KU BULLETIN Special Edition

Page 1

SPECIAL EDITION

diamond jubilee OF KASETSART UNIVERSITY

The COVER STORY

Diamond Jubilee of Kasetsart University หลากหลายเหตุ ก ารณ์ เ ฉลิ ม ฉลอง ขวบปี แ ห่ ง การเปลี่ ย นแปลง

Special REPORT

Cashless สู่เส้นทางมหาวิทยาลัยแห่งอนาคตกับ สังคมไร้เงินสดและเทคโนโลยียุค 4.0

ISSUE

The INTERVIEW

The Game Creator นั ก สร้ า งสรรค์ น วั ต กรรมเพื่ อ การ ศึ ก ษาในบทบาทครู ผู ้ ส ร้ า งเกม


2

Royal GRACE นครินทร์ พันธุมจินดา และ ธนกร เพชรพงษ์

หอจดหมายเหตุ มก. และ กองกิจการนิสิต มก.

ก้าวตามพ่อ มก.ขอสืบสานพระราชปณิธาน

FOLLOW THE KING RAMA IX’S FOOTSTEPS ไม่มรี อยเท้าใดยิง่ ใหญ่เทียบเท่ารอยเท้าของ พ่อ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ธ ผูเ้ สด็จก้าวย่างไป ณ แห่งหนต�ำบลใดแล้วเนรมิตให้ทอ้ งทีเ่ หล่านัน้ มีความ เจริญงอกงามยิง่ ขึน้ ด้วยคุณปู การมากมายทีพ่ ระองค์ ทรงมอบให้ไว้แก่ประเทศไทย ผ่านโครงการในพระราชด�ำริ นับหมืน่ นับพันโครงการ ซึง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก็นับเป็นอีกหนึ่งหน่วยงานที่รับสนองงานตาม เบือ้ งพระยุคลบาทมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 มหาวิทยาลัย คลังความรู้ ร.9 กับ มก. เกษตรศาสตร์ โดยคณะวนศาสตร์ได้เข้าไปสนอง พระราชด�ำริดแู ลเรือ่ งการจัดการลุม่ น�ำ้ รวมทัง้ น�ำพืช ผลต่างๆไปทดลองปลูกบนดอยปุย ซึ่งในหลวง The Caption รัชกาลที่ 9 ได้เสด็จไปทอดพระเนตรเรื่องการ 1 | ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จฯเยี่ยมพสกนิกรชาวอาข่า ทดลองปลูกพืชเมืองหนาวและทรงแนะน�ำให้เอาพืช ณ บ้านผาหมี จังหวัดเชียงราย และทรงมีพระราชกระแส ต่างชาติมาปลูกแทนการปลูกฝิน่ ของชาวบ้านชาวเขา รับสั่งให้ชาวบ้านช่วยกันดูแลป่าและประกอบอาชีพที่ถูก สิง่ เหล่านีน้ บั เป็นจุดเริม่ ต้นของพันธกิจ กฎหมาย เหตุการณ์เกิดขึ้น ณ วันที่ 11 มกราคม 2517 หลักทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตงั้ ใจก้าวตามรอยพ่อ 2 | สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฉลองพระองค์เครื่องแบบ เต็มยศนายทหารพิเศษมหาดเล็กรักษาพระองค์ สายสะพาย ผ่าน ‘โครงการหลวง’ จากพระราชด�ำริของในหลวง ี่ า่ นมา ความร่วมมือใน มหาจักรี เสด็จฯมาในการพิธีอัญเชิญพระบรมโกศจาก รัชกาลที่ 9 ซึง่ กว่า 50 ปีทผ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังไปยัง การวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง มูลนิธิโครงการหลวง สร้างสรรค์สารพันประโยชน์ 3 | ผศ.น.ท.หญิง ดร.งามลมัย ผิวเหลือง รักษาการรอง ให้กบั การเกษตรและสังคมไทยนานัปการ อาทิ งาน อธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิตกับเหล่านิสิตจิตอาสา ‘เรา จะท�ำความ ดี ด้วยหัวใจ’ ตามพระราชด�ำริของสมเด็จ วิจยั ไม้ผลเมืองหนาว พืชผัก พืชไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ, งานวิจยั ด้านสิง่ แวดล้อม, การถ่ายทอดเทคโนโลยี พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ฯลฯ นับเป็นความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัย

1

เกษตรศาสตร์ทไี่ ด้มสี ว่ นร่วมในภารกิจของมูลนิธิ โครงการหลวง ได้รว่ มเป็นส่วนหนึง่ ของการสืบสาน พระราชปณิธานของในหลวงรัชกาลที่ 9 รวมทัง้ ได้ ช่วยเหลือเกษตรกรชาวเขาบนพืน้ ทีส่ งู เพือ่ ความกิน ดีอยูด่ ี นับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบนั อีกหนึ่งโครงการที่ทางมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์วทิ ยาเขตก�ำแพงแสนคิดและลงมือ ท�ำต่อเนื่องกันมากว่า 13 ปี คือโครงการ ‘ปลูก ข้าววันแม่ เก็บเกีย่ วกันพ่อ’ โครงการที่มีจุดเริ่ม ต้นจากการส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทีท่ รงส่งเสริมให้มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์คดิ ค้นเทคโนโลยีใหม่ๆเพือ่ ช่วยแก้ ปัญหาให้กบั เกษตรกร ตลอดจนทรงพระราชทาน ทุนทรัพย์เพื่อค้นคว้าวิจัยพันธุ์ข้าวและเทคนิค การปลูกข้าวอย่างเสมอมา กิจกรรมหลักในโครงการ ‘ปลูกข้าววันแม่ เก็บเกีย่ ววันพ่อ’ คือนิสติ บุคลากร และคณาจารย์ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะร่วมกันปลูกข้าว โดยใช้พนั ธุข์ า้ วทีท่ างมหาวิทยาลัยได้พฒ ั นาขึน้ ใน ช่วงวันแม่แห่งชาติ และจะมีการเก็บเกีย่ วเมือ่ ถึงช่วง วันพ่อแห่งชาติ โดยกิจกรรมทัง้ หมดจะถูกจัดขึน้ ที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน นอกเหนือจากการน�ำพระราชปณิธาน ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ไปลงมือปฏิบตั กิ บั การเกษตร แล้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยส�ำนักหอสมุด ได้จดั ท�ำ ‘ระบบบริการคลังความรู้ ศาสตร์พระราชา

ศาสตร์แห่งแผ่นดิน’ ซึง่ เป็นระบบทีร่ วบรวมองค์ความรู้ ผลงานที่ มี เ นื้ อ หาเกี่ ย วข้ อ งกั บ พระราชด�ำ รั ส พระปรีชาสามารถ พระราชกรณียกิจ และโครงการใน พระราชด�ำริเพือ่ การพัฒนาประเทศด้านการเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และวิทยาการ ต่างๆของในหลวงรัชกาลที่ 9 เพือ่ เป็นแหล่งความรู้ ส�ำหรับพสกนิกรชาวไทยได้นอ้ มน�ำไปประพฤติปฏิบตั ิ เป็นองค์ความรูใ้ นการพัฒนาและการด�ำเนินชีวติ และ พัฒนาประเทศให้ยงั่ ยืน ทีอ่ ำ� นวยความสะดวกให้กบั ประชาชนและผูต้ อ้ งการหาความรู้ ให้สามารถเข้าถึง ความรูไ้ ด้โดยสะดวก รวดเร็ว เข้าถึงองค์ความรูไ้ ด้ จากทุกทีท่ กุ เวลาโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ซึง่ ประกอบด้วย คลังความรูศ้ าสตร์พระราชา, ชัน้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ‘หนังสือของพ่อ’ และ คลังความรูร้ ชั กาลที่ 9 กับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สิง่ ทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเนรมิตให้ ผองชาวไทยนัน้ มากมายเหลือคณานับ ทัง้ หมดที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ลงมือท�ำ เพียงเพื่อ ขอเป็ น หนึ่ ง ในฟั น เฟื อ งเล็ ก ๆที่ ต้ั ง ใจสื บ สาน พระราชปณิธานของพระองค์ทา่ น เพือ่ ปฏิบตั หิ น้าที่ ให้สมกับเป็นสถาบันการศึกษาทีส่ ำ� คัญของประเทศ สร้างประโยชน์ให้แก่แผ่นดินไทยอย่างยัง่ ยืน นับเป็น การก้าวไปข้างหน้า ก้าวไปตามรอยเท้าของพ่ออย่าง แท้จริง


ท�ำความดีดว้ ยใจภักดิ์ อาสาสมัครสืบสานพระราชด�ำริพระเจ้าอยูห่ วั สืบเนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรทรงมีพระราชอนุสรณ์คำ� นึงถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระบรมชนกนาถ เป็นล้นเกล้าล้นกระหม่อมอย่างหาที่สุดมิได้ และเพื่ อ ทรงสนองตอบต่ อ ความรั ก และน�้ ำ ใจของปวงประชา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณให้ ประชาชนทุกภาคส่วน ได้มีส่วนร่วมถวายความอาลัยรัก น้อม ส่งเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพ และเพือ่ เป็นการสานต่อพระราชด�ำริ โครงการจิตอาสา ‘เราท�ำความ ดี ด้วยหัวใจ’ ซึ่งเป็นโครงการ ท�ำความดีร่วมกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่ได้ปฏิบัติภารกิจ มาโดยตลอด สอดคล้องกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทมี่ ยี ทุ ธศาสตร์ การพั ฒ นานิ สิ ต ให้ มี จิ ต สาธารณะ ภายใต้ ก ารดู แ ลอย่ า ง ใกล้ชิดของ ผศ.น.ท.หญิง ดร.งามลมัย ผิวเหลือง รักษาการ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต นิสิตเกษตรศาสตร์ก็ร่วมสนอง ปณิธานด้วยการท�ำกิจกรรมด้านบ�ำเพ็ญประโยชน์เกือบ 100 โครงการในแต่ละปี จากองค์กรกิจกรรม 17 องค์กร ทั้งชมรม กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์และสโมสรนิสิตทุกคณะ ด้วยพื้นฐาน ของนิสิตเกษตรศาสตร์ที่ชอบในการท�ำกิจกรรมที่ได้สัมผัสชีวิต การท�ำงานด้านอาสาสมัคร รวมทัง้ ในช่วงการเตรียมงานพระราชพิธถี วายพระเพลิง พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนารถบพิตร นิสิตเกษตรได้มีส่วนช่วยเป็นอาสาสมัครในงานอย่างต่อเนื่อง ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกจิตอาสา ‘เราจะท�ำความ ดี ด้วยหัวใจ’ ตามพระราชด�ำริของสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร อีกหนึ่งโครงการที่ใช้พลังจิตอาสาของนิสิตในการ ขับเคลื่อน คือโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยพลังนิสิตนักศึกษา โครงการ ‘รากแก้วนนทรี’ เพื่อน�ำองค์ ความรู้เรื่อง ‘ศาสตร์แห่งแผ่นดิน’ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่ง เป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมูลนิธิ รากแก้ว ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การบูรณาการการขับเคลื่อน และพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของรัฐบาลร่วมกับ มูลนิธิรากแก้ว และเพื่อเป็นการบูรณาการและบริหารจัดการด้าน จิ ต อาสาของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ‘ศู น ย์ เ กษตรศาสตร์ อ าสา’ จึ ง ได้ ถู ก จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ สนั บ สนุ น โครงการจิตอาสาของแต่ละองค์กรนิสิตภายในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และยั ง เป็ น การปลู ก ฝั ง การท� ำ งานแบบ บูรณาการ เพื่อความยั่งยืนในการลงมือท�ำอย่างเป็นระบบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ภาคภูมิใจในเมล็ดพันธุ์ จิตอาสาที่ผ่านการบ่มเพาะและดูแลอย่างใกล้ชิด เป็นเมล็ดพันธุ์ ทีเ่ ตรียมออกไปสร้างประโยชน์และออกไปท�ำความดีด้วยหัวใจ ทั้งหมดล้วนเป็นไปตามแนวพระราชด�ำริของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ที่ทรงวาดหวังให้คน ไทยมีหัวใจในการท�ำงานเพื่อผู้อื่น เพื่อประโยชน์ของสังคม และ ประโยชน์ ข องประเทศชาติ สร้ า งสั ง คมแห่ ง ความผาสุ ก จาก หัวใจของคนไทยทุกคน

2

KING RAMA X AND THE HEARTMADE 3



5

Says นครินทร์ พันธุมจินดา

มหวรรณ พันธุมจินดา

นายกสภา มก. ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร กับ 75 ปีเกษตรศาสตร์

CHAIRMAN OF COUNCIL มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปีที่ 75 “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยทีส่ ร้างขึน้ จาก ประสบการณ์ ซึ่งแตกต่างกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ เรามีวัฒนธรรม ประเพณี และที่ส�ำคัญเรามีศาสตร์ที่ครอบคลุมหลายแขนงวิชาที่ เปิดสอนอยูใ่ นประเทศไทย เราเป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่เรียกได้ ว่าที่สุดในประเทศ สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นความท้าทายใน วันทีเ่ ราต้องก้าวไปข้างหน้าท่ามกลางความเปลีย่ นแปลงต่างๆรายรอบ การจะเดินต่อไปในปีที่ 75 76 77 และปีตอ่ ๆไป เราต้องปรับตัวให้ทนั ซึง่ ถือเป็นความได้เปรียบของเราทีส่ ะสมทุนทางปัญญาและทุนทาง วัฒนธรรมไว้อย่างมหาศาล ปีที่ 75 และปีตอ่ ๆไปของเราแม้วา่ ดูจะ เป็นงานทีย่ ากขึน้ แต่เราจะต้องผ่านไปได้ดว้ ยประสบการณ์ของเรา เหมือนที่ผ่านมา” หลากหลายมุมของการพัฒนา “ด้วยนโยบายเชิงรุกของเรา นโยบาย 6Us ทีผ่ ลักดันให้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ขยับมาเป็นมหาวิทยาลัยชัน้ แนวหน้าใน 6 ด้าน เพือ่ ต่อสูก้ บั สภาพแวดล้อมและสภาพสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไปอย่างมากในปัจจุบัน ซึ่งในแต่ละด้านเราก็ต้องเร่งพัฒนา เช่น Green University ซึ่งเป็นแนวทางความเป็นไปของโลก เราก็ เร่งสร้างคนรุ่นใหม่ที่มีหัวใจคิดแบบยั่งยืน, Digital University

เราก็ต้องเร่งก้าวให้ทันโลก ต้องเปลี่ยนวิธีคิด วิธีการท�ำงาน เพื่อ พัฒนา Mindset ของคนเกษตร ไม่ใช่พฒ ั นาแค่อปุ กรณ์ให้ลำ�้ สมัย เพียงอย่างเดียว, Research University ที่เราเก่งเรื่องงานวิจัย ก็ต้องมีการท�ำงานข้ามศาสตร์กันมากยิ่งขึ้น เน้นการน�ำเอาไป ประยุกต์ใช้มากยิ่งขึ้น, World Class University ก็ต้องตอกย�้ำ ความช�ำนาญของเราเรือ่ ง Agriculture & Forestry ขณะทีส่ าขาอืน่ ๆ ก็ตอ้ งเร่งผลักดันให้ทดั เทียมระดับโลกให้ได้, Social Responsibility University เป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีเ่ ราอยากเห็นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นมหาวิทยาลัยทีเ่ อาความรูอ้ อกไปสูป่ ระชาชนให้ได้ และสุดท้าย Happiness University ทีเ่ รามุง่ สร้างสภาพแวดล้อมทีด่ ี เพราะ มันจะส่งผลต่อประสบการณ์การเรียนรู้ที่ดี” ของขวัญครบรอบปีที่ 75 ให้ครอบครัวเกษตรศาสตร์ “สิง่ ทีส่ ภาอยากให้กบั ครอบครัวเกษตรศาสตร์ของเรา คือความตั้งใจในการด�ำเนินนโยบายเพื่อประชาคมเกษตรศาสตร์ ทัง้ การวางต�ำแหน่งให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตนื่ ตัวพร้อมยอมรับ ทุกๆโอกาสที่เข้ามา รวมไปถึงการ Engagement กับชุมชน และสังคม ซึ่งทุกๆนโยบาย ทุกๆความต้องการของประชาคม เกษตรศาสตร์จะถูกรับฟังและผ่านการวิเคราะห์เพื่อผลประโยชน์ สูงสุดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อย่างแน่นอน”



7

Says นครินทร์ พันธุมจินดา

มหวรรณ พันธุมจินดา

รักษาการอธิการบดี มก. ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ กับ 75 ปีเกษตรศาสตร์

PRESIDENT OF

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปีที่ 75 “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตั้งแต่ปีที่ 75 เรื่อยไป จนถึงปีที่ 100 ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มองไปข้างหน้าไกลๆ ว่าเรา จะก้ า วผ่ า นช่ ว งเวลาแห่ ง การเปลี่ ย นแปลงที่ ฉั บ พลั น อย่ า งไร ยิง่ ในทุกวันนีท้ โี่ ลกแคบลง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จำ� เป็นต้อง เปลี่ยนสถานะสู่การเป็นมหาวิทยาลัยของคนทั้งโลก ที่ถ่ายทอด องค์ความรูท้ เี่ ราโดดเด่นผ่านเทคโนโลยีการศึกษาทีก่ า้ วไกลรองรับ ความต้องการศึกษาของคนไทยและชาวต่างขาติ ขณะเดียวกัน ก็ต้องสร้าง Global Mindset ให้คนในมหาวิทยาลัย ทั้งนิสิต คณาจารย์ และบุคลากร เพราะทุกวันนี้เราไม่ได้อยู่ตัวคนเดียว เราต่ า งต้ อ งพึ่ ง พาอาศั ย กั น ทั้ ง โลก ซึ่ ง ทั้ ง หมดจะต้ อ งปรั บ กระบวนการเรียนรู้สู่การเน้นการลงมือท�ำจริง เรียนกับของจริง เพื่อให้องค์ความรู้เข้าไปอยู่ในจิตใจของเด็กจริงๆ แล้วค่อยเอา วิชาการตามเข้าไปเสริม เพื่อให้เด็กมีหัวใจในการสร้างสรรค์สิ่ง ใหม่ๆ สอดคล้องกับนโยบายของประเทศที่เน้นให้มหาวิทยาลัย สร้างนวัตกรรม อีกทั้งมหาวิทยาลัยต้องปรับสิ่งแวดล้อมทางการ ศึกษาให้มีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น ขณะที่อัตลักษณ์ของความ เป็นไทยเราก็ยังไม่ได้ทิ้งไปไหน เป็นการเสริมจุดเด่น เน้นจุดขาย ส่งออกวัฒนธรรม สู่ความเป็นสากล” หลากหลายมุมของการพัฒนา “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ของเรามีนโยบายเชิงรุกสู่

การเป็นเลิศใน 6 ด้าน ซึ่งในแต่ละด้านก็มีการพัฒนารุดหน้าไปได้ ด้วยดี ในด้าน Green University เราก็มงุ่ เน้นความ Green ทีไ่ ม่ ได้เกิดขึ้นเพียงแค่กายภาพ เราอยากปลูกฝังความ Green เข้าไป ในใจนิสติ และบุคลากร เพือ่ ส่งออกสูส่ งั คม, ในด้าน Digital University มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ได้ลงมือท�ำในหลากหลายมิติ ทั้งใน แง่การบริหารและการบริการการศึกษา เช่น การน�ำเอาระบบ Big Data มา ใช้งาน หรือล่าสุดกับการผลักดัน Cashless Society ให้เกิดขึน้ ในรัว้ มหาวิทยาลัยไทยเป็นครัง้ แรก, ด้าน Research University เราก็พยายามส่งเสริมการบูรณาการสิง่ ต่างๆให้กลายเป็นนวัตกรรม เพื่อเสิร์ฟให้คนทั้งโลก โดยเราเน้นการใช้งานได้จริง เน้นประยุกต์ ศาสตร์หลากหลายแขนงเข้าด้วยกัน, ในด้าน World Class University ก็จะเป็นการให้บริการการศึกษากับนิสิตต่างชาติ รวมไปถึงการพยายามแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างกันกับ มหาวิทยาลัยต่างชาติ เช่น ในงาน President Forum ที่เพิ่งจัด ไปในช่วงงานวันเกษตรแห่งชาติ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนและเรียน รู้ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยใน ประเทศไทย และมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำใน 12 ประเทศ รวมกว่า 60 แห่ง, ในด้าน Social Responsibility University มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ไม่เฉพาะถ่ายทอดสิ่งที่เรามีอยู่ให้กับสังคมเพียง อย่างเดียว เรายังตั้งใจผลิตนิสิตที่มีจิตใจเพื่อสังคม ซึ่งถือเป็น ความรับผิดชอบอย่างหนึ่งของมหาวิทยาลัย นอกจากนั้นเรายัง ให้บริการทางความรูใ้ ห้กบั คนทีก่ า้ วไม่ทนั การเปลีย่ นแปลงซึง่ ส่วน

ใหญ่เป็นคนวัยผู้ใหญ่ เพื่อให้สังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืน และในด้านสุดท้าย Happiness University ที่เราไม่ได้มองตัว เองเป็นแค่มหาวิทยาลัยให้ความรู้แก่เหล่านิสิต แต่เรามองว่า เราคือครอบครัวใหญ่ ฉะนั้นการจะท�ำอะไรก็ต้องนึกถึงความสุข ของคนในครอบครัวเป็นส�ำคัญ การท�ำกิจกรรมต่างๆหรือการ ด�ำเนินภารกิจต่างๆของเราจึงเป็นไปด้วยความถ้อยทีถ้อยอาศัย เพื่ อสร้ างบรรยากาศแห่ ง ความสุ ข ให้ เ กิ ด ขึ้ น ในมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ของพวกเราทุกคน” ของขวัญครบรอบปีที่ 75 ให้ครอบครัวเกษตรศาสตร์ “สิ่งที่เราอยากให้กับครอบครัวเกษตรศาสตร์อาจจะ ไม่ใช่ของขวัญ แต่เป็นสิ่งที่เราอยากขับเคลื่อนไปร่วมกัน ไม่ว่าจะ เป็ น การสร้ า งสรรค์ น วั ต กรรมในด้ า นการเกษตรและอาหาร ตามนโยบาย ‘Thailand 4.0’ ของรัฐบาลที่อยากผลักดันให้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็น ‘KU 4.0’ หรือจะเป็นการผลิต หลักสูตรเพือ่ สร้าง ‘คนไทย 4.0’ เพือ่ Engage กับชุมชนและสังคม ขณะที่ ใ นระดั บ โลกก็ อ ยากเห็ น พวกเราช่ ว ยกั น ผลั ก ดั น ให้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดดเด่นในสายตาชาวโลก ทั้งในด้าน Agriculture & Forestry ที่เราถนัดและได้รับการยอมรับ รวม ไปถึงในด้านอื่นๆ ซึ่งทั้งหมดที่เราช่วยกันท�ำเพื่อมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เพื่อประเทศไทยของเรา”


s


9

สแกน เลย!

