าเป็นบุญเบิกบ้าน ให้บ้านเมืองร่มเย็น เป็นสุข

- เดือนสาม บุญข้าวจี่ที่ศาลากลางบ้าน ชาวบ้านจะทำ�ข้าวจี่มาทำ�บุญกัน

- เดือนสี่ บุญเผวส ไม่ได้ทำ�ที่หมู่บ้าน แต่จะไปทำ�ที่วัดเจริญผล บ้านท่าขอนยาง โดย ร่วมบริจาคเงินไปสบทบ และทำ�ต้นดอกเงิน - เดือนห้า บุญสงกรานต์ ปัจจุบันนี้จะตั้งขบวนแห่พระพุทธรูปช่วงเย็นให้ชาวบ้านสรง น้ำ�พระติดต่อกัน 3 วัน วันที่ 4 เช้าทำ�สังฆทาน - เดือนหก ขึ้น 15 ค่ำ� ทำ�พิธีสูตรถอด เสี่ยงบั้งไฟว่าจะอยู่เย็นเป็นสุขหรือไม่ ฝนฟ้าจะ อุดมสมบูรณ์หรือไม่ โดยถือจากบั้งไฟ ถ้าขึ้นตรงและสูงแสดงว่าบ้านเราจะอยู่เย็นเป็นสุข ฝนฟ้าดี อุดมสมบูรณ์  ถ้าบั้งไฟจะวิ่งเข้าไปเข้าทางหมู่บ้าน  แสดงว่าหมู่บ้านจะไม่สงบ  มีอุปสรรค

- เดือนเจ็ด -

- เดือนแปด ไปทำ�บุญที่วัดเจริญผล มีคนเฒ่าคนแก่ประมาณ 10 คน จะไปเป็นประจำ� เพือ่ ไปจำ�วัดทุกวันพระตลอดเข้าพรรษา ส่วนเด็กๆ จะไม่คอ่ ยไปทำ�บุญ เพียงแต่อ�ำ นวยความสะดวก ขับรถไปส่งเวลาคนเฒ่าคนแก่ไปจำ�วัด - เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน เอาข้าวเปลือก ข้าวสาร พริก ปลาร้า ใส่ถุงเล็กๆ ให้พระ ทำ�พิธีสวด และกรวดน้ำ� แล้วเอาไปฝังข้างๆ กำ�แพง เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ญาติผู้ล่วงลับ เจ้ากรรม นายเวร ทำ�แบบนี้มา 2 ปีแล้ว  ก่อนหน้านี้เอาข้าวสาร ข้าวเปลือก พริก เกลือ ปลาร้า มารวมกัน แล้วถวายพระ - เดือน 10 บุญข้าวสาก ชาวบ้านจะห่อข้าวต้ม แล้วแต่คนชอบว่าจะทำ�ข้าวต้มอะไร จะ มีข้าวต้มผัด ข้าวต้มมัด เพื่อใส่บาตรพระ เครือญาติจะไปโฮม แลกเปลี่ยนกัน ก่อนถึงวันบุญข้าว สาก เช้าบุญข้าวสากจะไปทำ�บุญที่วัดเจริญผล โดยการทำ�ข้าวสาก จะต้องใช้ใบตองห่อ พริก เกลือ ปลาร้า ข้าวปลา คำ�หมากพลู ครบทุกอย่าง ซึ่งทำ� 2 แบบ คือ ห่อข้าวใหญ่ มีปลาตัวใหญ่ๆ ห่อ ข้าวใหญ่ๆ นำ�ไปถวายพระ เพื่อให้พระฉันอาหารเช้า ส่วนใบตองที่ห่ออาหาร หลังพระสวดแล้วจะ นำ�ไปห้อยตามต้นไม้ เรียกผีไม่มีญาติ เปรต หรือสัมภเวสีรับไปกิน ถือว่าเป็นการทำ�บุญให้ญาติที่


26 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ล่วงลับ และผีไม่มีญาติ - เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา ไปทำ�บุญวัดใหญ่ (วัดเจริญผล) ทำ�ขบวนฟ้อนรำ� ไปไหล เรือไฟอยู่ในแม่น้ำ�ชี ชาวบ้านให้ความร่วมมือดี

- เดือนสิบสอง บุญกฐิน จะไปร่วมมือทีว่ ดั เจริญผล บุญลอยกระทง ไปร่วมกับวัดเจริญผล

แหล่งประโยชน์และทุนทางส้งคมในชุมชน

หอกระจายข่าว ผูใ้ หญ่บา้ นประกาศข่าวสารบ้านเมืองให้ได้ยนิ เวลามีโรคระบาดทัง้ สัตว์ ทั้งคน การเมือง การศึกษา การเกณฑ์ทหาร เป็นระยะๆ รวมทั้งเหตุการณ์บ้านเมือง ส่วนใหญ่จะ ประกาศตอนเช้า ตอนเย็น ร้านค้า มี 4 ร้านขายของเบ็ดเตล็ด ร้านขายกับข้าว 2 ร้าน ตามสั่งก็มี ชาวบ้านส่วน ใหญ่ซื้อมาจากตลาด และเก็บเห็ดเอง หาปลาจากลำ�ชี ไม่ได้ซื้อ นอกจากปลา หาปู และซื้อไก่มา ทำ�กิน ซื้อจากตลาดมาใส่ตู้เย็น มีรถมาขายกับข้าวทุกวัน อาหารสดมาขายจากที่อื่น ขับรถเข้ามา ทุกวัน ใครขาดก็ซื้อ ศาลากลางบ้าน (ไม่มีวัด) ไว้ฉันอาหารเช้า จะมีพระมาจากวัดป่าท่าขอนยาง มาวันละ 4 รูป และเป็นสถานที่ทำ�กิจกรรมต่างๆ ที่เป็นส่วนรวม เช่น ประชุม เลือกตั้ง สถานี อ นามั ย   เวลาเจ็ บ ป่ ว ยจะไปสถานี อ นามั ย ท่ า ขอนยาง  และโรงพยาบาล มหาสารคาม

อสม. ส่งข่าวสารตามปกติ ข้าวของบริจาคได้ไม่ทั่วถึงแล้วแต่ว่าจะสนิท เป็นญาติใคร

อบต. มีสมาชิก อบต. คอยดูแล

ปราชญ์ทางสังคม

ตาเชวง  เวลามีเคราะห์  จะให้ตาเชวงทำ�พิธีแก้เคราะห์ให้  เป็นหมอสูตร  หมอ พราหมณ์ สู่ขวัญ แต่งงาน งานบวช เวลาทำ�บุญขึ้นบ้านใหม่ ตั้งเสาเอก

พ่อพิทักษ์ เป็นหมอน้ำ�มัน รักษากระดูกหัก เคล็ดขัดยอกเวลาเกิดอุบัติเหตุ

พ่อลุน  เป็นหมอรักษาคนที่โดนหมากัด เป่าน้ำ�มนต์ (หมออายุ 61-62 ปี)

การคมนาคม

ไม่มีรถประจำ�ทาง ส่วนมากจะมีรถจักรยานยนต์ ถ้าจำ�เป็นต้องไปธุระก็เหมารถ


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 27

ประวัติวนอุทยานชีหลง

จากสถานที่ แ ปลกตาน่ าสนใจ  อยู่ ห่างจากตั ว จั งหวั ดมหาสารคามประมาณ  10  กิโลเมตร สภาพเป็นป่าเบญจพรรณ  มีไม้ยางขนาดใหญ่ขึ้นอยู่เป็นจำ�นวนมาก  สมควรรักษาไว้  มีบรรยากาศร่มรื่น มีน้ำ�กักเก็บตลอดปี โดยความเห็นชอบของสภาตำ�บลท่าขอนยางจึงรายงานให้ทางจังหวัดทราบ  เพือ่ จัดตัง้ เป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของประชาชนทัว่ ไป  ต่อมากรมป่าไม้จดั ตัง้ พืน้ ทีต่ รงนีเ้ ป็นวนอุทยาน ชีหลง บ้านวังหว้า ตำ�บลท่าขอนยาง อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ตั้งแต่ 24 เม.ย. 2525  เป็นต้นมา  ปัจจุบันอยู่ในการควบคุมของสำ�นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 8 (ขอนแก่น)  กรมอุทยาน แห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช  กระทรวงทรัพยากรแห่งชาติและสิ่งแวดล้อม.


28 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ต้นน้ำ� III

๏ วางแผนร่วมกัน

๏ สำ�รวจพื้นที่และเก็บข้อมูล


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 29

๏ สำ�รวจพื้นที่และเก็บข้อมูล


30 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

๏ วิเคราะห์งานตามแผนเพื่อดำ�เนินการ


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 31

III กลางน้ำ�

๏ ทำ�บุญร่วมกัน ทำ�ขวัญต้นไม้


32 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

๏ พิธีบวชป่า


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 33

๏ พิธีบายศรี

๏ กิจกรรมปลูกป่า


34 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

๏ กิจกรรมสันทนาการระหว่างชาวบ้านกับคณะนิติศาสตร์

๏ เวทีเสวนา


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 35

๏ ผ้าป่า


36 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

๏ ดนตรีสันทนาการภาคค่ำ�


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 37

III ปลายน้ำ�

๏ นำ�ข้อมูลมาแลกเปลี่ยนและสรุป


38 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

บทความ III

บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับ หน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า

คณาจารย์ภาควิชากฎหมายเอกชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม1

บทนำ�

สังคมมนุษย์ทจี่ ะทำ�ให้ทกุ คนอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสงบสุขย่อมต้องมีวฒ ั นธรรมการอยู่ ร่วมกัน สัมพันธ์กัน มีจารีตประเพณี ระเบียบ กฎเกณฑ์ และพิธีการต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางให้ สมาชิกของชุมชนหรือสังคมทั้งปัจจุบันและรุ่นต่อไปได้ถือปฏิบัติ เพื่อสั่งสมต่อกันมาจนกลายเป็น ภูมิปัญญาหรือวัฒนธรรมของชุมชน วัฒนธรรมชุมชน  ที่เป็นพิธีกรรม  จารีตประเพณี  ความเชื่อ  แสดงถึงความเจริญ งอกงาม  ความเป็นระเบียบ  ความกลมเกลียว  ความก้าวหน้า  ศีลธรรมอันดีงามของประชาชน แต่ละชุมชนหรือสังคมนัน้ ๆ และมีความหมายครอบคลุมถึงทุกสิง่ ทุกอย่าง อันเป็นแบบแผนในความ คิดและการกระทำ�ทีแ่ สดงออกถึงวิถชี วี ติ ของมนุษย์ในสังคมของกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ หรือสังคมใดสังคม หนึง่   โดยมีการสร้างระเบียบกฎเกณฑ์  วิธกี ารในการปฏิบตั  ิ ระบบความเชือ่ ค่านิยม ความรู้ และ เทคโนโลยีต่างๆ ในการควบคุมและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ วัฒนธรรมชุมชนของภูมภิ าคอีสาน  นับว่ามีสว่ นช่วยให้การดำ�รงชีวติ ของคนในสังคมใน ด้านต่างๆ มีความสงบร่มเย็น สร้างความสามัคคี ส่วนมากแล้วความเชื่อของชาวอีสานจะมีเรื่อง เกี่ยวกับภูตผี หรือเหล่าเทพาอารักษ์ เทวดา เจ้าที่ เข้ามาเกี่ยวโยงกับวัฒนธรรมประเพณีของชาว อีสานนั้นด้วย  แต่หลักๆ  แล้วที่รู้กันทั่วไปในเรื่องวัฒนธรรมประเพณีของชาวอีสานก็จะเป็นเรื่อง เกีย่ วกับฮีตสิบสอง  คือจารีตธรรมเนียมทีจ่ ะมีขนึ้ ในสิบสองเดือนตามปฏิทนิ จันทรคติ ส่วนคองสิบ สี่ นั้นหมายถึงครรลองสิบสี่ประการ ที่คนแต่ละกลุ่มต้องถือปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบในสังคม หรือชุมชน ซึ่งสองอย่างนี้มักจะเรียกคู่กันว่า ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ นั่นเอง ภาควิชากฎหมายเอกชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จึงมีแนวความคิด ว่า หากได้ศกึ ษาวัฒนธรรมทีส่ ำ�คัญในความเป็นคนทีผ่ กู พันกับป่า การใช้ชวี ติ อยูร่ ว่ มกับป่าได้อย่าง เป็นมิตร ไม่เบียดเบียนเกินความจำ�เป็น ทั้งความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ป่าไม้ในเขตวนอุทยานที่มีต่อ นายศุภวุฒิ โมกข์เมธากุล, นายธีรศักดิ์ กองสมบัติ, นางสาวสุภาพร พิทักษ์เผ่าสกุล, นายชาคริต ขันนาโพธิ์, นายเจตน์ภวินท์ อังศุชวาลนิตย์, นายพงศ์กานต์ คงศรี 1


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 39

วัฒนธรรมในการรักษาผืนป่า  มีความจำ�เป็นทีจ่ ะเป็นส่วนทีช่ ว่ ยเหลือหน่วยงานของรัฐในการรักษา ผืนป่า  จะเป็นประโยชน์ส่วนหนึ่งต่อประเทศชาติในการรักษาผืนป่าต่อไป จึงเสนอโครงการ “บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า” เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจเรื่องดังกล่าวต่อคนในชุมชนบ้านวังหว้า และเจ้าหน้าที่ของวนอุทยานชีหลงต่อ ไป

วัตถุประสงค์

1) ศึกษาวัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาผืนป่าในชุมชนบ้านวังหว้า อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 2) สร้างความรู้ความเข้าใจต่อประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับบทบาทของวัฒนธรรมในการ รักษาผืนป่าในวนอุทยานชีหลง อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม

3) ธำ�รงไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีงามของชุมชนในการรักษาผืนป่า

สถานที่ดำ�เนินการ

หมู่บ้านวังหว้า อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม

การดำ�เนินโครงการ กิจกรรมและวิธีดำ�เนินงาน

1)  คณะนิ ติ ศ าสตร์   มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม  ติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ หั ว หน้ า วนอุทยานชีหลง  จังหวัดมหาสารคาม  และผูใ้ หญ่บา้ นวังหว้าเพือ่ ระบุชมุ ชนทีจ่ ะเข้าร่วมโครงการ 2)  คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดเสวนาระดมความคิดเห็นจาก ประชาชนในหมูบ่ า้ น  รวมทัง้ เจ้าหน้าทีข่ องวนอุทยาน  เพือ่ เสนอแนวทางดำ�เนินกิจกรรมโครงการ ร่วมกัน

3)  คณาจารย์และนิสติ ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับกฎหมายทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับการ รักษาผืนป่าศึกษา สำ�รวจแนวความคิด เกีย่ วกับด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นประเพณี ความเชือ่ พิธกี รรม ต่างๆ ที่มีผลต่อการรักษาผืนป่าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 4) คณาจารย์และนิสิตลงพื้นที่เพื่อศึกษา สำ�รวจสภาพของป่าในเขตวนอุทยานชีหลง บ้านวังหว้า


40 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

5) กิจกรรมสู่ขวัญ บวชป่า ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมในพื้นที่ชุมชนบ้านวังหว้า  และจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสาคาม จัดเวทีการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับบทบาท ของวัฒนธรรมในการรักษาผืนป่า ไม่วา่ จะเป็นประเพณี ความเชือ่ พิธีกรรมต่างๆ ตัง้ แต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน 7) จัดทำ�คู่มือเป็นหนังสือ และวีดิทัศน์ เรื่องความรู้ทางกฎหมาย และประเพณี ความ เชื่อ พิธีกรรมต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันของชุมชนบ้านวังหว้า

ผลการดำ�เนินงาน

การดำ�เนินการตามโครงการ “บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของ รัฐเกีย่ วกับการรักษาผืนป่า” มีผเู้ ข้าร่วมทัง้ สิน้ รวม 97 คน โดยแบ่งเป็นนิสติ จำ�นวน 65 คน อาจารย์ จำ�นวน 8 คน เจ้าหน้าที่จำ�นวน 3 คน และชาวบ้าน 21 คน จากการดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ พบว่า วัฒนธรรมและประเพณีที่ทางผู้สำ�รวจได้สำ�รวจ ข้อมูล ณ บ้านวังหว้า ตำ�บลท่าขอนยาง อำ�เภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม มีวฒ ั นธรรมประเพณี ที่หลากหลาย โดยประวัติที่มาของิหมู่บ้านวังหว้านั้น แต่ก่อนมีต้นหว้าใหญ่ 3 ต้นอยู่กลางทุ่งนา เมื่อก่อนเป็นบ้านน้อยกะตากวย เพราะตากวยเป็นคนมาอยู่ก่อน ชาวบ้านจึงเรียกว่าบ้านน้อยกะ ตากวย แต่ก่อนร่วมอยู่ที่บ้านท่าขอนยาง ถิ่นบ้านเกิดเมืองนอน แต่ก่อนนั้นเป็นคนญ้อ ย้ายมาจาก เวียงจันทน์ มาสกลนคร มากาฬสินธุ์ แล้วจึงมาตั้งเป็นบ้านท่าขอนยาง คนสมัยก่อนได้มีลูกแตก หลาน ซึ่งเริ่มแรกมีเพียง 30 หลังคาเรือน เดี๋ยวนี้มีครอบครัวเพิ่มขึ้นเป็น 90 หลังคาเรือน บ้านวัง หว้าเป็นพื้นที่ราบลุ่มต่ำ� ในปัจจุบันด้านทิศเหนือจดบ้านดอนยม ทิศตะวันออกจดบ้านใคร่นุ่น ทิศ ใต้จดบ้านป่าม่วง ทิศตะวันตกจดบ้านท่าขอนยาง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และหมูบ่ า้ นวังหว้าเป็นหมูบ่ า้ นทีต่ ดิ กับวนอุทยานชีหลง ซึง่ เป็นป่าอนุรกั ษ์ทมี่ พี นั ธุไ์ ม้นอ้ ยใหญ่นานา ชนิด ด้านวัฒนธรรมและประเพณีของบ้านวังหว้ามีหลากหลาย ซึ่งแต่ละวัฒนธรรมและ ประเพณีเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่า เป็นมรดกที่ตกทอดจากรุ่นสู่รุ่น ให้ประโยชน์แก่คนในชุมชน และยัง เป็นวัฒนธรรมประเพณีที่มีส่วนในการดูแลรักษาผืนป่า รักษาความสมดุลทางธรรมชาติคู่ชุมชน เสมอมา วัฒนธรรมและประเพณีที่คนในชุมชนนำ�มาสืบสาน นำ�มาปฏิบัติและมีความสำ�คัญอย่าง ยิ่งนั้น คือวัฒนธรรมและประเพณีฮีตสิบสองคองสิบสี่ ฮีตสิบสองนั้นเป็นการทำ�บุญที่ชาวบ้าน จะร่วมกันทำ�ในแต่ละเดือน ตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงเดือนธันวาคม ซึ่งจะมีบุญต่างๆ อาทิ บุญ เข้ากรรมหรือบุญเดือนเจียง บุญคูณลานหรือบุญคูณข้าว บุญข้าวจี่ บุญเผวส บุญสงกรานต์ บุญ บั้งไฟ บุญซำ�ฮะ บุญเข้าพรรษา บุญข้าวห่อประดับดิน บุญข้าวสาก บุญออกพรรษา และบุญกฐิน


