จุลสารคณะนิติศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 3

Page 1

จุลสารคณะนิ ต ิ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 มีนาคม 2559

อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา (อัดตานัง ทะมะยันติ ปันฑิ​ิตา) บัณฑิตย่อมฝึกฝนตนเอง

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำ�ปีการศึกษา 2557-2558


สารบัญ

แสดงความยินดีกับผู้รักษาราชการแทนอธิการบดี

เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้มอบ กระเช้ า ของขวั ญและกระเช้ า ดอกไม้ เพื่ อแสดงความยินดีกับ ศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ ฤทธิเดช ในโอกาสที่สภามหาวิทยาลัยมหาสารคามเห็นชอบแต่งตั้งให้ ดำารงตำาแหน่ง “ผู้รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม”.

บทบรรณาธิการ

ผศ.ศุภวุฒิ โมกข เมธากุล

สวัสดีครับ จุลสารคณะนิติศาสตร์ฉบับนี้ต้องขอแสดงความยินดีกับ บัณฑิตทีเ่ ข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ประจำาปีการศึกษา 2557-2558 และ ขอแสดงความยินดีกับศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ ฤทธิเดช ในโอกาสได้รับการ แต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่ง “ผู้รักษาราชการแทนอธิการบดี” นอกจากนั้นแล้วยัง มีเรื่องยินดีภายในคณะคือ อ.ชาคริต ขันนาโพธิ์ ได้รับการแต่งตั้งให้ดำารง ตำาแหน่ง “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในจุลสารฉบับนี้ คณะนิติศาสตร์ได้รวบรวม กิ จ กรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ภายในคณะและที่ ร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานหรื อ องค์ ก ร ภายนอก อีกทั้งยังได้นำาเสนอบทความของของอาจารย์ ศิษย์เก่า และนิสิต ปัจจุบนั เพือ่ ให้มองเห็นภาพของคณะในหลายมิตทิ เี่ กิดขึน้ ในแต่ละช่วงเวลาและ หวังว่าจะเป็นประโยชน์ตอ่ ผูท้ สี่ นใจ แล้วกลับมาพบกับกันใหม่ในฉบับหน้าครับ.

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจําปการศึกษา 2557-2558 >1< แสดงความยินดีกับผูรักษาราชการแทนอธิการบดี >2< วันคลายวันสถาปนาคณะนิติศาสตร “หนึ่งทศวรรษนิติศาสตร มมส” >3< โครงการพัฒนาบุคลากรคณะนิติศาสตร ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2559 >3< โครงการสัมมนารูและเขาใจลิขสิทธิ์ กอนทําผิดไมรูตัว >3< โครงการบูรณาการดวยการแสดง ศาลจําลองในวิชาวาความ เรื่องคดีดําหมายเลข 8 ตอน ผูกตายโจงแดง >4< คณบดีพบปะพูดคุย นิสิต 4 ชั้นป >4< โครงการนิติศาสตรรวมใจบริจาคโลหิต ถวายเปนพระราชกุศล >4< โครงการนักกฎหมายหัวใจอาสา นิสิตกับการชวยเหลือสังคมและชุมชน >5< โครงการสรางความพรอมความเปนไปได ในการจัดตั้งองคกรอิสระ >5< สัมภาษณโครงการตนกลานิติศาสตร ประจําปการศึกษา 2559 >5< สัมภาษณเพื่อคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอใน ระดับปริญญาตรี (ประเภทโควตารับตรง) >5< ฉันจึงมาหาความหมาย >6< เปดประตูสูประชาคมอาเซียน >6< ศิษยเกาคนเกง >7< กฎหมายนารู >8<

เจาของ : คณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ที่ปร�กษา : ผศ.ดร.อิสระพัฒน ธีรพัฒนสิร� บรรณาธิการ : ผศ.ศุภวุฒิ โมกขเมธากุล ผูชวยบรรณาธิการ : ผศ.สุภาพร พ�ทักษเผาสกุล กองบรรณาธิการ : คณาจารยและบุคลากรคณะนิติศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ออกแบบและถายภาพ : มิ�งมนัสชน จังหาร, วาที่รอยตร�ประสาน ศาลางาม คณะนิติศาสตร อาคารราชนคร�นทร ชั้น 4 ตําบลขามเร�ยง อําเภอกันทรว�ชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทร. 0-4375-4333 ตอ 2118, 2119, 2123, 09-4310-0113 laws.msu.ac.th facebook.com/lawsmsu