เฉพ

The CONTENT

UB นK ู้อ่า าะผ

ส่วนลด

T IN LE

UL

2-3

Royal GRACE

11

Some OTHER STORIES

e sp

DEEP ROOTED Nonsee Kram Walking Street

The CAPTURE

KU Graduation Ceremony 2017

20-23

13

First IN

The First 2nd Feb of KU

16-17

The REPORT Thankless Duty

ed

Diamond Jubilee of KU

Intellectual Products

4.0

32-35

30-31

The REPORT Active Learning

36-37

IN NEW Look

Special REPORT

Cashless KU, Future is here!

Designing New Thangs!

38-39

40-41

The NISIT

The REPORT

Art of Living, Art of Making Usefulness

The CAFETERIA BULLETIN Crew

The EDITORIAL สวัสดีครับชาวเกษตรศาสตร์ทกุ ท่าน KU BULLETIN ทีอ่ ยูใ่ นมือทุกท่านตอนนี้ เป็น ฉบับพิเศษทีเ่ ราตัง้ ใจท�ำขึน้ เพือ่ เฉลิมฉลองวาระทีม่ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ทรี่ กั ยิง่ ของพวกเราทุกคนเดินทางเข้าสูป่ ที ี่ 75 อย่างภาคภูมิ ซึง่ เนือ้ หาในเล่มนอกจากเรือ่ งเด่นจากปกแล้ว ก็ ยังอัดแน่นไปด้วยนานาสาระเช่นเคย ซึ่ ง เมื่ อ ไม่ กี่ วั น ที่ ผ ่ า นมา มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ของเราได้มโี อกาสจัดงานส�ำคัญๆ ในรูปแบบ ต่างๆ ทัง้ ‘งานวันเกษตรแห่งชาติ’ ทีร่ ว่ มมือกับกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เพือ่ เผยแพร่ความรูท้ างการเกษตรสูป่ ระชาชนและ ให้เห็นความส�ำคัญของอาชีพทางการเกษตร ภายใต้แนวคิด ‘ร่วมกันก้าวไป เกษตรไทย 4.0’ รวมไปถึงงานประชุมอธิการบดี นานาชาติ ‘KU Presidents Forum: In Celebration on the 75th Anniversary of Kasetsart University’ ภาย ใต้หวั ข้อหลักของการประชุมเรือ่ ง ‘การอุดมศึกษาในห้วงเวลา แห่งการเปลีย่ นแปลง’ โดยได้รบั ผลตอบรับเป็นอย่างดีจาก บรรดาผูเ้ ข้าร่วมการประชุมครัง้ นี้ ทัง้ มหาวิทยาลัยในไทย 31 แห่ง และมหาวิทยาลัยในอีก 12 ประเทศ รวม 35 แห่ง ตลอด จนเอกอัครราชทูตและผูแ้ ทนจาก 4 ประเทศ ถือเป็นงานใหญ่และ เป็นงานแห่งความภาคภูมใิ จทีห่ ลายสถาบันให้เกียรติมาในงาน ประชุมเพือ่ เฉลิมฉลองปีที่ 75 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 75 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นปีที่ ต้องจารึกไว้ในหน้าประวัตศิ าสตร์ของมหาวิทยาลัย เนือ่ งจาก ในปีนเี้ ป็นปีทเี่ ราจะได้เห็น ‘เกษตรศาสตร์แห่งอนาคต’ ในหลาก หลายมิติ เรือ่ งส�ำคัญเรือ่ งหนึง่ ทีผ่ มขอยกมาบอกเล่าให้ทา่ น ผูอ้ า่ นทราบคือการก้าวไปสูก่ ารเป็น ‘KU 4.0’ แบบเต็มรูปแบบ ซึง่ การไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางดังกล่าวเราต้องมี ‘คูห่ ’ู ทีค่ ดิ และ ตัง้ ใจในแบบเดียวกัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้จบั มือกับธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคารชั้นน�ำของประเทศที่คิดเห็นในแบบ เดียวกันกับเรา ซึง่ เขาตัง้ ใจจะมาร่วมพัฒนาทัง้ ระบบทางเงิน ของมหาวิทยาลัย ปรับปรุงสาธารณูปโภคต่างๆของเราให้มี ความดิจทิ ลั มากยิง่ ขึน้ เช่น Smart ID Card, Smart Locker, Smart Car Parking และยังเข้ามาพร้อมระบบ ‘สังคมไร้ เงินสด’ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล จึงจะท�ำให้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กลายเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรก ของประเทศไทยทีน่ สิ ติ และบุคลากรสามารถใช้ชวี ติ ประจ�ำ วันในแบบ ‘Digital Society’ ได้อย่างเต็มตัว แต่การจะ ‘ก้าว’ ไปข้างหน้ายังจุดมุง่ หมายดัง กล่าว ผมเชือ่ ว่าเราจะท�ำไม่สำ� เร็จแน่ๆ หากไม่ได้แรงกาย แรง ใจ ตลอดจนความร่วมมือจากชาวเกษตรศาสตร์ทกุ คน เพือ่ ให้ ‘ความภาคภูมใิ จ’ ในการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งอนาคตของเรา ผลิดอกออกผลในเร็ววันนี้

n o i it

The Game Creator

28-29

42-43

บาท

เมื่อซื้อสินค้า ที่ KU BOOK CENTER ครบ 300 บาท

Says

Chairman of KU Council President of KU

The INTERVIEW

24-27

The COVER STORY

5, 7

50

l a i c

14-15

18-19

นั้น เท่า

Cover

KU Radio Plus

44-45

46-47

Zoology Museum

#kasetfair2018

The HIDEOUT

Pick PIX

(ผศ.รัชด ชมภูนิช) บรรณาธิการบริหาร KU BULLETIN รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายพัฒนายุทธศาสตร์และสื่อสารองค์กร

Created by มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 | Executive Editor ผศ.รัชด ชมภูนิช | Editor-in-Chief นครินทร์ พันธุมจินดา | Assistant Editor กุลนิษฐ์ จะยะสกูล | Editorial Staff ธนกร เพชรพงษ์, นันท์นภัส พลเศรษฐเลิศ, ภากร ชยวัฑโฒ, ศิริรัตน์ ศิริธรรมศักดา | Art Director มหวรรณ พันธุมจินดา | Special Thanks to ปิตริ ตั น์ ยศวัฒน (ศิลปินภาพสีนำ�้ ) | Information Supporting Team งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | Advertising Coordinator รั ก พงศ์ มนต์ ภิร มย์ | Printed at มู นไลท์ พริ้ นท์ ติ้ ง 227,229 ซอยพระรามที่ 2 ซอย 51 ถนนพระรามที่ 2 แขวงท่าซ้าย เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 | Contact KUBULLETIN@hotmail.com และ facebook.com/KUBULLETIN



11

Some OTHER STORIES กุลนิษฐ์ จะยะสกูล

คณะเศรษฐศาสตร์ มก.

, A TOP THREE GREEN UNIV. OF THAILAND มก. ขึ้นแท่นอันดับ 3 มหาวิทยาลัยสีเขียวของประเทศไทย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นมหาวิทยาลัย 1 ใน 619 แห่งทัว่ โลกทีเ่ ข้าร่วมการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวของโลก ซึง่ ด้วย พลังของชาวเกษตรศาสตร์ทำ� ให้ มก. ติดอันดับ 1 ใน 100 โดยได้อนั ดับ ที่ 96 ของโลก และเป็นอันดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ด้วย คะแนนรวม 5,706 คะแนน จากผลการส�ำรวจของ UI Green Metric World University Ranking 2017 ซึง่ จัดท�ำโดย University of Indonesia เมือ่ วันที่ 11 ธันวาคม 2560 ซึง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รบั คะแนนจากเกณฑ์การประเมินทัง้ 6 ด้าน ดังนี้ 1. การวางระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน 758 คะแนน 2. การจัดการพลังงานและการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 835 คะแนน 3. การจัดการของเสีย 1,251 คะแนน 4. การจัดการน�ำ้ 670 คะแนน 5. การสัญจร 1,162 คะแนน 6. การศึกษา 1,030 คะแนน รวม 6 ด้าน 5,706 คะแนน ซึง่ Top 5 มหาวิทยาลัยสีเขียวของไทย มีดงั นี้ อันดับ 1 ของไทย อันดับ 86 ของโลก; มหาวิทยาลัยมหิดล อันดับ 2 ของไทย อันดับ 90 ของโลก; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันดับ 3 ของไทย อันดับ 96 ของโลก; มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อันดับ 4 ของไทย อันดับ 122 ของโลก; มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี อันดับ 5 ของไทย อันดับ 143 ของโลก; มหาวิทยาลัยนเรศวร PAGE 17



13

First IN กุลนิษฐ์ จะยะสกูล

หอจดหมายเหตุ มก.

THE F1RST 2nd FEB OF 2 กุมภาพันธ์ 2486 ครั้งแรกของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันแรกของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ย้อนไปเมือ่ ปี พ.ศ. 2447 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เดิมเป็น ‘โรงเรียนช่างไหม’ สถานศึกษา ที่มีระบบการศึกษาวิชาเกษตรแห่งแรกของไทย และได้เปลีย่ นชือ่ เป็น ‘โรงเรียนวิชาการเพาะปลูก’ ก่อนกระทรวงเกษตราธิการจะรวมโรงเรียนวิชา การเพาะปลูกและโรงเรียนในสังกัดอีก 2 โรงเรียน เป็น ‘โรงเรียนกระทรวงเกษตราธิการ’ ซึง่ ถือเป็น หลักสูตรระดับอุดมศึกษาวิชาเกษตรศาสตร์ หลักสูตรแรกของไทย หลังจากนัน้ ก็เริม่ มีการจัดตัง้ ‘โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม’ ขยายไปสู่ ทุกภูมิภาค จนถึงในปี พ.ศ. 2478 รัฐบาลเกรงว่า จะมีการผลิตครูเกษตรเกินความต้องการของประเทศ จึงตัง้ ใจจะยุบโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม ลง หลวงอิงคศรีกสิการ หลวงสุวรรณวาจกกสิกจิ และพระช่วงเกษตรศิลปการ ได้ร่วมกันเสนอให้

คงโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมที่แม่โจ้ไว้ พร้ อ มทั้ ง จั ด ตั้ ง ‘โรงเรี ย นมั ธ ยมวิ ส ามั ญ เกษตรกรรม’ ขึ้ น แทน และได้ ย กระดั บ เป็ น ‘วิทยาลัยเกษตรศาสตร์’ ต่อมาได้รวมกิจการ กับ ‘โรงเรียนป่าไม้’ จังหวัดแพร่ หรือภายหลัง เปลีย่ นชื่อเป็น ‘โรงเรียนวนศาสตร์’ จึงย้ายมา จัดตั้งที่ ‘สถานี เ กษตรกลาง บางเขน’ และ สถาปนาเป็น ‘มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์’ ใน วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486

แผนกวิชาเคมี แผนกวิชากีฏวิทยาและโรคพืช และ แผนกวิชาวิศวกรรมเกษตร มีพระช่วงเกษตรศิลปการเป็นคณบดีคนแรก, ‘คณะประมง’ ทีแ่ รก เริม่ มี 4 แผนกวิชาคือ ชีววิทยา ประมง ผลิตภัณฑ์ และเพาะเลี้ ย ง มีศ าสตราจารย์ บุ ญ อิ น ทรั ม พรรย์ เป็นคณบดีคนแรก, ‘คณะเศรษฐศาสตร์’ และ ‘คณะบริหารธุรกิจ’ ที่มีเดิมชื่อว่า ‘คณะ สหกรณ์’ โด ยมี คุ ณ พระพิ จ ารณ์ พ าณิ ช ย์ อดี ต อธิ บ ดี ก รมสหกรณ์ เป็ น คณบดี ค น แรก และ ‘คณะวนศาสตร์’ ที่วิวัฒนาการมา วันที่มี 4 คณะแรกตั้ง จาก ‘โรงเรียนป่าไม้’ ของกรมป่าไม้ และได้เปลีย่ น นอกจากวันสถาปนามหาวิทยาลัย ชือ่ เป็น ‘โรงเรียนวนศาสตร์’ และ ‘วิทยาลัย เกษตรศาสตร์แล้ว วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 วนศาสตร์’ ตามล�ำดับ จนเมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ ยังเป็นวันก่อตั้ง 4 คณะแรกของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2486 วิ ท ยาลั ย วนศาสตร์ จึ ง ได้ เ ปลี่ ย น เกษตรศาสตร์ ได้แก่ ‘คณะเกษตร’ เดิมชื่อว่า ฐานะเป็ น ‘คณะวนศาสตร์’ ในสังกัดมหาวิทยาลัย ‘คณะเกษตรศาสตร์’ โดยมีแผนกวิชา 5 แผนก เกษตรศาสตร์ โดยมี พล.ต.ท.เพียรสฤษฎ์ ยุทธคือ แผนกวิชาเกษตรศาสตร์ แผนกวิชาสัตวบาล ศิลป พิรยิ ะโยธิน เป็นคณบดีคนแรก


14

DEEP ROOTED Nonsee นันท์นภัส พลเศรษฐเลิศ

ประชาสัมพันธ์ มก.ฉกส.

หากได้ เ ดิ นทางไปยั ง ย่ านเมื องเก่ า จ.สกลนคร และไปสักการะวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ในช่วงไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมา เราก็จะเห็นพ่อค้า แม่คา้ ชาวบ้าน ตัง้ แต่วยั เด็กไปจนถึงคนเฒ่า คนแก่ น�ำผ้าคราม ผลิตภัณฑ์จากคราม และภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้าน หลาก หลายรู ป แบบมาวางจ� ำ หน่ า ยเรี ย งรายริ ม สองฝากฝั่งถนนเรืองสวัสดิ์ ซึ่งมีความยาวกว่า 500 เมตร มองโดยผิวเผิน ถนนผ้าครามเป็น ความตืน่ ตาตืน่ ใจของผูแ้ วะไปเทีย่ วชม เป็นสวรรค์ ย่อมๆของนักช็อปทีโ่ ปรดปรานสินค้า หัตถกรรม พืน้ บ้านหรือทีน่ ยิ มเรียกกันว่า ‘งานคราฟต์ (Craft)’ เป็นถนนทีต่ อบโจทย์ของนักเดินทางสายกินที่ชื่น ชอบอาหารท้องถิ่นได้อย่างดีเยี่ยม ซึง่ คล้ายกับ ในหลายจังหวัดทีม่ ถี นนคนเดินมาช่วยท�ำให้เกิด การกระจายรายได้ ถนนผ้าครามก็มวี ตั ถุประสงค์อย่างหนึง่ คือการกระจายรายได้เช่นกัน แต่มีรายละเอียด และทีม่ าทีไ่ ปทีล่ กึ ซึง้ กว่านัน้ เดิมทีถนนสายนีเ้ ป็น เพียงทางผ่านของนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามา สักการะพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ซึ่งเป็นวัดคู่บ้าน คูเ่ มืองทีใ่ ครๆมาสกลนครก็ตอ้ งมากราบไหว้ แต่ เมื่อนักท่องเที่ยวเยี่ยมเยือนวัดแห่งนี้เสร็จก็มัก จะเดินทางต่อไปยังจังหวัดอืน่ ทันที เนือ่ งจากเมือ่ 5-6 ปีที่แล้ว ยังไม่มีใครหรือหน่วยงานใดเข้ามา ดึงจุดเด่นของ จ.สกลนคร ให้กลายเป็นจุดสนใจ ทั้งในสายตาของนักท่องเที่ยวและนักลงทุน ปี 2554 กรมส่งเสริมอุตสาหรรมภาค ที่ 5 กระทรวงอุตสาหกรรม ต้องการรวมกลุ่ม อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มใน จ.สกลนคร ให้มี ความเข้มแข็ง จึงได้ขอความร่วมมือจากภาคส่วน ต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งหนึ่งในหน่วยงาน

ที่ช่วยผลักดันให้เกิดการรวมกลุ่มและวางแผน การท�ำงานระยะยาวก็คอื กองบริหารงานวิจยั และ วิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต เฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร (มก.ฉกส.) สนธยา ผาลลาพัง หัวหน้าโครงการ การพัฒนาย่านเมืองเก่าฯเล่าให้ฟังว่า โมเดล ของการรวมกลุม่ ไม่ใช่เรือ่ งใหม่ เพียงแต่ในพืน้ ที่ ที่พวกเขาอยู่การท�ำธุรกิจผ้าครามยังไม่มีการ รวมต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำไว้ด้วยกัน เห็น ได้จากชาวบ้านที่ทอผ้าตามความสามารถจาก วัตถุดบิ ทีม่ ี บ้านไหนลูกหลานไม่สบื สานต่อ ลายผ้า ก็หายไปตามชั่วอายุคน หรืออีกทางหนึ่งก็ส่ง เพียงวัตถุดบิ ต่อไปยังโรงงานให้นำ� ไปแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์นอกเหนือเสือ้ ผ้า เครือ่ งนุง่ ห่ม ส่วนผู้ บริโภคอย่างเราๆก็ไม่มีพื้นที่ที่จะให้หาซื้อสินค้า พื้นบ้านได้อย่างสะดวก แต่ละส่วนจึงแยกออก จากกัน เมือ่ เกษตรศาสตร์ยนื่ มือเข้าไปเกีย่ วข้อง ก็เกิดการวางแผนและประชุมเพือ่ คิดโครงการน�ำร่อง ปีละ 3 โครงการ โดยในช่วง 1-2 ปีแรกเป็นการ เข้าไปพูดคุยกับภาคส่วนต่างๆให้เกิดความเข้าใจ และความเสมอภาค ทั้งชาวบ้าน ภาคธุรกิจ และ ภาครัฐ โดยกองบริหารงานวิจยั มีหน้าทีผ่ ลักดัน และคอยจัดหาผูม้ คี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญในด้านต่างๆ มาสนับสนุนทุกๆโครงการ จนกระทั่งเมื่อมีการ รวมตัวของกลุ่มมากขึ้นจาก 20 คน จนมีจ�ำนวน เกือบ 200 คน กองบริหารงานวิจยั ฯ มก.ฉกส. จึง ผลักดันให้เกิด ‘ย่านเมืองเก่าสกล ถนนผ้าคราม’ ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการน�ำร่องให้เกิดขึ้น ภายใต้ สโลแกน ‘มนต์เสน่ห์เมืองสกล วิถีคนวิถีคราม’ และได้รบั กระแสนิยมมากขึน้ ททท.จึงบรรจุถนน เส้นนี้ไว้ในเส้นทางท่องเที่ยวของภาคอีสาน