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 41

ส่วนประเพณีพิธีกรรมความเชื่ออื่นๆ ที่นอกเหนือจากฮีตสิบสองนี้ก็ยังมีอยู่ในหมู่บ้านวังหว้า อาทิ ประเพณีเลีย้ งปูต่ า ประเพณีเลีย้ งตาแฮก ประเพณีกอ่ พระทราย ประเพณีบญ ุ เบิกบ้าน เป็นต้น ส่วน คองสิบสีน่ นั้ เป็นครรลองสิบสีป่ ระการ ทีช่ าวบ้านบ้านวังหว้าได้ปฏิบตั มิ าโดยตลอด อาทิ ฮีตปูค่ อง ย่าฮีตตาคองยาย ฮีตพ่อคองแม่ ฮีตใภ้คองเขย ฮีตไฮคองนา เป็นต้น และยังมีอีกหลายฮีตหลาย คอง ทีค่ นในชุมชนบ้านวังหว้าได้ยดึ ถือปฏิบตั ิ จึงทำ�ให้วถิ ชี วี ติ ของชาวบ้านอยูร่ ว่ มกันได้อย่างมีความ สุข จากการที่ผู้ศึกษาได้ศึกษาวัฒนธรรมและประเพณีของบ้านวังหว้า และชาวบ้านได้ให้ข้อมูลว่า ในแต่ละเดือนคนในชุมชนจะทำ�บุญร่วมกันคือ เดือนอ้ายหรือเดือนเจียง ชาวบ้านจะร่วมกันทำ�พิธีบุญเข้ากรรม  โดยภิกษุต้องอาบัติ สังฆาทิเสส ต้องอยู่กรรมถึงจะพ้นอาบัติ ญาติโยม แม่ออกผู้อยากได้บุญกุศลก็จะไปให้ทานรักษา ศีล ซึง่ ชาวบ้านมักจะประกอบพิธใี นข้างขึน้ หรือข้างแรมก็ได้ แต่วนั ทีค่ นในชุมชนมักจะทำ�กันคือวัน ขึ้น 15 ค่ำ� เดือนยี่หรือเดือนสอง คนในชุมชนจะประกอบพิธีบุญคูณลาน โดยการเอาข้าวที่ตีแล้ว มากองให้สูงขึ้น เรียกว่า คูณลาน หรือเรียกว่า คูณข้าว ชาวนาที่ทำ�นาได้ผลดี อยากได้กุศลให้ทาน ก็จะจัดเอาลานข้าวเป็นสถานที่ทำ�บุญ ซึ่งคนในชุมชนจะกำ�หนดเอาช่วงเดือนยี่เป็นเวลาทำ�บุญ เดือนสาม ชาวบ้านจะทำ�บุญข้าวจี่ โดยในตอนเช้าชาวบ้านจะทำ�ข้าวจีไ่ ปถวายพระทีว่ ดั หลังจากกลับจากวัดก็จะนำ�ข้าวจี่ที่ทำ�ไว้ตอนเช้า เหลือจากการไปวัด มารับประทานร่วมกัน เพื่อ สร้างความสามัคคีให้ชาวบ้านด้วย และในเดือนสามนี้เองยังมีอีกประเพณีหนึ่งที่ชาวบ้านทำ�กันมา ทุกๆ ปี คือ บุญเบิกบ้าน เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว คุณยายพิณ เติมอินทร์ อายุกว่า 70 ปี ซึ่งเป็นชาวบ้านวังหว้า โดยกำ�เนิด กล่าวว่า “ในเดือนสามนี่ นอกจากซาวบ้านเพิน่ สิเฮ็ดบุญข้าวจีแ่ ล่ว อีกบุญหนึง่ ทีเ่ พิน่ พา กันเฮ็ดคือบุญเบิกบ้าน บุญเบิกบ้านหนิเพิ่นสิเฮ็ดอยู่ศาลากลางบ้าน เป็นพิธีที่เฮ็ดขึ้นเพื่อไล่สิ่งบ่ดี โดยยามมื้อแลงเพิ่นสิมนต์พระ 5 องค์มาสวดมนต์ ซาวบ้านกะสินำ�เทียนหัวคาคิง (เทียนอันเล็กๆ ยาว) ขัน 5 (เทียน 5 คู่ดอกไม้ 5 คู่) แล้วกะหินแล้วกะทราย มาฮวมกันอยู่ศาลากลางบ้าน หลัง จากที่สวดแล่วหนั่น พระกับซาวบ้านเพิ่นกะสิยางถือคุหินคุทรายโยนหินโยนทรายไล่สิ่งบ่ดี หว่าน หินหว่านทรายหนั่น เพิ่นสิยางจากศาลากลางบ้านไปทางทิศตะวันออก แล้วกะหันหน้าไปทางทิศ ตะวันตก ส่วนตอนเช้านัน้ ซาวบ้านกะสิเตรียมข้าวปลาอาหารไปเฮ็ดบุญ แล้วกะสิถอื กระทงหน้างัว ไปพร้อม (กระทงหน้าวัว คือ กระทงรูปสามเหลี่ยมที่ทำ�จากกาบกล้วย มีข้าวปลาอาหาร และหุ่น คนอยู่ข้างใน) หลังจากนั้นพระสามองค์ กะสิไปถอดหลักอยู่ท้ายหมู่บ้าน (หลัก คือ นำ�ไม้คูณไม้ยอ มาผูกรวมกันเป็นหลัก)  ส่วนกระทงหน้างัวซาวบ้านกะสิเอาไปทิ้งไว้แถวหัวไล่ปลายนา” ส่วนวัฒนธรรมอีกเรื่องหนึ่งคือ “เลี้ยงปู่ตา” โดย “ซาวบ้านเพิ่นกะสิเฮ็ดในเดือนสามนี่ คือกัน ผูใ้ หญ่บา้ นกะสิประกาศให้ซาวบ้านร่วมกันเตรียมไก่ เตรียมเหล้า ไปโฮมกันอยูบ่ า้ นปู่ ในมือ้


42 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

เลี้ยงนั้น แม่กะจ้ำ� กะสิเฮ็ดพิธี เฮ็ดแล่วๆ กะสิมีการเสี่ยงทายฟ้าฝนจากน้ำ�หม้อต้มไก่ ถ้าน้ำ�ใน หม้อต้มไก่ฟดล้นหม้อ ปีนั่นน้ำ�กะสิดี คันน้ำ�แห้ง ปีนั่นฟ้าฝนกะสิแล่ง” ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่ามีสาม พิธีกรรมที่ชาวบ้านวังหว้าได้ร่วมกันปฏิบัติ เดือนสี่ บุญเผวส หรือบุญมหาชาติ เป็นบุญทีช่ าวบ้านร่วมกันทำ�ขึน้ เพือ่ แสดงถึงจริยวัตร ของพระพุทธเจ้าคราวพระองค์เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร ในวันโฮมนั้น ในตอนเย็นจะมีการ เชิญเผวสเข้าเมือง มีพระแล้วชาวบ้านถือผ้าพระเวสแห่เข้าวัด ในช่วงเช้ามืดของวันถัดมาก็จะมีการ เทศน์สังกาส และพอถึงตอนเช้าพระก็จะเทศน์แหล่อีสาน ทั้งหมด 13 กัณฑ์ 1000 พระคาถา ซึ่ง เป็นการแสดงถึงประวัติความเป็นมาของพระเวสสันดรนั้นเอง เดือนห้า บุญสงกรานต์ เป็นประเพณีเป็นธรรมเนียมทีช่ าวไทยทำ�กันทุกภาค นัน่ คือบุญ สงกรานต์ หรือบุญเดือนห้า คุณยายท่านหนึ่งซึ่งไม่ประสงค์จะออกนาม กล่าวว่า “บุญสงกรานต์ หนิ เพิ่นมีประวัติความเป็นมา ผู้เฒ่าเพิ่นเล่ามาว่า มีเศรษฐีผู้หนึ่งบ่มีลูก กะเลยไปบน (บนบาน) ต่อพระอาทิตย์กับพระจันทร์เพื่อที่สิขอลูก เวลาต่อมากะยังบ่มีลูกคือเก่า เพิ่นกะเลยไปขอลูกกับ ต้นไทรใหญ่ เทวดาประจำ�ต้นไทรใหญ่กะเลยน่าหลูโตน (สงสาร) กะเลยขึ้นไปขอลูกกับพระอินทร์ ให้เพิน่ พระอินทร์กะเลยให้ธรรมปาละกุมาร หรือท้าวธรรมบาล มาเกิดในท้องเมียเศรษฐี พอธรรม ปาละมาเกิดในท้องเมียเศรษฐี พอเกิดมา แล้วใหญ่มา กะเลยเรียนจบไตรเพท สอนการเฮ็ดมงคล แก่ผอู้ นื่ กบิลพรหมกะเลยลงมาถามปัญหาธรรมปาละกุมาร ถามอยูส่ ามข้อ ข้อหนึง่ ถามว่า คนเฮา มือ้ หนึง่ มีศรีอยูใ่ ด๋แน คันธรรมบาลตอบได้ภายในเจ็ดมือ้ กบิลพรหมสิตดั หัวเจ้าของบูซา ห้ามือ้ ผ่าน ไป ธรรมบาลกะคิดบ่ออก พอมื้อที่หก ธรรมบาลกะเลยยางเข้าไปในป่าเลยได้ยินนกบอกกันว่า ตอนเช้าศรีอยู่หน้าคนจังได้ล้างหน้า ตอนเที่ยงศรีอยู่หน้าอกคนจังได้เอาน้ำ�พรมอก ตอนแลศรีอยู่ เท้าคนจังเอาน้ำ�ล้างเท้า ธรรมบาลกะเลยตอบคำ�ถามได้ กบิลพรหมกะเลยตัดหัวเจ้าของบูชา แต่ หัวของกบิลพรหมนัน้ มีความศักดิส์ ทิ ธิห์ ลาย กะคือวาถ้าตกใส่แผ่นดินสิเกิดไฟไหม้ ถ้าเกิดตกลงน้�ำ น้ำ�สิแห้ง ขั้นโยนขึ้นเทิงฟ้าฝนสิแล้ง กบิลพรหมกะเลยเอิ้นลูกสาวเทิงเจ็ดเอาขันมาฮับ แล้วกะแห่ รอบเขาพระสุเมรุ หกสิบนาที แล้วนำ�ไปไว้อยู่เขาไกรลาส พอฮอดกำ�หนดปี นางเทพธิดาทั้งเจ็ดกะ สิเปลีย่ นกันมาเชิญเอาหัวพ่อไปแห่ออ้ มเขาพระสุเมรุ จังเป็นทีม่ าของการเฮ็ดบุญให้บรรพบุรษุ เป็น บุญรวมญาติในวันสงกรานต์” นอกจากนีใ้ นวันสงกรานต์กย็ งั มีพธิ รี ดน้�ำ ดำ�หัวผูส้ งู อายุของชาวบ้าน วังหว้า และเล่นสาดน้ำ�กัน ในเดือนเมษายนนี้หลังจากสงกรานต์ ชาวบ้านวังหว้าก็จะจัดประเพณี ก่อพระทราย ที่วนอุทยานชีหลง คุณยายพิณ เติมอินทร์ เล่าต่อไปว่า “บรรพบุรุษพา เฮ็ดมา แต่ก่อนพุ่นเพิ่นเฮ็ดพิธีอยู่กู่หลวงตาบัง วัดหลวงตาบัง ต่อมาประมาณสิบกว่าปี เพิ่นกะเลยย้าย มาประกอบพิธีอยู่ซีหลงใต้ เป็นบุญที่เฮ็ดหลังสงกรานต์ประมาณสิบมื้อ โดยผู้ใด๋ก่อกองทรายงาม สิมีรางวัล แล้วกะสิมีการจุดบั้งไฟ และเสี่ยงทายฟ้าฝน ถ้าบั้งไฟขึ้นสูงฟ้าฝนกะสิดี” และจากการ สอบถามเพิ่มเติมได้ความว่า ประเพณีดังกล่าวนี้เป็นประเพณีที่จะเห็นได้ชัดเจนในเรื่องของป่า เพราะเรือ่ งฟ้าฝนเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อระบบนิเวศป่า ซึง่ เป็นอีกประเพณีหนึง่ ทีท่ ำ�ให้ชาวบ้านเตรียม


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 43

รับมือกับความแห้งแล้ง และวางแผนรักษาป่าให้คงอยู่คู่บ้านวังหว้าไปนานๆ เดือนหก บุญบั้งไฟ ชาวบ้านวังหว้าไม่ได้จัดบุญบั้งไฟที่หมู่บ้าน แต่ไปเข้าร่วมที่บ้านท่า ขอนยาง การจัดประเพณีบุญบั้งไฟนี้เป็นการสร้างความสามัคคีให้กับคนในชุมชน และยังเป็นการ ขอฟ้าขอฝนจากพระยาแถน ซึ่งนี่ก็เป็นอีกประเพณีหนึ่งที่สามารถช่วยดูแลรักษาป่าให้คงความ สมดุลได้เป็นอย่างดี เดือนเจ็ด บุญซำ�ฮะ เป็นบุญที่ชาวบ้านจัดทำ�ขึ้นเพื่อชำ�ระสะสางสิ่งสกปรกโสโครกให้ สะอาด ปราศจากมลทินโทษ การซำ�ฮะ หรือชำ�ระสิง่ ทีต่ อ้ งการทำ�ให้สะอาดนัน้ มี 2 อย่าง คือ ความ สกปรกภายนอก และความสกปรกภายใน ความสกปรกภายนอก ได้แก่ ร่างกาย เสือ้ ผ้า ส่วนความ สกปรกภายใน คือ ด้านจิตใจ ชำ�ระความโลภ โกรธ หลง เดือนแปด บุญเข้าพรรษา ในวันแรม 1 ค่�ำ เดือน 8 ตอนเช้าชาวบ้านก็จะไปร่วมกันทำ�บุญ ตักบาตรที่วัด หลังจากนั้นจะนำ�สบง จีวร ผ้าอาบน้ำ�ฝน เทียนพรรษาและดอกไม้ธูปเทียนมาถวาย พระภิกษุทว่ี ดั แล้วรับศีลฟังพระธรรมเทศนา ตอนกลางคืน เวลาประมาณ 19.00 - 20.00 น. ชาวบ้าน จะนำ�ดอกไม้ธปู เทียนมารวมกันทีศ่ าลากลางบ้าน แล้วเวียนเทียนรอบศาลากลางบ้าน 3 รอบ หลัง จากเวียนเทียนแล้วก็จะเข้าไปในศาลากลางบ้านเพื่อฟังพระธรรมเทศนา เดือนเก้า บุญข้าวห่อประดับดิน เป็นบุญที่ชาวบ้านร่วมกันทำ�ขึ้นที่ศาลากลางบ้าน ยาย พิณ เติมอินทร์ กล่าวว่า “คนในหมูบ่ า้ นเซือ่ วามือ้ แรม 14 ค่�ำ เดือน 9 เป็นมือ้ ประตูนรกเปิด ยมบาล สิปล่อยวิญญาณออกเยี่ยมญาติอยู่โลกมนุษย์ ในคืนเดี๋ยวทอนั่นในรอบปี ญาติพี่น้องกะเลยเตรียม ห่อข้าวไว้ให้ญาติทตี่ ายไปแล้ว” และคุณยายยังให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมอีกว่า ในห่อข้าวทีห่ อ่ นัน้ จะประกอบ ไปด้วยข้าวปลาอาหารและของเคี้ยวของกินเป็นห่อๆ แล้วเอาไปถวายทานบ้าง ไปแขวนในวัดบ้าง และบุญนีย้ งั เป็นบุญทีอ่ นุรกั ษ์และฟืน้ ฟูบ�ำ รุงดินได้ดอี กี ด้วย เพราะอาหารทีเ่ อาไปแขวนไว้ตามต้นไม้ จะร่วงลงพื้นดิน และข้าวสุกที่ชาวบ้านเอาไปกองไว้ตามพื้นดินก็เป็นจุลินทรีย์ในพื้นดิน ทำ�ให้พืชมี ความอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เดือนสิบ บุญข้าวสาก เมื่อถึงวันขึ้น 14 ค่ำ� เดือน 10 ญาติโยมจะเตรียมอาหารคาว หวาน และหมากพลู บุหรี่ พอเข้าวันขึ้น 15 ค่ำ� เดือน 10 ญาติโยมจะพากันทำ�บุญใส่บาตร พอ ถึงเวลาประมาณ 9 - 10 โมงเช้า พระสงฆ์จะตีกลองโฮม (รวม) ญาติโยมจะนำ�อาหารที่เตรียม ถวายพระสงฆ์และห่อข้าวน้อยซึ่งมีอาหารคาวหวานอย่างละเล็กอย่างละน้อยหลังจากนำ�อาหารที่ เตรียมห่อเป็นคู่ๆ นำ�มาผูกกันเป็นพวง แล้วแต่จะใส่กี่ห่อก็ได้ ส่วนใหญ่จะใช้ 10 คู่ เมื่อนำ�ไปเลี้ยง “ตาแฮก” ที่นาของตนเองด้วย โดยมีความเชื่อว่าจะทำ�ให้ผีตาแฮกพอใจ และช่วยดูแลข้าวกล้าใน นาให้งอกงามสมบูรณ์ เมื่อนำ�อาหารมาถึงศาลาวัดที่จะทำ�บุญแล้วเขียนชื่อของตนลงในกระดาษ ม้วนลงใส่ในบาตร เมือ่ ทุกคนมาพร้อมกันแล้วทีศ่ าลากลางบ้าน ผูท้ จี่ ะเป็นหัวหน้ากล่าวนำ�คำ�ถวาย สลากภัต ญาติโยมว่าตามจบแล้วนำ�ไปให้พระเณรจับสลากที่อยู่ในบาตร พระเณรจับได้สลากของ


44 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ใคร ผูเ้ ป็นของพาข้าว (สำ�รับกับข้าว) และเครือ่ งปัจจัยไทยทานก็น�ำ ไปประเคนให้พระรูปนัน้ ๆ จาก นั้นพระเณรจะฉันเพล ให้พร ญาติโยมจะพากันรับพรแล้วกรวดน้ำ�อุทิศส่วนกุศลไปให้ญาติพี่น้อง ทีล่ ว่ งลับไปแล้ว  เป็นอันเสร็จพิธ ี และประเพณียงั เป็นประเพณีทใี่ ห้ความอุดมสมบูรณ์เช่นเดียวกัน กับบุญข้าวประดับดิน  คือข้าวสากเมื่อนำ�ไปไว้ในไร่นาก็จะเกิดการย่อยสลายกลายเป็นเชื้อ จุลินทรีย์ให้ความอุดมสมบูรณ์แก่ไร่นา บุญเดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา ชาวบ้านก็จะไปร่วมกันที่ศาลากลางบ้าน คุณยายตุ เนื่องอุดม เล่าว่า “แต่ก่อนประเพณีออกพรรษาของหมู่บ้านวังหว้า จะทำ�พิธีแบบเฮียบง่าย จัด กิจกรรมภายในหมู่บ้าน โดยซาวบ้านมีส่วนฮ่วมกันทุกคน เพราะแต่ก่อนหนั่นยังบ่มีเทศบาล หลัง จากที่ได้จัดตั้งเทศบาลท่าขอนยางขึ้น หมู่บ้านวังหว้าก็ได้เข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่างๆ ที่ทาง เทศบาลได้จัดขึ้น เริ่มแรกจะมีการประชุมซาวบ้านจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ฮ่วมกันในกิจกรรม เช่น ไม้ไผ่ ไม้ยูคา หลังจากนั้นก็จะเรียกชาวบ้านโฮมกันประชุม และร่วมกันทำ�อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในขบวน พอฮอดมื่อแห่ ก่อนเริ่มตั้งขบวนก็จะให้พระสวดทำ�พิธีกรรมทางศาสนา ในขบวนก็จะประกอบไป ด้วยนางรำ� ต่อมากะสิเฮ็ดพิธีปล่อยปลา ปล่อยเต่า ที่เตรียมมา เพื่อปล่อยลงในลำ�น้ำ�ชีเป็นเสร็จ พิธี ส่วนเช้าวันต่อมาก็จะเป็นพิธีตักบาตรที่ศาลากลางบ้าน” เดือนสิบสอง บุญกฐิน เป็นบุญทีก่ �ำ หนดเวลาในการทำ�บุญ คือต้องทำ�ในแรม 1 ค่�ำ เดือน 11 ถึงเพ็ญเดือน 12 เพียงเท่านั้น และในบุญกฐินก็จะมีการนำ�ธงรูปเต่าหรือจระเข้หรือตะขาบ ไปถวายวัด และธงดังกล่าวจะถูกนำ�มาผูกไว้ทปี่ ลายไม้ไผ่ทยี่ าวพอสมควร จากนัน้ ก็น�ำ ไปตรึงไว้ใน ทีส่ งู เพือ่ ให้ผรู้ ใู้ นหมูบ่ า้ นเก็บข้อมูลความเร็วของลม ถือว่าประเพณีบญ ุ กฐินเป็นอีกหนึง่ ประเพณีที่ สามารถพยากรณ์ฝนฟ้าอากาศได้ อันจะส่งผลต่อการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมต่อไป หลังจากที่กล่าวถึงฮีตสิบสองมาแล้วนั้น สิ่งที่ต้องกล่าวถึงต่อไปคือ คองสิบสี่ ชาวบ้าน วังหว้าถือเป็นแหล่งเรียนรูท้ สี่ �ำ คัญของนักวิจยั ทางด้านวัฒนธรรม เพราะหมูบ่ า้ นวังหว้านอกจากจะ มีฮีตสิบสองแล้ว ยังยึดถือปฏิบัติคองสิบสี่อย่างเคร่งครัดอีกด้วย ซึ่งแต่ละคองนั้นจะมีกรอบการ ปฏิบัติที่แตกต่างกันไป แต่ชาวบ้านวังหว้ายึดกรอบฮีตคองที่สอนประชาชนทั่วไปเป็นหลัก ฮีตคอง ที่สอนประชาชนทั่วไปนี้จะสอนเกี่ยวกับการดำ�รงชีวิต ดังนี้ ข้อ 1 เมื่อข้าวกลัวฮวงเป็นหมาก อย่าฟ้าวกินก่อน ให้เอาไปทำ�บุญทำ�ทานแก่ผู้มีศีลกิน ก่อน แล้วจึงกินภายลุน ข้อ 2 อย่าโลภล่าย ตายอย ถอยตาชั่ง อย่าจ้างเงินแดง แปงเงินขว้าง และอย่ากล่าว คำ�หยาบช้ากล้าแข็งต่อกัน

ข้อ 3 อย่าเป็นคนละโมบ โลภมาก คดโกง อย่าเห็นแก่ตัว และอย่ากล่าวคำ�หยาบ

ข้อ 4 เมื่อจักขึ้นเฮือนนั้นให้ล้างตีนเสียก่อนจังขึ้น


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 45

ข้อ 5 เมื่อถึงวันศีล 7 8 14 15 ให้ทำ�การคารวะก้อนเส้า

ข้อ 6 เมื่อจักนอนให้ล้างตีนก่อนจึงนอน

ข้อ 7 เถิงวันศีลให้เอาดอกไม้ขอขมาผัวแห่งตน และเถิงวันอุโบสถให้แต่งดอกไม้ธปู เทียน ไปถวายพระสงฆ์เจ้า ข้อ 8 เถิงวันศีลดับ ศีลเพ็งมานั้น ให้นิมนต์พระสงฆ์เจ้ามาสูตรมุงคุลเฮือน และทำ�บุญ ใส่บาตรถวายทาน ข้อ 9 เมื่อพระภิกษุบิณฑบาตนั้นอย่าให้เพิ่นคองถ้า และเวลาใส่บาตรกะอย่าซูนบาตร ยามใส่บาตรนั้นอย่าใส่เกิบกั้งห่มผ้าปกหัว อุ้มหลานหรือถือศาสตราวุธ ข้อ 10 เมื่อพระภิกษุเข้าปริวาสกรรม ซำ�ฮะเบื้องต้น แล้วให้แต่งขันดอกไม้ เครื่องอัฐ บริขารไปถวายท่าน