3

วันคล้ายวันสถาปนาคณะนิติศาสตร์ “หนึ่งทศวรรษนิติศาสตร์ มมส”

เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ได้จดั โครงการวันคล้ายวันสถาปนาคณะนิตศิ าสตร์ “1 ทศวรรษ นิตศิ าสตร์ มมส” โดยในช่วงเช้าได้มกี จิ กรรมการทำ�บุญตักบาตร และถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุสงฆ์ และในช่วงบ่ายได้มี กิจกรรมการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “ทิศทางการพัฒนาการ เรียนการสอนวิชานิติศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21” โดย ผศ.ดร. อิสระพัฒน์ ธีรพัฒน์สิริ คณะบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.

โครงการพัฒนาบุคลากรคณะนิติศาสตร์ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2559

เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม 2559 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้จัดโครงการพัฒนาบุคลากรคณะ นิติศาสตร์ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ,โครงการแนะแนว ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก, โครงการส่งเสริมให้ความรู้การ เข้าสูต่ �ำ แหน่งทางวิชาการ, โครงการแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ ารเขียน มคอ.3 และ มคอ.5 และโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะการ ใช้ชีวิตในคณะนิติศาสตร์ (คู่มือนิติทักษะ) ณ เกาะช้าง จังหวัด ตราด และหลังจากเสร็จโครงการ ในวันที่ 4 มีนาคม 2559 บุคลากรคณะนิตศิ าสตร์ ได้รว่ มกันสรุปโครงการและแลกเปลีย่ น เรียนรูก้ จิ กรรมทีไ่ ด้จดั ขึน้ เพือ่ เป็นประโยชน์และพัฒนาคณะต่อ ไป.

โครงการสัมมนารู้และเข้าใจลิขสิทธิ์ ก่อนทำ�ผิดไม่รู้ตัว

เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 กรมทรัพย์สินทางปัญญา ร่วม กับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดโครงการ สัมมนา "รูแ้ ละเข้าใจลิขสิทธิ.์ ..ก่อนทำ�ผิดไม่รตู้ วั " ณ ห้องประชุม แม่น้ ำ�ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม โดยมีวิทยากร ได้แก่ 1.นายขจิต สุขุม ผู้อำ�นวย การสำ�นักลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา  กระทรวงพาณิชย์  2.รองศาสตราจารย์อรพรรณ พนัสพัฒนา อาจารย์ประจำ�คณะ นิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3.นายนันทน อินทนนท์ หุ้นส่วน (Partner) บริษัท ติลลีกีแอนต์กิบบินส์ อินเตอร์เนชัน แนล จำ�กัด 4.นายศักดิ์ชาย สุนทรธนาภิรมย์ อาจารย์ประจำ� คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.


ขอบคุณภาพจากเพจ คดีดำ�หมายเลข 8 ผูกตายโจงแดง

4

โครงการบูรณาการด้วยการแสดงศาลจำ�ลองในวิชาว่าความ เรื่องคดีดำ�หมายเลข 8 ตอน ผูกตายโจงแดง

เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 คณะนิติศาสตร์ ได้จัดโครงการ บูรณาการด้วยการแสดงศาลจำ�ลองในวิชาว่าความ เรื่อง คดีดำ� หมายเลข 8 ตอน ผูกตายโจงแดง โดยโครงการนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของวิชาการว่าความและศาลจำ�ลอง ซึง่ เป็นรายวิชาทีไ่ ด้มกี ารศึกษา เกี่ยวกับการร่างฟ้อง การทำ�คำ�ร้อง การทำ�เอกสารทางกฎหมายตลอดถึงการศึกษาการดำ�เนินกระบวนพิจารณาคดีในชั้นศาล จึง ได้ดำ�เนินการจัดโครงการในรูปแบบของการแสดงละครเวที เพื่อให้นิสิตที่ศึกษาในรายวิชาดังกล่าว ตลอดถึงผู้ที่สนใจเข้ารับชมได้ เรียนรู้และเข้าใจ มองเห็นภาพรวมของกระบวนการยุติธรรม โดยแสดงที่ ห้องประชุมใหญ่ MU 300 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