การด�ำเนินงานของคณะกรรมการในกลุม่ คลัสเตอร์ คณะกรรมการโครงการ ตลอดจนผล ที่เกิดขึ้นจากการสร้างภาพลักษณ์ของผ้าคราม ให้เป็นทีร่ บั รูข้ องผูค้ นอย่างกว้างขวาง เป็นการจุด ประกายให้อาจารย์และนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร เข้ามามี ส่วนร่วมในการสร้างสรรค์และพัฒนาผ้าครามของ จ. สกลนคร ให้มที งั้ คุณค่าและมูลค่า เป็นทีย่ อมรับ ทั้งในไทยและไปไกลยังต่างแดน ในด้านความร่วมมือของหลากหลาย ภาคส่วนของเกษตรศาสตร์ต่อโครงการนี้ก็เป็น ไปด้วยความเต็มที่ อย่างเช่นคณะสาธารณสุขศาสตร์ มก.ฉกส. ที่เข้ามาช่วยในการศึกษาปัญหาพิเศษ ว่าผ้าทอมือสามารถน�ำไปช่วยทางการแพทย์ ได้ อย่างไรบ้าง ซึง่ ผลทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื การน�ำผ้าฝ้ายทอมือ ไปใช้ทำ� ลูกประคบสมุนไพร ขณะทีค่ ณะศิลปศาสตร์ และวิทยาการจัดการ มก.ฉกส. ก็ได้เข้ามาช่วยศึกษา และช่วยพัฒนาแผนการตลาดให้เกิดการต่อยอด อย่างสร้างสรรค์ เช่นการใช้โซเชียลมีเดียเข้าไป มาช่วย ไม่ว่าจะเป็นการติด Hashtag การสร้าง แอปพลิเคชั่น ซึ่งจะเห็นได้ว่าลายผ้าทอมือยุค ปัจจุบนั มีความแตกต่างและเหมาะกับคนในทุกๆวัย อีกทั้งยังช่วยแสดงความคิดเห็นและผลักดันให้ เกิดงานแสดงลายผ้าและแฟชั่นโชว์ โครงการถนนผ้าคราม เกิดขึน้ จากการ ร่วมมือร่วมใจกันของทุกภาคส่วนใน จ.สกลนคร ภายในระยะเวลา 5 ปี เราได้เห็นปัญหา เห็นวิธกี าร แก้ปญ ั หา ได้เห็นนักท่องเทีย่ วหลากเชือ้ ชาติเดินทาง ไปยัง จ.สกลนคร เพื่อซึมซับวิถีชุมชนผ้าคราม เห็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ต ่ อ ยอดจากการท� ำ เสื้ อ ผ้ า เครือ่ งนุง่ ห่มเห็นแฟชัน่ ผ้าครามทีเ่ ป็นการเปลี่ยน ทัศนคติ ของวัยรุ่นให้มองภูมิปัญญาท้องถิ่น


Kram Walking Street ย่านเมืองเก่าสกล ถนนผ้าคราม ด้วยสายตาที่เปลี่ยนไป ได้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและ ผู้บริโภคที่สามารถเจอกันได้โดยตรง ได้แลกเปลี่ยนความคิด เห็นซึ่งกันและกัน และที่ส�ำคัญที่สุดคือการยกระดับคุณภาพ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวิทยาเขตที่กระจายออกไป แต่ละภูมิภาค มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร หรื อ ‘นนทรี อี ส าน’ ไม่ เ พี ย งแต่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เป็ น สถาบั น การศึ ก ษา แต่ ยั ง เป็ น ที่ พึ่ ง พาของคนในท้ อ งถิ่ น เพราะชุมชนต่างคาดหวังว่าชื่อ ‘เกษตรศาสตร์’ จะช่วยสร้าง ความเจริญและความสุขให้กบั พวกเขา เป็นดัง่ ทีพ ่ งึ่ พิงของชาวบ้าน โครงการนี้ จึ ง สร้ า งความชุ ่ ม ชื่ น ในหั ว ใจ และแสดงให้ เ ห็ น ว่ า เกษตรศาสตร์ได้เป็นส่วนหนึ่งในการมุ่งสร้างศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพื่ อ ความกิ น ดี อ ยู ่ ดีข องชาติ ตามปณิ ธ านที่ เ รามุ ่ ง หวั ง ไว้ ให้กลายเป็นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง


16

The REPORT ธนกร เพชรพงษ์

KU CSC PHOTO CLUB, มหวรรณ พันธุมจินดา และ นครินทร์ พันธุมจินดา

ผู้ปิดทองหลังพิธีพระราชทานปริญญาบัตร เป็ น เวลานานนั บ 75 ปี ที่ เ หล่ า บั ณ ฑิ ต หลายต่ อ หลายรุ ่ น ของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ได้จบการศึกษาออกจากรั้วนนทรีแห่งนี้ และในทุกๆปี การผ่านพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตรถือเป็นเครือ่ งแสดงถึงการเป็นบัณฑิตอย่างเต็มตัว เฉกเช่นเดียวกับปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา ที่บัณฑิตปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 15,142 คนในทุกระดับการศึกษา ทุกวิทยาเขต ทุกสถาบันสมทบ ได้สำ� เร็จการศึกษาจากรัว้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึง่ บัณฑิตจ�ำนวนเรือนหมืน่ จากบัณฑิตทั้งหมดได้มารวมตัวกัน ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เพื่อเข้าร่วม พิธีพ ระราชทานปริญญาบัตร แต่ พิ ธีที่ส� ำ คั ญ เช่ น พิ ธีพ ระราชทานปริ ญญาบั ต ร ย่ อมมี คนเบื้องหลังจ�ำนวนมากที่ช่วยหนุนช่วยดันให้พิธีดังกล่าวถึงฝั่งฝันได้อย่างสวยงาม

The Caption 1 | อาจารย์อาสาตรวจความเรียบร้อยของว่าที่บัณฑิตใน การซ้อมใหญ่พธิ พ ี ระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปี 2560 2 | รศ.อนงค์ พูนสุวรรณ อดีตอาจารย์ประจ�ำวิชาหลักการ จัดดอกไม้ กับบทบาทหนึง่ ในผูป้ ดิ ทองหลังพิธพ ี ระราชทาน ปริญญาบัตรครั้งที่ผ่านมา 3 | ป๊อปอัปการ์ดแสดงความยินดีกับเหล่าบัณฑิตใหม่ที่ มอบให้ในการซ้อมใหญ่พธิ พ ี ระราชทานปริญญาบัตร เป็น การ์ดทีอ่ อกแบบให้เป็นการ์ดใบเดียวในโลก ซึง่ บัณฑิตแต่ละ คนสามารถติดรูปและเซ็นลายมือชื่อลงไปในการ์ดได้ โดย ได้อัญเชิญพระบรมฉายาลักษณ์ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ในการพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตรให้แก่เหล่าบัณฑิต มก. มาไว้ในการ์ด 4 | เหล่าบุคลากรทีท่ ำ� หน้าทีเ่ บือ้ งหลังแบบไม่รจู้ กั เหน็ดเหนือ่ ย เพื่อเป็นค�ำยินดีให้กับเหล่าบัณฑิตใหม่ 5 | ขบวนนิสิตถือธงและป้ายคณะก็ได้รับความร่วมมือ จากกองกิจการนิสิต

2

3

4

5

สู่พิธีพระราชทานปริญญาบัตร พิธที ยี่ งิ่ ใหญ่และส�ำคัญเช่นนีจ้ ำ� เป็นต้อง อาศัยความร่วมมือจากคนหลากหลายฝ่าย ทั้ง คณาจารย์ บุคลากร และนิสิต จากทุกคณะ ทุก วิทยาเขต ที่เริ่มแรกนั้นต้องมีการวางแผนกันใน ระดับคณะกรรมการด�ำเนินงานซึ่งมีตัวแทนจาก หลายหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ วางแนวทางการ ท�ำงานโดยรวมตั้งแต่ต้นจนจบ ซึง่ ก่อนถึงวันพิธพี ระราชทานปริญญา บัตรนั้น ต้องมีการฝึกซ้อมการรับงานและเดิน ขบวนของบัณฑิต โดยจะต้องได้รับการประเมิน จากคณะอนุกรรมการฝ่ายฝึกซ้อมและจัดขบวน เสียก่อน ซึง่ มีคณาจารย์ของแต่ละคณะช่วยดูแล ความเรียบร้อยของนิสติ ตัง้ แต่วนั ฝึกซ้อมวันแรก จนถึงวันพิธีจริง

รศ.ดร.ลิลลี่ กาวีตะ๊ อดีตรองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการจัดงานพิธี พระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2559 คือหนึ่งในอาจารย์เกษียณอายุผู้อุทิศตนให้พิธี พระราชทานปริญญาบัตรครั้งที่ผ่านมาในฐานะ ที่ปรึกษาของคณะท�ำงานที่คอยช่วยตัดสินใจใน เงื่อนไขต่างๆที่เกิดขึ้น ซึง่ อาจารย์เล่าให้ฟงั ว่า ถึง แม้อาจารย์จะเกษียณอายุไปแล้ว แต่กย็ งั มาช่วย ท�ำงานของมหาวิทยาลัยอยู่ เพราะความผูกพันที่ มีต่อมหาวิทยาลัยและความภูมิใจที่ได้เข้ามาเป็น ส่วนร่วมในงานส�ำคัญงานนี้ “พิธกี ารต่างๆทีถ่ กู จัดขึน้ นัน้ ล้วนแต่ มีจุดประสงค์เพื่อแสดงความยินดีแก่บัณฑิตที่ จบการศึกษา และให้บัณฑิตมีความภาคภูมิใจใน ความเป็นลูกเกษตร และในส่วนของฝ่ายจัดงานก็ ถือเป็นการส่งต่องาน สอนงาน และให้ค�ำแนะน�ำ สายสัมพันธ์แห่งเกษตรศาสตร์ แก่อาจารย์รนุ่ ใหม่ๆ ให้สามารถด�ำเนินงานในปีนี้ พิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตรทุกครัง้ และปีตอ่ ๆไปได้อย่างราบรืน่ และประสบความส�ำเร็จ” เกิดขึน้ ได้ดว้ ยความร่วมแรงร่วมใจ แม้กระทัง่ เหล่า นอกจาก รศ.ดร.ลิลลี่ กาวีต๊ะ แล้ว อาจารย์เกษียณอายุราชการทีย่ งั มีความผูกพันกับ พิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งที่ผ่านมา ยัง รัว้ เกษตรศาสตร์กย็ นิ ดีทจี่ ะช่วยเหลือเป็นทีป่ รึกษา มีอาจารย์อาวุโสอีกหลายท่านทีเ่ ข้ามาร่วมช่วยงาน ให้กบั คณะกรรมการจัดงานมาอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ รศ.อนงค์ พูนสุวรรณ อดีตอาจารย์ประจ�ำวิชา


PAGE 11

Some

OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี

1

มก. เป็น 1 ใน 7 มหาวิทยาลัยน�ำร่อง จัดหลักสูตรบูรณาการข้ามคณะ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เตรียมเปิดหลักสูตร ศาสตร์แห่งแผ่นดิน ภายในเดือนสิงหาคม 2561 ซึง่ การเรียนเน้นหลักสูตรพืน้ ฐานเชิงวิจยั ความคิด สร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม และท�ำงานเป็นทีมได้ ตามวาระ เร่งด่วนของรัฐบาลทีต่ อ้ งการให้มหาวิทยาลัยเร่งผลิต บัณฑิตสายพันธุใ์ หม่ จัดหลักสูตรบูรณาการข้าม คณะ เน้นวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เริม่ น�ำร่อง ในมหาวิทยาลัย 7 แห่ง โดยดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดเผยว่า ขณะนี้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กำ� ลัง ร่างหลักสูตรศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพือ่ การพัฒนาที่ ยัง่ ยืน ซึง่ เป็นหลักสูตรทางด้านวิชาชีพทีม่ กี ารเรียน การสอนแบบบูรณาการในหลายวิชาเข้าด้วยกัน เน้น การปฏิบตั แิ ละการคิดแก้ปญ ั หาในสถานทีจ่ ริง ซึง่ ผู้ เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความต้องการ โดย ใช้เวลาประมาณ 3 เดือน เมือ่ จบหลักสูตรก็จะได้รบั ประกาศนียบัตร หรือถ้าต้องการใบปริญญาก็ตอ้ ง เรียนให้ครบหน่วยกิตตามทีก่ ำ� หนด แล้วจะได้รบั ใบ ปริญญาสายวิทยาศาสตรบัณฑิต (วทบ.) ส�ำหรับ นักเรียนม.6 ทีต่ อ้ งการจะเรียนหลักสูตรศาสตร์แห่ง แผ่นดินก็สามารถทีจ่ ะเลือกเรียนได้ผา่ น TCAS รอบ 5 หรือ การรับตรงแบบอิสระ (รอบเก็บตก)

Thankless Duty หลักการจัดดอกไม้ ทีม่ าร่วมแสดงความยินดีกบั บัณฑิตด้วยพฤกษพรรณแสนสวยในปะร�ำพิธี, รศ.ดร.จวงจันทร์ ดวงพัตรา และ รศ.ดร.อ�ำไพวรรณ ภราดร์นวุ ฒ ั น์ ทีร่ บั บทบาทเป็นผูป้ ระเมินการฝึก ซ้อมการรับงานของบัณฑิตและการอ่านรายชือ่ บัณฑิตของคณบดี รวมไปถึง ผศ.ชวรีย์ ยาวุฒิ จากวงดนตรี KU Band ที่รับบทบาท ดูแลเพลงที่ใช้ขับร้องในพิธี

กองยานพาหนะ อาคารและสถานที่ ขณะที่อาหารและการรับรอง แขกก็ได้ความช่วยเหลือจากภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร ขบวนนิสติ ถือธงและป้ายคณะก็ได้รบั ความร่วมมือจากกองกิจการนิสติ และเหล่านักศึกษาพยาบาลจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ก็อุทิศตนในการช่วยดูแลตรวจอุณหภูมิร่างกาย รวมถึงสุขภาพของบัณฑิตในพิธี

เกษตรรวมใจเป็นหนึ่งส่งถึงบัณฑิตใหม่ นอกจากความร่วมแรงร่วมใจของบรรดาอาจารย์เกษียณอายุ ยังมีความร่วมมือจากอีกหลากหลายฝ่าย ไม่วา่ จะเป็นพรรณไม้ที่ ประดับประดา ณ ทีป่ ระทับของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัย ลักษณ์ อัครราชกุมารี ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของภาควิชาพืช สวน คณะเกษตร ซึง่ เป็นผูจ้ ดั หาและตกแต่งสถานทีอ่ กี ค�ำรบหนึง่ ขณะที่ดนตรีที่บรรเลงในระหว่างพิธีและผู้น�ำขับร้องเพลง ก็มา จากวงดนตรี KU Band ในด้ า นการจั ดตบแต่ งสถานที่ ส� ำ หรั บ ประกอบพิธีทั่วทั้งบริเวณมหาวิทยาลัยก็อยู่ภายใต้การดูแลของ

การร่วมด้วยช่วยกันจากทุกฝ่าย ผูค้ นมากมายทัง้ เบือ้ ง หน้าและเบือ้ งหลัง ต่างตัง้ ใจสละเวลานานนับเดือนเพือ่ เตรียมงาน ครั้งนี้ให้ยิ่งใหญ่และประทับใจเหล่าบัณฑิต เป็นดั่งการส่งบัณฑิต สู่ฝั่งฝันแห่งความส�ำเร็จ แม้ว่าการเข้ามาช่วยงานในครั้งนี้จะไม่ได้ รับค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินที่มีมูลค่าแต่อย่างใด แต่ทุกคนต่างก็ เต็มใจท�ำงานให้ออกมาดีที่สุด และเต็มเปี่ยมไปด้วยความปิตยิ นิ ดี ในความส�ำเร็จของเหล่าลูกเกษตรทีไ่ ด้สำ� เร็จการศึกษาและก้าวออก ไปเป็นประโยชน์ของสังคมต่อไป

เดลต้าฯ จับมือ มก. เปิดสมาร์ตแล็บ แห่งอนาคตและห้องเรียนอัจฉริยะ บมจ. เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) ได้ ร่วมมือกับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เปิด ‘สมาร์ตแล็บแห่งอนาคต และห้องเรียนอัจฉริยะ - Delta Industrial Automation SMART Laboratory’ นับเป็นพืน้ ที่ การเรียนรูแ้ ห่งที่ 4 ทีจ่ ะช่วยพัฒนาการเรียนการสอน วิศวกรรมศาสตร์ ระบบ Automation กระตุน้ การ วิจัยต่อยอดนวัตกรรม สนับสนุน Maker และ Start Up ผูป้ ระกอบการใหม่ เพือ่ สร้างสรรค์ นวัตกรรมทีเ่ อือ้ ประโยชน์ตอ่ การน�ำประเทศสูก่ าร ปฏิรปู อาหารและเกษตร 4.0

PAGE 29


18

The CAPTURE นครินทร์ พันธุมจินดา

ปชส.มก., KU CSC PHOTO CLUB, กองยานฯ, นครินทร์ พันธุมจินดา และ มหวรรณ พันธุมจินดา

พิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจ�ำปี 2560 The CAPTURE คอลัมน์ใหม่ที่ปล่อยให้ภาพท�ำหน้าที่คอลัมนิสต์ น�ำเสนอเรื่องราวน่าสนใจ รอบรัว้ นนทรีในแต่ละช่วงเวลา ในฉบับพิเศษนีข้ อประเดิมด้วยภาพจากพิธพ ี ระราชทานปริญญา บัตรที่ผ่านมาเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2560 แต่ละภาพจะบันทึกความทรงจ�ำที่แสนพิเศษไว้ มากน้อยแค่ไหน เชิญชมได้เลย!

GREEN BLOOD FELLOW


GRADUATION CEREMONY 2017

the moment of happiness


20

The INTERVIEW นครินทร์ พันธุมจินดา

มหวรรณ พันธุมจินดา และ Facebook Fanpage 'เถื่อนเกม'

start มายาคติของคนจ�ำนวนไม่นอ้ ยเชือ่ ว่า ‘เกม’ คือสิง่ บัน่ ทอนการเรียนรูข้ องเด็กๆ เป็นดัง่ ผูร้ า้ ย ที่สร้างปัญหาให้สังคม และมักถูกพิพากษาให้เป็นจ�ำเลยในเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ต่างๆ โดยให้เหตุผลว่ามันคือต้นเหตุของพฤติกรรมเลียนแบบ แต่ใครจะเชื่อว่า ‘เกม’ ที่ มีบคุ ลิกลักษณะเป็นจอมวายร้ายของสังคม จะถูกแต่งหน้าท�ำผมใหม่ เปลีย่ นลุคทีเ่ คยเป็น สู่บทบาท ‘ผู้ช่วยสอน’ ที่สร้างสรรค์การเรียนรู้ธรรมดาๆให้ไม่จ�ำเจ และผู้ที่อยู่เบื้องหลัง การเปลี่ยนโฉมอริตัวฉกาจของสังคมก็ไม่ใช่คนอื่นคนไกล เขาเป็นหัวหน้าภาควิชา เศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นดัง่ ผูใ้ ห้กำ� เนิด ‘เกม’ เพือ่ การ เรียนรู้ และเขาคนนัน้ ก็คอื ดร.เดชรัต สุขก�ำเนิด ครูผส้ ู ร้างเกม ผู้เป็น The INTERVIEW ของเราในฉบับนี้

Facebook Fanpage 'เถื่อนเกม'


The Game Creator ดร.เดชรัต สุขก�ำเนิด ครูผู้สร้างเกม

level 4 เกมแรกในห้องเรียน

level 2 แรงบันดาลใจ

level 1 หนทางสู่การเป็นชาวเกษตร “ราวๆ 30 ปีที่แล้ว ผมสอบติดคณะ อุตสาหกรรมเกษตร เลือกไว้เป็นอันดับ 2 แต่จริงๆก็อยากจะติดทีม่ .เกษตรฯนีแ่ หละครับ เพราะใกล้บา้ นดี แถมบรรยากาศเกษตรฯ ในสมัยนัน้ ก็ดนู า่ ตืน่ เต้น เหมือนได้ไปอีก โลกหนึง่ มาวันแรกผมยังจ�ำได้เลยว่าเจอ ควายอยู่ใกล้ๆตึกที่มาสอบสัมภาษณ์ พอผมจบปริญญาตรีผมก็มาต่อปริญญาโท ด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร รูส้ กึ ว่าชอบมาก รูส้ กึ ว่าบทบาทของการมาเป็นนักเศรษฐศาสตร์ เกษตรน่าจะเป็นตัวตนของเรา แถมน่าจะ ตอบโจทย์ของประเทศ ตอบโจทย์พนี่ อ้ ง เกษตรกร ก็เลยตัดสินใจมาเป็นอาจารย์ ที่นี่ จนถึงวันนี้ก็เข้าปีที่ 25 แล้วครับ”