ข้อ 11 เมื่อเห็นพระภิกษุเจ้ากรายมา ให้นั่งลงยกมือไหว้ก่อน แล้วจึงพูด

ข้อ 12 อย่าเหยียบย่ำ�เงาเจ้าพระภิกขุตนมีศีลบริสุทธิ์

ข้อ 13 อย่าเอาอาหารเงื่อนตกกินแล่ว ไปทานให้แก่พระสังฆเจ้า และอย่าเอาไว้ให้ผัว กินจะกลายเป็นบาปทั้งชาตินี้และชาติหน้า ข้อ 14 อย่าเสพเมถุนกามคุณในวันศีลวันเข้าวัสสา ออกพรรษา วันมหาสงกรานต์ ถ้า ดื้อเฮ็ดมาได้ลูกได้หลานมาจะบอกยากสอนยาก สิบสีข่ อ้ ในเบือ้ งต้นชาวบ้านบ้านวังหว้ายังยึดถือปฏิบตั ิ และเดินตามครรลองคลองธรรม อันดีงามมาจนถึงปัจจุบันนี้

การบูรณาการการเรียนการสอนและกิจกรรมนิสิต

โครงการบทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกีย่ วกับการรักษา ผืนป่ามีความสัมพันธ์กับการเรียนการสอนและกิจกรรมนิสิต ดังนี้

1) ด้านการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม

โครงการได้มกี ารจัดกิจกรรมสูข่ วัญและบวชป่า ปลูกต้นไม้เพิม่ เติมในพืน้ ทีช่ มุ ชนบ้านวัง หว้าและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับพิธีกรรมความเชื่อของหมู่บ้าน เพื่อให้นิสิตและชาวบ้าน ได้ตระหนักถึงประโยชน์และคุณค่าของพิธีกรรมความเชื่อที่เรียกว่าวัฒนธรรม และจำ�ต้องรักษา สืบทอดภูมิปัญญาของชนรุ่นก่อนของท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป


46 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

2) การนำ�ไปใช้ในการเรียนการสอน

โครงการบทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกีย่ วกับการรักษา ผืนป่า ได้มกี ารจัดให้วทิ ยากรทัง้ ทางป่าไม้ ปราชญ์ผมู้ คี วามรูท้ างวัฒนธรรมหมูบ่ า้ น ถ่ายทอดความ รูภ้ มู ปิ ญ ั ญาของชนรุน่ หลังแก่นสิ ติ เพือ่ สร้างความเชือ่ และความเคารพต่อพิธกี รรมความเชือ่ ทีเ่ รียก ว่าวัฒนธรรม ทั้งมีการเพิ่มกิจกรรมเข้าไปในรายวิชาสัมมนาปัญหากฎหมายกับสังคม ของคณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3) การนำ�ไปใช้ในงานวิจัย

โครงการบทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกีย่ วกับการรักษา ผืนป่าของภาควิชากฎหมายเอกชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้มกี ารใช้ขอ้ มูลของโครงการนีเ้ ชือ่ ม โยงไปยังโครงการอื่นๆ ของคณะนิติศาสตร์เอง และโครงการของมหาวิทยาลัย อาทิ โครงการหนึ่ง หลักสูตรหนึ่งชุมชน โครงการวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมของคณะ เป็นต้น

บทสรุปและข้อเสนอแนะ

วัฒนธรรมชุมชนอีสานที่ได้จากการศึกษาที่บ้านวังหว้า ตำ�บลท่าขอนยาง อำ�เภอ กันทรวิชยั นัน้ ได้พบว่าวัฒนธรรมในบ้านวังหว้าทีช่ าวบ้านได้อนุรกั ษ์และสืบทอดมายังเหลืออยู่ ไม่ ว่าจะเป็นประเพณีฮีตสิบสอง คองสิบสี่ และประเพณีอื่นๆ ที่ยังมีอีกมากมาย เช่น การก่อพระ ทราย การเลี้ยงผีปู่ตา โดยแต่วัฒนธรรมประเพณีเหล่านั้น ล้วนให้ประโยชน์แก่คนในชุมชน และ บทบาทของวัฒนธรรมส่วนหนึง่ ของชุมชนนี้ ยังมีสว่ นช่วยอนุรกั ษ์ผนื ป่าในเขตวนอุทยานแห่งชาติชี หลงให้คงความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพอยู่ดังเดิม คณะผู้รับผิดชอบโครงการจึงเสนอให้ภาครัฐควรกำ�หนดให้มีการศึกษาวิจัยถึงบทบาท ของวัฒนธรรมในแง่มมุ ต่างๆ รวมทัง้ กำ�หนดนโยบายต่างๆ ทีจ่ ะเป็นการรักษาภูมปิ ญ ั ญาของชนรุน่ ก่อน ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรม ความเชื่อ ที่มีมาแต่โบราณ ซึ่งการศึกษาวิจัยและนโยบายดังกล่าวควร มี ค วามสอดคล้ อ งเชื่ อ มโยงกั บ สถาบั น การศึ ก ษาตั้ ง แต่ ชั้ น ระดั บ ก่ อ นอุ ด มศึ ก ษาจนถึ ง ระดั บ อุดมศึกษา เพื่อจักเป็นประโยชน์แก่การรักษาพิธีกรรมความเชื่อที่เรียกว่าวัฒนธรรมและสืบทอด ภูมิปัญญาของชนรุ่นก่อนให้ยั่งยืนคงอยู่สืบไป.


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 47

III เก็บมาฝาก

ที่มา: https://www.facebook.com/InfographicMOVE


48 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

บทความ III

การศึกษาวิชานิติศาสตร์กับการอนุรักษ์วัฒนธรรม ในการดูแลผืนป่า ณ วนอุทยานชีหลง

อาจารย์ศุภวุฒิ โมกข์เมธากุล1

ปัจจุบนั ในประเทศไทยมีวนอุทยานจำ�นวน 112 แห่ง กระจายอยูท่ กุ ภูมภิ าคของประเทศ สำ�หรับในจังหวัดมหาสารคาม มีวนอุทยานจำ�นวน 2 แห่ง คือวนอุทยานโกสัมพี และวนอุทยานชี หลง จากการลงพื้นที่เดินสำ�รวจพันธุ์ไม้ในเขตวนอุทยานชีหลงที่บ้านวังหว้า หมู่ที่ 6 ตำ�บลท่าขอน ยาง อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม พบว่ามีพันธุ์ไม้ขนาดใหญ่ ที่ต้องใช้ 2 – 3 คนโอบ จำ�นวนมาก และไม้ชั้นบนที่สำ�คัญได้แก่ ไม้ยาง รองลงมาได้แก่ ทองกวาว หรือที่ชาวบ้านท้องถิ่น เรียกว่า จาน หว้า ฉนวน มะพลับ แค กระทุ่ม มะม่วง จามจุรี มะเดื่อ กะเบา กะโดน งิ้วป่า ตะแบก พะยอม ปีบ นอกจากนี้ยังมีไม้พื้นล่างได้แก่ ไผ่ ข่อย ไม้พุ่มและไม้หนามต่างๆ แสดงให้เห็นถึง ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศที่เกิดขึ้นภายในวนอุทยานชีหลง ซึ่งต้นไม้ใหญ่พวกนี้เป็นต้นไม้เดิมที่ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เมื่อครั้งที่ดินยังอยู่ในความครอบครองของชาวชุมชนบ้านวังหว้า เว้นแต่ ต้นพะยูง หรือพยุง จะเป็นต้นไม้ที่ปลูกขึ้นใหม่โดยเจ้าหน้าที่เพื่อทดแทนการขาดแคลนของพันธุ์ไม้ ดังกล่าว ภายหลังจากที่ชาวบ้านวังหว้าได้มีการยกที่ดินประมาณ 119 ไร่ ให้กับทางรัฐบาล ต่อ มารัฐบาลเห็นว่าพื้นที่นี้มีขนาดกว้างใหญ่เพียงพอที่จะรักษาสถานะทางนิเวศวิทยาของพื้นที่ไว้ได้ ตามหลักสากลที่ได้กำ�หนดมาตรฐานไว้ไม่น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร แต่ทั้งนี้ก็ไม่เป็นเกณฑ์ ตายตัว ขึน้ อยูก่ บั คุณค่าของพืน้ ทีเ่ ป็นสำ�คัญ และพืน้ ทีน่ นั้ จะต้องประกอบไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า หรือมีพืช สัตว์ ที่น่าสนใจและหายาก มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่ สวยงาม หรือมีปรากฏการณ์ธรรมชาติที่น่าสนใจ หรือมีจุดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์หาได้ยาก หรือมี ประวัตคิ วามเป็นมา ทีม่ คี ณ ุ ค่าในด้านทางประวัตศิ าสตร์หรือมนุษยศาสตร์ กรมป่าไม้จงึ ได้ประกาศ จัดตั้งให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตวนอุทยานชีหลง เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2525 มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ จรดลำ�ชีหลง ทิศใต้ จรดลำ�ชีหลง ทิศตะวันออก จรดลำ�ชีหลง ทิศตะวันตก จรด แม่น้ำ�ชี พื้นที่ในเขตวนอุทยานชีหลงมีลักษณะเป็นที่ราบ มีน้ำ�ในลำ�ชีหลงล้อมรอบด้านเหนือ ด้าน ตะวันออก และด้านใต้ตลอดปี โดยเฉพาะด้านตะวันตก แม้พื้นที่ข้างเคียงจะระบุว่าจรดแม่น้ำ�ชี ก็ตาม แต่สภาพที่แท้จริงแล้ว ด้านนี้เป็นฝายธรรมชาติทำ�หน้าที่เก็บกักน้ำ�ไว้เป็นอย่างดี จึงเป็นจุด เด่นพิเศษทำ�ให้ดูเกือบเป็นเกาะ และจากการลงพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม แลกเปลี่ยนแนวความคิดกับ 1

รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน สังกัดภาควิชากฎหมายเอกชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 49

ทางชุมชนและเจ้าหน้าที่ แบ่งเป็น 3 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 คือ บุกเบิกที่ดินทำ� ก่อนปี 2524 ในช่วงนี้ที่ดินตรงจุดที่เป็นวนอุทยานชีหลง มีสภาพเป็นป่ายังอยู่ในความครอบครองของชาวชุมชนบ้านวังหว้า โดยเริ่มจากประมาณ 30 ครอบครัว ทีแ่ ยกตัวออกมาจากบ้านท่าขอนยาง ส่วนใหญ่ได้ใช้ทดี่ นิ สำ�หรับทำ�การเกษตรกรรม ปลูก พืชตามฤดูกาล เพราะอยูต่ ดิ กับแหล่งน้� ำ นอกจากนัน้ ยังใช้เป็นทีเ่ ลีย้ งวัว ควาย ตามกำ�ลังของแต่ละ ครอบครัว เครื่องมือที่ใช้ในการทำ�กินเป็นเครื่องมือพื้นฐาน เช่น จอบ เสียม มีด ขวาน นอกจาก นั้นชาวบ้านยังได้ใช้ประโยชน์จากความสมบูรณ์ของผืนป่าเก็บเห็ด เก็บฟืน ตามความจำ�เป็น อีก ทั้งยังมีการจัดกิจกรรมตามความเชื่อและประเพณีต่างๆ ในป่าตามที่กล่าวถึง ในช่วงนี้มีลักษณะ การใช้พื้นที่แบบถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งและกัน  มีรากเหง้า  จารีตประเพณี  และวัฒนธรรมแบบคน อีสานทั่วไป คือ มีฮีตสิบสองคองสิบสี่ เป็นตัวยึดโยงความเชื่อในการกำ�หนดพฤติกรรมการใช้ชีวิต ของคนในชุมชนบ้านวังหว้า ให้มีระเบียบแบบแผนเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ช่วงที่ 2 คือช่วงเวนคืนที่ทำ�กิน ปี 2524 เนื่องจากในพื้นที่ที่ชาวบ้านวังหว้าใช้ทำ�การ เกษตรกรรมดังกล่าวมีสภาพเป็นป่า มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ทางรัฐบาลจึงเล็งเห็นว่า เพื่อประโยชน์ในการรักษาสถานะทางนิเวศวิทยาของพื้นที่ไว้ประกอบกับพื้นที่มีความกว้างเพียง พอจึงขอเวนคืนที่ดินทีอ่ ยู่ในความดูแลของชุมชนบ้านวังหว้าให้กลับเข้ามาเป็นของรัฐบาล ในช่วงนี้ มีชาวบ้านบางส่วนไม่พอเนือ่ งจากหวัน่ วิตกว่าการเวนคืนในครัง้ นีจ้ ะกระทบต่อวิถชี วี ติ และจะทำ�ให้ เกิดความไม่มั่นคงในที่ทำ�กินอีกต่อไป จึงรวมตัวกันต่อต้าน และขัดขวางการเวนคืนที่ดินจากเจ้า หน้าทีข่ องรัฐ จนในทีส่ ดุ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐร่วมกับชาวชุมชนบ้านวังหว้าได้ประชุมหารือและทำ�ความ ตกลงร่วมกัน ยินยอมที่จะผ่อนปรนให้ชาวชุมชนบ้านวังหว้าสามารถเข้าใช้ประโยชน์จากผืนป่าได้ ตามวิถชี วี ติ ปกติแก่การเลีย้ งชีพ เช่น การเก็บเห็ด การเก็บฟืน และสามารถจัดกิจกรรมตามประเพณี ความเชื่อในเขตพื้นที่ดังกล่าวได้ เช่น ประเพณีการก่อพระทราย แต่ไม่อนุญาตให้มีการตัดไม้และ ล่าสัตว์ทุกชนิด ทำ�ให้ชาวชุมชนบ้านวังหว้ายกที่ดินจำ�นวน 119 ไร่ แก่ทางรัฐบาล ต่อมากรมป่า ไม้จึงได้มีประกาศจัดตั้งให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตวนอุทยานชีหลง เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2525 ช่วงที่ 3 คือ ช่วงที่ชุมชนมีความมั่นคงในการดำ�รงชีพ ปี 2525 – ปัจจุบัน ถือเป็น ช่วงทีช่ มุ ชนได้ผา่ นกระบวนการเรียนรูแ้ ละการอยูร่ ว่ มกับสภาพสังคมทีม่ กี ารบังคับใช้กฎหมายโดย ภาครัฐ โดยต่างก็ต้องปรับตัวตามบริบทของสังคมท้องถิ่น หลังจากการต่อสู้เรียกร้องทำ�ให้ชุมชน บ้านวังหว้ามีอสิ ระในการใช้ประโยชน์จากผืนป่าได้ตามวิถชี วี ติ ปกติแก่การเลีย้ งชีพ เช่น การเก็บเห็ด การเก็บฟืน และสามารถจัดกิจกรรมตามประเพณีความเชือ่ ในเขตพืน้ ทีด่ งั กล่าวได้ในเขตวนอุทยาน ชีหลง แต่ต้องไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติ ที่ผ่านมาชุมชนวังหว้าได้พิสูจน์ตัว เองในการจัดทรัพยากรจนเป็นทีย่ อมรับ และการปกครองตัวเองโดยไม่พงึ่ พารัฐ ชุมชนวังหว้าทำ�ให้ ทุกคนตระหนักว่าการทำ�งานเป็นกลุ่มจะสร้างความสามัคคี และชุมชนจำ�เป็นต้องมีระเบียบ  กฎ เกณฑ์  เป็นบรรทัดฐานของชุมชน  เพื่อความสงบสุข ชุมชนวังหว้าจึงได้รวมกลุ่ม และสร้างกฎ


50 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ระเบียบ กฎเกณฑ์ของชุมชนขึ้น ถือเป็นการรวมกลุ่มเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มป่าชุมชน กลุ่มสหกรณ์ และเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างความสัมพันธ์ใน ชุมชนให้กว้างขวางขึ้น จากการรวมกลุ่มกันของชาวชุมชนบ้านวังหว้า ทำ�ให้สภาพสังคมภายใน หมู่บ้านมีความเข้มแข็งและสามารถพึ่งพาตนเองได้พอสมควร จากการที่คณาจารย์และนิสิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ทำ�กิจกรรม ร่วมกันระหว่างชุมชนบ้านวังหว้าและเจ้าหน้าที่วนอุทยานชีหลง พบประเด็นที่จะเสนอแบ่งเป็น 2 ประเด็น ดังนี้

1) การศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน

เดิมการศึกษากฎหมายในประเทศไทย เป็นการเรียนการสอนในห้องเรียนเป็นส่วนใหญ่ ทำ�ให้ผเู้ รียนขาดองค์ความรูท้ างด้านสังคมวิทยา เมือ่ จบการศึกษาไปจึงไม่สามารถปรับใช้กฎหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสภาพปัญหาของท้องถิน่ ทีเ่ กิดขึน้ กิจกรรมการศึกษาเรียน รูภ้ ายนอกห้องเรียนจะช่วยพัฒนาความรู้ ทักษะ และจิตใจของผูเ้ รียน และขยายองค์ความรูภ้ ายใน ชัน้ เรียนให้กว้างและลึกมากขึน้ นิสติ คณะนิตศิ าสตร์ ทีเ่ ลือกลงทะเบียนในรายวิชาสัมมนากฎหมาย กับปัญหาสังคม จำ�นวน 65 คน จึงได้รบั คัดเลือกให้เข้าร่วมกิจกรรม ในการศึกษาปัญหาและบริบท ทางสังคม โดยทางนิสิตได้แบ่งกลุ่มกันเพื่อคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายในการทำ�กิจกรรม และได้มี การนำ�เสนอกรณีของชุมชนบ้านวังหว้า ตำ�บลท่าขอนยาง อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เป็นพื้นที่ในการศึกษาในครั้งนี้ การดำ�เนินโครงการในครั้งนี้ได้ร่วมคิดร่วมทำ� ร่วมวางแผนงานกับ ทางชุมชน และคณาจารย์ที่ปรึกษาโดยตลอด ถือเป็นการพัฒนาทักษะในการเรียนรู้ ทั้งองค์ความ รู้ทางกฎหมาย และองค์ความรู้ทางบริบททางสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น และทักษะการทำ�งาน ร่วมกับผู้อื่นของนิสิตได้อย่างลงตัว หลังจากการดำ�เนินโครงการแล้วเสร็จ อาจารย์ผู้สอนประจำ� รายวิชาได้น�ำ ประเด็นปัญหาทางกฎหมายต่างๆ จากพืน้ ทีศ่ กึ ษาในครัง้ นีม้ าใช้ในการเรียนการสอน ในรายวิชาสัมมนากฎหมายกับปัญหาสังคมอีกครัง้ เพือ่ ทบทวนหลักกฎหมาย ตลอดจนการปรับใช้ หลักกฎหมายดังกล่าวเพือ่ ให้เกิดเป็นธรรมต่อสังคมมากขึน้ จากผลของการดำ�เนินโครงการ ในส่วน ของตัวนิสติ ทำ�ให้เห็นว่านิสติ เกิดความสนใจในการเรียนกฎหมายเพิม่ มากขึน้ นอกจากนัน้ นิสติ ส่วน ใหญ่ยังตระหนักถึงปัญหาของสังคมและประโยชน์ของการศึกษากฎหมายได้ชัดเจนมากขึ้น

2) การดำ�รงอยู่ของสิทธิชุมชนบ้านวังหว้า

สิทธิชมุ ชนและการยอมรับสิทธิชมุ ชนอีสานไม่ได้อยูใ่ นสภาพหยุดนิง่ แต่แปรเปลีย่ นและ ปรับตัวไปตามสภาวะการเปลีย่ นแปลงและบริบททางสังคม ระบบความคิดทีส่ ะท้อนผ่านความเชือ่ เรือ่ งผี ความเชือ่ ทางศาสนา จิตสำ�นึกเชิงศีลธรรมของชุมชน ซึง่ มองผ่านกลุม่ ผูน้ �ำ ทางศีลธรรมและ แง่มุมของการจัดการระบบนิเวศ ยังดำ�รงสาระสำ�คัญทางความคิดมาจนถึงปัจจุบัน คือ มอง ธรรมชาติอย่างอ่อนน้อมในฐานะผู้มีพระคุณ  เป็นแหล่งกำ�เนิดหล่อเลี้ยงชีวิตมนุษย์ เป็นวิธีคิดที่


