วารสารหลักเมือง ฉบับที่ 275

Page 31

๑.

น าย Kensuke Tanaka, Head of Asia Desk, OECD Development Centre ได้น�ำเสนอรายงาน SAEO ปี ๕๖ โดยมีประเด็นส�ำคัญ ดังนี้ ๑.๑ การประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ คาดการณ์ ว ่ า เศรษฐกิ จ ของเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ จ ะขยายตั ว ร้ อ ยละ ๕.๕ ในช่ ว งปี ๕๖ – ๖๐ แม้ ว ่ า เศรษฐกิจของจี นและอิ นเดี ย จะชะลอตัว ลง โดยมีอุปสงค์ภายในประเทศเป็นแรงขับส�ำคัญ โดยเฉพาะการบริ โ ภคภาคเอกชนและการ ลงทุน ซึ่งเศรษฐกิจของอินโดนีเซียจะขยาย ตัวสูงถึงร้อยละ ๖.๔ ระหว่างปี ๕๖ – ๖๐ อันเป็นผลมาจากการลงทุนต่างประเทศที่เพิ่ม ขึ้น การลงทุนในโครงสร้างสาธารณูปโภค และ การปฏิ รู ป ทางเศรษฐกิ จ ภายใต้ แ ผนพั ฒ นา ของประเทศ ในขณะที่เศรษฐกิจของสิงคโปร์ มาเลเซี ย ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ และไทยจะขยายตั ว ร้อยละ ๓.๑ ๕.๑ ๕.๕ และ ๕.๑ ตามล�ำดับ อย่างไรก็ดี การที่เศรษฐกิจของประเทศเหล่า นี้ ข ยายตั ว ไม่ ม ากนั ก ส่ ว นหนึ่ ง เป็ น ผลจาก ปัญหา ‘middle – income trap’๑ ซึ่งหลาย ประเทศยั ง ไม่ ส ามารถยกระดั บ การผลิ ต ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ก้ า วพ้ น สถานการณ์ ดั ง กล่าวได้ ทั้งนี้วิกฤตหนี้ของสหภาพยุโรป และ การหดตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ส่งผลกระทบ

ต่อเศรษฐกิจของจีนและกลุ่มประเทศเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะด้านการส่งออก เนื่องจากสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปเป็นตลาด ส่งออกที่ส�ำคัญ นอกจากนี้ ประเทศเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ มี สั ด ส่ ว นการค้ า ที่ พึ่ ง พา ตลาดจีนสูง โดยเฉพาะการส่งออกทางอ้อม ๒ (indirect exports) โดยเป็นการส่งออกสินค้า ขั้นกลาง ๓ มายังจีนเพื่อผลิตเป็นสินค้า และส่ง ออกผ่านจีนไปยังตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ซึ่งผลจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีน และอินเดียใน ช่วง ๒๐ ปีที่ผ่านมา ท�ำให้เกิดการขยายตัวของ ชนชั้นกลาง โดยเฉพาะกลุ่มชนชั้นที่มีรายได้ ระดับกลางถึงระดับบนมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ซึ่งมี แนวโน้มความต้องการบริโภคสินค้าคงทน รวม ถึงรถยนต์มากขึน้ โดยประเทศเศรษฐกิจใหม่ใน เอเชีย (Emerging Asia) มีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ที่จะต้องเสริมสร้างความเข้มแข็งของนโยบาย การคลัง โดยเฉพาะการเพิ่มประสิทธิภาพการ จั ด เก็ บ ภาษี รวมถึ ง การบริ ห ารการไหลเข้า ของเงินทุน ๑.๒ นโยบายโครงสร้ า งทางเศรษฐกิ จ : นโยบายระยะกลาง จากการศึกษาแผนงาน พัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของ ๗ ประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์

๑. กับดักของประเทศรายได้ปานกลาง คือ สภาพของประเทศก�ำลังพัฒนาที่เริ่มถีบตัวจากความยากจน สร้างรายได้จาก การพัฒนาอุตสาหกรรมและการส่งออก จนท�ำให้ประชาชนในประเทศมีความกินดีอยู่ดีในระดับหนึ่ง แต่กลับไม่สามารถพัฒนา ตัวเองไปสู่ประเทศพัฒนาแล้วที่มีฐานะร�่ำรวย (high income countries) ได้ เหตุเพราะไม่สามารถสร้างนวัตกรรม เทคโนโลยี เพิ่มประสิทธิผลในการผลิต เพิ่มมูลค่าของสินค้าได้ ๒. การขยายตลาดผ่านคนกลาง ๓. สินค้าขั้นกลาง คือ สินค้าและบริการที่ถูกซื้อไปเพื่อน�ำไปใช้เป็นปัจจัยในการผลิตสินค้าชนิดอื่น หลักเมือง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

29


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.