“จริงๆต้องบอกว่าเป็นแรงกดดันมากกว่า (หัวเราะ) เพราะผูเ้ รียนสมัยใหม่จริงๆจะมี สมาธิสนั้ ลง การสอนแบบบรรยายก็อาจ จะไม่ถูกจริตกับพวกเขา ก็เลยกลายมา เป็นแรงกดดันทีท่ ำ� ให้เราต้องหาวิธใี หม่ๆ มาใช้ เริ่มมาจากการพยายามสังเกตว่า พวกเขามีอะไรที่แตกต่างและดีขึ้นกว่า คนรุน่ ก่อนๆ แล้วก็พบว่าเด็กรุ่นใหม่มี ความคุ ้ น เคยกั บ การลองสิ่งใหม่ๆ ให้ เห็นภาพง่ายๆคือถ้าอย่างคนรุ่นผมจะ มาให้ท�ำอะไรใหม่ๆ ความรู้สึกแรกเลยก็ คือความกังวล แต่ความรูส้ กึ ของเด็กรุน่ นี้ไม่เป็นอย่างนัน้ พวกเขาจะรูส้ กึ ท้าทาย และจะลุยเลย แถมยังชอบค้นหาค�ำตอบ ด้วยตัวเอง ยกตัวอย่างเช่น เราก�ำลังจะ พูดเรื่อง a ซึ่งมีค�ำตอบอยู่ 5 ข้อ แต่ถ้า เราไม่บอกว่า 5 ข้อนี้มีอะไรบ้าง ให้พวก เขาหาค�ำตอบด้วยการพุดคุยกัน และ สุดท้ายจบลงด้วยการทีเ่ ขามีคำ� ตอบอยู่ 5 ข้อ แล้วผมบอกว่าใช่แล้ว นี่แหละคือการ เรียนรู้ของเด็กรุ่นนี้ เขาจะรู้สึกว่าใช่ แต่ ถ้าผมเข้ามาแล้วบรรยายอย่างละเอียดว่า 5 ข้อมีอะไรบ้าง พวกเขาจะไม่รู้สึกว่ามัน คือการเรียนรู้ ซึง่ ทัง้ หมดนีค้ อื จุดเริม่ ต้น ที่ท�ำให้ผมคิดถึงนวัตกรรมที่จะเอามาใช้ ในการเรียนการสอน และสิ่งหนึ่งที่เด็ก รุ่นนี้ชอบมากเลยก็คือ ‘เกม’ ผมก็เลย เริ่มต้นท�ำเกม”

level 3 สู่วิถีแห่งเกม “จุดเริม่ ต้นในการท�ำเกมของผมส่วนหนึง่ เป็นเพราะลูกชายชอบเล่นเกม ชอบเล่น บอร์ดเกม และเราก็ตอ้ งไปเล่นด้วย และเรา ก็ได้คน้ พบตอนไปเล่นเกมกับลูกว่านีแ่ หละ ใช่เลย ผมก็เลยเอาเกมมาปรับประยุกต์กบั หลายๆอย่าง” “เพราะเกมเป็นสิง่ ทีเ่ ด็กรุน่ นีส้ นใจ เกมเป็น สิง่ ทีท่ ำ� ให้ได้ทดลองและค้นหาด้วยตัวของ พวกเขาเอง เกมสามารถให้ Feedback ซึ่งเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่เด็กรุ่นนี้ชอบ เพราะ เวลาพวกเขาท�ำอะไรหรือตัดสินใจอะไรไป พวกเขาก็อยากได้รบั ค�ำตอบว่าการกระท�ำ นัน้ ๆมันเป็นอย่างไร ซึง่ ถ้าเป็นเด็กยุคก่อน แค่บอกว่าผิดหรือถูกก็คงพอแล้ว แต่เด็ก รุน่ นีส้ งิ่ ทีเ่ ขาท�ำอาจจะไม่ถกู ตามต�ำราก็ได้ แต่เขาท�ำแล้วอาจจะได้ยอด Like เยอะมาก หรืออาจจะได้รบั เสียงสะท้อนทีค่ าดไม่ถงึ ซึง่ ความคาดไม่ถงึ ในโลกจริงมันมีความหมาย น้อยในการเรียนการสอนแบบเดิม แต่ ในโลกจริงกลับไม่ใช่ ความคาดไม่ถงึ อาจ จะเป็นรางวัล เป็นความส�ำเร็จ ซึ่งด้วย เหตุผลเรือ่ งการชอบค้นหา ชอบทดลอง ชอบสิง่ ใหม่ๆ ชอบ Feedback ของเด็ก รุน่ ใหม่ มันเป็นองค์ประกอบทีม่ อี ยูค่ รบถ้วน ในเกม เพราะในเกมเราไม่ได้บอกค�ำตอบ ให้พวกเขาค้นหาเอง ต่อรองกันเอง ได้ ผลลัพธ์จากการตัดสินใจด้วยตัวของ พวกเขาเอง และพวกเขาก็ตอ้ งพยายาม เอาชนะกันในเกม เพราะเป็นความท้าทาย เป็นความน่าสนใจ”

“เกมแรกเกิดขึน้ เมือ่ ประมาณ 4 ปีทแี่ ล้ว ชือ่ เกม ‘Yellow Cards’ เป็นเกมทีล่ อ้ กับ สถานการณ์ที่ประมงไทยโดนใบเหลือง จากสหภาพยุโรป เป็นเกมทีเ่ ราให้ทกุ คน เป็นชาวประมง โดยเล่นแบบแบ่งเป็นกลุม่ และให้ทกุ คนร่วมกันตัดสินใจว่าจะจับปลา กันจ�ำนวนเท่าไร ซึง่ การออกเรือจับปลา แต่ละครัง้ ก็จะท�ำให้ปลาทีม่ อี ยูห่ มดไป ซึง่ ถ้าพวกเขาจับปลากันในปริมาณทีเ่ หมาะสม ปลาก็ไม่มวี นั หมด แต่ปริมาณทีเ่ หมาะสม ก็ไม่ไปด้วยกันกับความรูส้ กึ ทีอ่ ยากจะจับ ให้ได้มากทีส่ ดุ เพราะในเกมบอกว่าใครจับ ได้มากทีส่ ดุ จะเป็นฝ่ายชนะ เพราะฉะนัน้ 2 อย่างนีก้ จ็ ะต้อง Balance กัน แต่เราก็จะมี กติกาเพิม่ เติมอีกนิดหน่อยว่าถ้าหากปลา ในพืน้ ทีส่ ว่ นกลางเหลือน้อยกว่าจ�ำนวนที่ ก�ำหนดจะต้องแพ้ทงั้ วง ในครัง้ นัน้ สิง่ ทีเ่ รา เห็นได้ชดั เลยก็คอื แววตาของเด็กๆ ผมใช้ เกมสอนครั้งแรกกับเด็กเศรษฐศาสตร์ ซึง่ มีความชอบแข่งขันอยูใ่ นสายเลือด พอเรา เปิดให้เขาได้แข่งขันกันก็เกิดความคึกคัก อย่างเห็นได้ชัด ผลสุดท้ายการเล่นเกม อาจจะวัดผลอะไรมากไม่ได้ เราก็เลยจะ ให้เด็กๆสรุปว่าได้รับองค์ความรู้ แง่คิด ประเด็นอะไรจากเล่นเกมบ้าง พอได้มา อ่านดูกพ ็ บว่าหลายอย่างทีเ่ ราใช้เวลาไป กับการบรรยายมากๆ สุดท้ายแล้วมันไม่ ต้องใช้เวลามากขนาดนั้น หลายอย่างที่ เราบรรยายมันก็มาสะท้อนอยูใ่ นเกม อีก สิง่ หนึง่ ทีเ่ ราพบว่าไม่ได้อยูใ่ นการบรรยาย แต่พบได้ในเกมก็คอื ความผิดพลาด ซึง่ มันเป็นความผิดพลาดที่เกิดมาจากตัว เด็กๆเอง ท�ำให้พวกเขาได้เรียนรูไ้ ม่ให้ทำ� ผิดพลาดซ�้ำเหมือนอย่างตอนเล่นเกม เหมือนทีบ่ างคนเคยบอกว่าการผิดพลาด คือการเรียนรูโ้ ดยไม่ได้ตงั้ ใจ”


level 5 เกมกระดานใหญ่ในระดับ มหาวิทยาลัย “หลังจากทีเ่ ราท�ำเกมแรกๆก็เริม่ มีอาจารย์จากคณะอืน่ ๆ สนใจเชิญชวนให้ไปท�ำเกมเฉพาะส�ำหรับคณะนั้นๆ พอดีกบั ช่วงทีท่ มี พัฒนาวิชาศาสตร์แห่งแผ่นดินก�ำลัง วางแผนกันอยู่ ก็เลยมีโอกาสได้เอาเกมไปร่วมด้วย หนึง่ ในนัน้ คือเกม ‘วารีพนิ าศ’ ซึง่ เป็นเกมทีผ่ มได้ไป ร่วมท�ำงานกับเครือข่ายพุทธิกา ทีเ่ ป็นเครือข่ายทีท่ ำ� งาน เกีย่ วกับเรือ่ งจิตอาสา เขาก็อยากท�ำเกมเกีย่ วกับจิตอาสา แต่ไม่อยากเริม่ ต้นแบบน่าเบือ่ ไม่ทา้ ทาย ก็เลยกลายมา เป็นเกมทีจ่ ดุ เริม่ ต้นคือเกิดเหตุการณ์นำ�้ ก�ำลังจะท่วม แต่ละคนก็ตา่ งมีหน้าทีป่ อ้ งกันบ้านตัวเอง แต่ละคนก็ ต้องแย่งชิงกระสอบทรายทีม่ จี ำ� กัดเพือ่ ป้องกันน�ำ้ เข้าบ้าน ตัวเอง ต้องประมูลกัน แต่พอไปถึงจุดๆหนึง่ พลังทีอ่ ยู่ ลึกๆข้างในใจของแต่ละคน ซึง่ เป็นกันทุกๆวงโดยทีเ่ รา ไม่ได้บอก เขาก็จะรูส้ กึ ว่าท�ำไมพวกเขาไม่รวมพลังกัน เพราะมันใช้กระสอบทรายน้อยกว่า ปลอดภัยมากกว่า เกมนีเ้ ลยกลายเป็นเกมทีเ่ ปลีย่ นจุดประสงค์แรกเริม่ ของเกมทีใ่ ห้ทกุ คนแข่งกัน ใครรอดเป็นบ้านสุดท้ายชนะ กลายมาเป็นเกมทีแ่ บ่งปันกัน ซึง่ ทางมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้มองว่าเกมวารีพินาศค่อนข้าง สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความส�ำนึกดี มีความมุง่ มัน่ มีความสร้างสรรค์ มี ความสามัคคี หรือ IDKU ก็เลยได้มโี อกาสน�ำเอาเกม นีไ้ ปเล่นในรายวิชาศาสตร์แห่งแผ่นดิน ซึง่ นิสติ ปีที่ 1 ทุกคนของมหาวิทยาลัยต้องเรียน” “ส�ำหรับเกมทีท่ า้ ทายทีส่ ดุ ของผมคือ ‘Fresher Game’ เป็น เกมทีไ่ ปท�ำกับมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง เอาไปเล่นกับ น้องปี 1 ของทัง้ มหาวิทยาลัย ประมาณ 3,500 คน เรา ก็ตอ้ งน�ำเกมบนเวทีใหญ่ในโรงยิม ก็ตอ้ งเทคนิกวิธกี าร มากมาย ทัง้ ศิลปะการแสดงต่างๆ เพือ่ ให้ทงั้ หมด 3,500 คน อินกับเกมตลอดเวลา 1 ชัว่ โมงครึง่ ก็สนุกสนานกันมาก ซึง่ ก่อนหน้านีก้ เ็ คยไปท�ำกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกีย่ วกับวิชาบูรณาการ มีคนเล่นประมาณ 600 คน อีก เกมทีเ่ ป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย เป็นเกมที่ ท�ำร่วมกับคณะแพทย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มี ออกมาประมาณ 2-3 เกม มันน่าสนใจตรงทีเ่ นือ้ หา ตอนแรกผมฟังไม่รเู้ รือ่ งเลย (หัวเราะ) อาจารย์ของ คณะแพทย์กพ ็ ยายามอธิบายให้เราฟัง จนสุดท้ายก็ เกิดเกมออกมา เห็นคุณหมอเล่นก็สนุกดีครับ (หัวเราะ)”

level 6

level 7

บทบาทที่แท้จริง

ก้าวต่อไป

“บทบาทผูส้ ร้างเกมผมถือเป็นบทบาทที่ 2 บทบาทแรก คือการเป็นคนเชียร์ให้คนสร้างเกม ความหมายก็คอื เราไปเป็นโค้ชให้อาจารย์หลายๆท่านออกแบบเกมของ ตนเอง เช่นทีค่ ณะแพทย์ ม.อุบลฯ ทีผ่ มเล่าให้ฟงั ฉะนัน้ ภารกิจหลักของผมคือการไปเชียร์ให้อาจารย์หรือคุณครู สร้างเกมขึน้ มาเพือ่ เอามาใช้ในการเรียนการสอน พอ เราได้ไปออกแบบกับหลายๆศาสตร์หลายๆแขนง ท�ำให้ เรามีเคล็ดวิชา เล่นเกมได้หลายแบบ เพราะถ้าหากเรา ท�ำแต่เกมแนวเศรษฐศาสตร์อย่างเดียวก็จะได้แต่เกม แนวเศรษฐศาสตร์ ผมว่าจุดส�ำคัญของการท�ำหน้าทีน่ ี้ คือบรรดาโอกาสทีผ่ มได้รบั ในการไปท�ำงานร่วมกับคน อืน่ อีกสิง่ ทีอ่ ยากจะย�ำ้ ก็คอื ถ้าผมไปออกแบบคนเดียว ก็คงท�ำไม่ได้ แต่พอเราไปท�ำงานร่วมกับคนอืน่ เขา ท�ำให้ เราได้รบั โอกาสในการพัฒนาต่อไปด้วย ท�ำให้งานของ ผมขยายออกไปเรือ่ ยๆ”

“ผมจะมีความสุขทุกครัง้ ทีม่ อี าจารย์ตดิ ต่อมาให้ชว่ ย ท�ำเกมหรือมีความสนใจทีจ่ ะน�ำเกมออกไปใช้ หรือขอ ค�ำแนะน�ำ เหล่านีค้ อื ความสุขของผม ทีผ่ มได้เห็นเกม ถูกเอาไปใช้ในห้องเรียน และผมก็อยากให้หอ้ งเรียน อืน่ ๆมีความสุขตามโจทย์ของแต่ละที่ ผมเลยหวังให้มี คนแบบผม ให้คำ� แนะน�ำช่วยกันผลิตเกมแบบนีอ้ อก มาเยอะๆ จริงๆก็ไม่ใช่แค่เฉพาะเกม แต่เป็นทุกรูป แบบของห้องเรียนทีใ่ ห้เด็กได้คน้ หา ได้ลงมือท�ำ ได้รบั Feedback จากโลกความเป็นจริง ทีไ่ ม่ใช่จากเฉพาะ แค่อาจารย์ผสู้ อน ผมคิดว่ามันมีความส�ำคัญ และผม ก็อยากเห็นสิง่ นัน้ ”


level 8

level 9

ถ้าโลกนี้เป็นเกม

ชัยชนะในเกมนี้ของอาจารย์เดชรัต

“ถ้ า โลกนี้ เ ป็ น เกม ผมก็ ค งจะเป็ น คล้ า ยๆกั บ Negotiator คนทีไ่ ปช่วยเจรจาต่อรอง ท�ำให้ทกุ คนใน เกมเข้าใจกันมากขึน้ บทบาทผมโดยทัว่ ไปก็จะท�ำหน้าที่ ประมาณนีค้ รับ”

“ถ้าผมเป็นผูช้ นะก็อยากจะเห็น 2 อย่างครับ อย่างแรก คืออยากเห็นคนทีเ่ คยท�ำแต่สงิ่ เดิมๆได้ลองท�ำสิง่ ใหม่ๆ ได้สนุกไปกับสิง่ ใหม่ๆ อย่างที่ 2 คือผมอยากเห็นชัยชนะ ของเกมนีเ้ ป็นไปในรูปแบบทีไ่ ม่มใี ครแพ้ เราอยากให้ทกุ คนชนะไปด้วยกัน คล้ายๆเกมวารีพนิ าตทีท่ กุ คนกลับ มาช่วยกัน แม้เราจะไม่ได้บอกแบบนัน้ ”

สุ ด ท้ า ยผมคิ ด ว่ า ถ้ า

เราได้ลองเปิดประตู สักนิดได้มาลองเหมือน อย่างทีเ่ ด็กรุน ่ ใหม่เขา ได้ลอง ถ้าลองแล้วมัน ช่วยได้มากก็นา่ จะเอา มาด�ำเนินการกันต่อ แต่ ถ้าลองแล้วมันยังไม่เต็ม ที่ ก็ อ าจะต้ อ งมา ปรั บ

เพื่อสิ่งใหม่ๆกัน


24

The COVER STORY นครินทร์ พันธุมจินดา

KU CSC PHOTO CLUB, นครินทร์ พันธุมจินดา, ปชส.มก., ส.มก. และ มหวรรณ พันธุมจินดา

dia

OF KASET

75 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอายุ 75 ปี ที่เริ่มก่อตั้ง จากเจตคติ ที่ ต ้ อ งการพั ฒ นาการศึ ก ษาด้ า นการเกษตรของ ประเทศไทย ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2486 ที่ปัจจุบันได้ ผลิตบัณฑิตให้ประเทศไทยในจ�ำนวนหลักแสนคน สร้ า งองค์ ความรูน้ บั ไม่ถว้ นทัง้ ด้านการเกษตร วนศาสตร์ และอีกหลากหลาย วิ ช า เฉกเช่ น ดั ง ชื่ อ ‘เกษตรศาสตร์ ’ มี ค วามหมายตามตั ว ว่ า ‘ศาสตร์ แ ห่ ง แผ่ น ดิ น ’ ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ กิ น ความเฉพาะการท� ำ เกษตรกรรม แต่ยังหมายรวมถึงแขนงวิชาต่างๆที่ล้วนประกอบ สร้างให้แผ่นดินแห่งนี้เจริญงอกงาม ในวาระที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เดินทางเข้าสู่ปีที่ 75 ได้มี หลากหลายเรื่ อ งราวที่ ถื อ เป็ น หมุ ด หมายส� ำ คั ญ ของขวบปี นี้ ทั้ง ‘งานวันเกษตรแห่งชาติ’ ที่จัดขึ้นภายใต้ความร่วมมือกั บ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, การจัดประชุม ‘KU Presidents Forum: In Celebration on the 75th Anniversary of Kasetsart University’ และการเฉลิ ม ฉลองวั น คล้ า ยวัน สถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทรี่ วมพลังคนเกษตรศาสตร์ ทุ กรุ่นทุกวัย

th

75


amond jubilee SART UNIVERSITY

งานวันเกษตรแห่งชาติ เป็นประจ�ำเฉกเช่นทุกปี ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะจัดงานสุดยิง่ ใหญ่ภายในรัว้ นนทรีแห่งท้องทุง่ บางเขน ซึง่ ในปีนเี้ ป็น วาระของ ‘งานวันเกษตรแห่งชาติ’ ที่เป็นงานภายใต้ความร่วมมือ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งจัดขึ้นภายใต้แนวคิด ‘ร่วมกันก้าวไป เกษตรไทย 4.0’ โดยได้ รับพระกรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่เสด็จมาเป็นประธานในพิธีเปิดงาน วันเกษตรแห่งชาติ ประจ�ำปี 2561 เมือ่ วันที่ 26 มกราคม ทีผ่ า่ นมา โดย งานจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 26 มกราคม–3 กุมภาพันธ์ 2561 ความแตกต่ า งของ ‘งานวั น เกษตรแห่ ง ชาติ ’ และ ‘งานเกษตรแฟร์’ อยูท่ เี่ จ้าภาพในการจัดงาน ซึง่ หากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดงานเดี่ยวๆ จะถูกเรียกงานนั้นว่า ‘งานเกษตรแฟร์’ แต่หากร่วมจัดโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ งานในปีนนั้ จะถูกเรียกว่า ‘งานวันเกษตรแห่งชาติ’ ซึง่ แต่เริม่ เดิมที ในปี 2491 กระทรวงเกษตรฯและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่ง เป็นกรมหนึง่ ในสังกัดกระทรวงเกษตรฯขณะนัน้ ได้รว่ มกันจัดงาน ขึ้นเป็นครั้งแรกในวันที่ 3 มกราคม 2491 โดยความคิดริเริ่มของ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในขณะนั้น โดยใช้ชื่องานว่า ‘งานตลาดนัดเกษตรกลางบางเขน’ เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางการเกษตรสู่ประชาชน และให้เห็นความ ส�ำคัญของอาชีพทางการเกษตร ก่อนงานจะถูกจัดขึน้ อีกครัง้ ในปี 2505 โดยการรือ้ ฟืน้ ของสมาคมนิสติ เก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ฯ ถัดไปในปี 2510 กระทรวงเกษตรฯและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ร่วมกันจัดงานอีกครั้ง โดยมีการเปลี่ยนชื่องานเป็น ‘งานวัน เกษตรแห่งชาติ’ ก่อนในปี 2528 จะมีการกระจายการจัดงานวัน เกษตรแห่งชาติไปยังภูมิภาคต่างๆสลับกับส่วนกลาง แต่ในช่วง หลังการจัดงานในลักษณะดังกล่าวก็มีการเปลี่ยนไป ซึ่งครั้งหลัง สุดทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รว่ มจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ คือเมื่อปี 2556 แต่ด้วยปีนี้เป็นวาระพิเศษของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ครบรอบ 75 ปี จึงได้เสนอขอเป็นเจ้าภาพจัดงาน วันเกษตรแห่งชาติ ประจ�ำปี 2561 ขึ้นอีกครั้งหนึ่ง