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 51

เป็นระบบผ่านการตรวจสอบในชีวิตจริงมาอย่างยาวนาน มีหลักเหตุผลด้านภูมิปัญญา สืบทอด และผลิตซ้ำ�ผ่านนิทาน ตำ�นาน และพิธีกรรม ตลอดจนจารีตประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชน ในการดำ�เนินโครงการในครัง้ นี้ ชาวชุมชนบ้านวังหว้าได้รว่ มวางแผน และกำ�หนดช่วงกิจกรรม แบ่ง เป็น 3 ช่วง ดังนี้ ช่วงแรก ภาคเช้า ชุมชนบ้านวังหว้าได้คัดเลือกกิจกรรมการบวชป่า ให้เป็นตัวแทนของ ระบบความเชื่อของชุมชนผ่านพิธีกรรมการบวชป่า ในเขตวนอุทยานชีหลงที่บ้านวังหว้า หมู่ที่ 6 ตำ�บลท่าขอนยาง อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เนื่องจากในชุมชนไม่มีพื้นป่าขนาดใหญ่ ทีเ่ ป็นของชุมชนโดยตรง แต่พนื้ ป่าในเขตวนอุทยานชีหลง มีประวัตศิ าสตร์และความผูกพันกับชุมชน มาช้านาน ในฐานะที่เป็นพื้นที่ป่าที่เคยอยู่ในความครอบครองและการดูแลของชุมชนก่อนมีการ เวนคืนจากภาครัฐบาล ทำ�ให้เห็นว่าชุมชนบ้านวังหว้ายังคงให้ความสำ�คัญกับการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ตามความเชื่อและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเป็นอย่างมาก ต่อจากนั้นได้กำ�หนดให้มีพิธีกรรมการบายศรี สู่ขวัญ ต้นไม้ และผู้เข้าร่วมโครงการ ให้เกิดความผูกพันร่วมกันระหว่างคณาจารย์ นิสิต และชาว ชุมชนบ้านวังหว้า สร้างขวัญกำ�ลังใจให้แก่กันและกัน และในช่วงท้ายของภาคเช้า ได้ละลาย พฤติกรรมด้วยกิจกรรมการเล่นเกมพื้นบ้านร่วมกันระหว่างตัวแทนคณะนิติศาสตร์ ตัวแทนชาว ชุมชนบ้านวังหว้า และตัวแทนจากเจ้าหน้าทีว่ นอุทยานชีหลง สร้างความสนุกสนามร่วมกัน ซึง่ นิสติ ถือเป็นสือ่ กลางทีช่ ว่ ยก่อให้เกิดความใกล้ชดิ ระหว่างเจ้าหน้าทีว่ นอุทยานชีหลงกับชุมชนบ้านวังหว้า อันจะช่วยลดความขัดแย้ง และป้องกันอคติจากการใช้อำ�นาจรัฐโดยไม่เป็นธรรมของเจ้าหน้าที่ วนอุทยานชีหลงได้มากขึ้น ช่วงทีส่ อง ภาคบ่าย เป็นการกำ�หนดให้มเี วทีเสวนาเพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นร่วมกัน ระหว่างคณาจารย์ นิสติ และชาวชุมชนบ้านวังหว้า ในการเสวนาในครัง้ นี้ ใช้ศาลากลางหมูบ่ า้ นเป็น สถานที่ในการดำ�เนินโครงการ ได้มีการเล่าถึงประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านวังหว้า สลับแง่คิด และมุมมองในการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมจากประสบการณ์ของผูอ้ าวุโส และผูร้ ใู้ นชุมชน ระหว่างเสวนา สังเกตเห็นได้วา่ นิสติ มีความสนใจทีจ่ ะตัง้ คำ�ถามตามทีต่ นสงสัยและอยากรูไ้ ด้มากกว่าการเรียนใน ชั้นเรียน ในช่วงนี้ถือเป็นช่วงที่นิสิตได้เก็บเกี่ยวความรู้จากประสบการณ์จริงของชาวบ้านในชุมชน บ้านวังหว้าได้โดยตรง หลังจากเวทีเสวนาเสร็จสิ้นได้มีการแห่ผ้าป่ารอบหมู่บ้านวังหว้า ได้ปัจจัย พอประมาณตามความศรัทธาของผูเ้ ข้าร่วมโครงการและชาวชุมชนบ้านวังหว้าทีร่ ว่ มกันบริจาคตลอด เส้นทาง ที่น่าสนใจคือหมู่บ้านวังหว้าไม่มีวัดภายในหมู่บ้านจึงต้องใช้ศาลากลางบ้านเป็นสถานที่ แทนวัดในการทำ�กิจกรรมทางศาสนาอยูเ่ ป็นประจำ� รวมถึงการทำ�กิจกรรมในครัง้ นีด้ ว้ ย ถือเป็นการ จัดสรรการใช้ประโยชน์ศาลากลางบ้านได้อย่างคุม้ ค่าเหมาะสมกับสภาพของชุมชนทีข่ าดแคลนวัตถุ แต่ไม่ตัดขาดจากประเพณี ศีลธรรม และวัฒนธรรม ช่วงสุดท้าย ภาคค่ำ� ภายหลังที่ทุกฝ่ายได้ร่วมทำ�กิจกรรมร่วมกันมาทั้งวัน ในช่วงนี้ นอกจากจะเป็นการรับประทานอาหารร่วมกันแล้ว ยังได้รับความช่วยเหลือจากคณะดุริยางคศิลป์


52 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มาร่วมเล่นดนตรีพื้นบ้าน และดนตรีร่วมสมัย ให้กับชาวชุมชนบ้านวัง หว้าได้ฟงั เพือ่ ผ่อนคลายความตึงเครียด ทีม่ มี าจากการทำ�งานและปัญหาต่างๆ ถือเป็นการใช้ศาสตร์ หลายแขนง ตลอดจนความร่วมมือจากส่วนต่างๆ ในการดำ�เนินโครงการอย่างแท้จริง และตลอด การดำ�เนินโครงการจะพบว่า ชาวชุมชนบ้านวังหว้ามีความสนใจ และได้เข้าร่วมทำ�กิจกรรมตลอด ตัง้ แต่ตน้ จนสิน้ สุดโครงการ ถือเป็นสัญญาณทีด่ ที จี่ ะดำ�เนินโครงการต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ชุมชน บ้านวังหว้าได้ โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่น ผสมผสานกับวิชานิติศาสตร์ให้เกิดความงอกงามทาง สติปัญญาสามารถพัฒนาตนเองและสังคมส่วนรวมได้.


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 53

III เก็บมาฝาก

ที่มา: https://www.facebook.com/InfographicMOVE


54 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

บทความ III

การบวชป่า: วัฒนธรรม...เพื่อ...ป่าคู่ชุมชน ณ วนอุทยานชีหลง

ดร.ดวงเด่น นาคสีหราช1

ถ้ากล่าวถึง “ป่า” เชื่อว่าหลายคนย่อมนึกถึง “ต้นกำ�เนิดของสรรพชีวิตและแหล่งค้ำ�จุน สมดุลแห่งธรรมชาติ” ป่าจึงมีความสำ�คัญต่อทุกชีวิต ไม่เว้นแม้แต่มนุษย์และชุมชนซึ่งสามารถใช้ ประโยชน์และพึง่ พาป่าไม้ทงั้ ทางตรงและทางอ้อมมาช้านานแล้ว อย่างไรก็ดี พืน้ ทีป่ า่ ในปัจจุบนั ลด น้อยลงเรือ่ ยๆ จากสำ�รวจครัง้ ล่าสุดระหว่างปี 2551-2556 โดยในปี 2551 พบพืน้ ทีป่ า่ ทัว่ ประเทศ มี 107 ล้านไร่ ไม่รวมสวนยางและสวนผลไม้ แต่ในปี 2556-2557 พบว่าพืน้ ทีป่ า่ เหลือเพียง 102 ล้านไร่ นั่นหมายความว่าภายใน 5 ปี ป่าไม้หายไป 5 ล้านไร่ หรือเฉลี่ยปีละ 1 ล้านไร่ โดยส่วน ใหญ่มลี กั ษณะการตัดไม้ท�ำ ลายป่าเพือ่ ต้องการพืน้ ทีเ่ พือ่ การเกษตรเป็นหลัก (ข้อมูลสำ�รวจเมือ่ พ.ศ. 2557)2 สำ�หรับจังหวัดมหาสารคามเป็นจังหวัดที่มีป่าปกคลุมน้อยกว่าร้อยละ 25 (ข้อมูลสำ�รวจ เมื่อ พ.ศ. 2554)3 เมื่อป่าไม้เป็นทรัพยากรที่สำ�คัญต่อชุมชน ชุมชนในฐานะเป็นผู้ดูแลรักษาทรัพยากรของ ชุมชน จึงควรมีการบริหารจัดการพื้นที่ป่าที่อยู่ใกล้ชุมชน เช่น อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่า เป็นต้น โดยอาศัยการมีส่วนร่วมและวิถีชีวิตของคนในชุมชนอย่างยั่งยืน และมีประสิทธิภาพ ย่อมก่อให้เกิดจิตสำ�นึกในการรักษาป่าอันเป็นทีม่ าของวัฒนธรรมชุมชน ซึง่ ให้ชมุ ชนเข้ามามีบทบาท และมี ส่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์ แ ละจั ด การดู แ ลทรั พ ยากรของชุ ม ชนด้ ว ยตนเอง นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยในฐานะหน่วยงานของภาครัฐและสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาควรมีบทบาทใน การส่งเสริมและสนับสนุนในการให้ความรู้และบูรณาการองค์ความรู้ร่วมกับภารกิจด้านการทำ�นุ บำ�รุงศิลปวัฒนธรรมกับการบริการวิชาการแก่สังคม และพิธีกรรมที่เป็นที่นิยมในปัจจุบันคือ “การ บวชป่า”

1 นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต, นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายระหว่างประเทศ), นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ และอาจารย์ประจำ�ภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2 กรมป่ า ไม้ เ ผยไทยเหลื อ พื้ น ที่ ป่ า 102 ล้ า นไร่ , from http://www.dailynews.co.th/Content/ politics/220142(Retrieved on October 3rd ,2014) 3 พื้นที่ป่าเมืองไทยเหลือแค่ 33% มีเพียง 5 จังหวัด ป่าเกิน 70%, from http://www.thairath.co.th/content/ 199295(Retrieved on October 3rd 2014).


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 55

การบวชป่าคืออะไร การบวชป่า พิธีบวชต้นไม้ หรือการสู่ขวัญต้นไม้ เป็นพิธีกรรมที่คิดริเริ่มและถือเป็น กุศโลบายที่นำ�มาประยุกต์ใช้กับการจัดการชุมชนกับป่า “บวช” หมายถึง การละเว้น การสละ มา จาก “การบวชพระหรือบรรพชา” ซึง่ หมายถึง การละเว้นจากการทำ�ความชัว่ หรือละทิง้ กิเลสอบายมุข ทั้งปวง ดังนั้น “การบวชป่า” จึงหมายถึง การละเว้นจากการตัดไม้ทำ�ลายป่า

วัตถุประสงค์ของการบวชป่าคืออะไร

การบวชป่าของชุมชนถือเป็นรูปแบบหนึง่ ในการจัดการป่าชุมชน ซึง่ เป็นการจัดการตาม จารีตประเพณี กล่าวคือ การนำ�ความเชือ่ และวิธีคดิ ตามประเพณีมาใช้เป็นแนวทางในการกำ�หนด กฎเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ของชุมชน เช่น การนิมนต์พระสงฆ์มาทำ�พิธีบวชต้นไม้ เพื่อกระตุ้นจิตสำ�นึกในการรักษาป่าของชุมชนและเพื่อยับยั้งการลักลอบตัดไม้ เป็นต้น นอกจากนี้ การบวชป่ายังสร้างความสามัคคีและความร่วมมือของชาวบ้านในชุมชนที่มีความเชื่อหลากหลาย และมีวัฒนธรรมที่แตกต่างให้กลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ การบวชป่าจึงไม่ได้มีความหมายแค่ การประกอบพิธกี รรมเท่านัน้ แต่เป็นสัญลักษณ์ทแี่ สดงถึงความผูกพันและการพึง่ พาอาศัยระหว่าง คน ต้นไม้ สัตว์ป่า สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และส่งผลต่อชีวิตและระบบนิเวศ คือ การเพิ่มอาหารให้ชุมชน เป็น ถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์ปา่ การรักษาพันธุไ์ ม้พนื้ บ้านพันธุไ์ ม้ทอ้ งถิน่ และเป็นการถ่ายทอดจิตสำ�นึก การอนุรกั ษ์ทรัพยากรป่าไม้สคู่ นรุน่ ใหม่ เป็นโอกาสทีส่ มาชิกในชุมชนทุกวัยได้มโี อกาสร่วมมือร่วมใจ กันประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของชุมชน เป็นการตอกย้ำ�ความเชื่อและ สำ�นึกต่อการอนุรักษ์ร่วมกัน4

ขั้นตอนของการบวชป่าทำ�อย่างไร

การบวชป่ามีขั้นตอนที่สำ�คัญดังนี้ คือ คนในชุมชนได้ตกลงร่วมกันที่จะกันพื้นที่สำ�หรับ การบวชป่า ตลอดถึงการกันพื้นที่แนวเขต จำ�แนกพื้นที่ให้ชัดเจนว่าพื้นที่จะทำ�การบวชมีจำ�นวนกี่ ไร่ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของชุมชนและสถานที่ที่จะทำ�การบวชป่า ร่วมกันกำ�หนดระเบียบ กติกา การใช้ทรัพยากรร่วมกัน และคัดเลือกคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ การประสานงานด้านศาสน พิธีทางสงฆ์และจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องอัฐบริขาร (เหมือนกับการบวชคน) การหาพันธุ์ไม้เพื่อนำ� ไปปลูกเสริม การเชิญหมอสู่ขวัญมาเป็นเจ้าพิธีจัดเตรียมงานและทำ�พิธีกรรม ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อ ความเชื่อของชาวบ้าน การนิมนต์พระสงฆ์ 5 รูป 7 รูป 9 รูป หรือมากกว่าก็ได้ เพื่อร่วมพิธี เน้น การมีส่วนร่วมของชุมชนให้มากและเชิญแขก เพื่อนบ้านที่อยู่รอบๆ ทั้งผู้นำ�ทางจิตวิญญาณ และ ภูมิพัฒน์ พลราช, บทวิจารณ์หนังสือ “บวชป่า สืบชะตาแม่น้ำ� การจัดการป่าและน้ำ�เชิงวัฒนธรรม”, 9 Journal of Environmental Management 107 (January- June2013.) ; 111 - 112. 4


56 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ผูน้ �ำ ทีม่ บี ารมีทชี่ าวบ้านเคารพนับถือมาร่วมเป็นเกียรติและเป็นสักขีพยานในการดูแลรักษาป่าชุมชน การเตรียมผ้าเหลือง ซึง่ อาจเป็นผ้าสบง จีวรเก่า ทีไ่ ม่ใช้แล้ว นำ�มาห่มหรือผูกต้นไม้เพือ่ ให้เกิดความ ขลัง การนำ�พระพุทธรูปไปประดิษฐานไว้ใต้ต้นไม้ใหญ่ ซึ่งเป็นต้นไม้ประธานของป่า เพื่อให้เกิด ความศักดิส์ ทิ ธิ์ ความเคารพและความเกรงกลัว และสุดท้ายการกล่าวคำ�แผ่เมตตาหรือการประกาศ สัจจะเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม5 การบวชป่าสามารถทำ�ได้ตั้งแต่ต้นไม้ ขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ แต่ส่วนมากจะเน้นต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่

พิธีพุทธ: ทำ�บุญตักบาตร

การบวชป่า

5

เพิ่งอ้าง, หน้า 114.


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 57

พิธีพราหมณ์: บายศรีสู่ขวัญ

การบวชป่า: วัฒนธรรม...เพื่อ...ป่าคู่ชุมชน ณ วนอุทยานชีหลง

คำ�ว่า “วัฒนธรรม” ในภาษาไทย มาจากคำ�สองคำ� คำ�ว่า “วัฒน” จากคำ�ศัพท์ “วฑฒน” ในภาษาสันสกฤต หมายถึงความเจริญ ส่วนคำ�ว่า “ธรรม” มาจากคำ�ศัพท์ “ธรฺม” ในภาษาสันสกฤต หมายถึ ง ความดี เมื่ อ นำ � สองคำ � มารวมกั น จึ ง ได้ คำ � ว่ า “วั ฒนธรรม” ตามพจนานุ ก รมฉบั บ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง “สิ่งที่ทำ�ให้เจริญงอกงามแก่หมู่คณะหรือวิถีชีวิตของหมู่ คณะ” ดังนัน้ การบวชป่าจึงเป็นกุศโลบายหนึง่ ในการอนุรกั ษ์ปา่ ชุมชน ซึง่ ไม่อาจดำ�เนินการโดยเจ้า หน้าทีข่ องรัฐฝ่ายเดียว แต่ตอ้ งเกิดจากความร่วมแรงร่วมใจของทุกภาคส่วน รวมถึงคนในชุมชนท้อง ถิ่นในฐานะที่เป็นสิ่งที่ทำ�ให้เกิดความเจริญงอกงามแก่หมู่คณะซึ่งก็คือ “วัฒนธรรม” และประเพณี อันดีงามระหว่างป่า ชาวบ้านในชุมชน และมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ การบวชป่ายังเป็นระบบการ จัดการในแนวทางเชิงนิเวศ-วัฒนธรรม มีแนวคิดพื้นฐานจากความเชื่อระหว่างสิ่งศักดิ์สิทธิ์กับ ธรรมชาติและมนุษย์ ที่ใช้ความเชื่อเรื่องผี สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และความอุดมสมบูรณ์ในการจัดการสังคม


58 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

และทรัพยากรธรรมชาติซงึ่ ระบบการจัดการในแนวทางนีใ้ นปัจจุบนั ก็ยงั ใช้ได้ผลในพืน้ ทีท่ คี่ วามคิด และความเชื่อดังกล่าวยังเป็นที่ยอมรับอยู1่ เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2557 ที่ผ่านมา คณาจารย์พร้อมด้วยนิสิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้จัดกิจกรรมภายใต้โครงการ “หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม ประจำ�ปี พ.ศ. 2557” ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในชื่อกิจกรรมว่า “บทบาทของ วัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการพัฒนาผืนป่า” ณ วนอุทยานชีหลง ซึ่ง มีพื้นที่ป่าประมาณ 119 ไร่ ตั้งอยู่ที่ บ้านวังหว้า ตำ�บลท่าขอนยาง อำ�เภอกันทรวิชัย จังหวัด มหาสารคาม เดิมเป็นของชาวบ้านวังหว้า ต่อมาชาวบ้านได้ยกให้แก่ภาครัฐเพือ่ เข้ามาบริหารจัดการ เป็นวนอุทยานร่วม 30 ปี อย่างไรก็ดี ยังมีการใช้ประโยชน์ร่วมกันผ่านวิถีชีวิตดั้งเดิม ได้แก่ การ เก็บฟืน จับปลา การเก็บเห็ด รวมถึงการจัดพิธีก่อพระเจดีย์ทรายในบริเวณวนอุทยาน การบวชป่าจึงถือเป็นกิจกรรมหลักของโครงการนี้ เพื่ออนุรักษ์ผืนป่าดังกล่าว ด้วย วัฒนธรรมอันดีงามร่วมกัน มิให้มีการตัดต้นไม้ทำ�ลายป่า โดยอาศัยความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ปก ปักษ์รักษาหมู่บ้าน และเจตจำ�นงร่วมกันของคนในชุมชนในการรักษาและอนุรักษ์ผืนป่าให้อยู่คู่กับ ชาวบ้านถึงลูกหลานอย่างยั่งยืนสืบไป

ลงพื้นที่สัมภาษณ์ความเป็นมาของหมู่บ้านวังหว้า

1

เพิ่งอ้าง, หน้า 120-121.


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 59

การจัดกิจกรรมบวชป่านี้ นอกจากจะสร้างจิตสำ�นึกในการหวงแหนและอนุรกั ษ์ปา่ ชุมชน แล้ว ยังสร้างจิตสำ�นึกและทำ�ให้นิสิตคณะนิติศาสตร์ที่เข้าร่วมโครงการเกิดการเรียนรู้ซึ่งไม่อาจหา ได้จากตำ�ราเล่มใด แต่ได้รับการถ่ายทอดจากทางปฏิบัติและคำ�บอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ที่บอกเล่า เรื่องราวต่างๆ ของชุมชนอันเป็นการเรียนรู้ของนิสิตนอกห้องเรียนที่มีคุณค่ายิ่ง รวมถึงทำ�ให้นิสิต ได้เห็นถึงภูมปิ ญ ั ญาของชาวบ้าน ในขณะเดียวกันก็ได้ใช้ความรูท้ างด้านกฎหมายให้ความช่วยเหลือ ด้านกฎหมายแก่ชาวบ้านด้วย สอดคล้องปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหาสารคามว่า พหูนํ ปณฺฑิโต ชีเว หมายความว่า ผู้มีปัญญาพึงเป็นอยู่เพื่อมหาชน.


60 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

บทความ III

การปลูกฝังวัฒนธรรมให้เกิดความเข้าใจถึงแก่นแท้

อาจารย์ธีรศักดิ์ กองสมบัต1ิ

ป่าไม้เป็นแหล่งทีม่ าของไม้  ไม้ฟนื และผลผลิตอืน่ ๆ  และยังมีสว่ นสำ�คัญในการอนุรกั ษ์ น้ำ�และดิน  รักษาชั้นบรรยากาศของโลกและบำ�รุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและ สัตว์  ป่าไม้เป็นทรัพยากรที่คืนรูป  และหากสามารถจัดการป่าไม้ให้สอดคล้องกับการอนุรักษ์สิ่ง แวดล้อมได้แล้วสามารถนำ�ไปผลิตสินค้าและบริการต่างๆ  ทีช่ ว่ ยให้เกิดการพัฒนาประเทศได้  ใน อดีตที่ผ่านมาคงปฏิเสธไม่ได้ว่าความอยู่รอดและความเป็นอยู่ของคนในชนบทต้องพึ่งพาอาศัยป่า  จนก่อให้เกิดวัฒนธรรมของท้องถิ่น  สืบเนื่องจากความรู้ท้องถิ่นมาใช้ในการยังชีพ  มีการสืบทอด มาเป็นภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้าน ซึง่ เป็นประสบการณ์ทเี่ กิดจากการเรียนรูเ้ พือ่ การอยูร่ อด  ความทุกข์ยาก ทีแ่ สนสาหัสของชาวชนบทก็ยงั คงต้องมีการลักลอบตัดไม้เพือ่ การดำ�รงชีวติ อยูไ่ ด้  จึงไม่อาจละเลย ความสนใจเรื่องความยั่งยืนของทรัพยากรป่าได้ ทรัพยากรป่าไม้ของไทยที่ลดลงจนเป็นปัญหา วิกฤตในปัจจุบันนี้และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  ตลอดจนความขัดแย้งระหว่างการ อนุรักษ์และการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ระหว่างหน่วยงานรัฐกับชุมชนที่ยังไม่ประสบผล  และคน ไทยบางกลุ่มก็ยังคงมีวัฒนธรรมของการบริโภคอย่างไม่รู้จักพอ  การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนจึง จำ�เป็นต้องอาศัยรูปแบบของการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน การจัดการป่าควรเป็นไปเพื่อตอบ สนองความต้องการของชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและจิตใจ ชาวบ้านมักจะพูดถึงว่าป่า ให้อะไรแก่พวกเขา ให้หน่อไม้ เห็ด อาหาร ฟืน และอื่นๆ ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านจึงมีวัฒนธรรมทาง แนวคิดที่แตกต่างจากแนวคิดทางด้านการอนุรักษ์จากหน่วยงานภาครัฐ  สิ่งที่ควรคำ�นึงถึงคือการ ปลูกฝังวัฒนธรรมที่ให้เกิดความเข้าใจถึงแก่นแท้ของความเป็นป่า ความสำ�คัญของป่าไม้ ความ สมดุลของธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  และการใช้ประโยชน์จากป่านั้นควรเริ่มต้นตั้งแต่การเรียน ร่วมกันระหว่างชุมชนและหน่วยงานของรัฐ  สร้างกระบวนการที่เข้าไปพูดคุยในหมู่บ้าน หรือไป สัมภาษณ์ชาวบ้าน  เรียนรูค้ วามเป็นอยู ่ ตลอดจนกระบวนการหาองค์ความรูท้ อ้ งถิน่ ในอันจะทำ�ให้ เกิดความร่วมมือร่วมกันในการรักษาผืนป่าชุมชนที่ยั่งยืนสืบไป.