คณบดีพบปะพูดคุย นิสิต 4 ชั้นปี

เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสระ พั ฒ น์ ธี ร พั ฒ น์ สิ ริ คณบดี ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ได้พบปะพูดคุยกับนิสิต และมอบทุนการศึกษา (หนังสือจากสำ�นักพิมพ์วิญญูชน) แก่นิสิตที่มีผลการเรียนดี ณ ห้อง RN 509 อาคารราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

โครงการนิติศาสตร์ร่วมใจบริจาคโลหิต ถวายเป็นพระราชกุศล

เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมกับเหล่ากาชาดมหาสารคาม จัดโครงการนิติศาสตร์ร่วมใจ บริจาคโลหิตถวายเป็นพระราชกุศล เพื่อเป็นการน้อมถวายความ จงรักภักดี โดยมีคณาจารย์ นิสิต และบุคลากร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พร้อมใจกันร่วมบริจาคโลหิต ณ ห้อง GE Learning Area ชั้น 1 อาคารราชนครินทร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ซึ่งมีผู้ร่วมบริจาคโลหิตครั้งนี้ จำ�นวน 110 คน รวม ทั้งสิ้น 44,000 ซีซี.


5

โครงการนักกฎหมายหัวใจอาสา นิสิตกับการช่วยเหลือสังคมและชุมชน

โครงการสร้างความพร้อมความเป็นไปได้ ในการจัดตั้งองค์กรอิสระ

เมือ่ วันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ 2559 คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัย จัดโครงการ "นักกฎหมาย หัวใจอาสา" อัตลักษณ์นิสิตคณะ นิตศิ าสตร์ "นิสติ กับการช่วยเหลือสังคมและชุมชน" ณ โรงเรียน บ้านหนองโสน ตำ�บลหนองไผ่ อำ�เภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด โดยนิสิตคณะนิติศาสตร์ได้ร่วมทาสีโรงเรียนและร่วมกิจกรรม สันทนาการกับชาวบ้านในชุมชน โดยโครงการฯ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้เป็นการสอดรับกับประกาศข้อกำ�หนดคุณลักษณะอันเป็น อัตลักษณ์ของนิสิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทีว่ า่ “นิสติ กับการช่วยเหลือสังคมและชุมชน” และเพือ่ ให้ชมุ ชน ได้ทราบถึงสิทธิที่พึงมีพึงได้ของตน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องใน ชีวิตประจำ�วันตลอดทั้งจัดทำ�สื่อการเรียนรู้ด้านกฎหมาย.

เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ร่วมกับสำ�นักส่งเสริมการแข่งขันทางการค้า กรม การค้าภายใน และหอการค้าจังหวัดมหาสารคาม จัดโครงการ สัมมนาการสร้างเสริมความรู้ด้านการแข่งขันทางการค้าในส่วน ภูมภิ าคภายใต้ "โครงการสร้างความพร้อมความเป็นไปได้ในการ จัดตัง้ องค์กรอิสระ" ณ ห้องประชุมแมนำ้ �ของ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยได้รับเกียรติ จากวิทยากร คือ นายสันติชัย สารถวัลย์แพศย์ (อดีตรองอธิบดี กรมการค้าภายใน) นางอร่ามศรี รุพนั ธ์ (ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้าน พัฒนาและส่งเสริมการแข่งขันทางการค้า) นายณัฐจักร ฤทธิ พิชัยวัฒน์ (ประธานหอการค้าจังหวัดมหาสารคาม) โดยมี อาจารย์ ดร.ปาริฉัตร บุตรวงศ์ (อาจารย์ประจำ�คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) เป็นผู้ดำ�เนินรายการ.

สัมภาษณ์โครงการต้นกล้านิติศาสตร์ ประจำ�ปีการศึกษา 2559

สัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อใน ระดับปริญญาตรี (ประเภทโควต้ารับตรง)

เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2558 คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย สอบสัมภาษณ์โครงการต้นกล้านิตศิ าสตร์ ประจำ� มหาสารคาม สอบสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อใน ปีการศึกษา 2559 ณ ห้องประชุมคณะนิติศาสตร์. ระดับปริญญาตรี (ประเภทโควต้ารับตรงทั่วประเทศ) ประจำ�ปี การศึกษา 2559 ณ ชั้น 4 อาคารราชนครินทร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.