ประชุมอธิการบดีนานาชาติ นอกจากงานวันเกษตรแห่งชาติทจี่ ดั ขึ้น อย่างยิ่งใหญ่เฉลิมฉลอง 75 ปี มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ แ ล้ ว อี ก หนึ่ ง งานส� ำ คั ญ ที่ จั ด ขึ้นเป็นพิเศษในขวบปีนี้คือการจัดงานประชุม อธิ ก ารบดี น านาชาติ ‘KU Presidents Forum: In Celebration on the 75th Anniversary of Kasetsart University’ ภายใต้ หั ว ข้ อ หลั ก ของการประชุ ม ‘Higher Education in Time of Change’ หรือ ‘การ อุดมศึกษาในห้วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง’ ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ในระหว่ า งวั น ที่ 31 มกราคม– 2 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกลุ อาคารสารนิ เ ทศ 50 ปี มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ บางเขน โดยเชิญให้อธิการบดี ผู ้ บ ริ ห าร บุ ค ลากร นิ สิ ต และนั ก ศึ ก ษาจาก มหาวิทยาลัยในประเทศไทยและมหาวิทยาลัย ทั่วโลกเข้าร่วมรับฟังและแลกเปลี่ยนมุมมอง เพื่ อ การบริ ห ารจั ด การศึ ก ษาในอนาคต ประกอบด้ ว ยมหาวิ ท ยาลั ย ในต่ า งประเทศ จ�ำนวน 12 ประเทศ ได้แก่ ฟินแลนด์ สหราชอาณาจั ก ร ญี่ ปุ ่ น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น เนเธอร์ แ ลนด์ เวี ย ดนาม นิ ว ซี แ ลนด์ อิ ต าลี อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ พม่า และลาว รวม 35 แห่ง มหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศไทย รวม 31 แห่ ง นอกจากนั้ น ยั ง มี เ อกอั ค รราชทู ต และผู ้ แ ทน จาก 4 ประเทศ เข้าร่วมประชุมในงานดังกล่าว ซึ่ ง มี ก ารปาฐกถาพิ เ ศษและการอภิ ป ราย แลกเปลี่ ย นความเห็ น โดยมี ป ระเด็ น ที่ อ ยู ่ ใ น ความสนใจ ได้แก่ Global Opportunities and Challenges for University Leaders (โอกาสและความท้ า ทายของผู ้ บริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย ทั่ ว โลก), The Aging Population and Continued Education

(ประชากรที่ ค นสู ง อายุ มี จ� ำ นวนมากขึ้ น และ การศึกษาต่อเนือ่ ง), Promoting Sustainable and Socially Responsible Universities for the Future (การส่ ง เสริ ม การเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ยั่ ง ยื น และมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ต่ อ สั ง คมเพื่ อ อนาคต) และ Integrating with Different Stakeholders in Creating Sustainable Research and Social Responsibilities for Global Advancement (การบูรณาการกับผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียต่างๆ ในการสร้ า งสรรค์ ง านวิ จั ย ที่ ยั่ ง ยื น และความรั บ ผิ ด ชอบต่อสังคม) ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษาการแทน อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศไทยและ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต่างปรับตัว ปรับ การท�ำงาน และจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสม กั บ สั ง คมปั จ จุ บั น ที่ เ ปลี่ ย นไปจากอดี ต ทั้ ง ใน ด้านเทคโนโลยี ลักษณะงานอาชีพใหม่ๆทีเ่ กิดขึน้ ตลอดจนการเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู วัย ท� ำ ให้ จ� ำ นวน เยาวชน นิสิต นักศึกษาลดลง มหาวิ ท ยาลั ย จ�ำเป็นต้องเน้นการเรียนการสอนในระดับผูใ้ หญ่ หรื อ กลุ ่ ม คนวั น ท� ำ งานมากขึ้ น นอกจากนี้ มหาวิ ท ยาลั ย ต้ อ งมุ ่ ง สร้ า งงานวิ จั ย ที่ เ น้ น การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น และการมี ส ่ ว นร่ ว ม รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม อาทิ หลั ก สู ต รศาสตร์ แ ห่ ง แผ่ น ดิ น ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่มีการบูรณาการ ข้ า มศาสตร์ แ ละตอบสนองต่ อ ผู ้ เ รี ย นซึ่ ง มี ความหลากหลายโดยไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ รั บ ปริ ญ ญา นั บ เป็ นโอกาสดี ที่เ ราจะได้ น�ำ เสนอ การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย แลกเปลีย่ นมุมมองกับมหาวิทยาลัยทีเ่ ป็นต้นแบบ ทางการจัดการศึกษาของโลกต่อไป

#PROUDTOBEKU


วันเกษตรศาสตร์ 2 กุมภาพันธ์ 2561วันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในปีที่ 75 เป็นไปด้วยความชื่นมื่น โดยในช่วงเช้าได้ มี พิ ธี ว างพวงมาลาคารวะอนุ ส าวรี ย ์ ส ามบู ร พาจารย์ โดยมี ผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ นิสิต คณาจารย์ บุคลากร ศิษย์เก่า หน่วยงาน สมาคม คณะบุคคล ตลอดจนครอบครัวของบูรพาจารย์ทงั้ 3 ท่าน ร่วมพิธี ณ อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ ต่อจากนั้น ณ หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มีการจัดพิธีรดน�้ำคารวะบูรพาจารย์ในช่วงเช้า และช่วงเย็นก็ เป็นบรรยากาศของการเฉลิมฉลอง ที่เหล่าบรรดาลูกนนทรีได้ คืนสู่เหย้าพบปะสังสรรค์กันในงาน ’75 ปี นนทรีคืนถิ่น Home Coming Day’ ซึง่ สมาคมนิสติ เก่าแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นเจ้าภาพจัดงานดังกล่าวขึน้ และยังได้มกี าร มอบทุนการศึกษาให้กบั นิสติ ปัจจุบนั จากทุกวิทยาเขต รวม 40 ทุน ทุนละ 10,000 บาท รวมเป็นจ�ำนวนเงิน 400,000 บาท ซึ่งเป็น ประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีในงานวันเกษตรศาสตร์ ในวันเดียวกันนี้ ฯพณฯ อ�ำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีมอบโล่ ‘นิสิตเก่าดีเด่น’ ประจ�ำปี 2561 ซึง่ มีผทู้ ไี่ ด้รบั โล่ทงั้ หมด 20 ท่าน จาก 7 ประเภทบุคคล

SEVENTYFIFTH ANNIV.

แสดงพลังลูกนนทรี ช่วงแห่งความภาคภูมใิ จและความสุขของชาวเกษตรไม่ เพียงปรากฏในรูปแบบของการจัดงานต่างๆเท่านั้น แต่พลังของ ลูกนนทรียงั ล้นปรีจ่ นกระหึม่ โลกออนไลน์ กลายเป็นปรากฏการณ์ เปลีย่ นรูปโปรไฟล์แสดงพลังแห่งสายเลือดสีเขียวกันอย่างคึกคัก นับเป็นการแสดงพลังที่เป็นไปด้วยความสมัครใจทั้งจากนิสิต ปัจจุบนั นิสติ เก่า คณาจารย์ และบุคลากร ตอกย�ำ้ ความรักทีม่ อบ ให้สถาบันแห่งนี้อย่างไม่มีวันเสื่อมคลาย ปีที่ 75 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อาจจะดูไม่มาก เมือ่ เทียบกับสถาบันการศึกษาชัน้ น�ำของโลกอย่าง University of Oxford หรือ University of Cambridge ทีม่ อี ายุเฉียด 1,000 ปี แต่การก้าวเดินไปอย่างมั่นคงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะ เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่จารึกไว้ในแวดวงการศึกษาของไทย และปีที่ 76 77 78 และปีต่อๆไป จะเป็นปีที่มหาวิทยาลัยที่เป็นดั่ง ‘ศาสตร์แห่ง แผ่นดิน’ ของพวกเราชาวไทยยืนหยัดท่ามกลางการเปลีย่ นแปลง ของยุคสมัยอย่างยั่งยืน


28

4.0 ภากร ชยวัฑโฒ

ญานินท์ จอมวงศ์

สังขยาแผ่นจากแป้งข้าวกล้องงอกโดย โดย รศ.ดร.กมลวรรณ แจ้งชัด ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร

EAT ME นวัตกรรมผลิตแผ่นควบคุมน�้ำตาลและต้านสาร อนุมูลอิสระจากธรรมชาติ โดย ดร.อุดมลักษณ์ สุ​ุขอัตตะ และคณะนักวิจัยจากสถาบัน ผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

TILAVAC วัคซีนป้องกันโรคอุบัติใหม่ในปลานิลและปลาทับทิม โดย ผศ.น.สพ.ดร.วิน สุ​ุรเชษฐพงษ์ และทีมวิจัยจากภาควิชาจุล ชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน คณะสัตวแพทยศาสตร์

สังขยาแผ่น เกิดจากการน�ำสาร Polyethylene เคลือบแป้ง ข้าวกล้องงอกร่วมกับ Hydrocolloid ท�ำให้เกิดเป็นโครงสร้าง ที่สามารถขึ้นรูปเป็นแผ่นได้ ตัวสังขยาจะมีเนื้อสัมผัสที่เนียนนุ่ม เหมือนกับสังขยารูปแบบปกติ ที่สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาด ทัว่ ไป แต่สามารถเก็บรักษาได้นานกว่า ปัจจุบนั มีดว้ ยกัน 2 รสชาติ คือรสใบเตยและรสแครอท ซึ่งการน�ำข้าวกล้องงอกมาเป็นส่วน ผสมหลัก จะท�ำให้ช่วยรักษาโรคเกี่ยวกับระบบประสาท ช่วยให้ ผ่อนคลาย ลดความวิตกกังวล และช่วยให้นอนหลับดีขึ้น อีกทั้ง ยังมีคุณสมบัติช่วยควบคุมระดับความดันโลหิตอีกด้วย

แผ่นควบคุมน�้ำตาลจากสารธรรมชาติ เหมาะส�ำหรับผู้ป่วยที่ป่วย เป็นโรคเบาหวาน หรือต้องการควบคุมระดับน�ำ้ ตาลในเลือด อีกทัง้ เป็นอาการเสริมทีช่ ว่ ยต้านอนุมลู อิสระได้อกี ด้วย โดยมีกลไกลการ ท�ำงานที่ช่วยลดการดูดซึม Glucose เข้าสู่กระแสเลือด ด้วยการ ยับยั้งเอ็นไซม์ α - glucosidase และเอนไซม์ α – amylase ซึง่ เป็นเอนไซม์ทที่ าํ หน้าทีย่ อ่ ยแป้งและคาร์โบไฮเดรตให้เป็นน�ำ้ ตาล โมเลกุลเดีย่ ว ส่งผลให้ชะลอการเพิม่ ของระดับน�ำ้ ตาลในกระแสเลือด และด้วยลักษณะของบรรจุภณ ั ฑ์แบบซองทีม่ ขี นาดเล็ก พกพาง่าย ท�ำให้ได้รับความนิยมในกลุ่มเป็นสนใจเป็นอย่างมาก

วัคซีนป้องกันโรคอุบัติใหม่ในปลาทั้ง 2 ชนิด ผลิตจากเชื้อไวรัสที่ เพาะเลีย้ งในห้องปฏิบตั กิ าร มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยเป็น อย่างมาก ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันในปลา เพิ่มอัตราการรอดตาย และลดโอกาสในการติดเชื้อไวรัสอุบัติใหม่ วัคซีนมีลักษณะการ ใช้งานอยู่ 2 ประเภท คือ แบบฉีดเข้าตัวปลาโดยตรงและการแช่นำ�้ ซึง่ สาเหตุทที่ างทีมนักวิจยั ได้ทำ� การเลือกพัฒนาวัคซีนนี้ ก็เพราะว่า ปลานิลและปลาทับทิม เป็นปลาเศรษฐกิจของประเทศไทย ที่ท�ำ รายได้ให้กบั เหล่าเกษตรกรทีเ่ พาะเลีย้ งปลาเป็นจ�ำนวนมากนัน้ เอง

เครื่องวัดคุณภาพทุเรียน โดย ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน

ปืนตรวจวัดการปนเปื้อนฟอร์มาลินในอาหาร โดย ผศ.ดร.ชัชวาล วงศ์ชูสุข ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์

ฉลากชีวภาพ นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ โดย รศ.ดร.ภาณุวัฒน์ สรรพกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร

เครื่องวัดคุณภาพทุเรียน เป็นนวัตกรรมที่ท�ำงานด้วยหลักการ ของแสง Infrared ย่านใกล้ ซึ่งมีวิธีการใช้งาน คือน�ำตัวเครื่องไป จ่อที่บริเวณขั้วของลูกทุเรียน ก็จะสามารถแสดงผลออกมาทาง หน้าจอได้ถึงคุณภาพของทุเรียนว่ามีระดับความสุก แก่ อ่อนของ ทุเรียน ว่าอยูใ่ นระดับใด บวกกับมีขนาดเล็ก พกพาง่าย ใช้พลังงาน จากแบตเตอรี่ จึงสามารถน�ำติดตัวไปใช้ได้ทุกที่ทุกเวลา ช่วยลด ปัญหาการน�ำทุเรียนทีย่ งั ไม่ได้คณ ุ ภาพมาจ�ำหน่ายตามท้องตลาด

ปื น ตรวจวั ด การปนเปื ้ อ นฟอร์ ม าลิ น ในอาหาร ใช้ เ ทคโนโลยี ก๊าซเซนเซอร์ในการดมกลิ่นสารฟอร์มาลิน สามารถท�ำงานได้ อย่างรวดเร็ว โดยใช้เวลาการวิเคราะห์ผลเพียง 12 วินาที ไม่ต้อง ใช้สารเคมีในระหว่างการตรวจวัด อีกทัง้ ยังมีการวัดผลซ�ำ้ ไปซ�ำ้ มา และสามารถบ่งบอกค่าปริมาณที่ชัดเจนเป็นตัวเลข ท�ำให้ได้ผลที่ สามารถเชื่อถือ ในการตรวจวัดสามารถวัดห่างจากสารตัวอย่าง ได้ถึง 15 เซนติเมตร ท�ำให้เมื่อน�ำไปใช้ตรวจหาสารปนเปื้อนใน อาหารจริง ตัวเครื่องก็จะไม่ต้องสัมผัสกับอาหารเลยแม้แต่น้อย

ฉลากชีวภาพนี้ จะมาในรูปแบบฉลากที่ติดอยู่ตามบรรจุภัณฑ์ ต่ า งๆ มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการช่ ว ยประเมิ น และตรวจสอบความ ปลอดภัยของอาหารนั้นๆ ซึ่งมีหลักการท�ำงาน คือ ตัวฉลากจะ เปลีย่ นสีเมือ่ สัมผัสหรือได้รบั แก๊สออกซิเจนในปริมาณทีก่ ำ� หนดไว้ โดยผูบ้ ริโภคก็จะสามารถวิเคราะห์ถงึ ความปลอดภัยและคุณภาพ ของอาหาร ได้ จากสี ข องฉลากที่ เ ปลี่ ย นไป


PAGE 17

Some

OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี

Intellectual Product ผลิตผลแห่งภูมิปัญญา

นวัตกรรม คือหนึ่งในผลิตผลที่ส�ำคัญของประเทศไทยในยุค 4.0 และมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ก็ ตั้ ง ใจหยิ บ ยกนวั ต กรรมให้ เป็นส่วนส�ำคัญส่วนหนึง่ ในการน�ำพามหาวิทยาลัยไปสูเ่ ส้นทางข้างหน้า ซึ่งคอลัมน์ KU 4.0 ในฉบับนี้ก็ได้คัดเลือกนวัตกรรมที่โดดเด่น ในการเป็นผลิตผลแห่งภูมิปัญญา โดยได้รับความอนุเคราะห์ ข้อมูลจาก ผศ.กัมปนาท เพ็ญสุภา รักษาการรองอธิการบดีฝ่าย บริการวิชาการ

นักวิจัย มก. ค้นพบพยาธิตัวตืดชนิดใหม่ของโลก รศ.ดร.วัชริยา ภูรีวิโรจน์กุล อาจารย์ประจ�ำภาค วิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ค้ น พบพยาธิ ตั ว ตื ด ชนิ ด ใหม่ ของโลกในปลาฉลามกบ ที่สะพานปลาอ่างศิลา จังหวัดชลบุรี จากทุนวิจัยของสถาบันวิจัยและ พัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งหลัง จากพบพยาธิตวั นีก้ ไ็ ด้นำ� มาศึกษาโครงสร้างต่างๆ พร้อมทั้งตรวจสอบชนิดจากวารสาร Journal of Parasitology ปรากฏว่ า แตกต่ า งจาก พยาธิ ตั ว ตื ด ชนิ ด อื่ น ๆที่ เ คยค้ น พบมา จึ ง ได้ ตั้ ง ชื่ อ พยาธิ ตั ว ตื ด ชนิ ด ใหม่ นี้ ว ่ า ‘Yorkeria chonburiensis’ ตามชื่อจังหวัดที่ค้นพบ

นักวิจัย มก. พบ ช้างงาเอก พืชชนิดใหม่ของโลก

ผลิตภัณฑ์เซรั่มท�ำความสะอาดเครื่องส�ำอางผสมนีโอโซมจาก น�้ำมันร�ำข้าวไรซ์เบอรี่ โดย ศ.ดร.หทัยรัตน์ ริมคีรี ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร

เครื่องสีข้าวครัวเรือนแบบพกพา โดย รศ.ดร.ศักดา อินทรวิชัย ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ สริ ม ความงามจากธรรมชาติ ที่ มี ส ่ ว นประกอบ ส� ำ คั ญ จากน�้ ำ มั น ร� ำ ข้ า วไรซ์ เ บอร์ รี่ ที่ ส กั ด ได้ จ ากการบี บ เย็ น มากั ก เก็ บ ในอนุ ภ าคขนาดเล็ ก (นี โ อโซม - Neosome) ด้วยวิธี Chloroform มาใช้ เป็ น ส่ ว นผสมในผลิ ตภั ณ ฑ์ เซรั่ ม ท� ำ ความสะอาดเครื่ อ งส� ำ อาง เพื่ อ ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ มี คุ ณ สมบั ติ ในการขจัดคราบสกปรกจากเครื่องส�ำอางออกจากผิวหน้าได้ ขณะเดี ย วกั น สามารถให้ ค วามชุ ่ ม ชื้ น และช่ ว ยบ� ำ รุ ง ผิ ว หน้ า ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ เ ด่ น ทางด้ า นโภชนาการของข้ า วไรซ์ เ บอรี่ ที่ มี ส ารต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระในเมล็ ด ข้ า วสู ง มาก โดยเฉพาะ สารประกอบโพลีฟีนอล ในร�ำข้าวและน�้ำมันร�ำข้าวไรซ์เบอร์รี่ จึงมีคุณสมบัติส�ำหรับใช้ท�ำ ผลิ ตภั ณ ฑ์ เครื่ อ งส� ำ อางได้ ดี

เครื่องสีข้าวขนาดเล็ก สามารถพกพาได้สะดวก เพราะมีน�้ำหนัก เพียง 2.5 กิโลกรัม มีขนาด 125 x 300 x 50 มิลลิเมตร ใช้ก�ำลัง ไฟฟ้า 100 วัตต์ 220 โวลต์ ซึ่งตรงกับก�ำลังไฟฟ้าทั่วๆไป ไม่ต้อง ผ่านการแปลงค่าให้ยงุ่ ยาก สามารถท�ำงานได้ครัง้ ละ 400-500 กรัม หากเป็นข้าวเปลือกหรือข้าวกล้องใช้เวลาประมาณ 5-15 นาที และ สามารถรองรับข้าวกล้องได้หลายสายพันธุ์ โดยเฉพาะพันธุท์ อ้ งถิน่ ของประเทศไทย เพราะสามารถเปลี่ยนหัวของเครื่องสีข้าวได้ หลากหลายรูปแบบนั้นเอง

ผศ.ดร.ฉัตรชัย เงินแสงสรวย อาจารย์ประจ�ำ ภาควิ ช าพฤกษศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ค้นพบ ‘ช้างงาเอก’ พืชชนิดใหม่ของโลก เป็นพืชไม้พุ่มสูง 1-2 ม. กระจายอยูท่ างภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดบึงกาฬ และจังหวัดนครพนม พบตามป่าดิบแล้งและ ชายป่าดิบแล้ง ที่สูงจากระดับทะเล 150-220 ม. ออกดอกเดือนธันวาคมถึงกรกฎาคม เป็นผล เดือนธันวาคมถึงเมษายน ชาวบ้านนิยมใช้ราก เป็นพืชสมุนไพร น�ำไปดองเหล้า มีความเชื่อว่า เป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง เป็นสาเหตุท�ำให้จ�ำนวนลดลง จึงจัดอยูใ่ นสถานภาพพืชมีแนวโน้มใกล้สญ ู พันธุ์

NEW SPECIES FOUND!