1

อาจารย์ประจำ�คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และหัวหน้าภาควิชากฎหมายเอกชน


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 61

III บทความ

บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับ หน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า

อาจารย์ชาคริต ขันนาโพธิ1์

วัฒนธรรมชุมชนทีเ่ ป็นพิธกี รรม  จารีตประเพณี  ความเชือ่   แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบ ความกลมเกลียว ความก้าวหน้า ศีลธรรมอันดีงามของประชาชนแต่ละชุมชน หรือสังคมนั้นๆ  และมีความหมายครอบคลุมถึงทุกสิ่งทุกอย่างอันเป็นแบบแผนในความคิดและ การกระทำ�ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือสังคมใดสังคมหนึ่ง โดยมีการสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการในการปฏิบัติ ระบบความเชื่อ ค่านิยม ความรู้ และ เทคโนโลยีต่างๆ ในการควบคุมและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ วัฒนธรรมชุมชนของภูมภิ าคอีสาน  นับว่ามีสว่ นช่วยให้การดำ�รงชีวติ ของคนในสังคมใน ด้านต่างๆ  มีความสงบร่มเย็นสร้างความสามัคคี  ส่วนมากแล้วความเชือ่ ของชาวอีสาน จะมีเรือ่ ง เกี่ยวกับภูตผี หรือเหล่าเทพาอารักษ์ เทวดา เจ้าที่ เข้ามาเกี่ยวโยงกับวัฒนธรรมประเพณีของชาว อีสานนั้นด้วย  แต่หลักๆ  แล้วที่รู้กันทั่วไปในเรื่องวัฒนธรรมประเพณีของชาวอีสานก็จะเป็นเรื่อง เกี่ยวกับฮีตสิบสอง  คือจารีตธรรมเนียมที่จะมีขึ้นในสิบสองเดือนตามปฏิทินจันทรคติ  ส่วนคอง สิบสีน่ นั้ หมายถึงครรลองสิบสีป่ ระการ ทีค่ นแต่ละกลุม่ ต้องถือปฏิบตั เิ พือ่ ให้เกิดความสงบในสังคม หรือชุมชน  ซึ่งสองอย่างนี้มักจะเรียกคู่กันว่า ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ นั่นเอง วัฒนธรรมชุมชนอีสานที่ได้จากการศึกษาที่บ้านวังหว้า  ตำ�บลท่าขอนยาง  อำ�เภอ กันทรวิชัยนั้น  ได้พบว่าวัฒนธรรมในบ้านวังหว้าที่ชาวบ้านได้อนุรักษ์และสืบทอดมายังเหลืออยู่  ไม่ว่าจะเป็นประเพณีฮีตสิบสอง  คองสิบสี่  และประเพณีอื่นๆ  ที่ยังมีอีกมากมาย  เช่น การก่อ พระทราย  การเลี้ยงผีปู่ตา  โดยแต่ละวัฒนธรรมประเพณีเหล่านั้น  ล้วนให้ประโยชน์แก่คนใน ชุมชน และบทบาทของวัฒนธรรมส่วนหนึง่ ของชุมชนนี้ ยังมีสว่ นช่วยอนุรกั ษ์ผนื ป่าในเขตวนอุทยาน แห่งชาติชีหลงให้คงความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพอยู่ดังเดิม เป็นสิ่งที่ภาครัฐควรกำ�หนดให้มีการศึกษาวิจัยถึงบทบาทของวัฒนธรรมในแง่มุมต่างๆ  รวมทั้งกำ�หนดนโยบายต่างๆ  ที่จะเป็นการรักษาภูมิปัญญาของชนรุ่นก่อน  ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรม  ความเชือ่   ทีม่ มี าแต่โบราณ  ซึง่ การศึกษาวิจยั และนโยบายดังกล่าวควรมีความสอดคล้องเชือ่ มโยง กับสถาบันการศึกษาตัง้ แต่ชนั้ ระดับก่อนอุดมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา เพือ่ จักเป็นประโยชน์แก่ การรักษาพิธกี รรมความเชือ่ ทีเ่ รียกว่าวัฒนธรรม  และสืบทอดภูมปิ ญ ั ญาของชนรุน่ ก่อนให้ยงั่ ยืนคง อยู่สืบไป. 1

อาจารย์ประจำ�คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และหัวหน้าโครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม


62 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

บทความ III

เมื่อนิติศาสตร์ เรียนรู้คู่บริการ

เรื่อง “กฎหมายกับวัฒนธรรมการดูแลผืนป่า” ณ วนอุทยานชีหลง1 หนึง่ คณะหนึง่ ศิลปวัฒนธรรม  เป็นอีกหนึง่ ภารกิจทีม่ หาวิทยาลัยมหาสารคามขับเคลือ่ น บนหลักคิด “เรียนรู้คู่บริการ” มุ่งให้แต่ละคณะนำ�ศาสตร์ของตนเองไปบูรณาการเรียนรู้และหนุน เสริมกระบวนการพัฒนาหรือทำ�นุบ�ำ รุงศิลปวัฒนธรรมในแต่ละชุมชนร่วมกันระหว่างอาจารย์ นิสติ ชาวบ้าน หรือแม้แต่เครือข่ายภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ขับเคลื่อน ถึงแม้คณะนิติศาสตร์จะเป็นคณะใหม่ที่เพิ่งแยกตัวออกจากวิทยาลัยการเมืองการ ปกครองอย่างสดๆ  ร้อนๆ  กระนั้นก็ไม่ยอมตกขบวนประวัติศาสตร์ของชาว มมส ด้วยการจัด โครงการหนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรมในชื่อ  “บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วย งานของรัฐเกี่ยวกับการพัฒนาผืนป่า”  โดยมุ่งสู่การเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการพื้นที่ป่า ณ “วนอุทยานชีหลง” ต.ท่าขอนยาง อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม ซึง่ สือ่ ให้เห็นถึงมิตกิ ารอนุรกั ษ์ปกป้อง ผืนป่าร่วมกันระหว่างภาครัฐกับชาวบ้านในละแวกใกล้เคียง  โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชาวบ้านในหมูบ่ า้ น วังหว้า ต.ท่าขอนยาง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม กิจกรรมดังกล่าวถูกจัดขึน้ หลากหลายรูปแบบมาเป็นระยะๆ  (สหกิจกรรม)  เช่น ศึกษา พันธุ์ไม้ในวนอุทยานและการบริหารจัดการป่าทั้งในด้านกฎหมายและความเชื่อของชาวบ้าน การ ปลูกต้นไม้ การทำ�บุญตักบาตร การก่อเจดียท์ รายในผืนป่า การทำ�พิธบี วชป่าและสูข่ วัญป่า ฯลฯ นับเป็นการผสมผสานระหว่างกิจกรรมในวิชาชีพกับกิจกรรมนอกชั้นเรียน (นอกหลักสูตร) ของ นิสิตในแบบ “บันเทิงเริงปัญญา” อย่างลงตัว เช่ น เดี ย วกั บ การบู ร ณาการกิ จ กรรมเข้ า กั บ โครงการปลู ก ป่ า สร้ า งความรั ก ป่ า เฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ 1 (เนื่องในโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเฉลิมพระเกียรติ ระดับ อุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) และโครงการหนึง่ หลักสูตรหนึง่ ชุมชน ประจำ�ปี 2557 เพือ่ วางหมุดหมายให้พื้นที่ป่าดังกล่าวเป็นอีกหนึ่งห้องเรียนสำ�หรับจัดกระบวนการเรียนรู้ของนิสิตใน คณะนิติศาสตร์  ทั้งในเรื่องวิชาชีพและวิชาชีวิตโดยใช้ชุมชนเป็นที่มั่นของการเรียนรู้ รวมถึงการ ผลั ก ดั น ให้ ว นอุ ท ยานชี ห ลงถู ก ยกระดั บ เป็ น หนึ่ ง ในแผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒนาของจั ง หวั ด มหาสารคามอย่างจริงๆ จังๆ

1

พนัส ปรีวาสนา (http://www.gotoknow.org/posts/575060)


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 63

III บทความพิเศษ ปัญหาทางกฎหมายในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรป่า กรณีศึกษา ป่าชุมชนโคกใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม1 Legal Problems of Participation in Forest Resource Management : a Study Case of Koke Yai Community Forest, Wapeepathum District, Mahasarakham Province

ศุภวุฒิ โมกข์เมธากุล2 Suphawut Mokmethakul

บทคัดย่อ ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการป่าชุมชนทั้งประเทศจำ�นวน 8,497 หมู่บ้าน 7,856 โครงการ รวมป่าชุมชนที่ได้ขึ้นทะเบียนทั้งประเทศ จำ�นวน 3,258,233 ไร่ 96 ตารางวา ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีเนือ้ ทีป่ า่ ชุมชนมากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากภาคเหนือ แต่ส�ำ หรับ จังหวัดมหาสารคามถือเป็นจังหวัดทีม่ พี นื้ ทีป่ า่ ธรรมชาตินอ้ ยทีส่ ดุ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ป่าโคกใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ถือเป็นป่าชุมชนผืนใหญ่ที่สุดของจังหวัด มหาสารคาม แต่กลไกในการพัฒนาและอนุรักษ์ป่าชุมชนโคกใหญ่ ยังคงมีปัญหาในการขาดการมี ส่วนร่วมอย่างจริงจังของคนในชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงเกิดการบุกรุกและแย่งชิง ทรัพยากรป่าจากคนในชุมชนและนายทุนอย่างต่อเนื่อง วิจยั ฉบับนี้ จึงมุง่ ทีจ่ ะศึกษาถึงกฎหมายทีใ่ ช้บงั คับเกีย่ วกับการจัดการทรัพยากรป่า โดย อาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิง คุณภาพ ประกอบกับการศึกษาวิจัยภาคสนาม ได้แก่ ป่าชุมชนโคกใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัด มหาสารคาม สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง และร่วมแสดงความคิดเห็น จากการศึกษาพบว่า มาตรการ ทางกฎหมายในการบริหารจัดการทรัพยากรป่า กฎหมายมีการแยกส่วนบริหารจัดการทำ�ให้ขาด ศั ก ยภาพในการบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย, กลไกการบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ ทรั พ ยากรป่ า ขาด ประสิทธิภาพและความชัดเจน เช่น ความหมายของบทนิยามคำ�ว่า “ป่า” ที่แตกต่างกัน , กฎหมาย ปัญหาทางกฎหมายในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรป่า กรณีศึกษา ป่าชุมชนโคกใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม  จังหวัด มหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 มกราคม – กุมภาพันธ์ 2557. 2 พนักงานวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Academic Officer, Faculty of Law, Mahasarakham University 1


64 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

มุ่งรองรับบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากกว่าคุ้มครองทรัพยากรป่า, การกำ�หนด นโยบายและการจัดทำ�แผนพัฒนาตำ�บลในเรือ่ งการพัฒนาป่าชุมชนโคกใหญ่ขาดการมีสว่ นร่วมของ ประชาชนในท้องถิ่น, ป่าชุมชนโคกใหญ่ ยังมิได้มีการขึ้นทะเบียนเป็นป่าชุมชนตามที่สำ�นักงาน จัดการป่าชุมชน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกำ�หนดเงื่อนไขไว้ และมิได้มีการ กำ�หนดเขตป่าอนุรกั ษ์และป่าใช้สอยไว้อย่างชัดเจน จากสภาพปัญหาดังกล่าวทำ�ให้ขาดเอกภาพใน การพัฒนาและอนุรักษ์ป่าชุมชนโคกใหญ่ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาจึงเสนอให้ควรเร่งพิจารณา ตรากฎหมายป่าชุมชนโดยเฉพาะ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการจัดการทรัพยากรป่าอย่างมีส่วน ร่วมของภาครัฐกับชุมชน ชุมชนท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคำ�นึงถึง หลักเกณฑ์การอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ในทรัพยากรป่าชุมชน รวมทั้งพืชและสัตว์ที่ อยูอ่ าศัยบริเวณป่าชุมชนอย่างยัง่ ยืน ตลอดจนชุมชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีเ่ กีย่ วข้องควร เร่งดำ�เนินการขึ้นทะเบียนป่าชุมชนโคกใหญ่ให้เป็นป่าชุมชนตามกฎหมาย เพื่อประโยชน์ในการ อนุรักษ์และพัฒนาป่าชุมชนต่อไป คำ�สำ�คัญ : การมีส่วนร่วม,ป่าชุมชน Abstract Nowadays, there are 8,497 villages with 7,856 community forest projects in Thailand and the overall registered area covering 3,258,233 rai and 96 square wa. The Northeast has the second large area after the North; however, Mahasarakham province was considered having the smallest area in the northeast region while the Koke Yai Community Forest in Wapeepathum, Mahasarakham was the largest area community forest in the province. Nevertheless, the dynamic in developing and reserving the Koke Yai Community Forest still faced the problems in lacking of the serious cooperation from community and the local government organizations; thus, there were land invasion and forest resource competition between local people and investors. This research aimed to investigate the laws using in managing forest resource by relying community participation and local government organizations. This study used the qualitative research including of the filed survey at the Koke Yai Community Forest, Wapeepathum, Mahasarakham by interviewing concern people and collecting opinion. From the study, it revealed that the legal standard in managing forest resource had


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 65

been separated in regulating and it resulted in inadequate law using. The dynamic of legal using regarding the forest resource lacked of its efficiency and clarity such as the different definitions of “forest” The law mainly supported the role of the local government organizations rather than protecting the forest resource. Defining the policy and drafting the development plan lacked of participation from people in the community. The Koke Yai Community Forest had not been registered as the community forest at the Community Forrest Management Office as the Department of Natural Resource specified and the reserved and use forest areas did not clearly separated. From the mentioned conditions and problems, it caused unity lacking in developing and reserving the Koke Yai Community Forest. Thus, to solve these problems, it was suggested that community forest law should be issued specially to create benefit in resource management with the participation between government, community, local community, and old local community efficiently by concerning the standard of reserving, developing, improving and utilizing the community forest benefiting to plants and animals living in the community forest sustainably. Moreover, the concerned community and the local government organizations should mobilize the community forest registration process to have the legal community forest status for the benefit of reserving and developing the community forest. Keywords : Participation, Community Forest 1.1 บทนำ� ระบบนิเวศและความหลากหลาย ทางชี ว ภาพในประเทศไทยเสื่ อ มโทรมอย่ า ง รวดเร็ว  ที่รัฐบาลไทยมีนโยบายเร่งรัดพัฒนา เศรษฐกิจบนฐานรวมศูนย์อำ�นาจการจัดการ ทรัพยากรเพื่อสร้างความมั่งคั่งให้แก่ประเทศ ตามแนวทางทีป่ ระเทศตะวันตกและองค์กรข้าม ชาติ เช่น ธนาคารโลก องค์การอาหารและ เกษตรแห่งสหประชาชาติ และอืน่ ๆ ได้วางแผน ไว้ ตามทฤษฎีระบบโลกทีป่ ระเทศไทยถูกจัดวาง

ให้ เ ป็ น ประเทศชายขอบที่ ถู ก กำ � หนดให้ ผ ลิ ต สินค้าปฐมภูมิจากฐานทรัพยากรธรรมชาติเพื่อ ป้อนให้แก่กลุ่มประเทศแกนกลางทุนนิยมโลก และเปิดตลาดให้กบั สินค้าของประเทศเหล่านัน้ ส่งผลกระทบตามมาหลายด้าน สำ�หรับในด้าน พื้นที่ป่า ในปัจจุบันเนื้อที่ป่าไม้ในประเทศไทย ที่ มี ก ารสำ � รวจในปี พ.ศ.2550 มี เ นื้ อ ที่ 171,585.65 ตารางกิโลเมตร หรือ 33.44 เปอร์เซ็นต์ ของเนื้อที่ทั้งหมดของประเทศ ลด ลงจากปี พ.ศ.2504 ซึ่งมีเนื้อที่ 273,629


66 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ตารางกิโลเมตร หรือ 53.33 เปอร์เซ็นต์ เมื่อ เปรียบเทียบแล้วเนื้อที่ป่าลดลงร้อยละ 37.3 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ป่าไม้ที่เคยมีในปี พ.ศ. 2504 (สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์.2548 : 133) จากความเสื่อมโทรมของป่าและระบบนิเวศ ต่างๆ ทำ�ให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง อย่างรวดเร็ว ทำ�ให้เกิดแนวคิดการจัดการดูแล ป่าที่หลากหลายรูปแบบ “ป่าชุมชน” ก็เป็นอีก หนึ่งรูปแบบของการจัดการป่าโดยชุมชนเข้ามา มีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรป่าตามวิถี และวัฒนธรรมของชุมชนที่ต้องอาศัยป่าในการ ดำ�รงชีพ ประโยชน์ของป่าชุมชนจึงมีหลากหลาย ตั้งแต่การอนุรักษ์ ดิน น้ำ� รักษาสมดุลของ ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น แหล่ ง พื ช สมุนไพรหลายชนิด และเป็นแหล่งกำ�เนิดของ วัตถุดิบของการผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน ตลอด จนเครือ่ งใช้ไม้สอยทีจ่ �ำ เป็นต่อการดำ�รงชีพ รวม ถึงเป็นแหล่งอาหารธรรมชาติสำ�หรับบริโภค เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยและแหล่งอาหารของสัตว์ปา่ และ แมลงต่างๆ นอกจากนี้ ช าวบ้ านในชุ ม ชนยั ง สามารถเก็บรวบรวมของป่าขายเพื่อเป็นรายได้ เสริมให้แก่ครอบครัว และการจัดการป่าร่วมกัน ของคนในชุมชนยังก่อให้เกิดการเรียนรู้เพื่ออยู่ ร่วมกันระหว่างคนกับป่าและคนในชุมชนอีก ด้ ว ย (กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อม.2553 : 3)

เนือ่ งและยัง่ ยืน เป็นป่าทีป่ ระชาชนเข้าไปใช้สอย ตามวิถีชีวิตของคนทุกคนในชุมชนนั้น ทั้งเรื่อง การทำ � มาหากิ น ระบบครอบครั ว เครื อ ญาติ ประเพณีความเชื่อ อำ�นาจและกฎระเบียบใน ชุมชน ป่าชุมชนจึงมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับ ลักษณะภูมินิเวศ และวัฒนธรรม ประเพณีของ ชุมชนในท้องถิ่น ป่าชุมชนจึงถือได้ว่าเป็นหนึ่ง ในฐานทรัพยากรธรรมชาติที่สำ�คัญ โดยเฉพาะ การเป็นที่มาของทรัพยากรอาหาร (food resource) ให้แก่ชมุ ชนในประเทศตัง้ แต่อดีตจนถึง ในปัจจุบนั ประเทศไทยเริม่ เห็นความสำ�คัญของ ความมัน่ คงทางอาหาร (food security) อันเป็น หนึง่ ในการสร้างความมัน่ คงของมนุษย์ (human security) และได้บรรจุแนวคิดนีไ้ ว้ในยุทธศาสตร์ การพั ฒนาบนความหลากหลายทางชี ว ภาพ (biodiversity) และการสร้างความมั่นคงของ ฐานทรั พ ยากรและสิ่ ง แวดล้ อ ม ภายใต้ แ ผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) จาก ในอดี ต ที่ อ งค์ ก ารอาหารและเกษตรแห่ ง สหประชาชาติ (FAO) ออกมาให้นยิ ามป่าชุมชน หรือวนศาสตร์ชุมชน (community forest หรือ social forestry) ว่าหมายถึง “สภาพการณ์ใดๆ ก็ ต ามที่ ใ ห้ ค นท้ อ งถิ่ น เข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มใน กิจกรรมที่เกี่ยวกับป่าไม้” ยังคงถือเป็นนิยามที่ กว้ า ง เพราะเท่ า ที่ ผ่ า นมาการมี ส่ ว นร่ ว มใน ทรั พ ยากรป่ า ไม้ โ ดยทั่ ว ไปต่ า งดำ � เนิ น ไปเพื่ อ ป่าชุมชน ในความหมายอย่างกว้าง ประโยชน์ของป่ามากกว่าประโยชน์ของคน ภาย จึงหมายถึง พื้นที่ป่าไม้ที่ได้รับการจัดการโดย หลังแนวคิดดังกล่าวเริ่มได้รับการยอมรับอย่าง กระบวนการมี ส่ ว นร่ ว มจากประชาชน และ แพร่หลายในเวทีการประชุมการป่าไม้ ครั้งที่ 8 องค์กรชุมชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม ตาม ณ กรุงจาการ์ตา ภายใต้หัวข้อการป่าไม้เพื่อ ความเชือ่ และวัฒนธรรมท้องถิน่ เพือ่ ประโยชน์ที่ ประชาชน (Forestry for People) และมีส่วน สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนอย่างต่อ ร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เป็นเรือ่ งทีก่ ล่าวถึงมากและได้รบั การยอมรับใน