6

ฉันจึงมาหาความหมาย

เส้นทางฝัน....สู่สถานศึกษา

วัสดีค่ะ ดิฉันนางสาวช่อผกา เผือกนอก กำ�ลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งรักษาการนายกสโมสรนิสิตคณะ นิติศาสตร์ เป็นเวลาเกือบ 1 ปีที่ดิฉันได้รับโอกาสจากพี่น้องคณะนิติศาสตร์ ให้เข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งในการทำ�งานรูปแบบสโมสรนิสิต ดิฉันต้องขอขอบคุณทุกท่าน ขอบคุณกิจกรรมที่ ทำ�ให้ดิฉันมีวันนี้ ซึ่งเมื่อดิฉันได้ก้าวเข้ามาสู่เส้นทางกิจกรรม ทำ�ให้ได้เรียนรู้กับอะไรหลายๆ อย่าง ไม่ว่าจะเป็นการทำ�งานร่วมกับผู้อื่น มิตรภาพระหว่างเพื่อนหรือน้องร่วมงาน การกล้า แสดงออก การเข้าหาผู้ใหญ่ และการเข้าสังคม อีกทั้งยังทำ�ให้ดิฉันรู้จักการเสียสละเพื่อส่วน รวม มีความอดทนต่ออุปสรรคและมีสติในการแก้ไข้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ แม้วา่ กิจกรรมจะไม่มผี ล ในทางการศึกษา แต่ก็นับได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีอย่างมาก ที่ดิฉันได้เก็บเกี่ยวเอาสิ่งต่างๆ เหล่านั้นที่เกิดขึ้นในรอบรั้วมหาวิทยาลัยแห่งนี้

กิจกรรมส่งผลต่อการเรียนหรือไม่?

นางสาวช่อผกา เผือกนอก นิสิตคณะนิติศาสตร์ ชั้นปีที่ 4

ดิฉันยังคงเชื่อเสมอว่า การเรียนทำ�ให้คนมีงานทำ� กิจกรรมทำ�ให้คนทำ�งานเป็น

ดิฉันคิดว่าการทำ�กิจกรรมจะส่งผลกระทบต่อการเรียนหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับผู้ทำ� กิจกรรมเสียมากกว่า กิจกรรมจะไม่ส่งผลกระทบต่อการเรียนอย่างแน่นอน หากทุกคนแบ่ง เวลาเป็นก็จะสามารถทำ�กิจกรรมควบคู่ไปกับการเรียนได้ อย่างไรก็ดีการทำ �งานย่อมมี อุปสรรค การทำ�งานสโมสรนิสิตก็เช่นเดียวกันค่ะ เนื่องจากคณะนิติศาสตร์ เพิ่งจะเริ่มมี สโมสรนิสิตมาเพียงแค่ 2 ปี ซึ่งถือว่าเป็นยุคแรกๆ ของการทำ�งานในรูปแบบของสโมสรนิสิต และหลายๆ คนอาจจะยังไม่รจู้ กั บทบาทหน้าทีข่ องสโมสรนิสติ เท่าไหร่นกั จึงทำ�ให้การประสาน งานหลายๆ อย่างยังไม่คอ่ ยลงตัวและค่อนข้างทำ�งานลำ�บาก อีกทัง้ รูปแบบของการบริหารงาน ภายในสโมสรนิสิตของเรา เรื่องนี้ยงั ถือว่าไม่สมบูรณ์เท่าไหร่ ไม่วา่ จะเป็นในเรือ่ งของเอกสาร ซึ่งเรื่องนี้จะต้องได้รับการฝึกฝนและพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ จนสมบูรณ์ สโมสรนิสิตจึงจะมีความ พร้อมมากขึน้ อีกประการหนึง่ ทีส่ ำ�คัญคือจำ�นวนคน ไม่วา่ จะเป็นผูด้ ำ�เนินกิจกรรม หรือผูเ้ ข้า ร่วมกิจกรรม ยังถือได้วา่ มีจ�ำ นวนทีค่ อ่ นข้างน้อย ซึง่ จำ�นวนคนถือเป็นกำ�ลังหลักสำ�คัญในการ ดำ�เนินกิจกรรมและขับเคลื่อนให้งานต่างๆ สำ�เร็จลุล่วงไปตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมนั้นๆ สุดท้ายนี้ ดิฉนั ยังคงเชือ่ เสมอว่า "การเรียนทำ�ให้คนมีงานทำ� กิจกรรมทำ�ให้คนทำ�งาน เป็น" มหาวิทยาลัยมหาสารคามให้มากกว่าคำ�ว่าสถาบัน ขอบคุณค่ะ.

เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน

อ่านภาษาอังกฤษอย่างไร ให้ได้คะแนน?

อี

ดร.ดวงเด่น นาคสีหราช1

กทักษะหนึง่ ทีจ่ �ำ เป็นในการเรียนภาษา อังกฤษสำ�หรับนักกฎหมาย คือ การ อ่าน (reading) คำ�ถามแรกที่หลายคน สงสัยในการตอบข้อสอบประเภท reading comprehension คื อ จำ � เป็ น ต้ อ งอ่ า น passage อย่างละเอียด และเข้าใจทุก

ถ้อยคำ�หรือไม่? คำ�ตอบ คือ อ่านเท่าที่จำ�เป็น และสิ่งที่จะมากำ�หนดกรอบ “การอ่านเท่าที่จำ�เป็น” นอกจากเวลาแล้วคือ “คำ�ถาม” (question) ดัง นั้น สิ่งที่ควรอ่านเป็นอันดับแรก คือ คำ�ถาม จากถ้อยคำ� (words) ใน ประโยค (sentences) ทั้งหมดที่มีอยู่มากมายเหล่านั้น จะถูกคัดสรรให้ เหลือข้อมูลที่ “จำ�เป็น” ที่สามารถคัดออกมาได้เพียง 10-12 ประโยค เท่านัน้ ซึง่ ช่วยประหยัดเวลาในการทำ�ข้อสอบการอ่านเพือ่ ทำ�ความเข้าใจ (reading comprehensions) เพราะเป็น “การอ่านเท่าที่จำ�เป็น” เพื่อ ตอบให้ตรงประเด็นและทันเวลา การอ่านเท่าที่จำ�เป็น ในการทำ�ข้อสอบประเภทนี้ คือ ต้อง ทราบว่าสิ่งใดจำ�เป็นต้องอ่าน นั่นคือ “คำ�ถาม” ซึ่งถือเป็นหัวใจของการ ทำ�ข้อสอบ reading comprehension ทั้งนี้ คำ�ถามหลักๆ ไม่ว่าจะใน ภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นๆ ก็ตาม เมื่อมีการถามเพื่อความเข้าใจต้อง ประกอบด้วยคำ�ถามหลักซึ่งทุกคนต้องรู้ความหมายของคำ�ถามก่อนว่า “ข้อสอบถามอะไร” ได้แก่ ใคร (who) สิ่งใด (which) อะไร (what) ที่ไหน (where) อย่างไร (how) หรือ เมื่อไร (when, what time) เพื่อ กำ�หนด “กรอบ” หรือ “ขอบเขต” ของ “การอ่านเท่าที่จำ�เป็น” เช่น