PAGE 31


30

The REPORT ศิริรัตน์ ศิริธรรมศักดา

ศูนย์วิชาบูรณาการฯ และ นครินทร์ พันธุมจินดา

เรียนรู้แบบจริงๆ เพื่อผลิตบัณฑิตตัวจริง สู่ยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ไม่เคยมีข้อจ�ำกัดหรือขีด จ�ำกัดใดๆ เราทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตลอด ชีวิต สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ เรียนรู้ได้ทุกเวลา ยิง่ มีเทคโนโลยีมากมายทีเ่ กิดขึน้ เรือ่ งทีเ่ คยยาก ก็กลายเป็นเรื่องที่แสนง่าย ความรู้ทุกอย่างอยู่ ใกล้เราเพียงเอื้อมมือ เราสามารถค้นคว้าความ รู้ที่อยากรู้ได้ง่ายๆด้วย Smart Phone ซึ่งสิ่ง ต่างๆเหล่านี้น�ำมาสู่ความคิดที่เปลี่ยนไปของ นั ก เรี ย นนักศึกษา ก่อนจะถูกส่งตรงไปถึงครู อาจารย์ และผูบ้ ริหารสถานศึกษา ว่าถึงเวลาแล้ว หรือยังทีจ่ ะต้องปรับเปลีย่ นวิธกี ารสอนให้เข้ากับตัวผู้ เรียนและยุคสมัยมากขึ้น ซึ่งการเรียนการสอน แบบ Active Learning อาจจะเป็นค�ำตอบ ... การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป การเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียนรูท้ กุ ด้าน ทัง้ การเรียนเพือ่ ความรูเ้ ชิงเนือ้ หา การได้คดิ ต่อยอด มี Interactive ระหว่างผูเ้ รียน และผูส้ อน รวมไปถึงผูเ้ รียนด้วยกัน และทีส่ �ำคัญ ทีส่ ดุ คือการลงมือปฏิบตั จิ ริงทีจ่ ะสร้างเสริมทักษะ ให้กับผู้เรียน คือความน่าสนใจของการเรียนรู้ แบบ Active Learning “Active Learning คือการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในห้องเรียน มีกิจกรรมใน ห้องเรียนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน เพราะหัวใจ ของวิธีการสอนแบบนี้ก็คือนอกจากจะได้ความ รูแ้ ล้วเขาจะต้องมีทกั ษะและทัศนคติทดี่ ี ซึง่ ทักษะ และทัศนคติจะเกิดขึ้นได้จากการปฏิบัติ เช่น มี คนสอนเราเรื่อง Leadership พอเรานั่งฟัง แล้วเราจะบอกว่าเราเป็นผู้น�ำแล้วไม่ได้ ตัวทักษะ เหล่านี้มันเกิดจากการฝึกฝนและพัฒนาขึ้นมา จริงๆ“ ดร.ชนินทร์ ตรงจิตภักดี รักษาการแทน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการให้ข้อมูลกับ KU BULLETIN ตอบโจทย์ผู้ใช้บัณฑิต “เวลาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ มี โ อกาส พู ด คุยกับผู้ประกอบการ หรือแม้กระทั่งข้อมูล ทีห่ น่วยงานอืน่ ไปสอบถามผูป้ ระกอบการ เรามัก จะได้ข้อมูลว่าเขาต้องการบัณฑิตแบบไหน ซึ่งผู้ ประกอบการมั ก จะพู ด ถึ ง ทั ก ษะและทั ศ นคติ เป็ น หลั ก ใหญ่ มั น ยิ่ ง ย้ อ นกลั บ มาที่ เ รา ว่ า การเรี ย นการสอนที่ ดีไ ม่ ค วรให้ แ ต่ ค วาม รู ้ แต่ ค วรเป็ น การพั ฒ นาทั ก ษะร่ ว มเข้ า ไป ด้ ว ย” อ.ชนินทร์กล่าวถึงความเป็นมาเป็นไป ของ Active Learning ซึ่งเกิ ด จากค� ำ ถาม กับกระบวนการเรียนการสอนแบบเดิม น�ำมา สู่ Active Learning การเรียนการสอนที่มีจุด มุง่ หมายคือการผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพรอบ

Active Learning ด้าน ทัง้ มีความรู้ สามารถน�ำความรูม้ าใช้ได้อย่าง Learning ในรั้วมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ให้ มีประสิทธิภาพ รวมถึงมีทักษะอื่นๆที่จ�ำเป็นรวม เห็นภาพมากขึ้น อยู่ด้วย ผศ.ดร.มนัสนันท์ หัตถศักดิ์ อาจารย์ ประจ�ำภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว Active KU คณะศึกษาศาสตร์ หนึง่ ในผูพ ้ ฒ ั นาวิชา ให้ขอ้ มูล การเปลีย่ นแปลงการเรียนการสอนจาก เพิม่ เติมเกีย่ วกับการเรียนการสอนแบบ Active เดิม สูก่ ารเรียนการสอนแบบ Active Learning Learning ในรายวิชาศาสตร์แห่งแผ่นดิน ซึ่ง ถือเป็นความท้าทายครั้งใหญ่ของมหาวิทยาลัย เป็นวิชาที่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทุก เกษตรศาสตร์ ทีเ่ ริม่ ตัง้ แต่การฝึกอบรมอาจารย์ คนต้องผ่านการเรียนรู้ในหลักสูตรที่ถูกพัฒนา ทีต่ อ้ งเปลีย่ นแปลงไป อาจารย์เองต้องเรียนรูแ้ ละ ขึ้นใหม่ ปฏิบัติทุกอย่างอย่างเข้าใจ น�ำมาสู่วิธีการสอน “ในแต่ละอาทิตย์นสิ ติ ทีเ่ รียนวิชาศาสตร์ ที่ท�ำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจแบบจริงๆ รวมไป แห่งแผ่นดินจะเรียนรู้เนื้อหามาก่อนผ่านทาง ถึงต้องตอบค�ำถามเหล่าคณาจารย์ว่า Active eduFarm ซึ่งเนื้อหาบางทีเป็นวิดีโอสั้นๆที่หาก Learning คืออะไร จะวัดผลในห้องเรียนจาก ไม่เข้าใจก็สามารถดูซ�้ำได้ และมาท�ำกิจกรรม การท�ำกิจกรรมได้อย่างไร ซึ่งทั้งหมดน�ำมาสู่ พั ฒ นาทั ก ษะเหล่ า นั้ น ในห้ อ งเรี ย นไปด้ ว ยกั น ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนในห้องเรียน อาจารย์ผู้สอนก็จะได้เห็นว่านิสิตคิดเห็นอย่างไร “วิ ช าศาสตร์ แ ห่ ง แผ่ น ดิ น เป็ น ตั ว แล้วแก้ไขให้ค�ำแนะน�ำได้เลย นิสิตจะได้ฝึกฝน ต้ น แบบของการเรี ย นการสอนแบบ Active พัฒนาทักษะการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น การแสดง Learning ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อย่าง ความคิดเห็น การเป็นผู้น�ำ สิ่งที่เราคาดหวังคือ ชัดเจนต้นแบบหนึง่ เราต้องสร้างทีมงานอาจารย์ ความก้าวหน้าในเรื่องทักษะของนิสิต และนิสิต และขอความร่วมมือจากอาจารย์ เราจะอบรมเขา สามารถน�ำความรูไ้ ปใช้ได้จริง และสร้างประโยชน์ ว่าเนื้อหาเป็นอย่างไร กิจกรรมต้องท�ำอะไรบ้าง ให้กับสังคม” สอนให้ เ ล่ น จริ ง ๆ แล้ ว ต้ อ งเข้ า ใจด้ ว ยว่ า จะ “เราคาดหวังว่าในทุกๆรายวิชาจะมี เกิดการเรียนรู้อะไรเกิดขึ้น จะให้เด็กสะท้อน การเรียนการสอนแบบ Active Learning แต่ คิดอย่างไร” ดร.ชนินทร์ยกตัวอย่าง Active เราก็เข้าใจดีวา่ แต่ละวิชาก็มธี รรมชาติทแี่ ตกต่าง


PAGE 29

Some

OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี

กัน เราจะไปคาดหวังให้ทกุ วิชาเปลีย่ นแปลงอย่างเต็มรูปแบบอย่าง วิชาศาสตร์ของแผ่นดินไม่ได้ รวมถึงผูส้ อนเองก็มสี ไตล์การสอนที่ แตกต่างกัน วิชาศาสตร์แห่งแผ่นดินเป็นวิชาหนึง่ ทีจ่ ะท�ำให้อาจารย์ ทุกท่านเข้าใจวิธกี ารสอนแบบ Active Learning อย่างชัดเจน และ หยิบเอาข้อดีของมันไปปรับใช้กบั การเรียนการสอนของตัวเองได้” Active Learning ถือเป็นการเรียนการสอนรูปแบบ ใหม่ทเี่ ข้ากับยุคสมัยทีก่ ำ� ลังเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ทัง้ ความคิด ความอ่านในระดับโลก หรือแม้กระทั่งการเปลี่ยนแปลงเทรนด์ การเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษา เป็นอีกหนึ่งวิธีการที่น่าสนใจในการ พัฒนาบัณฑิตให้ตรงกับความต้องการในโลกของการท�ำงานจริง ซึ่งไม่เพียงต้องการแค่คนที่เรียนเก่ง แต่ต้องการคนที่สามารถน�ำ ความรูท้ มี่ ไี ปใช้และปรับเปลีย่ นดัดแปลงเพือ่ ประโยชน์ในด้านต่างๆ ซึง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กเ็ ข้าใจถึงความเปลีย่ นแปลงในข้อ นี้ และก�ำลังเร่งเดินหน้าเพื่อพัฒนาวิธีการสอนให้ตอบโจทย์โลก ของความเป็นจริงแบบไม่ย่อท้อต่อความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว และฉับไว

2 นักวิจัย มก. ได้รับรางวัลในงาน ‘นักวิจัยรุ่น ใหม่…พบ…เมธีวิจัยอาวุโส สกว.’ ครั้งที่ 17 เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2561 ในงาน ‘นักวิจัยรุน่ ใหม่…พบ…เมธีวจิ ยั อาวุโส สกว.’ ครัง้ ที่ 17 มีการ มอบรางวัล 20182018 TRF-OHEC-Scopus Researcher Award ให้แก่ ผศ.ดร.ชัชวาล วงศ์ชสู ขุ ภาควิชาฟิสกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จากผลงาน ‘นาโนก๊าซเซนเซอร์ เพือ่ ความปลอดภัยของชีวติ และสิง่ แวดล้อม’ ใน สาขา Physical Science โดยรางวัลทีไ่ ด้รบั เป็น โล่เกียรติยศพร้อมเงินรางวัล เพือ่ เป็นการเชิดชูเกียรติ แก่นกั วิจยั รุน่ ใหม่และนักวิจยั รุน่ กลางผูม้ ผี ลงาน ดีเด่นจากโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจาก สกว. นอกจากนี้ ศ.ดร.สาวิตรี ลิม่ ทอง ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลเมธีวิจัยอาวุโส สกว. จากในงานนี้อีกด้วย

CONGRATS! TSA มอบรางวัลให้ กล้อง CCTV มก. สมาคมผูป้ ระกอบการระบบรักษาความปลอดภัย หรือ TSA ร่วมกับสมาคมธุรกิจอาเซียน มอบรางวัล ให้ อ.ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายกิจการนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากผลงานกล้อง CCTV รุ่นท�ำเองที่ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี AI แบบ Deep Learning ในการ แยก Objects ต่างๆ สามารถใช้ได้กับกล้อง ทุกแบรนด์

PAGE 35


32

Special

REPORT

นครินทร์ พันธุมจินดา

ประชาสัมพันธ์ มก., SCB และ มหวรรณ พันธุมจินดา

CASHLESS , FUTURE IS HERE! เทคโนโลยี ที่ พั ฒ นารุ ด หน้ า สร้ า ง ความเปลีย่ นแปลงให้โลกนีอ้ ย่างมากมาย ทัง้ การ ติดต่อสือ่ สารทีร่ วดเร็ว การแพทย์ทยี่ ดื อายุขยั มนุษย์ รวมไปถึงสิ่งที่อยู่รายรอบตัวที่ล้วนแปรเปลี่ยน เพื่อผลลัพธ์ในการใช้ชีวิตที่ดีกว่า เฉกเช่นเดียว กับการจับจ่ายใช้สอย ซึง่ เป็นสิง่ ทีอ่ ยูค่ มู่ นุษยชาติ มาอย่างเนิ่นนาน การปรับเปลี่ยนเพื่ออ�ำนวย ความสะดวกก็ดูเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับยุคสมัย ที่เปลี่ยนไป โครงการ ‘KU 4.0: Cashless Society @ KU’ ได้ถือก�ำเนิดขึ้นจากความร่วมมือของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และธนาคารไทยพาณิชย์ เพือ่ ช่วยสร้างสรรค์สงั คมแห่งอนาคต ตามหมุด หมายการก้าวสู่ความเป็นเลิศในด้านต่างๆ ตาม นโยบาย 6Us โดยมีหนึง่ ในเป้าหมายหลักคือการ ผลักดัน‘Digital Society’ ให้เกิดขึ้นแบบเต็ม รูปแบบผ่านกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันของผู้คน เป็นครั้งแรกในรั้วมหาวิทยาลัยของประเทศไทย เกษตรศาสตร์ ไร้เงินสด วันที่ 21 กันยายน 2560 ณ อาคาร จักรพันธ์เพ็ญศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ได้มพ ี ธิ ลี งนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการพัฒนาระบบสังคมไร้เงินสด หรือ หรือ ‘KU 4.0: Cashless Society @ KU’ ภาย ใต้แนวคิด ‘KU 4.0 Future is Here’ โดยมี ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ลงนามความร่วมมือกับ คุณอาทิตย์ นันทวิทยา กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารไทยพาณิชย์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย

1

เกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ ได้กล่าวว่า มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ พ ร้ อ มตอบรั บ นโยบายของรั ฐ บาลในการร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการสร้างสังคมไร้เงินสด หรือ Cashless Society โดยได้มกี ารวางแผนและบริหารจัดการ เพือ่ ตอบรับการด�ำเนินชีวติ แบบ Smart Life ให้ กับนิสติ คณาจารย์ บุคลากร ตลอดจนศิษย์เก่า ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้วยศักยภาพ และโครงข่ า ยด้ า นสารสนเทศตามนโยบายสู ่ การเป็น Digital University 1 ในแนวนโยบาย เชิงรุก 6Us ซึ่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มุ่ง พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการ ศึกษา การบริหารจัดการทางการเงิน และการให้ บริการ Daily Lifestyle ของนิสิตและบุคลากร มาอย่างต่อเนื่อง

2

สู่ต้นแบบมหาวิทยาลัยไร้เงินสดของไทย ส�ำหรับความร่วมมือในการพัฒนา ระบบสั ง คมไร้ เ งิ น สด ‘KU 4.0: Cashless Society @ KU’ ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์และธนาคารไทยพาณิชย์ในครัง้ นี้ นั บ เป็ น การบู ร ณาการและสร้ า งองค์ ค วามรู ้ ร่ วมกั น ระหว่ า งนั ก วิ ช าการของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์และเจ้าหน้าที่ของธนาคารไทย พาณิชย์ ในการพัฒนาระบบการด�ำเนินธุรกรรม ทางการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบอื่นๆที่ เกีย่ วข้องกับนิสติ และบุคลากรในการรองรับการ ด�ำเนินงานด้านต่างๆของมหาวิทยาลัยเพือ่ ความ ยั่งยืนในอนาคต โดยในระยะเริ่มต้นจะมุ่งเน้นไป ที่การให้บริการการศึกษาของนิสิต และการจัด ท�ำ KU Application เพื่อรองรับธุรกรรมด้าน


อิเล็กทรอนิกส์ของนิสิตและบุคลากร รวมถึงร้านค้าผู้ประกอบ การภายในมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังเป็นการสนองนโยบาย ของรัฐบาล ‘Thailand 4.0’ เพือ่ พัฒนาระบบเทคโนโลยีและเพื่อ ประหยัดการใช้ทรัพยากรในการผลิตเงินตราและธนบัตรอีกด้วย “ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่สนับสนุนการสร้าง ระบบนิเวศสังคมไร้เงินสดทีจ่ ะเป็นสังคมต้นแบบในสถาบันการศึกษา และเตรี ย มความพร้ อ มนิ สิ ต ในฐานะคนรุ ่ น ใหม่ ใ ห้ ต อบรั บ กั บ เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ที่ นั บ วั น จะเข้ า มามี บ ทบาทอย่ า งมาก ในชีวิตประจ�ำวัน อีกทั้งธนาคารไทยพาณิชย์ยังได้น�ำระบบการ

บริหารจัดการทางการเงินอย่างครบวงจร ให้กับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เพื่อให้ฝ่ายบริหารจัดการเข้าถึงการท�ำธุรกรรม ทางเงินกับธนาคารได้ง่าย มีประสิทธิภาพและปลอดภัยมากขึ้น” คุณอาทิตย์ นันทวิทยา กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้า หน้าที่บริหาร ธนาคารไทยพาณิชย์ กล่าวเสริม

Life’ ขึน้ เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2560 ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกลุ ชัน้ 1 อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เพื่อให้นิสิต คณาจารย์ บุคลากร และศิษย์เก่า ร่วมหาค�ำตอบสู่ การจะเป็นมหาวิทยาลัยแห่งอนาคต โดยมีการจัดบูธให้ความรูแ้ ละ สาธิตสิง่ ทีจ่ ะเกิดภายในรัว้ เกษตรศาสตร์ รวมไปถึงการจ�ำลองการ จับจ่ายแบบไร้เงินสด โดยให้ผเู้ ข้าร่วมงานใช้ QR Code ในการช�ำระ น�ำร่องคึกคัก เงินเพียง 1 บาทเพื่อแลกรับอาหารจากเหล่าร้านดัง สร้างความ การจะน�ำแนวคิด ‘สังคมไร้เงินสด’ มาใช้ในชีวิตจริง สนุกสนานและความเอร็ดอร่อยกับบรรดาผูเ้ ข้าร่วมงาน นอกจากนี้ ย่อมต้องอาศัยเวลาในการปรับตัว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ยังมีกจิ กรรมพิเศษมากมาย อาทิ การรับสิทธิซ์ อื้ Smart Phone และธนาคารไทยพาณิชย์จึงได้จัดงาน ‘KU 4.0 Smart U Smart และแพกเกจราคาประหยัดจากค่ายมือถือต่างๆ รวมไปถึงการลุน้ รับของรางวัลพิเศษภายในงานอีกมากมาย 3 นอกจากกิจกรรมที่จัดขึ้นมาน�ำร่องการใช้จ่ายแบบ ไร้ เ งิ น สดเพื่ อ คนภายในครอบครั ว นนทรี แ ล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์และธนาคารไทยพาณิชย์ยังได้จัดกิจกรรมน�ำร่อง การใช้จา่ ยแบบไร้เงินสดใน ‘งานวันเกษตรแห่งชาติ ประจ�ำปี 2561’ เพื่อก้าวสู่สังคมไร้เงินสด แบบฉบับ KU 4.0 อย่างสมบูรณ์แบบ โดยผู้เข้าร่วมชมงานสามารถจับจ่ายซื้อสินค้าจากร้านค้าภายใน งานผ่านการสแกน QR Code ด้วยแอปพลิเคชั่นของธนาคาร ต่างๆ โดยไม่จ�ำเป็นต้องเป็นของธนาคารไทยพาณิชย์ นอกจากนี้ ยังมีโปรโมชัน่ พิเศษเฉพาะผูใ้ ช้ SCB Easy App ได้รบั เงินคืน 60 บาท เมื่อใช้จ่ายครบ 300 บาท รวมถึงมีการแจกรางวัลจี้ทองค�ำรวม วั น ละ 10 รางวั ล เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เ ยี่ ย มชมงานกล้ า ใช้ จ ่ า ย แบบไร้เงินสดมากยิ่งขึ้น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในวันนี้ ไม่เพียงแต่จะท�ำ หน้าที่สถาบันการศึกษาให้เต็มที่เพียงอย่างเดียว แต่ยังค�ำนึงถึง การใช้ชวี ติ เพือ่ ตอบโจทย์การเปลีย่ นแปลงของยุคสมัย สร้างแรง ขั บ เคลื่ อ นทางสั ง คมสู ่ แ นวทางแห่ ง อนาคต ให้ ส มกั บ การที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะเป็นมหาวิทยาลัยแรกของประเทศไทย ทีเ่ ป็นมหาวิทยาลัยแห่งอนาคต


SMART U 1

โครงการ KU 4.0: Cashless Society @ KU เป็นโครงการที่หยิบเอานวัตกรรมและความร่วม สมัยมารวมไว้ในรัว้ เกษตรศาสตร์ โดยมีหนุ้ ส่วน ทางความคิดอย่างธนาคารไทยพาณิชย์มาช่วย สร้างสรรค์สังคมแห่งอนาคต ให้มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์สามารถยืนหยัดท่ามกลางสมรภูมิ แห่งยุคสมัยได้อย่างสวยงามและภาคภูมิ โดยได้รบั แรงบันดาลใจมาจากบรรดาปัญหาในชีวติ ประจ�ำวัน ของนิสิตและบุคลากร ซึ่งทั้งหมดจะแปรเปลี่ยน เป็นแนวทางการแก้ไขในหลากหลายรูปแบบ อาทิ Smart ID Card, KU Application, Smart Locker, Smart Car Parking และยังรวมไปถึงอีกหลากหลาย ผลผลิตทีเ่ กิดจากความร่วมมือในครัง้ นี้ โดยมีภารกิจ หลักในการท�ำให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กลาย เป็น Smart University อย่างเต็มรูปแบบ แห่งแรกของประเทศไทย, การผลักดันสังคมไร้ เงินสด หรือ Cashless Society ให้เป็นจริง อย่างสมบูรณ์ภายในรัว้ มหาวิทยาลัย และอ�ำนวย ความสะดวกด้านการเงินให้ กับ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์

2

3

ท�ำไมต้อง KU 4.0: Cashless Society @ KU เพราะการด�ำเนินโครงการนีม้ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และธนาคารไทยพาณิชย์คดิ มากกว่าผลประโยชน์ ที่เป็นจ�ำนวนเงิน โครงการนี้คือก้าวแรกของการ ติดอาวุธทางปัญญาให้กับมันสมองของประเทศ อย่างนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่จะก้าว มาเป็นก�ำลังหลักในการพัฒนาประเทศชาติและสังคม ไทยในอนาคต ส่วนหนึง่ เป็นเพราะ Missing Piece ที่ประเทศไทยยังขาดแคลนช่องทางและก�ำลังใน การสนับสนุนการแสดงออกเชิงสร้างสรรค์ของ เด็กรุน่ ใหม่ ทีจ่ ะส่งผลต่อการพัฒนาแนวคิดและ การผลิตนวัตกรรมให้กบั ประเทศ สอดคล้องกับ Trend ของโลกที่นวัตกรรมมีบทบาทในการขับ เคลื่อนพลวัตรต่างๆ