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 67

เวที ร ะหว่ า งประเทศ (สมศั ก ดิ์ สุ ข วงศ์ . 2550:40-42) จนกระทั่ ง เมื่ อ ไม่ น านมานี้ สมัชชาสหประชาชาติได้รับรอง ‘ปฏิญญาว่า ด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม’ เนื้อหาที่ ปฏิญญาฉบับนี้กล่าวถึงผู้คนในชุมชนทั้งหลาย ทีอ่ งิ อาศัยฐานทรัพยากรต้องประสบและลุกขึน้ มาเรียกร้องจากผู้มีอำ�นาจในสังคม สำ�หรับ ประเทศไทย การต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิเพื่อ เข้าไปจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (องค์การ สหประชาชาติ ป ระจำ � ประเทศไทย และ สำ�นักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่ง ชาติ. 2554 :15) ถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานตาม รัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขบวนการป่า ชุมชนของประชาชน ที่ได้เรียกร้องให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ รวมศูนย์โดยรัฐ มาเป็นการจัดการที่ให้ชุมชน และประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วม โดยแนวคิดเรือ่ ง ป่าชุมชนมีความเกี่ยวข้องกับแนวคิดเรื่องสิทธิ ชุ ม ชนและการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ (Community Rights and Natural Resource) ทีเ่ ริม่ ปรากฏให้เห็นภาพชัดเจนในปี พ.ศ. 2532 (สำ�นักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ. 2545) และขยายไปสู่ ท รั พ ยากรด้ า นอื่ น ๆ อย่างไรก็ตาม การที่ประชาชนจะได้มาซึ่งสิทธิ ที่กำ�หนดไว้ในรัฐธรรมนูญก็ต่อเมื่อมีการออก กฎหมายเพื่อรับรองสิทธิดังกล่าว ปั จ จุ บั น มี โ ครงการป่ า ชุ ม ชนทั้ ง ประเทศจำ � นวน 8,497 หมู่ บ้ า น 7,856 โครงการ รวมป่ า ชุ ม ชนที่ ไ ด้ ขึ้ น ทะเบี ย นทั้ ง ประเทศ จำ�นวน 3,258,233 ไร่ 96 ตารางวา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ป่าชุมชน มากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากภาค เหนือ โดยโครงการป่าชุมชนในภาคตะวันออก

เฉียงเหนือ มีจำ�นวน 4,133 หมู่บ้าน 3,687 โครงการ รวมป่าชุมชนที่ได้ขึ้นทะเบียนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จำ�นวน 1,038,040 ไร่ 3 งาน 74 ตารางวา และจากจำ�นวนทั้งหมด แบ่ ง เป็ น จั ง หวั ด มหาสารคาม จำ � นวน 180 หมูบ่ า้ น 178 โครงการ แยกเป็นทีไ่ ด้ขนึ้ ทะเบียน ในเขตป่าสงวน จำ�นวน 19,896 ไร่ 20 ตาราง วา และที่ ไ ด้ ขึ้ น ทะเบี ย นในเขตป่ า พระราช บัญญัติป่าไม้ จำ�นวน 7,713 ไร่ 2 งาน 28 ตารางวา รวมป่ า ชุ ม ชนที่ ไ ด้ ขึ้ น ทะเบี ย นใน จังหวัดมหาสารคาม มีจำ�นวนทั้งสิ้น 27,609 ไร่ 2 งาน 48 ตารางวา ตามตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการอนุมัติโครงการป่าชุมชน ปี พ.ศ. 2543 – 2555 ภาค

จำ�นวน

รวมเนื้อที่

หมู่บ้าน

โครงการ

ไร่

งาน

ต.ร.ว

ภาคเหนือ

2,595

2,496

1,653,032

3

28

ภาคตะวัน ออกเฉียง เหนือ

4,133

3,687

1,038,040

3

74

ภาคกลาง

1,031

937

407,926

1

45

ภาคใต้

738

736

159,233

0

49

รวมทั้ง ประเทศ

8,497

7,856

3,258,233

0

96

ข้อมูล สำ�นักงานจัดการป่าชุมชน , วันที่ 25 มิถุนายน 2555

สำ�หรับจังหวัดมหาสารคามถือเป็น จังหวัดที่มีพื้นที่ป่าธรรมชาติน้อยที่สุดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย แม้จะมี ป่าชุมชนอยูห่ ลายแห่ง เช่น ป่าชุมชนดงใหญ่ ป่า ชุมชนโคกสูง ป่าชุมชนโคกหินลาด แต่ป่าโคก ใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม นับ เ ป็ น ป่ า ชุ ม ช น ผื น ใ ห ญ่ ที่ สุ ด ข อ ง จั ง ห วั ด มหาสารคาม มีสภาพเป็นป่าเบญจพรรณ หรือ


68 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ป่าเต็งรัง ประกอบด้วยป่าโคกต่างๆ ได้แก่ โคก หนองโจด โคกดอนหัน โคกแปะ โคกดงใหญ่ โคกผีป่าหลอก ซึ่งในอดีตสภาพป่าโคกใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม เป็นป่าไม้ ทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทัง้ ใน เรื่องพันธุ์ไม้ สมุนไพรและสัตว์ป่า โดยก่อนปี พ.ศ.2504 มีพนื้ ทีป่ า่ ประมาณ  8,000 ไร่  (ธีร ดา นามให. 2549:2) แต่เนื่องจากการลักลอบ ตัดไม้ บุกรุกแผ้วถางพื้นที่ป่าต้นน้ำ�ลำ�ธารเพื่อ ทำ�ไร่เลือ่ นลอย การเผาป่าโดยขาดจิตสำ�นึกและ ความรับผิดชอบ การแสวงหาที่ดินในพื้นที่ป่า ชุมชนเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจ ทำ�ให้สภาพ พื้นที่ป่าชุมชนโคกใหญ่ จนในปี พ.ศ. 2518 -2534 ป่ า โคกใหญ่ มี จำ � นวนลดลงเหลื อ ประมาณ 4,266 ไร่ และจากการสำ�รวจในปี พ.ศ.2552 ของสำ � นั ก งานป่ า ไม้ จั ง หวั ด มหาสารคาม พบว่าในปัจจุบนั ป่าชุมชนโคกใหญ่ เหลือป่าส่วนที่สมบูรณ์ประมาณ 2,132 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 5 ตำ�บล 19 หมู่บ้าน โดยแบ่ง เป็ น ชุ ม ชนที่ อ าศั ย อยู่ ร อบป่ า ชุ ม ชนโคกใหญ่ จำ�นวน 14 หมูบ่ า้ น คือ ตำ�บลแคน มี 6 หมูบ่ า้ น คือ บ้านตำ�แย บ้านแวงชัย บ้านโคกสะอาด บ้าน โคกกลาง บ้านเขวาค้อ บ้านหนองโจด ตำ�บล หนองหวาย มี 2 หมู่บ้าน คือ บ้านหนองโง้ง บ้านหนองมะแซว ตำ�บลหนองแสง มี 2 หมูบ่ า้ น คือ บ้านโสกยาง บ้านหนองเดิ่น ตำ�บลโคกสี ทองหลาง มี 2 หมู่บ้าน คือ บ้านโคกแปะ บ้าน บูรพาพัฒนา ตำ�บลหนองใหญ่ มี 2 หมูบ่ า้ น คือ บ้านดอนหัน และบ้านเจริญพัฒนา (สาวตรี สุข ศรี. 2554 : 2) ผู้นำ�ชุมชนจึงเล็งเห็นถึงความ สำ�คัญของปัญหาที่จะเกิดขึ้นต่อพื้นที่ป่าและ ผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่น จึงได้เกิดความคิด ที่จะพัฒนาป่าชุมชนดังกล่าวให้กลับมีสภาพ

สมบูรณ์ ในปี พ.ศ.2535 จึงมีการรวมตัวจัดตั้ง คณะกรรมการป่าชุมชนโคกใหญ่ และได้มีการ ปรับปรุงการดำ�เนินงานอีกครัง้ ในปี พ.ศ. 2536 ภายใต้ชื่อคณะกรรมการเครือข่ายอนุรักษ์ป่า ชุมชนโคกใหญ่ โดยได้วางกฎระเบียบป่าชุมชน ภายใต้ แ นวคิ ด ในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน และได้เสนอต่อสภาตำ�บล เพื่ อ ขอความคิ ด เห็ น และดำ � เนิ น การในการ จัดการป่าชุมชนโคกใหญ่ จนกระทั่งทางจังหวัด มหาสารคามมีมติให้ป่าโคกใหญ่อยู่ในความรับ ผิ ด ชอบของสำ � นั ก งานที่ ดิ น อำ � เภอวาปี ป ทุ ม (สัมภาษณ์ พ่อบุญเรือง ยางเครือ .2555) แต่ ถึงอย่างไรกลไกในการพัฒนาและอนุรักษ์ป่า ชุมชนโคกใหญ่ยังคงมีปัญหาในการขาดการมี ส่วนร่วมอย่างจริงจังของคนในชุมชน จึงเกิดการ บุกรุกและแย่งชิงทรัพยากรป่าจากคนในชุมชน และนายทุนอย่างต่อเนือ่ ง เพราะไม่สามารถทำ� แนวเขตที่ชัดเจนระหว่างพื้นที่ป่าและพื้นที่การ ใช้ประโยชน์ของประชาชน อีกทัง้ ปล่อยให้ภาระ หลักอยูก่ บั ผูน้ �ำ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นหลัก ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมุ่งที่จะศึกษาถึงวิธี การแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยอาศัยการมีส่วน ร่วมของชุมชน ประกอบกับต้องมีมาตรการทาง กฎหมายในการควบคุมและจัดการป่าชุมชนที่ เหมาะสม สอดคล้องกับวิถีชีวิต วัฒนธรรมของ ชุมชน 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพือ่ ศึกษาปัญหาและอุปสรรค ในการจัดการดูแลป่าชุมชนของชุมชนท้องถิ่น 1.2.2 เพื่อศึกษาถึงมาตรการทาง กฎหมายที่ใช้บังคับในการดำ�เนินการจัดการ


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 69

ดูแลป่าชุมชน

จังหวัดมหาสารคาม

1.2.3 เพื่อศึกษาหาแนวทางในการ แก้ ไ ข ปรั บ ปรุ ง กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ควบคุมและจัดการป่าชุมชน

ศึกษาวิจัยระหว่าง เดือน มกราคม 2555 ถึงเดือน กันยายน 2555

1.3 สมมุติฐานของการวิจัย

1.5 ระเบียบวิธีวิจัย

ปัจจุบันการจัดการทรัพยากรป่าใน ประเทศไทยใช้กฎหมายทั่วไปหลายฉบับ เช่น พระราชบั ญ ญั ติ ป่ า ไม้ พ.ศ.2484 พระราช บัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 พระราช บัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2503 แก้ไข พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่ง ชาติ พ.ศ.2507 เป็นต้น ทำ�ให้การจัดการป่า ชุมชนเป็นไปอย่างขาดเอกภาพ ซึง่ ส่วนหนึง่ เกิด จากกฎหมายดังกล่าวส่วนใหญ่ไม่ได้คำ�นึงถึง รากฐานทางวัฒนธรรมดัง้ เดิมของชุมชนทีอ่ าศัย ป่าในการดำ�รงชีพ ส่งผลกระทบต่อชุมชนในการ ดำ�เนินการจัดการป่าชุมชนและทำ�ให้ปา่ ไม้ยงั คง ถูกบุกรุกและทำ�ลาย ดังนั้น จึงควรปรับปรุง แก้ไขกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องในการจัดการป่าชุมชน หรือถ้าจำ�เป็นก็ตอ้ งมีการตรากฎหมายป่าชุมชน เป็นการเฉพาะเพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้อง สภาวการณ์ในปัจจุบัน

1.5.1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มุ่ง รวบรวมเอกสารที่ปริวรรตแล้ว เช่น กฎหมาย คำ � สั่ ง มติ ค ณะรั ฐ มนตรี รายงานการประชุ ม บันทึก/หนังสือของทางราชการ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจยั หนังสือ ตำ�รา และวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้อง

1.4 ขอบเขตการวิจัย

1.4.1 ขอบเขตของข้อมูล

1) รวบรวมข้อมูลกฎหมาย ระเบียบ คำ � สั่ ง มติ ค ณะรั ฐ มนตรี รายงานการประชุ ม บันทึก/หนังสือของทางราชการ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิ จั ย และตำ � ราวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้อง 2) รวบรวมปั ญ หาจากพื้ น ที่ ภ าค สนาม ได้แก่ ป่าชุมชนโคกใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม

1.4.2 ขอบเขตเวลา

1.5.2 ศึกษาวิจัยภาคสนาม โดย เลือกกรณีศกึ ษาจากพืน้ ทีจ่ ริง คือ ป่าชุมชนโคก สูง อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม โดย สัมภาษณ์ผู้รู้ และผู้ที่เกี่ยวข้อง และร่วมแสดง ความคิดเห็น 1.5.3 ศึกษาวิเคราะห์ ปัญหาเกี่ยว กับการควบคุมและจัดการป่าชุมชน เพือ่ ชีป้ ญ ั หา และแสวงหาแนวทางการวางนโยบายของภาค รั ฐ ต่ อ ชุ ม ชนในการจั ด การป่ า ชุ ม ชน โดยไม่ ตัดขาดจากรากฐานทางวัฒนธรรมดั้งเดิมของ ชุมชนที่อาศัยป่าในการดำ�รงชีพ 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.6.1 ทำ�ให้ทราบถึงปัญหาตลอดจน อุปสรรค ในการจัดการดูแลป่าชุมชนของชุมชน ท้องถิ่น 1.6.2 ทำ�ให้ทราบถึงมาตรการทาง กฎหมายที่ ใ ช้ บั งคั บ และให้ สิท ธิ ชุ มชนในการ จัดการดูแลป่าชุมชน

1.6.3 ทำ � ให้ ไ ด้ แ นวทางในการ


70 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ปรั บ ปรุ ง กฎหมาย หรื อ บั ญ ญั ติ ก ฎหมายที่ โรงงานต้ ม เกลื อ ที่ ห นองบ่ อ อำ � เภอบรบื อ เกี่ยวข้องกับการจัดการดูแลป่าชุมชนเป็นการ อำ�เภอวาปีปทุม อำ�เภอนาดูน และในช่วงนี้ เฉพาะ ประชาชนที่อาศัยอยู่ริมลำ�น้ำ�เสียวก็ลุกขึ้นมา คัดค้านการทำ�นาเกลือที่หนองบ่อ เพราะผล 2. ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมชุ ม ชนป่ า กระทบที่เกิดขึ้นจากการปล่อยน้ำ�เค็มที่เกิดขึ้น ชุ ม ชนโคกใหญ่   อำ � เภอวาปี ป ทุ ม   จั ง หวั ด จากการทำ�นาเกลือของโรงงานส่งผลกระทบต่อ พืน้ ทีน่ า ทำ�ให้ขา้ วตาย เป็นผลทำ�ให้มคี �ำ สัง่ จาก มหาสารคาม รัฐบาลเพื่อยุติการทำ�อุตสาหกรรมเกลือในปี ในส่ ว นนี้ จ ะเป็ น การศึ ก ษาเพื่ อ ให้ พ.ศ. 2533 และในปี พ.ศ.2534 ผู้นำ�ชุมชน เข้าใจถึงบริบททางสังคมและสภาพป่าชุมชน ได้ท�ำ การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์การรักษาป่าไม้ โคกใหญ่ ที่ จ ะนำ � ไปวิ เ คราะห์ ใ นส่ ว นต่ อ ไป ร่วมกัน จนสามารถรวมกลุ่มกันได้ภายใต้เครือ ดังนี้ ข่ายชาวบ้านอนุรักษ์ป่าชุมชนโคกใหญ่ 2.1 สภาพปัญหาและการจัดการป่า ระยะที่ 4 ช่วงรณรงค์เพื่อการรักษา โคกใหญ่ แบ่งได้ 5 ระยะดังนี้ ป่าชุมชนร่วมกัน (พ.ศ. 2534 – 2540) โดย ระยะที่ 1 ช่ ว งป่ า มี ค วามอุ ด ม การศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับ สมบูรณ์ (ก่อน พ.ศ. 2504) เนือ้ ทีป่ า่ มีประมาณ องค์กรชาวบ้านพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ มีการจัดทำ�แนวเขต 8,000 ไร่ ในช่วงนี้ชาวบ้านมีการแผ้วถางป่า ป่าชุมชน และการพัฒนากองทุนหมุนเวียน การ เพื่อการปลูกพืชไว้กินในครัวเรือน เช่น ปลูกถั่ว ควบคุมดูแลการใช้ประโยชน์จากป่า การรณรงค์ แตง  ฝ้ า ย  เป็ น ต้ น   ไม่ มี ก ารจั บ จองพื้ น ที่ ประชาสัมพันธ์ในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากร กรรมสิทธิ์แต่อย่างใด ธรรมชาติ ร่ ว มกั น ของหมู่ บ้ า นรอบป่ า และ ระยะที่ 2 ช่วงบุกเบิกพื้นที่ป่าเพื่อ หมู่บ้านใกล้เคียง โดยการได้รับสนับสนุนจาก ปลูกพืชเศรษฐกิจ (พ.ศ. 2504 – 2518) คือ องค์กรพัฒนาเอกชนในขณะนั้น ปัจจุบันยังมี ปอกระเจา ถั่วลิสง แตงโม มันสำ�ปะหลัง ซึ่ง การสร้ า งศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น แหล่ ง สอดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒนาเศรษฐกิ จ แห่ ง ชาติ ถ่ายทอดความรูป้ ระสบการณ์แก่กลุม่ คนทีส่ นใจ ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504-2509 เป็นผลให้เขตป่า อื่นๆ ด้วย ที่เคยอุดมสมบูรณ์ถูกบุกรุกไปกว่า 3,588 ไร่ ระยะที่ 5 ช่วงแผ้วถางป่าเพื่อผล จากชาวบ้าน 243 หลังคาเรือน ต่อมานายทุน ประโยชน์เฉพาะตน (พ.ศ. 2541 – 2555) เมือ่ เข้ า มากว้ า นซื้ อ พื้ น ที่ เ พื่ อ ปลู ก อ้ อ ยและยู ค า มีนโยบายแปลงสินทรัพย์เป็นทุนของรัฐ การ ลิปตัส จึงได้สร้างปัญหาหนักขึ้นเพราะเป็นพืช เข้าไปตัดไม้ แผ้วถางป่าจึงเกิดขึ้นอีก และบาง ที่ทำ�ให้ดินในป่าเสื่อมโทรม รายมีการซือ้ ขายในราคาทีส่ งู พอสมควร ซึง่ เป็น ระยะที่ 3 ช่ ว งตั ด ไม้ ฟื น เพื่ อ ประเด็นปัญหาที่กำ�ลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน คือ อุตสาหกรรมเกลือ (พ.ศ. 2518 - 2534) ให้แก่ เจ้าของที่ดินมีการตัดไม้ขายและต้องการขาย


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 71

ที่ดินด้วย อีกทั้งการดำ�เนินงานของเครือข่าย อนุ รั ก ษ์ ป่ า ในปั จ จุ บั น ไม่ เ ข้ ม แข็ ง เหมื อ นเดิ ม เพราะปัจจัยหลายอย่าง เช่น การเมืองท้องถิน่ ทีม่ กี ารแข่งขันสูงส่งผลให้เกิดความขัดแย้ง, การ สนับสนุนกิจกรรมก็ไม่ตอ่ เนือ่ ง, ให้ความสำ�คัญ กับองค์กรภาคประชาชนลดลง และงบประมาณ ในการสนั บ สนุ น การดำ � เนิ น งานของภาค ประชาชนก็ลดลงด้วย (ชูพักตร์ สุทธิสา และ คณะ.2545 : 8 -10) 2.2 การบังคับใช้สิทธิชุมชน และปัจจัยที่เอื้อ ให้ชมุ ชนสามารถใช้สทิ ธิได้ แบ่งได้ 2 กรณีดงั นี้

พัฒนาเศรษฐกิจต่างๆ เข้ามาก็สนับสนุนให้คน เข้าบุกเบิกแผ้วถางปลูกพืชเศรษฐกิจ ฉะนัน้ เมือ่ ชาวบ้านรวมตัวกันเพื่อปกป้องดูแลพื้นป่าของ พวกเขาเองตามวิ ถี ช าวบ้ า น ปั ญ หาต่ า งๆ เหมือนดังเช่นกรณีพื้นที่อื่น อาทิ ขัดแย้งกับผู้ ดู แ ลป่ า จากภาครั ฐ รั ฐ ไม่ ยิ น ยอมให้ ใ ช้ ก ฎ ระเบียบป่า รัฐไม่รับรองในความเป็นป่าชุมชน รัฐไม่รับรองหรือไม่ยอมรับการใช้ “สิทธิชุมชน” ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือกระทัง่ ปัญหาการ แย่งยิง่ ทรัพยากรระหว่างชุมชนกับรัฐ แต่ปญ ั หา สำ�คัญของป่าโคกใหญ่กบั กลายเป็นว่า รัฐปล่อย ให้ประชาชนดูแลกันโดยลำ�พังมากเกินไป ไม่ สนใจช่วยเหลือ สนับสนุน หรือให้คำ�ปรึกษา รวมทั้งยังต้องโดนข่มขู่ทำ�ร้ายจากนายทุน นัก ธุรกิจทีม่ คี วามสัมพันธ์ใกล้ชดิ กับคนของรัฐ แต่ ถึงอย่างไร พบว่า ชาวบ้านเคยเดินทางไปยื่น หนังสือเรียกร้องที่ส่วนกลางให้รัฐผลักดันพระ ราชบั ญ ญั ติ ป่ า ชุ ม ชนออกมาให้ ไ ด้ และต้ อ ง ยอมรั บ ให้ โ คกใหญ่ เ ป็ น ป่ า ชุ ม ชน รวมทั้ ง ยั ง พยายามประสานงานกับภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้องจาก พืน้ ทีอ่ นื่ ๆ มาให้ความรูเ้ กีย่ วกับป่าชุมชนกับชาว บ้านอยู่เสมอ