>>Who = ใคร หากเรื่องราวเกี่ยวกับ “human being” (มนุษย์/ คน) ตัวอย่าง Who is the lawyer? ใครคือนักกฎหมาย >>What = อะไร หากเรือ่ งราวเกีย่ วกับสิง่ อืน่ ทีม่ ใิ ช่คน “animal” (สัตว์)/ “thing”สิ่งของ/“event” เหตุการณ์ ตัวอย่าง What do you do for a living? คุณทำ�งานอะไร >>Which = สิ่งใด/สิ่งไหน มักถามสิ่งที่มิใช่คน ตัวอย่าง Which one is yours? อันไหนเป็นของคุณ >>Where = ที่ไหน มักเป็นคำ�ถามเกี่ยวกับ “place” สถานที่ ตัวอย่าง Where is Mahasarakham Provincial Court? ศาล จังหวัดมหาสารคามอยู่ที่ไหน >>How = อย่างไร เป็นคำ�ถามที่ต้องการให้ตอบรายละเอียด (detail) ของ passage และลักษณะ (characteristic) กระบวนการ (process) วิธีการ (means) ขั้นตอน (step) ว่าเรื่องราวใน passage เป็นอย่างไร ตัวอย่าง How will people know the law? ประชาชนจะรู้ กฎหมายได้อย่างไร When = เมื่อไร ใช้ถามรายละเอียดเกี่ยวกับ “วัน” หรือ “เวลา” ซึ่งสื่อถึงลำ�ดับเรื่องราวหรือเหตุการณ์ อย่างไรก็ดี การจะเก่งภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะสำ�หรับนัก กฎหมายนัน้ ไม่มเี พียงเทคนิคการอ่านเท่านัน้ ยังมีแนวทางอืน่ อีกมากมาย เช่น การฟัง การพูด การอ่าน และเขียน รวมถึงคำ�ศัพท์ โปรดติดตามต่อ ตอนต่อไป. 1 น.ด. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, น.ม. (กฎหมายระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, น.บ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบัน เป็นอาจารย์ประจำ�ภาค วิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2 ดัดแปลงมาจาก ดวงเด่น นาคสีหราช, Reading Comprehension Technique, เอกสารการสอนวิชาภาษาอังกฤษสำ�หรับนักกฎหมาย, ภาคเรียนที่ 2/2558 ปี การศึกษา 2558, หน้า 1.


7

ศิษย์เก่าคนเก่ง

เป้าหมายและความตั้งใจ

ระผม ส.ต.ต.วิศนุ ศรีนวลจันทร์ ชื่อเล่น นิก เป็นคน จั ง หวั ด สกลนคร  จบปริ ญ ญาตรี นิ ติ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เกรดเฉลี่ย สะสม 3.62 ปัจจุบันรับราชการตำ�รวจ กระผมเริ่มชื่นชอบในหลักกฎหมายตั้งแต่สมัยเรียน มัธยม เนื่องจากตัวเองเรียนไม่ค่อยเก่งและไม่มีวิชาใดที่ถนัด เลย แต่เมื่อได้เรียนวิชาสังคมศึกษา ซึ่งมีส่วนของเนื้อหาเกี่ยว กับกฎหมาย กระผมก็รู้สึกชื่นชอบขึ้นมาทันที จึงได้เลือกสอบ เข้าในสามขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็น อันดับแรก กระผมมีความหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะได้ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจะทำ�อะไรให้ประสบผลสำ�เร็จได้นั้น  สิ่งแรกที่ กระผมคิดว่าเราทุกคนพึงมีกค็ อื ความตัง้ ใจ ความตัง้ ใจย่อมเป็น จุดเริ่มต้นของการทำ�ทุกสิ่ง ซึ่งเมื่อมีความตั้งใจก็ต้องรู้จักทำ� ตามความตั้งใจนั้นด้วย และเมื่อตั้งใจแล้วก็ต้องมีการกำ�หนด เป้าหมายว่า เราตั้งใจที่จะทำ�อะไร ทำ�เพื่ออะไร ทำ�ไมต้องทำ� อย่างนั้น

ส.ต.ต.วิศนุ ศรีนวลจันทร์ (นิก) รับราชการตำ�รวจ

การเรียนนิติศาสตร์ก็เช่นกัน เมื่อเราเข้ามาเรียนใน ศาสตร์นี้แล้ว เราก็ต้องตั้งใจที่จะทำ�มันให้ประสบผลสำ�เร็จให้ จงได้ ซึ่งวิธีที่กระทำ�ใช้ในการเรียนรู้ สิ่งแรกที่สำ�คัญที่สุดคือ การเข้าเรียน เนื่องจากกว่าที่ท่านอาจารย์แต่ละคนจะมาสอน เราได้นั้น ท่านได้อ่านหนังสือมาไม่รู้กี่เล่มต่อกี่เล่ม ฉะนั้นแค่ เราเข้าเรียนก็เท่ากับเราได้อ่านหนังสือมาแล้วหลายเล่ม เมื่อ เราเข้าเรียนแล้ว หากเราต้องการเพิ่มพูนความรู้เราก็ต้องอ่าน หนังสือ ซึ่งการอ่านหนังสือนั้นเราไม่จำ�เป็นต้องอ่านมาก อ่าน แค่เราเข้าใจในสาระสำ�คัญทีเ่ ขากล่าวไว้กพ็ อแล้ว และสิง่ สำ�คัญ อีกประการหนึ่งก็คือการท่องตัวบท โดยกระผมจะท่องตัวบท ในเกือบทุกคืนก่อนนอนตั้งแต่เริ่มเรียนในชั่วโมงแรก เพราะ ว่าการท่องจำ�ไปทีละเล็กทีละน้อย จะทำ�ให้เราจดจำ�ได้ดีและ ค่อนข้างลืมยาก ซึ่งเมื่อกว่าอาจารย์จะปิดคอร์สเรียนแล้วสรุป ข้อสอบ เราก็จะไม่เสียเวลามาท่องตัวบทอีก เราก็สามารถเอา เวลาส่วนนี้ไปฝึกทำ�โจทย์แทน เพียงเท่านี้เราก็จะไม่มีวันสอบ ตก เพราะข้อสอบก็คงไม่ออกไปเกินขอบเขตทีเ่ ราได้เรียนมาก ถ้าเราทำ�ได้ เชื่อว่านิติศาสตรบัณฑิตคงไม่ไกลเกินเอื้อม