5

KU Application กับการเติมเต็มชีวิต ชาวเกษตรฯ ชีวติ สมัยใหม่ของทุกคนผูกพันกับโทรศัพท์มอื ถือ ตัง้ แต่ตนื่ นอนตอนเช้าจนเข้านอนในตอนกลางคืน การใช้ชวี ติ ในมหาวิทยาลัยทีก่ ำ� ลังจะเปลีย่ นผ่านเป็น Smart University ก็ต้องการ Application ที่ สอดประสานบริการประชาคมให้สะดวกสบาย KU Application ถูกออกแบบมาให้ตอบโจทย์ชวี ติ รุ่นใหม่ของนิสิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในทุกเวลา ภายใน Application จะสามารถใช้งาน Function ที่หลากหลาย ทั้ง ตรวจสอบตารางเรียน-ปฏิทนิ , ใช้จา่ ยกับบรรดา ร้านค้าโดยไม่ตอ้ งใช้เงินสด, ใช้แทนเครือ่ งยืนยัน ตัวบุคคล ตลอดจนให้บริการแผนที่ภายในรั้ว มหาวิทยาลัยทัง้ ภายในและภายนอกบริเวณอาคาร เรียนต่างๆ, ค้นหาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ

7

ระยะเวลาของ KU 4.0: Cashless Society @ KU 5 ปี คือกรอบของเวลาทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ท�ำการตกลงไว้กับธนาคารไทยพาณิชย์ หุ้น ส่ ว นที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของโครงการ ‘KU 4.0: Cashless Society @ KU’ แต่ทั้งหมดจะไม่มี ความหมายเลยหากทุกสิ่งที่พวกเราทุกคนก�ำลัง วาดฝันไว้จะแล้วเสร็จ ณ เวลานัน้ เนื่ อ งจากในวั น และเวลาเหล่ า นั้ น เทคโนโลยี ที่ พ วกเราก� ำ ลั ง ตื่นเต้นกันอยู่ในตอนนี้อาจจะตกยุคไปเสียแล้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และธนาคารไทยพาณิชย์ จึงมีความตัง้ ใจทีจ่ ะผลักดันทุกโครงการย่อยของ KU 4.0 ให้แล้วเสร็จให้เร็วที่สุด โดยตั้งเป้าที่จะ Launch โครงการย่อยโครงการแรกๆภายใน ไตรมาสที่ 1 และ 2 ของปี 2561 และด�ำเนินการ ปรับปรุงต่อเนือ่ งไปจนครบก�ำหนดระยะเวลา 5 ปี

10 เรื่องน่ารู้ กับ เกษตรศาสตร์ ไร้เงินสด

10 THINGS ABOUT CASHLESS

จุดเริม่ ต้นของ KU 4.0: Cashless Society @ KU โครงการนีเ้ ริม่ ต้นมาจากวิสยั ทัศน์ทมี่ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ตระหนักเรือ่ งโลกภายนอกทีม่ กี าร เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว เข้าสูส่ ภาวะ Disruptive Society ที่สภาพสังคมในยุคเก่าถูกท้าทายโดย เทคโนโลยี ที่ เ ปลี่ ย นแปลงทุ ก สิ่ ง รายรอบตั ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มาพร้อมกับแนวคิดที่ ต้องการเป็นผูน้ ำ� ในการใช้ชวี ติ เป็น Smart University แห่งแรกทีน่ สิ ติ และบุคลากรสามารถใช้ชวี ติ แบบ Smart Life ซึง่ สามารถพัฒนาเป็นสังคมต้นแบบ ในยุค 4.0 โดยมี D-Day ในการเริม่ ต้นโครงการ ไปเมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม ทีผ่ า่ นมา ซึง่ มี 6 ธนาคาร ที่ให้ความสนใจในการเข้ามามีส่วนร่วม ก่อน ธนาคารไทยพาณิชย์จะชนะใจกรรมการคัดเลือกฯ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งหนึ่งในธง ทีท่ างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตงั้ ไว้ตงั้ แต่รเิ ริม่ โครงการคือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะไม่ใช้ เงินของมหาวิทยาลัยกับการเปลีย่ นแปลงในครัง้ นี้ ตลอดระยะเวลา 5 ปีของ MOU

4 Smart ID Card กับชีวิต 4.0 บัตรประจ�ำตัวของนิสิตและบุคลากรเป็นหนึ่งใน เครื่องยืนยันตัวตนที่ใช้กันมาอย่างยาวนาน ซึ่ง โครงการ KU 4.0 ได้พฒ ั นาบัตรประจ�ำตัวของนิสติ และบุคลากรให้มีประโยชน์ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้จ่ายที่สอดคล้องกับยุคสมัยที่ เปลี่ยนไป น�ำมาใช้แทนเงินสดได้แบบไม่ยุ่งยาก ในทั่วทุกพื้นที่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, การอ�ำนวยความสะดวกในการเข้า-ออกพืน้ ทีจ่ ำ� เพาะ เพื่อรักษาความปลอดภัยและลดภาระงานของ เจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้อง ตลอดจนยังรวมไปถึงการใช้ งานในการเช็คชือ่ เข้าเรียนหรือการตอกบัตรเข้างาน การใช้บริการส่วนต่างๆภายในมหาวิทยาลัย ฯลฯ

6 ประโยชน์ทชี่ าวมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะได้รบั ส�ำหรับประโยชน์ทนี่ สิ ติ และบุคลากรของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในทุกวิทยาเขตจะได้รบั นอกเหนือ จากความสะดวกสบายในการใช้ชวี ติ ทีม่ ากขึน้ แล้ว ยังมีเรือ่ งของความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ที่มากขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึงการสร้างก�ำลัง ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ ต่อยอดความ คิดของบรรดาคนรุน่ ใหม่ และยังเป็นประโยชน์กบั คนทุกคนทีเ่ กีย่ วพันกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพราะ ณ ที่แห่งนี้ได้เป็นสถานที่ส�ำหรับทุกๆคน เป็นสถานที่แห่งความหลากหลาย และก�ำลังจะ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งอนาคตแห่งแรกของประเทศไทย

8

โครงการย่อยอื่นๆใน KU 4.0: Cashless Society @ KU 8.1 Smart Financial Ecosystem ระบบช่วย จัดการการเงินของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ได้มืออาชีพอย่างธนาคารไทยพาณิชย์มาช่วย ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ ที่ ส� ำ คั ญ ในการด� ำ เนิ น แผนการทางการเงิน 8.2 Smart Trading Lab ห้องปฏิบัติการซื้อ ขายหลักทรัพย์จ�ำลอง ที่เป็นการมอบโอกาส ทางการเรี ย นรู ้ ใ นสนามจริ ง ให้ กั บ นิ สิ ต และ บุ ค ลากรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย ผู้เชี่ยวชาญจากธนาคารไทยพาณิชย์ 8.3 Smart Electronic Shuttle Bus รถโดยสาร ประจ�ำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในระบบไฟฟ้า ที่ ต อบโจทย์ ใ นหลากหลายด้ า น ทั้ ง ด้ า นการ ประหยัดพลังงาน ลดมลภาวะทางอากาศและ ทางเสียง การเพิ่มปริมาณให้เพียงพอต่อความ ต้องการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตลอดจน การสร้างสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูใ้ นทุกมิติ


PAGE 31

Some

9 FAQ – ถ้าไม่มี Smart ID Card / KU Application / บัญชี SCB จะสามารถใช้จ่ายในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ได้หรือไม่? เนื่องจากระบบมาตรฐาน QR Code ที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยเป็นผู้ก�ำหนด ท�ำให้สามารถใช้ จ่ายผ่านช่องทางที่รองรับได้ในทุกธนาคาร โดย ไม่จ�ำเป็นต้องมีบัญชี SCB

4

5

OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี

NEW ARRIVAL!

มก. เปิดตัวการใช้จักรยานสาธารณะอัจฉริยะ (Mobike) เป็นครั้งแรกของประเทศไทย

10

6

FAQ – SCB ได้ประโยชน์อะไรจากโครงการนี้? เนือ่ งจากธนาคารไทยพาณิชย์มเี ป้าหมายทีจ่ ะอยูร่ อด อย่างปลอดภัยในสภาพสังคมแบบ Disruptive Society จึ ง เข้ า มาร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ในการพัฒนาโครงการ KU 4.0 เพือ่ การเป็นผู้น�ำในสังคมแห่งอนาคตที่ประเทศไทย ก�ำลังก้าวไปสู่ ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนาระบบสังคม ไร้เงินสด หรือ การตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ทางการ เงินของสังคมยุคใหม่ในหลากหลายมิตอิ กี ทัง้ ยัง เป็ น การลงทุ น ในกลุ ่ ม ปั ญ ญาชนคนรุ ่ น ใหม่ ทีธ่ นาคารไทยพาณิชย์มคี วามเชือ่ มัน่ ว่าจะเป็นกลุม่ ทีเ่ ข้ามามีบทบาทในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต รวมไปถึงการพัฒนาองค์ความรูเ้ ชิงนวัตกรรมที่ เป็นหนึ่งในฟันเฟืองส�ำคัญในเศรษฐกิจยุค 4.0 ทั้งในระดับประเทศและระดับโลก

คลินิกปฐมพยาบาลนิสิตหอพัก ซ.45 เปิดให้บริการแล้ว

The Caption 1 | ภาพหมูผ่ บู้ ริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และธนาคาร ไทยพาณิชย์ในงานแถลงข่าวพิธลี งนามความร่วมมือ ‘KU 4.0 Future is Here’ เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 2 | ‘หนุม่ เมืองจันท์’ คอลัมนิสต์ชอื่ ดังกับการบรรยายเรือ่ ง ‘พลิกมุมคิด ชีวิตเปลี่ยน’ ในงาน ‘KU 4.0 Smart U Smart Life’ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2560 3 | มาสค็อต ‘แม่มณี’ สัญลักษณ์ของการจับจ่ายไร้เงินสดจาก SCB เดินเล่นด้วยความสนุกสนานในงานวันเกษตรแห่งชาติ 2561 4 | 1-Stop Service Kiosk หนึง่ ในสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ของโครงการ 'KU 4.0: Cashless Society @ KU' ที่จะ ให้บริการเพื่อการศึกษากับนิสิตเกษตรศาสตร์ 5 | รูปปัน้ ‘แม่มณี’ อีกหนึง่ จุดสังเกตทีส่ ำ� คัญในงานวันเกษตร แห่งชาติทผี่ า่ นมา 6 | แม่คา้ นิสติ สาวกับการน�ำเสนอการซือ้ ของด้วยระบบไร้เงินสด ผ่าน QR Code ในงานวันเกษตรแห่งชาติทผี่ า่ นมา 7 | รถโดยสารประจ�ำมหาวิทยาลัยแบบใช้ไฟฟ้า อีกหนึง่ หนึง่ ใน สิง่ อ�ำนวยความสะดวกของโครงการ 'KU 4.0: Cashless Society @ KU'

เมื่ อ วั น ที่ 2 พฤศจิ ก ายน 2560 ณ อาคาร จักรพันธ์เพ็ญศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้จดั ให้มพี ธิ เี ปิดการใช้งานจักรยานสาธารณะอัจฉริยะ Mobike First Ride in KU ครัง้ แรกของไทย โดยมี ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, Mark Lin ผู้ อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบตั งิ านระหว่างประเทศบริษทั โมไบค์ และ Han Kheng Lee ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวย การอาวุโส ส่วนงานผลิตภัณฑ์และโซลูชนั่ กลุม่ ลูกค้า องค์กร เอไอเอส ร่วมในพิธีเปิด พร้อมกับน�ำ คณะผูบ้ ริหาร บุคลากร นิสติ และ อาย กมลเนตร ดารานักแสดงศิษย์เก่า KU พร้อมกับ เก้า จิรายุ ดาราหนุ ่ ม วั ย ใส ร่ ว มปั ่ น จั ก รยานสาธารณะ อัจฉริยะ Mobike ในเลนจักรยานเส้นรอบอาคาร จักรพันธ์เพ็ญศิริ ระยะทาง 1.4 กิโลเมตร

7

คลินิกปฐมพยาบาลนิสิตหอพักซอย 45 หรือ KU Dorm First Aid @45 เปิดให้บริการแล้ว เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2560 ที่ผ่านมา โดยกอง กิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อ ให้บริการแก่นสิ ติ ไทย นิสติ ต่างประเทศ และนิสติ ที่พักในหอพักบริเวณใกล้เคียง ที่ต้องการการ ช่วยเหลือเบือ้ งต้นด้านสุขภาพ กรณีฉกุ เฉิน ก่อน ไปพบแพทย์ที่สถานพยาบาลของมหาวิทยาลัย หรือโรงพยาบาล คลินกิ ดังกล่าวนีเ้ ปิดให้บริการ ทุกวัน ตัง้ แต่เวลา 18:00-23:00 น. ทีบ่ ริเวณชัน้ 1 หอพักกฤษณา

PAGE 39


36

IN NEW

NEW STUFF!

มาร์ก สะกดด้วยกอไก่

Look

อ.ปิติรัตน์ ยศวัฒน และ นครินทร์ พันธุมจินดา

วาดเกษตร จะเป็นยังไงถ้าความสวยงามของสถานที่ ต่างๆในม.เกษตรฯจะถูกถ่ายทอดออกมาผ่าน ลายเส้นสีน�้ำของศิลปินมือฉมัง! โปรเจ็กต์ ‘วาดเกษตร’ ถือก�ำเนิดขึน้ มา จากแนวคิดดังกล่าว โดยได้ถ่ายทอดผ่านฝีมือ วาดภาพสี น�้ ำ แสนสวยจากศิ ล ปิ น ที่ ถ นั ด ด้ า นการวาดภาพเมื อง อ.ปิ ติ รั ต น์ ยศวั ฒน อดี ต อาจารย์ ค ณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในสมาชิกกลุ่ม Bangkok Sketchers 13 สถานที่เด่นดังทั้วทั้ง 4 วิทยาเขต ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ถูกบันทึกความ สวยงามไว้ด้วยพู่กันและการแต้มสี ก่อนจะออก มาให้ เ ก็ บ สะสมในรู ป แบบปฏิ ทิ น สมุ ด บั น ทึ ก ส.ค.ส โปสการ์ด และโปสเตอร์ภาพวาดบน กระดาษ 100 ปอนด์ เพื่อให้ชาวเกษตรทุกคน ได้ชื่นชมความสวยงามของสถานที่ต่างๆในทุกๆ วันทุกเวลา

watercolourised kaset

ของมันต้องมี!

DESIG NEW


GNING THANGS! KU IN NEW Look คอลัมน์ทนี่ ำ� เสนอความแตกต่างแบบใหม่ๆ ผ่าน งานดีไซน์ลำ�้ ๆ งานนวัตกรรมเริด่ ๆ หรือแม้กระทัง่ ไอเท็มเด็ดทีต่ อ้ งมี ในรัว้ นนทรีสเี ขียวแห่งนีน้ เี่ องงงง!

PROVE YOU GRADUATED FROM KU! เป็นปีที่ 2 ที่หนังสือเผยแพร่ในงานพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตรทีแ่ จกเป็นทีร่ ะลึกให้แก่เหล่าบัณฑิตใหม่ถกู ปรับโฉม ให้ถูกใจคนรับมากขึ้น PROVE YOU GRADUATED FROM KU ฉบับปี 2560 มาในธีม ‘FOLLOW THE KING’S FOOTSTEPS’ เพือ่ เป็นทีร่ ะลึก ถึงในหลวงรัชกาลที่ 9 โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 ส่วนหลักๆ คือ ส่วนแรก ‘FOLLOW THE KING’S FOOTSTEPS’ หัวใจของ หนังสือเล่มนี้ น�ำเสนอพระมหากรุณาธิคุณของในหลวง ร.9 ใน มิติต่างๆ ร่วมด้วยพระมหากรุณาธิคุณของในหลวง ร.10 และ เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ, ส่วนที่ 2 ‘PROVE YOU GRADUATED FROM KU!’ ข้อสอบวิชาสุดท้ายก่อนจบออกไป เพื่อพิสูจน์ว่า บัณฑิตใหม่รจู้ กั มหาวิทยาลัยของตัวเองดีหรือยัง, ส่วนที่ 3 ‘KU IN MEMORIES’ ภาพถ่ายสถานที่ต่างๆ เพื่อย้อนร�ำลึกถึงรสชาติ ชีวติ ในรัว้ มหาวิทยาลัย, ส่วนที่ 4 ‘CONVERSATION WITH OUR FAMILY’ สัมภาษณ์รนุ่ พีส่ ายเลือดสีเขียวทีจ่ ะมาให้ขอ้ คิด ค�ำแนะน�ำ แรงบันดาล ก่อนออกไปเผชิญชีวิตจริง และส่วนสุดท้าย ‘LIFE AFTER YOU GRADUATE’ ที่เป็นส่วนแนะน�ำการใช้ชวี ติ หลังเรียน จบในหลากหลายแง่มมุ

scan me now

ช็อปผลิตภัณฑ์ในโปรเจ็กต์ 'วาดเกษตร'

PROVE YOU GRADUATED FROM KU! CLASS OF 2016

PROVE YOU GRADUATED FROM KU! CLASS OF 2017

คลิปประชาสัมพันธ์ SMART ID CARD

SMART ID CARD บัตรประจ�ำตัวนิสิตและบุคลากรจะมาในรูปโฉมใหม่ พร้อมฟังก์ชั่นสุดจะแด่มแจ่มว้าว! Smart ID Card คือหนึง่ ในผลผลิตของโครงการ ‘KU 4.0: Cashless Society @ KU’ ที่ธนาคารไทยพาณิชย์จัดให้ ชาวเกษตรศาสตร์แบบดีทสี่ ดุ ! ซึง่ คุณสมบัตจิ ดุ แจ่มที่ Smart ID Card ใบนีจ้ ะมอบให้ทกุ คนคือสามารถแสดงตัวตนเข้าออกสถานที่ ต่างๆที่มหาวิทยาลัยก�ำหนด เช่น หอสมุด หอพัก ได้อย่างสะดวก สามารถใช้ชอ็ ปปิง้ ได้อย่างสะดวกสบายทัง้ รูดแทนเงินสดและช็อป ปิ้งออนไลน์ รวมไปถึงสามารถใช้ลงเวลาเรียนและเวลาเข้างานได้ อย่างสุดแสนสบาย นอกจากนั้นยังมี ‘สมาร์ทชิป’ ที่ช่วยป้องกัน การโจรกรรมข้อมูลในบัตร หรือการ Skimming ด้วยมาตรฐาน ระดับโลก และในอนาคตจะมีการบริการผูกเข้ากับ ‘บัตรแมงมุม’ เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายสาธารณะให้มาอยู่ในบัตรนิสิตและบัตร บุคลากรเพียงแค่ใบเดียว ไม่ต้องพกเยอะ!