2.2.1 แนวคิดพืน้ ฐานในการใช้สทิ ธิ จั ด การดู แ ลป่ า สิ ท ธิ ใ นการจั ด การดู แ ล ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ถือเป็น สิ ท ธิ ต ามธรรมชาติ ข องชาวบ้ า นที่ มี วิ ถี ชี วิ ต ผูกพันอยู่กับการใช้ประโยชน์จากป่า และถือ เป็นเรื่องปกติที่ชุมชนที่เห็นความสำ�คัญของป่า นั้น จะลุกขึ้นมาปกป้องป่าเอง เมื่อเห็นว่าไม่ สามารถคอยพึง่ พารัฐให้เข้ามาช่วยดูแลรักษาป่า ได้ สำ � หรั บ กรณี ป่ า โคกใหญ่ นั้ น การทำ � งาน อนุ รั ก ษ์ ที่ ผ่ า นมายั ง ไม่ เ คยมี ก ารอ้ า งใช้ สิ ท ธิ ชุมชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ อีกทั้งเรื่องดัง กล่าวก็ยังไม่เป็นที่รับรู้หรือเข้าใจมากนักในหมู่ 2.3 ปัญหาในการจัดป่าชุมชนโคกใหญ่ตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 4 กรณีดังนี้ ชาวบ้านเอง 2.3.1 ปัญหาทีต่ วั ชาวบ้านเอง กล่าว 2.2.2 วิธกี ารให้ได้มาซึง่ สิทธิในการ คื อ ชาวบ้ า นจำ �นวนหนึง่ ยังไม่คอ่ ยเข้าใจและไม่ จัดการดูแลป่า สำ�หรับกรณีการใช้สิทธิในการ ดูแลทรัพยากรของชุมชนรอบป่าโคกใหญ่นั้น มั่นใจในการดำ�เนินงานของคณะกรรมการดูแล จนถึงปัจจุบนั นับว่ายังไม่ประสบความสำ�เร็จเท่า ป่า

2.3.2 ปัญหาที่ตัวคณะกรรมการฯ ที่ควร เพราะภาครัฐไม่ค่อยให้ความสนใจหรือ สนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ โดยรั ฐ มองว่ า เป็ น ที่ ดิ น ทัง้ นีป้ รากฏว่าคณะกรรมการฯ ทีท่ �ำ งานจริงจัง สาธารณะประโยชน์ ประกอบกับมีโครงการ มีเฉพาะผู้นำ�ไม่กี่คนเท่านั้น ซึ่งมาจากสาเหตุที่


72 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ผู้ นำ � ชุ ม ชนบางคนมี ธุ ร กิ จ การตั ด ไม้ เ สี ย เอง ย่อมส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของชาว บ้านในชุมชนเหล่านัน้ เอง ในขณะเดียวกันก็เป็น ปัญหาต่อศักยภาพในการจัดการดูแลทรัพยากร ธรรมชาติ ใ ห้ ไ ด้ ผ ลอย่ า งเต็ ม ที่ เ พื่ อ ให้ ภ าครั ฐ ยอมรับการใช้สิทธิชุมชน

เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น ดังนี้ 3.1 ปัญหาเกี่ยวกับมาตรการทาง กฎหมายในการบริหารจัดการทรัพยากรป่า ดังนี้

3.1.1 กฎหมายมี ก ารแยกส่ ว น บริหารจัดการ พบว่า สาเหตุหลักที่ทำ�ให้ขาด 2.3.3 ปัญหาจากภาครัฐ กล่าวคือ ศักยภาพในการบังคับใช้กฎหมาย คือ มีหน่วย ไม่ให้ความสนใจร่วมกับภาคประชาชนในการ งานที่เกี่ยวข้องหลายหน่วยงาน ได้แก่ กรมป่า ดูแลทรัพยากร รวมทัง้ ไม่มคี วามพยายามทำ�ให้ ไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช เกิดความชัดเจนว่าในทีส่ ดุ แล้วพืน้ ทีป่ า่ โคกใหญ่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นี้ เป็นเพียงที่สาธารณะประโยชน์ เป็นป่าหรือ ซึง่ เป็นราชการระดับกรมทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ มาใหม่ โดย ว่าเป็นป่าชุมชน นอกจากนี้ จนถึงปัจจุบันก็ แยกภารกิจออกจากกรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร ยังไม่มีความชัดเจนในเรื่องของแนวเขตของป่า และสหกรณ์ ตามการปฏิรูประบบการบริหาร โคกใหญ่ กับเขตซึ่งเป็นพื้นทำ�กิน เป็นผลให้มี ราชการแผ่นดินส่วนกลางในปี พ.ศ.2545 มี การบุกรุกพื้นที่ป่าอยู่ตลอดเวลา อำ�นาจหน้าทีโ่ ดยตรงในการควบคุม กำ�กับ ดูแล 2.3.4 ปั ญ หาการขาดองค์ ก ร ป้องกัน การบุกรุก ทำ�ลายป่า และการทำ�ผิด ภายนอกที่ จ ะเข้ า มามี ส่ ว นในการส่ ง เสริ ม กฎหมายว่ า ด้ ว ยอุ ท ยานแห่ ง ชาติ การตรา สนับสนุนกิจกรรม หรือโครงการต่างๆ เกี่ยว กฎหมายจึงเป็นการตอบสนองวัตถุประสงค์ดา้ น กับการอนุรักษ์ป่า องค์กรภายนอกในที่นี้อาจ ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละด้านเฉพาะกรณี หมายถึง หน่วยงานด้านการศึกษาที่จะเข้ามา มิได้ตรากฎหมายเพือ่ การคุม้ ครองทรัพยากรป่า ช่วยให้ขอ้ มูลความรูท้ รี่ อบด้านไม่วา่ จะเป็นสิทธิ ไม้ในภาพรวมอย่างมีระบบที่ชัดเจน และขาด ชุ ม ชน กฎหมายที่ เ กี่ ยวข้ อ ง ยุ ท ธวิ ธี ใ นการ ความเชื่อมโยงกัน ทำ�ให้เกิดความซ้ำ�ซ้อนของ เคลื่อนไหว การเรียกร้องสิทธิต่างๆ เป็นต้น กฎหมายและการใช้อำ�นาจหน้าที่ของพนักงาน เจ้าหน้าที่ การที่มีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ 3.ปัญหาทางกฎหมายในการเข้ามามีสว่ นร่วม ดูแลปัญหาเดียวกันภายใต้อำ�นาจหน้าที่ตาม ของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใน กฎหมายเฉพาะ จึงเกิดปัญหาต่อแนวนโยบาย และการบริหารจัดการที่แตกต่าง รวมทั้งการ จัดการป่าชุมชน ประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แม้ ในส่วนนี้ จะเป็นการวิเคราะห์ถึง ในปัจจุบันจะมีการจัดตั้งกระทรวงทรัพยากร ภาพรวมเกีย่ วกับมาตรการทางกฎหมายในการ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมขึ้นมาก็ตาม อีกทั้ง บริหารจัดการทรัพยากรป่า เพื่อจะนำ�เสนอให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็มิได้อยู่ภายใต้ การกำ�กับ ดูแล ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 73

และสิง่ แวดล้อมโดยตรงแต่อย่างใด ทำ�ให้บริหาร จั ด การป่ า ชุ ม ชนโคกใหญ่ อำ � เภอวาปี ป ทุ ม จังหวัดมหาสารคาม ขาดการมีส่วนร่วมจาก องค์กรปกครองส่วนท้องในการจัดการบริหาร ทรัพยากรธรรมป่าไม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ ป่า พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. 3.1.2 กลไกการบังคับใช้กฎหมาย 2535 บางกรณีก็ไม่สามารถดำ�เนินการได้ตาม ขาดประสิทธิภาพ พบว่า กฎหมายป่าชุมชนที่ วัตถุประสงค์หรือเจตนารมณ์ ส่งผลให้ผู้บังคับ ดี ควรมีมาตรการส่งเสริมการดำ�เนินการสำ�หรับ ใช้กฎหมายและผูท้ ตี่ อ้ งปฏิบตั ติ ามกฎหมายเกิด ประชาชนและชุมชน ชุมชนท้องถิ่น ชุมชนท้อง ความสับสนและเข้าใจผิด จนบางครัง้ อาจนำ�ไป ถิน่ ดัง่ เดิม ทีช่ ดั เจนครอบคลุมทุกขัน้ ตอน ตัง้ แต่ สู่ ค วามขั ด แย้ ง ของพนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ กั บ การวางแผนการใช้ ท รั พ ยากรป่ า ไม้ การขอ ประชาชนในท้องถิน่ หรือชุมชนได้ เช่น กรณีของ อนุญาต การจัดการแก้ไขปัญหา การติดตาม ชุมชนทีต่ อ้ งอาศัยการดำ�รงชีพจากทรัพยากรใน ตรวจสอบ มาตรการป้องกัน รวมทั้งการชดใช้ ป่ าชุ ม ชนโคกใหญ่ อำ � เภอวาปี ป ทุ ม จั งหวั ด ค่าเสียหายที่เหมาะสม ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มี มหาสารคาม ที่ ไ ม่ เ คารพกฎเกณฑ์ ต ามที่ กฎหมายฉบั บ ใดที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห าร กฎหมายบัญญัติ ในเรื่องการหาอาหาร การใช้ จั ด การทรั พ ยากรป่ า ไม้ มี บั ญ ญั ติ ไ ว้ อ ย่ า ง พื้นที่ทำ�กินในป่า เช่น การตัดฟืน เผาถ่านขาย ครอบคลุมและชัดเจนในเรือ่ งดังกล่าวมาทัง้ หมด เก็บหาของป่า ทำ�ให้เกิดข้อพิพาทกับรัฐหรือ ทัง้ นีย้ งั อีกพบว่ากฎหมายส่วนใหญ่ เช่นพระราช องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง บั ญ ญั ติ ป่ า ไม้ พุ ท ธศั ก ราช 2484 พระราช 3.2 ปัญหาทางกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง บัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 พระราช กั บ การจั ด การป่ า ชุ ม ชนและร่ า งพระราช บัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 พระราช บัญญัติป่าชุมชน มีดังนี้ บัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 3.2.1 ปัญหาเกี่ยวกับ นิยามคำ�ว่า พระราชบั ญ ญั ติ ส วนป่ า   พ.ศ.2535  จะมี “ป่า” และ “ที่ดิน” ที่แตกต่างกัน พบว่า คำ�ว่า มาตรการในการแก้ไขปัญหามากกว่าการส่ง “ป่า” ตามพระราชบัญญัตปิ า่ ไม้ พ.ศ.2484 อาจ เสริ ม หรื อ ป้ อ งกั น และเนื้ อ หาส่ ว นใหญ่ มี ไม่จำ�เป็นต้องมี “ป่า” ในสภาพมีอยู่จริง ตราบ ลักษณะเป็นการควบคุมและสัง่ การ รวมทัง้ มีขอ้ ใดที่บริเวณดังกล่าวเป็นที่ดินที่บุคคลยังไม่ได้ กำ�หนดห้ามมิให้ประชาชนกระทำ � การต่ างๆ กรรมสิทธิต์ ามกฎหมายทีด่ นิ ซึง่ ทีด่ นิ ทีย่ งั มิได้มี พร้อมทัง้ กำ�หนดโทษทัง้ ทางแพ่งและทางอาญา บุคคลได้มาตามกฎหมายที่ดิน รวมถึงที่ดินที่ ไว้เพื่อลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืนกฎหมายดังกล่าว ไม่มกี ารออกเอกสารสิทธิทดี่ นิ ซึง่ หมายถึงทีด่ นิ 3.1.3 กฎหมายลำ � ดั บ รองไม่ รกร้างว่างเปล่า คือ พืน้ ทีป่ า่ และในระยะต่อมา สอดคล้องกับการจัดการทรัพยากรป่า พบว่า คำ � นิ ย ามนี้ ยั ง คงได้ รั บ การบั ญ ญั ติ เ อาไว้ ใ น กฎกระทรวง ทีอ่ อกตามความในพระราชบัญญัติ กฎหมายเกี่ยวกับป่าไม้ฉบับอื่น เช่น ป่าสงวน


74 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

แห่งชาติ พ.ศ.2507 ได้ให้นิยาม คำ�ว่า “ป่า” หมายความว่า ที่ดินรวมตลอดถึง ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำ�น้ำ� ทะเลสาบ เกาะ และที่ ช ายทะเลที่ ยั ง มิ ไ ด้ มี บุ ค คลได้ ม าตาม กฎหมาย” ด้วยการนิยามแบบกว้างเช่นนี้ จึงส่ง ผลให้พนื้ ทีป่ า่ ทุกแห่ง รวมถึงป่าโคกใหญ่ อำ�เภอ วาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ที่มีชุมชนตั้ง รกรากถิ่นฐาน ทั้งที่อยู่อาศัย พื้นที่ทำ�กินในเขต ป่า แต่ไม่มเี อกสารสิทธิต์ อ้ งตกอยูใ่ นพืน้ ทีป่ า่ ไป โดยปริยาย ด้วยเหตุนไี้ ม่วา่ ชุมชนทีอ่ าศัยอยูร่ อบ ป่าโคกใหญ่จะตั้งถิ่นฐานและทำ�กินมาก่อนการ ประกาศเขตป่า แต่ถา้ ชุมชนนัน้ ตกหล่นจากการ สำ � รวจไม่ ไ ด้ รั บ เอกสารสิ ท ธิ ที่ ดิ น ทั้ ง ที่ ทำ � ประโยชน์ ม าก่ อ น ทำ � ให้ ที่ ดิ น ที่ ชุ ม ชนทำ � ประโยชน์กลายเป็นพืน้ ทีป่ า่ ตามทีร่ ฐั ประกาศให้ เป็นเขตป่าแต่ละประเภทได้ และจากการศึกษา ต่อไปยังพบว่าในเขตพืน้ ทีป่ า่ ชุมชนโคกใหญ่ ยัง มิได้มกี ารพิสจู น์สทิ ธิการครอบครองทีท่ �ำ กินใน พืน้ ทีป่ า่ ชุมชนโคกใหญ่อย่างชัดเจน จึงทำ�ให้เกิด ความไม่ชัดเจนว่าแนวเขตตรงไหนเป็นพื้นที่ป่า และแนวเขตตรงไหนเป็ น พื้ น ที่ ทำ � กิ น ของ ประชาชนในท้องถิ่น โดยเฉพาะในเขตหัวไร่ ปลายนา ทำ�ให้เกิดการบุกรุกป่าโคกใหญ่อย่าง ต่อเนื่อง

ตรวจพิจารณาแล้ว ดังนี้ 1) การจัดตั้งป่าชุมชนในเขตป่า อนุรกั ษ์ พบว่า ชุมชนทีไ่ ม่มสี ทิ ธิตามมาตรา 25 อาจเป็นชุมชนทีอ่ ยูช่ ายเขตป่าอนุรกั ษ์แต่ยงั ดูแล จัดการป่าชุมชนที่อยู่ในเขตป่า อนุรักษ์เรื่อยมา และบางชุมชนได้ดูแลป่ามาก่อนการประกาศ เป็นป่าอนุรกั ษ์ แต่หลังจากทีก่ ฎหมายป่าชุมชน มีผลใช้บังคับกฎหมายจะตัดสิทธิชุมชนเหล่านี้ อย่างสิ้นเชิงชุมชนจะไม่มี สิทธิดูแลจัดการป่า ชุมชนที่เคยดูแลอยู่อีกต่อไป

2) ปัญหาการยื่นคำ�ขอจัดการป่า ชุมชน พบว่า กฎหมายป่าชุมชนดังกล่าวให้สทิ ธิ ชุ ม ชนเพี ยงการ “ยื่ น คำ � ขอจั ดตั้ ง” ป่ า ชุ มชน เท่านั้น แต่ชุมชนจะได้สิทธิ “การจัดการป่า ชุมชน” หรือไม่ยงั ต้องผ่านการพิจารณาคัดกรอง อย่างเข้มงวดหลายขั้นตอนจากคณะกรรมการ ป่าชุมชนประจำ�จังหวัดที่มีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็ น ประธานและคณะกรรมการนโยบายป่ า ชุมชนระดับชาติที่มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น ประธาน ทำ�ให้อ�ำ นาจการพิจารณาอนุมตั ขิ นึ้ อยู่ กั บ ภาครั ฐ ทั้ ง สิ้ น และเมื่ อ เชื่ อ มั่ น ได้ ว่ า เป็ น “ชุมชนทีด่ ”ี เป็นชุมชนทีร่ กั ษาป่าและอนุญาตให้ จัดตั้งป่าชุมชนได้แล้ว กฎหมายจะอนุญาตให้ ชุมชนเก็บหา “ของป่า” ได้ตามกฎระเบียบที่ 3.2.2 ปัญหาเกี่ยวกับร่างพระราช กฎหมายกำ�หนด แต่สำ�หรับ “ไม้” ชุมชนมีสิทธิ ใช้เฉพาะไม้ไผ่และไม้ฝืนเท่านั้น ส่วนไม้อื่นๆ บัญญัติป่าชุมชน มีสาระสำ�คัญดังนี้ ห้ ในส่วนนี้เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับ ามแตะต้องเด็ดขาด จากการศึกษาต่อไปพบ ร่างพระราชบัญญัตปิ า่ ชุมชน พ.ศ.....ซึง่ เป็นฉบับ ว่าข้อกำ�หนดดังกล่าวอยูบ่ นพืน้ ฐานความเข้าใจ ส่ ง ออกที่ สำ � นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก า ผิดว่า การใช้ประโยชน์จากไม้เท่ากับการทำ�ลาย และไม่เชื่อว่าชุมชนดูแลรักษาได้อย่างยั่งยืน ข้อ บัญญัติในมาตรา 34 จึงขัดแย้งกับวิถีชีวิตของ


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 75

ชุมชนที่ต้องพึ่งพาป่า และขัดแย้งกับความเป็น จริงที่พิสูจน์มานานจนเป็นที่ยอมรับแล้วว่ามี ชุมชนทีด่ ี ทีม่ กี ฎเกณฑ์ และภูมปิ ญ ั ญาในการใช้ ประโยชน์จากไม้โดยสามารถรักษาป่าไว้ได้อย่าง ยัง่ ยืน อีกทัง้ ในกฎหมายป่าชุมชนก็ได้มขี อ้ กำ�กับ ไว้อย่างชัดเจนว่าการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่า ชุมชน “บริเวณเพื่อการใช้สอย” ต้องใช้เพื่อ ประโยชน์ ใ ช้ ส อยในครั ว เรื อ นหรื อ กิ จ การ สาธารณะเท่านั้น ห้ามใช้เพื่อธุรกิจการค้าโดย เด็ดขาด ถ้าฝ่าฝืนมีโทษรุนแรงกว่ากฎหมายป่า ไม้ทั่วไปและถูกเพิกถอนป่าชุมชนด้วย

ออกไป สาเหตุทั้ง 3 ประการ กลายเป็น ปัญหาทางการเมืองทีส่ �ำ คัญ ซึง่ สร้างผลกระทบ โดยตรงต่อกระบวนการกำ�หนดนโยบายของรัฐ ดังนั้น ต้องสนับสนุนการประกาศใช้พระราช บัญญัติป่าชุมชนที่เน้นการกระจายอำ�นาจและ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน ชุมชนท้อง ถิ่น ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ในการพัฒนาและ อนุรักษ์ป่าไม้ร่วมกับรัฐอย่างยั่งยืน 3.3 ปัญหาทางกฎหมายในการมี ส่วนร่วมขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่น

3) ปัญหาทีม่ ผี ลต่อกระบวนการตรา 3.3.1 กฎหมายมุ่งรองรับบทบาท พระราชบัญญัติป่าชุมชน พบว่ามี 3 ประการ ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มากกว่ า ดังนี้ คุ้มครองทรัพยากรป่า จากการศึกษาพบว่า 3.1) รัฐมีลักษณะของความไม่ไว้ เจตนารมณ์ที่ตรากฎหมายขึ้นมาส่วนใหญ่เป็น วางใจที่ จ ะมอบอำ � นาจและผลประโยชน์ ที่ มี เพียงเพื่อรองรับสถานะและเสริมบทบาทของ เหนื อ ทรั พ ยากรป่ า ไม้ ใ ห้ แ ก่ ป ระชาชน จึ ง ใช้ หน่วยงานที่เสนอกฎหมายมิได้มุ่งประสงค์ที่จะ แนวทางการรวมศูนย์อ�ำ นาจการจัดการป่าไม้ไว้ กำ�หนดมาตรการที่มุ่งคุ้มครองทรัพยากรป่าไม้ ที่รัฐด้วยการออกกฎหมายและนโยบายมารอง อย่างแท้จริง แต่เป็นมาตรการที่ให้การคุ้มครอง รับอำ�นาจรัฐในการจัดการทรัพยากร ทรัพยากรไปตามสถานะและบทบาทของหน่วย 3.2) การมี แ นวคิ ด ที่ แ ตกต่ า งกั น งาน เช่น กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ ระหว่างรัฐกับประชาชนในเรือ่ งความหมายของ ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติ ป่าชุมชนและความแตกต่างของแนวคิดเรื่อง และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น แทนที่จะหามาตรการ สิทธิในการจัดการป่าชุมชน ซึ่งเป็นแนวคิดที่ขัด ทางกฎหมายที่เหมาะสมมาใช้ในการป้องกัน แย้งกันในการร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน โดย ปัญหาจากการจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างมี เป็ น ความขั ด แย้ ง ในเรื่ อ งการได้ รั บ สิ ท ธิ ก าร ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง จัดการป่าชุมชนในเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 3.3.2 การกำ�หนดนโยบายและการ 3.3) การขาดความต่ อ เนื่ อ งใน กระบวนการกำ�หนดนโยบาย อันเนื่องมาจาก สถานการณ์ทางการเมืองที่มีการเปลี่ยนแปลง รัฐบาลบ่อย ทำ�ให้การกำ�หนดนโยบายและการ ประกาศใช้กฎหมายเกิดความชะงักงันและล่าช้า