การจะทำ � อะไรให้ ป ระสบผล สำ�เร็จได้นั้น  สิ่งแรกที่กระผม คิ ด ว่ า เราทุ ก คนพึ ง มี ก็ คื อ ความตั้งใจ  ความตั้งใจย่อม เป็นจุดเริ่มต้นของการทำ�ทุก สิ่ง  ซึ่งเมื่อมีความตั้งใจก็ต้อง รู้จักทำ�ตามความตั้งใจนั้นด้วย และเมื่อตั้งใจแล้วก็ต้องมีการ กำ�หนดเป้าหมายว่า  เราตั้งใจ ที่จะทำ�อะไร ทำ�เพื่ออะไร ทำ�ไม ต้องทำ�อย่างนั้น

สุดท้ายนี้ กระผมขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ทกุ ท่าน ที่ อ บรมสั่ ง สอนศิ ษ ย์ ค นนี้ จ นทำ � ให้ มี วั น นี้ ไ ด้ นิ ติ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เราไม่เคยน้อยหน้าใครเลยจริงๆ.


กฎหมายน่ารู้

คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ศิลปวิทยาในสมัยพุทธกาล

นพระวินยั ปิฎก(วิ.มหา(ไทย)2/15/203) ได้แบ่งศิลปะตาม ระดับชั้นของศิลปะออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) ศิลปะชั้นตำ่ � ได้แก่ วิชาช่างจักสานหรือช่างไม้อ้อ วิชาช่างหม้อ วิชาช่างหูกหรือช่างทอ วิชาช่างหนัง วิชาช่าง กัลบกหรือช่างตัดผม 2) ศิลปะชั้นสูง ได้แก่ วิชาการเขียน(เลข) วิชา คำ�นวณ (มุทธ) วิชาการนับ(คณนา) และศิลปะวิทยาอันเป็น ที่นิยมเรียนในสมัยพุทธกาล คือศิลปะวิทยา 18 ประการ อัน ได้แก่ 1) สูติ วิชาฟังเสียงคน/สัตว์ รู้ว่าดี/ร้าย 2) สัมมติ วิชา เข้าใจกฎธรรมเนียม 3) สังขยา วิชาคำ�นวณ 4) โยคยันตร์ วิชาการช่าง 5) นิติ วิชากฎหมายและแบบแผนราชการ 6) วิเสสิกา วิชาการค้า 7) คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ 8) คณิกา วิชากายบริหาร 9) ธนุพเพธา วิชายิงธนู 10) ปุราณา วิชา โบราณคดี 11) ติกิจฉา วิชาการแพทย์ 12) อิติหาสา วิชา ตำ�นาน/ประวัติศาสตร์ 13) โชติ วิชาดาราศาสตร์ 14) มายา วิชาตำ�ราพิชัยสงคราม 15) ฉันทสา วิชาการประพันธ์ 16) เกตุ วิชาพูด 17) มันตา วิชาร่ายเวทมนตร์ 18) สัททา วิชา ไวยากรณ์ ในมงคลสูตรว่าด้วยชีวิตอันเป็นอุดมมงคลหรือเป้า หมายสูงสุดของชีวิตมนุษย์ ได้กล่าวไว้ว่า ”ความเป็นพหูสูตร ความเป็นผูม้ ศี ลิ ปะ วินยั ทีศ่ กึ ษามาดี วาจาสุภาษิตนีเ้ ป็นมงคล อันสูงสุด” (ขุ.ชา.(ไทย)27/108/44) ความเป็นผู้มีศิลปะใน ระบบการศึกษาของอินเดียนั้น พระพุทธเจ้าทรงยอมรับว่ามี ประโยชน์อยู่บ้างในด้านการเลี้ยงชีพสำ�หรับคฤหัสถ์ ซึ่งเมื่อ เปรียบเทียบกับการไตรสิกขา ซึ่งถือว่าเป็นสิกขานุตริยะ คือ การศึ ก ษาในระดั บ สู ง แล้ ว การศึ ก ษาศิ ล ปะทั่ ว ไปนั้ น จั ด เป็นการศึกษาในระดับที่เลวกว่า ดังที่พระพุทธเจ้า ทรงตรัส ไว้ว่า “บุคคลบางคนในโลกนี้ศึกษาศิลปะเกี่ยวกับช้างบ้าง ศึกษาศิลปะเกีย่ วกับม้าบ้าง ศึกษาศิลปะเกีย่ วกับรถบ้าง ศึกษา ศิลปะเกี่ยวกับธนูบ้าง ศึกษาศิลปะเกี่ยวกับดาบบ้าง ศึกษา ศิลปะชั้นสูงชั้นตำ่ �บ้าง ศึกษาศิลปะจากสมณะหรือพราหมณ์ ผู้เห็นผิดปฏิบัติผิดบ้าง ภิกษุทั้งหลาย การศึกษานั้นมีอยู่ เรา ไม่กล่าวว่าไม่มี แต่วา่ การศึกษานัน้ ยังเป็นการศึกษาทีเ่ ลว เป็น ของชาวบ้าน เป็นของปุถุชนไม่ใช่อริยะ ไม่ประกอบด้วย ประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย ไม่เป็นไปเพื่อคลาย กำ�หนัด ไม่เป็นไปเพื่อดับ ไม่เป็นไปเพื่อสงบระงับ ไม่เป็นไป เพือ่ รูย้ งิ่ ไม่เป็นไปเพือ่ ตรัสรู้ ไม่เป็นไปเพือ่ นิพพาน ส่วนบุคคล ใดศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง

ร้อยตำ�รวจเอกวิศิษฏ์ เจนนานนท์ อาจารย์ประจำ�ภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ในมงคลสู ต รว่ า ด้ ว ยชี วิ ต อั น เป็ น อุ ด มมงคลหรื อ เป้ า หมายสู ง สุ ด ของ ชีวิตมนุษย์ ได้กล่าวไว้ว่า ”ความเป็น พหูสูตร ความเป็นผู้มีศิลปะ วินัยที่ ศึกษามาดี วาจาสุภาษิตนี้เป็นมงคล ่ อันสูงสุด” ศึกษาอธิศีลบ้าง ศึกษาอธิจิตบ้าง ในธรรมวินัยที่ตถาคต ประกาศไว้ การศึกษานี้ของบุคคลเป็นการศึกษาที่ยอดเยี่ยม กว่าการศึกษาทั้งหลาย.....” (อง.ฉกฺก.(ไทย)22/30/474) จากพระพุทธดำ�รัสนี้ จะเห็นได้ว่า พระพุทธองค์ทรง ยอมรับว่า การศึกษาศิลปะเพื่อการเลี้ยงชีพนั้นมีความจำ�เป็น สำ�หรับคฤหัสถ์ แต่เป็นศิลปะวิทยาที่เลวกว่าไตรสิกขาซึ่งเป็น ศิลปะระดับมงคลสูงสุดของชีวิต ดังนั้น ศิลปะทั้งชั้นตำ�และ ศิลปะชั้นสูงต่างก็มีความจำ�เป็นสำ�หรับเพศภาวะของผู้ศึกษา และผูใ้ ช้ศลิ ปะ ศิลปะวิทยาจึงมีความสำ�คัญในฐานะหน้าทีข่ อง มนุษย์ ในฐานะเครื่องมือเลี้ยงชีพ และศิลปะวิทยาบางอย่างก็ เป็นมงคลสูงสุดของชีวิต.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.