จัดทำ�แผนพัฒนาตำ�บลขาดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในท้องถิ่น จากการศึกษาพบว่า กรณี ของป่าชุมชนโคกใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัด มหาสารคาม มีพื้นที่ครอบคลุม 5 ตำ�บล 19 หมู่บ้าน โดยแบ่งเป็นชุมชนที่อาศัยอยู่รอบป่า


76 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ชุมชนโคกใหญ่จำ�นวน 14 หมู่บ้าน ทำ�ให้การ จัดการป่าชุมชนโคกใหญ่มีหน่วยงานท้องถิ่น ระดับตำ�บลหลายหน่วยงานเข้ามาเกีย่ วข้อง แต่ ไม่มีองค์การบริหารส่วนตำ�บลแห่งใดเป็น ผู้รับ ผิดชอบหลักในการประสานงานดูแลป่าชุมชน โคกใหญ่ ทำ � ให้ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำ � บลที่ เกี่ยวข้องไม่สามารถจัดทำ�แผนพัฒนาป่าชุมชน โคกใหญ่รว่ มกันได้อย่างเป็นรูปธรรม อีกทัง้ การ จัดทำ�แผนพัฒนาตำ�บลเพือ่ พัฒนาป่าชุมชนโคก ใหญ่ส่วนมากเป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าไป ดำ�เนินการช่วยเหลือ หรือก็เป็นเรื่องเฉพาะที่ กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือกรรมการบริหารส่วน ตำ�บลเป็นผู้ดำ�เนินการเท่านั้น โดยที่ประชาชน ในท้องถิน่ ไม่มสี ว่ นร่วมในการจัดทำ�แผนพัฒนา ตำ�บลแต่อย่างใด และสาเหตุที่สำ�คัญประการ หนึ่งก็คือ กฎหมายมิได้กำ�หนดหลักเกณฑ์หรือ กระบวนการมีสว่ นร่วมของประชาชนต่อการจัด ทำ�แผนพัฒนาตำ�บลอย่างชัดเจน เพียงแต่ให้ โอกาสประชาชนเป็ น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ค ณะ กรรมการบริหารตำ�บลเห็นสมควรให้เข้าร่วมใน คณะทำ � งานสนั บ สนุ น การจั ด ทำ � แผนพั ฒนา ตำ�บลเท่านั้น ซึ่งคณะทำ�งานชุดดังกล่าวจะมี หรือไม่กไ็ ด้เพราะกฎหมายไม่บงั คับ ดังนัน้ แผน พัฒนาตำ�บลจึงมิได้เกิดขึ้นจากเสียงส่วนใหญ่ ของประชาชนในท้องถิ่นที่จะสามารถเข้าร่วม วางแนวทางการพัฒนาป่าชุมชนโคกใหญ่อย่าง ยั่งยืนได้อย่างแท้จริง 3.4 ปัญหาการขาดกฎหมายที่ รองรับสิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในจัดการ ป่าชุมชน จากการศึ ก ษาพบว่ า นั บ ตั้ ง แต่ กระบวนการควบคุมดูแลการใช้ประโยชน์ การ

ขออนุญาต พร้อมทั้งกำ�หนดข้อห้ามและบท กำ�หนดโทษ เฉพาะหน่วยงานของรัฐเท่านั้นที่มี อำ�นาจหน้าที่ตามที่กล่าวมาข้างต้น ไม่มีการ อนุญาตให้ชุมชน ชุมชนท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่น ดั้งเดิม หรือประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการ จัดการทรัพยากรป่าไม้ในรูปแบบการจัดการป่า ชุมชนอย่างชัดเจนแต่อย่างใด มีเพียงพระราช บัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ที่ เปิ ด โอกาสให้ องค์ ก รพั ฒนาเอกชนเข้ า เป็ น กรรมการใน “คณะกรรมการสงวนและคุม้ ครอง สัตว์ป่าแห่งชาติ” มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับสัตว์ป่าได้มากขึ้น แต่ก็ยังไม่ชัดเจน เพียงพอต่อการเปิดโอกาสให้กับชุมชน ชุมชน ท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม หรือประชาชนใน การเข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากรป่า ในรู ป แบบของป่ า ชุ ม ชนอย่ า งชั ด เจน ตาม วัตถุประสงค์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พ.ศ.2550 มาตรา 66 และมาตรา 67 แต่ อย่างใด ทำ�ให้ชุมชนที่อยู่และอาศัยพึ่งพิงป่า ชุ ม ชนโคกใหญ่ อำ � เภอวาปี ป ทุ ม จั ง หวั ด มหาสารคาม ไม่สามารถเข้ามีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาร่วมกับภาครัฐและราชการส่วนท้อง ถิ่นได้อย่างมีเอกภาพอย่างแท้จริง 3.5 ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการป่า ชุ ม ชนโคกใหญ่ อำ � เภอวาปี ป ทุ ม จั ง หวั ด มหาสารคาม แบ่งได้ดังนี้ 3.5.1 ในด้านความเข้าใจและการ มีส่วนร่วมในการจัดการป่า จากการศึกษาพบ ว่ า องค์ ป ระกอบที่ สำ � คั ญ ในการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับชุมชน ในกรณีป่า ชุมชนโคกใหญ่ควรมีองค์ประกอบในการจัดการ


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 77

ป่าชุมชนอยู่ 3 ส่วนใหญ่ๆ ด้วยกันคือ

ปฏิบัติด้วย

2.2) ชาวบ้านผู้เข้ามาใช้ประโยชน์ ซึง่ เป็นกลุม่ คนทีอ่ ยูข่ า้ งนอก มีความสัมพันธ์กบั 1.1) กลุม่ ชาวบ้านผูท้ มี่ นี าติดเขตป่า ป่าเพือ่ การใช้ประโยชน์เท่านัน้ กลุม่ คนเหล่านีก้ ็ ชุมชนโคกใหญ่ ซึง่ หากคณะกรรมการเครือข่ายฯ คือเป้าหมายทีส่ �ำ คัญของการเข้ามามีบทบาทใน ต้องการความร่วมมือกับกลุ่มคนเหล่านี้ต้อง การจัดการป่าไม้รว่ มกันเช่นกัน เพราะหากกลุม่ สร้างความชัดเจน และสร้างความเข้าใจต่อ คนเหล่านี้ไม่เคารพและยอมรับกฎ ระเบียบที่ แนวทางการอนุรักษ์ป่าร่วมกัน เพราะกลุ่มคน สร้างขึน้ การบุกรุก ทำ�ลายป่าก็ยงั จะเป็นปัญหา เหล่านี้คือ คนที่ทำ�หน้าที่ดูแลรักษาป่าอย่าง เหมือนเดิม 2.3) ผู้นำ�ชาวบ้านที่เป็นทางการ แท้จริง 1.2) กลุ่มชาวบ้านผู้มีกรรมสิทธิ์ใน และไม่เป็นทางการ ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้มีความ พื้นที่ป่าชุมชน แต่ไม่มีการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ สำ�คัญต่อการตัดสินใจในการให้ความร่วมมือ ครอบครอง เพราะพื้นที่ปัจจุบันเป็นป่าไม้ที่มี หรือไม่ให้ความร่วมมือต่อการดำ�เนินงานของ ต้นไม้ขึ้นหนาทึบ ชาวบ้านมีการรักษาป่าไม้ไว้ เครือข่ายฯ ฉะนัน้ มีความจำ�เป็นทีจ่ ะต้องสร้าง เพราะการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ฉะนั้น ความร่ ว มมื อ ให้ เ กิ ด ขึ้ น เพื่ อ การจั ด การป่ า ที่ กรรมการเครือข่ายฯ ต้องมีการสร้างความเข้าใจ ยั่งยืน

1) ผูท้ มี่ สี ว่ นได้เสียกับการจัดการป่า ชุมชนโดยตรง กลุ่มคนเหล่านี้คือ

2.4) ผูส้ นับสนุนจากภายนอก หมาย ถึ ง องค์ ก รพั ฒนาเอกชน หน่ ว ยงานบริ ก าร วิชาการ หน่วยปกครองส่วนท้องถิน่ หน่วยงาน ราชการ สถาบันการศึกษา เป็นต้น ซึง่ กลุม่ เหล่า 2) ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกับการจัดการ นี้ต้องทำ�งานทั้งเชิงรับและเชิงรุกร่วมกับกลุ่ม ผู้นำ� ซึ่งองค์กรที่ควรมีบทบาทมากที่สุดในการ ป่าชุมชนโดยอ้อม กลุ่มคนเหล่านี้คือ ทำ�งานพัฒนา จัดตั้งองค์กรชุมชน คือ องค์กร 2.1) ชาวบ้านในหมู่บ้านติดเขตป่า พั ฒ นาเอกชนซึ่ ง ต้ อ งมี บ ทบาทหลั ก ในการ ซึ่งกลุ่มชาวบ้านเหล่านี้ก็มีความสัมพันธ์กับป่า ประสานความร่วมมือของกลุ่มคนต่างๆ เพื่อ ไม้โดยการใช้ประโยชน์และการมีสว่ นร่วมในการ การทำ�งานร่วมกัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ดูแลรักษาป่าร่วมกัน ฉะนั้นกระบวนการสร้าง ถือว่าเป็นองค์กรทีม่ คี วามสำ�คัญต่อการประสาน ความเข้าใจต่อแนวทางการดำ�เนินงานการรักษา ความร่ ว มมื อ ในการดู แ ลรั ก ษาทรั พ ยากร ป่าไม้จึงจำ�เป็นที่จะต้องทำ�งานร่วมกับกลุ่มคน ธรรมชาติ ร่ ว มกั น แต่ ที่ ผ่ า นมากระบวนการ เหล่านีด้ ว้ ย และทีส่ �ำ คัญ กฎระเบียบทีส่ ร้างขึน้ ประสานความร่วมมือทัง้ ฝ่ายวิชาการ นักพัฒนา ต้ อ งเป็ น ที่ ย อมรั บ และตระหนั กตลอดจนถื อ ราชการ ผูน้ �ำ ชาวบ้านยังไม่สามารถดำ�เนินงาน ต่อแนวทางการดำ�เนินงานและการจัดการป่า ร่วมกับชาวบ้านกลุม่ นีเ้ ป็นสำ�คัญ และเพิม่ พืน้ ที่ ให้กลุม่ ชาวบ้านทีม่ สี ว่ นร่วมในการดูแลรักษาป่า ไม้ร่วมกัน


78 ::: หนึ่งคณะหนึ่งศิลปวัฒนธรรม

ได้อย่างเต็มที่ 3.5.2 ในด้านขัน้ ตอนในการจัดการ ป่าชุมชนโคกใหญ่ จากการศึกษาพบว่า ป่า ชุมชนโคกใหญ่ ยังมิได้มีการขึ้นทะเบียนเป็นป่า ชุ ม ชนตามที่ สำ � นั ก งานจั ด การป่ า ชุ ม ชน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กำ�หนดเงื่อนไขไว้ และมิได้มีการกำ�หนดเขตป่า อนุรกั ษ์และป่าใช้สอยไว้อย่างชัดเจน จากสภาพ ปัญหาดังกล่าวทำ�ให้ขาดเอกภาพ งบประมาณ และแผนในการบริหารจัดการป่าชุมชนร่วมกัน ระหว่างรัฐกับชุมชน ดังนั้น เพื่อให้การจัดการ ป่าชุมชนโคกใหญ่เป็นไปโดยมีประสิทธิภาพและ สอดคล้องกับหลักการตามทีก่ ฎหมายกำ�หนดจึง ควรมีแผนการดำ�เนินการเพือ่ ขึน้ ทะเบียนจัดตัง้ เป็นป่าชุมชนตามที่กฎหมายกำ�หนด

ป่าชุมชน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ สำ�นักงาน ที่ดินจังหวัด เป็นต้น โดยเริ่มบูรณาการตั้งแต่ นโยบาย แผน กฎหมาย และพนักงานเจ้าหน้าที่ ในทีจ่ ะบังคับใช้กฎหมายร่วมกันอย่างเป็นระบบ ต่อไป 4.1.3 รัฐควรมีนโยบายในการส่ง เสริมในด้านองค์ความรู้ในการจัดการป่าตาม หลักวิชาการ และภูมิปัญญาท้องถิ่น อีกทั้งควร มีการสนับสนุนให้พนักงานเจ้าหน้าทีใ่ นท้องถิน่ ให้ ร่ ว มมื อ ในการจั ด การป่ า ชุ ม ชนของชุ ม ชน ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ชุ มชนท้ องถิ่ น ดั่ ง เดิ ม รวมถึ ง สนับสนุนงบประมาณในการดำ�เนินการจัดการ ป่าชุมชนอย่างทั่วถึง

4.2 ในด้านกฎหมาย มีดังนี้

4.2.1 ควรเร่งพิจารณาตรากฎหมาย 4. ข้อเสนอแนะ ป่าชุมชนโดยเฉพาะ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ในด้าน เพื่อให้การจัดการป่าชุมชนโคกใหญ่ การจัดการทรัพยากรป่าอย่างมีส่วนร่วมของ อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม เป็นไป ภาครัฐกับชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคำ�นึง อย่างมีส่วนร่วมตามที่กฎหมายกำ�หนด จึงควร ถึงหลักเกณฑ์การอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู และใช้ มี ก ารดำ � เนิ น การเกี่ ย วกั บ กฎหมายและการ ประโยชน์ในทรัพยากรป่าชุมชน รวมทั้งพืชและ สัตว์ที่อยู่อาศัยบริเวณป่าชุมชนอย่างยั่งยืน จัดการทรัพยากรป่า แบ่ง 3 ด้าน คือ 4.2.2 ควรมีการดำ�เนินการจัดทำ� 4.1 ในด้านนโยบาย มีดังนี้ กฎหมายเฉพาะ อาจเป็นกฎหมายลำ�ดับรอง 4.1.1 รัฐควรมีนโยบายในการจัดทำ� เช่น กฎกระทรวง ประกาศ หรือข้อบังคับที่ให้ แผนพั ฒ นาและจั ด การป่ า ชุ ม ชนในระดั บ อำ � นาจหน้ า ที่ สำ � นั ก งานจั ด การป่ า ชุ ม ชน ประเทศอย่างชัดเจน เพื่อรองรับการขยายตัว กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ สามารถดำ�เนิน ของชุมชน และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การตามพั น ธกิ จ ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และมี ของประเทศ ประสิทธิภาพ โดยให้มีอำ�นาจดูแลรักษาพื้นที่ 4.1.2 รัฐควรมีนโยบายบูรณาการ ป่าชุมชนร่วมกับหน่วยงานท้องถิน่ ทีป่ า่ ชุมชนตัง้ การบริหารจัดการป่าชุมชนระหว่างหน่วยงานที่ อยู่ เช่น องค์การบริหารส่วนตำ�บล สำ�นักงาน เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นกรมป่าไม้ กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื สำ�นักงานจัดการ


บทบาทของวัฒนธรรมชุมชนในการร่วมกับหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการรักษาผืนป่า ::: 79

ที่ดินจังหวัด เป็นต้น 4.2.3 ควรมีมาตรการทางกฎหมาย ทีม่ สี ภาพบังคับ ภายหลังการการระงับข้อพิพาท ด้านทรัพยากรป่าโดยการไกล่เกลี่ย หรือการ ระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ ตลอดจน การระงับข้อพิพาทของท้องถิ่น

สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาป่าชุมชน โคกใหญ่จากรัฐต่อไป กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ วิทยาลัยการเมืองการ ปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ให้ความ 4.2.4 ควรมีการแก้ไขกฎหมายที่ อนุ เ คราะห์ ทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย และขอ เกี่ยวข้อง คือ พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 ขอบคุณ คณาจารย์คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัย โดยเพิ่ ม หลั ก การให้ อำ � นาจในทางพื้ น ที่ แ ก่ มหาสารคามทุกท่าน ที่ให้คำ�แนะนำ�และข้อ พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ส ามารถดำ � เนิ น การแก่ ผู้ เสนอแนะที่ดีตลอดการดำ�เนินการวิจัย. บุกรุกพื้นที่ป่าชุมชนได้อย่างรวดเร็ว เพื่อลด ปัญหาการบุกรุกป่าเพิ่มเติม 4.3 ในด้านการบริหารจัดการป่า ชุมชนโคกใหญ่ มีดังนี้ 4.3.1 ชุมชนทีอ่ าศัยอยูร่ อบป่าชุมชน โคกใหญ่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้อง มีส่วนร่วมในการสร้างความเข้าใจ จิตสำ�นึกใน การอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าชุมชน อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 4.3.2 ชุมชนต้องเปิดโอกาสในการ เรี ย นรู้ เ ทคนิ ค และองค์ ค วามรู้ ใ นการจั ด การ จัดการป่าชุมชนจากองค์กรพัฒนาเอกชน หน่วย งานบริการวิชาการ หน่วยงานปกครองส่วนท้อง ถิ่น หน่วยงานราชการ สถาบั นการศึ ก ษาที่ เกี่ ย วข้ อ ง โดยไม่ ตั ด ขาดจากรากฐานทาง วัฒนธรรมดั้งเดิมของชุมชนที่อาศัยป่าในการ ดำ�รงชีพ 4.3.3 ควรมีดำ�เนินการขึ้นทะเบียน ป่าชุมชนโคกใหญ่ให้เป็นป่าชุมชนตามกฎหมาย ที่ สำ � นั ก งานจั ด การป่ า ชุ ม ชน กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกำ�หนด เงื่อนไขไว้ เพื่อประโยชน์ ในการขอรั บความ


เอกสารอ้างอิง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.(2553) .คู่มือต้นแบบการจัดการป่าชุมชนแบบมี ส่วนร่วม ประจำ�ปี 2553. ขอนแก่น : Km Team จังหวัดขอนแก่น. ชูพักตร์ สุทธิสา และคณะ. (2548). การจัดระบบแนวคิดในการอนุรักษ์ป่าชุมชนของชาวบ้าน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ธี ร ดา นามให.(2549). บทเรี ย นการจั ด การป่ า ชุ ม ชนโคกใหญ่ อำ � เภอวาปี ป ทุ ม จั ง หวั ด มหาสารคาม. สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจยั เพือ่ ท้องถิน่ สำ�นักงานมหาสารคาม. สมศักดิ์ สุขวงศ์ .(2550). กระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนไป : การจัดการป่าชุมชนเพื่อคนและเพื่อป่า .กรุงเทพฯ. สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์.(2548). สถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทย 2548. มูลนิธิโลกสีเขียว. บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน). กรุงเทพฯ. สาวตรี สุขศรี.(2554). สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ : พื้นที่ป่าชุมชนโคกใหญ่ อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม. สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพและมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ. สำ�นักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP).(2545).ป่าชุมชนของคนรากหญ้า (Com munity Forests in Thailand). กรุงเทพฯ.จาก http://www.undp.or.th/thai/down load/communityforestinThailand.zip องค์การสหประชาชาติประจำ�ประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2554). ศักดิศ์ รีและความยุตธิ รรมสำ�หรับทุกคนเสียงของเราทีไ่ ด้ยนิ บนแผ่นดินไทย. กรุงเทพฯ.จากhttp://www.un.or.th/documents /UND_UDHR_TH_031208_ V10_Final.pdf> รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 . ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 / ตอนที่ 47 ก / หน้า 1 / 24 สิงหาคม 2550. พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484. ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 58 ตอนที่ 73 .15 ตุลาคม 2484 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 81 ตอนที่ 38 . 28 เมษายน 2507 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 109 ตอนที่ 15. 28 กุมภาพันธ์ 2535


พระราชบัญญัตสิ วนป่า พ.ศ. 2535.ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 109 ตอนที่ 20 . 13 มีนาคม 2535 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504. ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 78 ตอนที่ 80 . 3 ตุลาคม 2504 พระราชกฤษฎีกาโอนกรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไปเป็นกรมป่าไม้ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และปรับปรุงอำ�นาจหน้าที่และกิจการของกรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมป่าไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์ พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2546.ราชกิจจานุเบกษา.เล่ม 120 ตอนที่ 93 ก . 30 กันยายน 2546. กฎกระทรวง แบ่ ง ส่ ว นราชการกรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป่ า และพั น ธุ์ พื ช กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2545 .ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 119 ตอน ที่ 103 ก . 9 ตุลาคม 2545


“ ”

นิติศาสตร์ มมส ร่วมใจ สานสายใยวัฒนธรรมสู่ชุมชน

เจ้าของ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่โครงการของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไปยังผู้ที่สนใจทั้งภายในและภายนอก ที่ปรึกษา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม บรรณาธิการ ชาคริต ขันนาโพธิ์ กองบรรณาธิการ คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แบบปก/รูปเล่ม งานประชาสัมพันธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถานที่ติดต่อ คณะนิติศาสตร์ ชั้น 4 อาคารราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โทรศัพท์ 09-4310-0013 ภายใน 2119, 2124 http://laws.msu.ac.th, https://www.facebook.com/lawsmsu




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.