38

The NISIT นันท์นภัส พลเศรษฐเลิศ

ชมรมศิลปะการด�ำรงชีพ

1

Art of Living Art of Making Usefulness ศิลปการด�ำรงชีพ ศิลปะที่น�ำพาชีวิตให้มีประโยชน์ การอยูร่ ว่ มกันในสังคม ไม่วา่ จะสังคม ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ เรียบง่ายหรือซับซ้อน เราทุกคนล้วนต้องปรับตัวเพื่อให้ความสัมพันธ์ และการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันเป็นไปอย่างราบรื่น นอกจากประสบการณ์ในชีวิตทั้งที่เราตั้งใจและ ไม่ตั้งใจให้เกิดจะเป็นข้อคิด ช่วยหล่อหลอม และ ขัดเกลานิสัยให้เราปรับตัวเข้ากับสังคมได้อย่าง มี ค วามสุ ข แล้ ว เกษตรศาสตร์ ยั ง มี อี ก หนึ่ ง ห้องเรียนที่จะท�ำให้เราได้ทดลองใช้ชีวิตในหลาก หลายรูปแบบเพื่อการอยู่ร่วมกัน ห้องเรียนนั้น มีชอื่ ว่า ‘ชมรมศิลปการด�ำรงชีพ’ แม้ชอื่ ‘ศิลปการด�ำรงชีพ’ จะชวนให้ เรานึกถึง การใช้ชีวิตที่ดีงามอย่างมีศิลปะและ สร้างสรรค์ แต่ความจริงนัน้ เมือ่ 30 ปีกอ่ นชมรม นี้เริ่มต้นจากแนวคิดการสอนหนังสือให้เด็กๆ เพื่อให้พวกเขาได้สอบเข้ามหาวิทยาลัยที่ใฝ่ฝัน จนกระทัง่ ชมรมประสบปัญหาและถูกยุบไป เด็กๆ เหล่านั้นเมื่อสอบติด เป็นนิสิตเกษตรศาสตร์ก็ อยากตอบแทนความใจดีของพี่ๆ แต่กลับพบ ว่าชมรมของพี่ๆที่ท�ำให้พวกเขาได้มาถึงฝั่งฝัน The Caption นั้นไม่มีอยู่แล้ว เขาจึงรวมกลุ่มกันและตอบแทน 1 | การบ�ำเพ็ญประโยชน์ของชมรมศิลปการด�ำรงชีวิตใน ความดีของพี่ๆด้วยการก่อตั้งชมรมศิลปการ การออกค่ายออกนอกกะลา ครั้งที่ 3 ด�ำรงชีพ 2 | บรรยากาศการออกทริป IDKU ครัง้ ที่ 6 ตอน ‘ไปด้วยกัน ชมรมศิลปการด�ำรงชีพ เป็นชมรมใน ไปด้วยใจ ด้วยตะลัยม.เกษตร’ ฝ่ายบ�ำเพ็ญประโยชน์ ซึง่ มีกจิ กรรมทีค่ ล้ายคลึงกับ 3 | บรรยากาศการออกค่ายออกนอกกะลา ครัง้ ที่ 2 4 | บรรยากาศการออกค่ายออกนอกกะลา ครั้งที่ 3 ชมรมฝ่ายบ�ำเพ็ญประโยชน์อนื่ ๆทีเ่ น้นการออกไปท�ำ 5 | พรเพชร สิงจานุสงค์ หรือ เบียร์ ผูถ้ า่ ยทอดเรือ่ งราวในครัง้ นี้ กิจกรรมเพือ่ สร้างประโยชน์ให้กบ ั ผูท้ ไี่ ด้รบั ความ เดือดร้อน หรือช่วยเหลือผูท้ ปี่ ระสบปัญหาในด้าน

ต่างๆ เพื่อให้คนเหล่านั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แต่สงิ่ หนึง่ ทีช่ มรมศิลปการด�ำรงชีพแตกต่างจาก ชมรมฝ่ายบ�ำเพ็ญประโยชน์อนื่ ๆ ก็คอื การฝึกคนใน ชมรมให้มคี ณ ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย พรเพชร สิงจานุสงค์ หรือ เบียร์ นิสติ ชั้นปีที่ 4 คณะสังคมศาสตร์ ผู้เป็นสมาชิกของ ชมรมมาตั้งแต่อยู่ชั้นปีที่ 1 และเข้าร่วมกิจกรรม ของชมรมทุกกิจกรรมเล่าให้เราฟังว่า ชมรม ศิลปการด�ำรงชีพมีกจิ กรรมหลักคือการออกค่ายอาสา เริม่ จากค่ายหว่านเมล็ด ซึง่ เป็นค่ายแรกทีใ่ ห้สมาชิก ในชมรมทุกคนได้ทำ� ความรูจ้ กั ได้เรียนรู้ แลกเปลีย่ น และให้นิสิตได้สร้างความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ที่มี ความเชีย่ วชาญและเกีย่ วข้องในการแก้ปญ ั หาด้านต่างๆ ของสังคม เช่น เจ้าหน้าที่ป่าไม้ หรือผู้เชี่ยวชาญ ด้านวัฒนธรรม ค่ายต่อมาเป็นค่ายใหญ่ทจี่ ดั ในช่วงปิดเทอม ค่ายนีใ้ ช้เวลามากกว่า 10 วัน เพือ่ ให้นสิ ติ ได้ใช้เวลา ปรับตัวเข้ากับสังคมใหม่ๆทีเ่ ราไม่มโี อกาสได้เจอ ท�ำให้นสิ ติ ทีไ่ ปออกค่ายได้ไปใช้ชวี ติ ในสถานทีต่ า่ งๆ อย่างมีประโยชน์ เบียร์ระลึกถึงค่ายใหญ่ทผี่ า่ นมาซึง่ ช่วย ให้เห็นภาพค�ำว่าใช้ชวี ติ อย่างมีประโยชน์วา่ ครัง้ หนึง่ ชมรมศิลปการด�ำรงชีพไปออกค่ า ยที่ อ.งาว จ.ล�ำปาง แล้วพบว่ามีปัญหาระหว่างชาวบ้าน กับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ เนื่องจากเจ้าหน้าที่ได้ส่งมอบ พืน้ ทีน่ ำ�้ ตกทีช่ าวบ้านค้นพบให้กบั กรมอุทยานเพือ่ การจัดการอย่างเป็นระบบ ชาวบ้านจึงไม่สามารถใช้ น�ำ้ จากน�ำ้ ตกสายนัน้ ได้ ปัญหาทางการเกษตรจึง

ตามมา ชมรมศิลปการด�ำรงชีพจึงลงพื้นที่และ ช่วยหน่วยงานราชการในการวางแผน เปิดอบรม ให้ชาวบ้านรูจ้ กั การท�ำฝาย ส่งเสริมความรู้เรื่อง เกษตรทฤษฎีใหม่ เพือ่ ให้ชาวบ้านเห็นว่าพืชชนิด ใดที่สามารถปลูกได้โดยที่ไม่ต้องใช้น�้ำมาก แต่ ผลผลิตดี และไม่ท�ำลายสภาพแวดล้อม ซึง่ หากเป็นนิสติ ทีไ่ ม่มคี วามรูเ้ รือ่ งนีเ้ ลย ก็คงสงสัยเหมือนกันว่าแล้วเราจะไปสอนชาวบ้าน ทีน่ า่ จะรูเ้ รือ่ งในพืน้ ทีม่ ากกว่าเราได้อย่างไร เบียร์ เสริมขึ้นมาว่าก่อนจะลงไปปฏิบัติงานจริง ชมรม ได้แปลงพืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่ ของชมรมให้เป็นห้องทดลอง มีการปรึกษากับชมรมต่างๆทีม่ คี วามรูจ้ ริงในเรือ่ ง นัน้ ๆให้ช่วยเหลือ เช่น ครั้งหนึ่งชมรมต้องการ สร้างโมเดลทางการเกษตรให้ชาวบ้านหันไปเพาะเห็ด แทนการปลูกข้าวโพดเพื่อลดการท�ำร้ายดิน ซึ่ง ชาวบ้านในพื้นที่นั้นมีเศษวัตถุดิบเป็นฟางข้าว และเปลือกถั่วจ�ำนวนมาก แต่ชมรมไม่แน่ใจว่า ฟางหรือถัว่ จะช่วยให้เห็ดเจริญเติบโตได้ดกี ว่ากัน ชมรมจึงขอค�ำปรึกษากับชมรมเห็ดให้ชว่ ยทดลอง เพาะเห็ดโดยใช้เศษวัตถุดบิ ทัง้ สอง เมือ่ ได้คำ� ตอบ แล้ วก็ น�ำ ไปสอนชาวบ้ า นต่ อ เบี ย ร์ย�้ ำ ว่ า สิ่ ง ที่ ไม่รู้ นิสิตทุกคนในชมรมก็ได้ศึกษาให้รู้ การหา ค�ำตอบก็เป็นศิลปะอย่างหนึ่งของการด�ำรงชีวิต และการพาตัวเองเข้าไปอยู่พื้นที่ที่หลากหลาย ท�ำให้เรารูว้ า่ ยังมีคำ� ถามอีกมากทีร่ อคอยค�ำตอบ ด้ า นชาวบ้ า นในแต่ ล ะพื้ น ที่ ที่ช มรม ศิลปการด�ำรงชีวิตเข้าไปพบเจอและช่วยเหลือ พวกเขาเองก็ได้ข้อคิดที่ส�ำคัญคือการเรียนรู้ที่


PAGE 35

Some

OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี

2

จะปรับตัว เปิดรับ และยอมรับการเปลีย่ นแปลง ไม่ใช่เพือ่ ให้พวกเขา สูญเสียตัวตนแต่ช่วยให้เขาได้มีภูมิคุ้มกันในการเลือกรับ ปรับใช้ และสร้างสังคมของพวกเขาให้เข้มแข็งมากขึ้น นอกจากการออกค่ายแล้ว ชมรมศิลปการด�ำรงชีพยัง มีหลายกิจกรรมทีน่ า่ สนใจ เช่น Art of Cooking กิจกรรมสอนท�ำ อาหารซึง่ อาหารเป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญของการด�ำรงชีวติ , Art of Healthy การสร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อจะได้มีก�ำลังในการใช้ชีวิต และสร้างสรรค์งานต่างๆ, Art of Learning การทบทวนบทเรียน เพื่อตระหนักว่าความรู้คือกุญแจส�ำคัญของการพัฒนาทุกๆด้าน ฯลฯ ก่อนที่จะกลับไปใช้ชีวิตประจ�ำวัน เราไม่ลืมที่ถามเบียร์ ในฐานะตัวแทนชมรมและนิสิตเกษตรศาสตร์ว่า การอยู่ชมรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ของมหาวิทยาลัย นอกจากได้ความสุขทางใจ และทักษะการใช้ชวี ติ แล้วเบียร์ได้เรียนรูอ้ ะไรบ้าง เบียร์นงิ่ ไปสักครู่ ด้วยความรู้สึกอัดแน่นในใจ ก่อนจะตอบว่า “ได้รู้จักคนที่มีความ คิดคล้ายๆกัน ได้ออกไปสร้างฝันบางอย่างด้วยกันกับพี่น้องชาว เกษตรศาสตร์ทมี่ อี ยูใ่ นทุกภาคของประเทศ ช่วยกันสร้างภูมคิ มุ้ กัน และความเชื่อมั่นให้กัน และเรามีความเชื่อร่วมกัน เราเชื่อว่าชมรม สร้างคนดี ซึ่งนี่คือสิ่งส�ำคัญของการอยู่ร่วมกัน”

4

nisit kaset

3

5

มก. เปิดศูนย์การเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ทางทะเลและการประมงซิโน-ไทย เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 เวลา 14.00 น. ณ ห้อง ประชุม 303 อาคารบุญ อินทรัมพรรย์ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษาการแทนอธิการบดี และ ศาสตราจารย์ Yu Zhigang อธิการบดี Ocean University of China เป็นประธาน ในพิธี พร้อมด้วยคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ในการเปิดศูนย์การเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ทางทะเลและการประมงซิโนไทย (SinoThai Academic Center on Marine and Fishery Science) โดย รศ.ดร.เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์ คณบดีคณะประมงเป็นผูก้ ล่าวรายงานถึงประวัติ ความเป็นมาของการก่อตัง้ ศูนย์การเรียนรูแ้ ห่งนี้ และ มีการตัดริบบิน้ เปิดศูนย์การเรียนรูอ้ ย่างเป็นทางการ ณ บริเวณชัน้ 8 ของอาคารเดียวกันซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของ ศูนย์การเรียนรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเลและการประมง ซิโน-ไทย ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

NOW OPEN! มก. เปิดศูนย์ส่งเสริมการพัฒนา ศักยภาพนิสิตสู่สากล

เมือ่ วันที่ 8 กันยายน 2560 เวลา 13.30 – 15.30 น. ณ ห้องชัน้ ล่างของอาคารศูนย์เรียนรวม 1 บริเวณ โซน A และโซน B ได้มีพิธีเปิดศูนย์ส่งเสริม การพั ฒ นาศั ก ยภาพนิ สิ ต สู ่ ส ากล หรื อ KU International Hub โดย ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษาการแทนอธิการบดี ให้เกียรติเป็นประธาน ในพิธเี ปิด พร้อมด้วยคณะผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการจัดตัง้ เพือ่ เป็น ศูนย์กลางในการสือ่ สาร สนับสนุนข้อมูลด้านการ ศึกษาต่างประเทศ การแลกเปลีย่ นทุนการศึกษา / วิจยั / การร่วมกิจกรรม / โครงการต่างประเทศ พร้อมทัง้ เป็นทีไ่ ด้แลกเปลีย่ นความคิดเห็น ความรู้ ประสบการณ์และวัฒนธรรมกับนิสิตนานาชาติ ที่ศกึ ษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือต่าง สถาบันและต่างประเทศ

PAGE 41


The REPORT ศิริรัตน์ ศิริธรรมศักดา และ นครินทร์ พันธุมจินดา

ผศ.อนุพร สุวรรณวาจกกสิกิจ ผู้อ�ำนวยการสถานีวิทยุ ม.ก.

40

สถานีวิทยุ ม.ก.

สถานีวทิ ยุ ม.ก. กับก้าวต่อไปในยุคแห่งการเปลีย่ นแปลง

+

RADIO PLUS

หากย้อนกลับไปเมือ่ พ.ศ.2504 ปีที่ ข้อมูลคุณภาพทางการเกษตรจากสถานีวทิ ยุ ม.ก. ถูกเผยแพร่ไปสู่เกษตรกรเป็นครั้งแรก โดยมี รศ.พร สุ ว รรณวาจกสิ กิ จ เป็นดั่งผู้ฟูมฟัก สถานีวทิ ยุแห่งนีใ้ ห้เติบใหญ่ ซึง่ รศ.พร ได้เล็งเห็น ว่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นนั้ มีแหล่งความรู้ เกีย่ วกับการเกษตรมากมาย แต่จะไม่มปี ระโยชน์ อะไรหากไม่ได้รับการเผยแพร่เพื่อเอาไปใช้ใน ชีวิตจริง แนวคิดดังกล่าวอยูค่ สู่ ถานีวทิ ยุ ม.ก. จนถึงตอนนี้นับเวลาได้กว่า 50 ปี แต่ท่ามกลาง พายุเทคโนโลยีที่พัฒนารุดหน้าขึ้นการสื่อสาร ไม่วา่ จะเป็นวิธกี าร เครือ่ งมือ ตลอดจนพฤติกรรม ของผูร้ บั สารได้เปลีย่ นแปลงไป จากสถานีวทิ ยุใน รูปแบบเดิมๆ ก็ดเู หมือนจะไม่เพียงพอต่อความ ต้องการแห่งยุคสมัย สถานีวิทยุ ม.ก. ภายใต้ การบริหารของ ผศ.อนุพร สุวรรณวาจกกสิกจิ จึง เตรียมรับมือ และมุง่ พัฒนาสูส่ ถานีวทิ ยุทที่ นั สมัย ทั้งข้อมูลและรูปแบบการของสื่อสาร KU Radio สู่ KU Radio Plus ตลอดกว่ า 5 ทศวรรษที่ ส ถานี วิ ท ยุ ม.ก. สถานี วิ ท ยุ ข องมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เผยแพร่ ข ้ อ มู ล กทางการ เกษตรเพื่ อ ให้ ข ้ อ มู ล ความรู ้ ท างการเกษตร กั บ เกษตรกรในรู ป แบบของเสี ย ง จนกระทั่ ง เมื่ อ 20 ปี ที่ แ ล้ ว สถานี วิ ท ยุ ม.ก. ได้ พั ฒ นาการถ่ า ยทอดข้ อ มู ล ให้ ทัน ยุ ค ทั น สมั ย มากขึ้ น รวมถึ ง ขยายพื้ น ที่ ก ารเข้ า ถึ ง จึ ง เริ่ ม ออกอากาศผ่ า นอิ น เตอร์ เ น็ ต ซึ่ ง ถื อ เป็ น สถานี วิท ยุ แ รกในระบบ AM ของประเทศไทย


PAGE 39 23

Some

OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี

ที่ออกอากาศผ่านอินเทอร์เ น็ ต เหล่ า นี้ ท�ำ ให้ เห็ น ได้ ว ่ า สถานี วิท ยุ ม.ก. ไม่เ คยหยุดอยู่กับ ที่ “ในปัจจุบัน สื่อจะต้องเป็นรูปแบบ Convergence คื อ การรวมสื่ อ หลายๆอย่ า งเข้ า ด้ ว ยกั น เราจึ ง ตั้ ง หน่ ว ยงาน KUR+ (KU Radio Plus) ขึ้ น มา เพื่ อ ท� ำ ให้ ส ถานี วิท ยุ ม.ก. เป็ น ที่ พึ่ ง ของเกษตรกรได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น และทั น สมั ย เราบวก ด้านเนื้อหาเข้าไป บวกทั้งภาพและเสียง เผยแพร่ทั้งอนาล็อก และดิจิทัล เรามี Application ทั้งในระบบ iOS และ Android เรากลายเป็นสถานีโทรทัศน์เล็กๆบนโทรศัพท์มือถือที่มีภาพ และเสียงที่คมชัด ซึ่งการถ่ายทอดทั้งภาพและเสียงผ่านระบบ อินเทอร์เน็ตนี้ น�ำมาสู่การถ่ายทอดข้อมูลความรู้ที่มีคุณภาพ และไร้พรมแดน พร้อมกันนี้เรายังจัด Event อบรมเกษตรกร มี ก ารร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานอื่ น ซึ่ ง นอกจากด้ า นการเกษตร แล้ว เรายังสนับสนุนและท�ำงานเรื่องของภาษาและวัฒนธรรม ด้วย” ผศ.อนุพร สุวรรณวาจกกสิกจิ ผูอ้ ำ� นวยการสถานีวทิ ยุ ม.ก. บุตรของ รศ.พร สุวรรณวาจกกสิกิจ ผู้ก่อตั้งสถานีวิทยุ ม.ก. เล่าให้ KU BULLETIN ฟั งถึ งบทบาทที่ เปลี่ย นไป

ด� ำ เนิ นการที่ เ ห็ นได้ ว ่ าเราจะไม่ ห ยุ ด นิ่ ง ”

หลากหลายสาระสู ่ ผู ้ รั บสาร ด ้ ว ย ที ม ง า น คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ จ า ก ห ล า ก ห ล า ย ห น ่ ว ย ง า น ทั้ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น เ ช ่ น ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน, B2S, True Farm Application, เว็บไซต์เกษตรก้าวไกล ฯลฯ ท�ำให้ผลงานของสถานีวิทยุ ม.ก. ในปัจจุบันมีความรอบด้านมากขึ้น ไม่ใช่แค่สถานีวิทยุทางการ เกษตรอย่ า งเดี ย ว แต่ ส ถานี วิ ท ยุ ม.ก. คื อ สถานี วิ ท ยุ เ พื่ อ การเกษตร ภาษา วั ฒนธรรม และสาธารณะประโยชน์ “กลุ ่ มผู ้ ฟั ง ของเราส่ ว นใหญ่ เ ป็ นเกษตรกร ซึ่ ง เรา มีการสร้างคณะท�ำงานภาคประชาชน โดยเอากลุ่มผู้ฟังมาบริหาร จั ด การเวลาที่ เ ป็ น เนื้ อ หาทางการเกษตรที่ ส ถานี วิ ท ยุ ม.ก. เชียงใหม่ด้วย เราท�ำโรงเรียนเกษตรทางอากาศ โรงเรียนข้าว ทางอากาศ โรงเรี ย นล� ำ ไย โรงเรี ย นโคเนื้ อ ร่ ว มกั บ ธนาคาร เพื่ อการเกษตรและสหกรณ์ กลุ ่ มผู ้ ฟั ง เหล่ านี้ เ ป็ นกลุ ่ มผู ้ ฟั ง ที่ จั บ ต้ อ งได้ ขณะเดี ย วกั น เรายั ง ต้ อ งการขยายฐานในกลุ ่ ม อื่ นๆไปเรื่ อยๆ รวมถึ ง มี เ นื้ อหาอื่ นๆนอกจากการเกษตร เช่ น พัฒนาสู่ประโยชน์ของสาธารณะ เนือ้ หาเกีย่ วกับราชบัณฑิตยสถาน ทีเ่ รารับนโยบายภาษาแห่งชาติ การมุ่งสู่ทิศทางแห่งการพัฒนาของสถานีวิทยุ ม.ก. โดยจัดประกวดเรือ่ งเล่าความภาคภูมใิ จในท้องถิน่ โดยใช้ภาษาถิน่ ไม่ ไ ด้ เ พี ย งเฉพาะพั ฒ นารู ป แบบหรื อ ช่ อ งทางการสื่ อ สาร ซึ่งเราจะมีกลุ่มเด็กเหล่านี้เป็นกลุ่มผู้ฟังใหม่ของเรา นั่นคือการ เพียงอย่างเดียว แต่ยังหมายรวมถึ งการพั ฒ นาเนื้ อ หาสาระ ขยายฐานผู ้ ฟั ง สร้ างกลุ ่ มใหม่ คงกลุ ่ มเก่ า พั ฒนารายการ ของรายการต่ า งๆ และในอนาคตอั น ใกล้ กั บ อี ก หนึ่ ง บทบาท พั ฒนารู ปแบบ ถ่ ายทอดผ่ านสื่ ออื่ นๆ ทั้ ง หมดคื อสิ่ ง ที่ เ ราท� ำ ในฐานะหน่ ว ยงานกลางที่ น� ำ องค์ ค วามรู ้ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ข อง อยู ่ ต อนนี้ ” มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไ ปถ่ า ยทอดสู ่ ส าธารณะ “เรามีหลักการท� ำ งานว่ า รายการเดิ ม ต้ อ งพั ฒ นา สถานี วิ ท ยุ ม.ก. เป็ น อี ก หนึ่ ง ตั ว อย่ า งที่ เ ห็ น ได้ ชั ด ให้ ดีขึ้ น และก็ ต ้ อ งพั ฒ นารายการใหม่ ขึ้ น มาด้ ว ยเหมื อ นกั น ในด้านการเปลี่ยนแปลงให้ทันยุคสมัย การสร้างประโยชน์ต่อ ล่าสุดเราก็ก�ำลังเสนอกับมหาวิทยาลัยว่าเราจะเป็นหน่วยงาน ผู้คนและสังคมในวงกว้างจะสัมฤทธิ์ผลได้ดีมากยิ่งขึ้นหากเรา กลางในการน� ำ องค์ ค วามรู ้ ข องมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เรียนรู้ที่จะปรับตัว เฉกเช่นเดียวกับสถานีวิทยุ ม.ก. ที่พัฒนา ไม่ใช่แค่การเกษตร แต่รวมไปถึงการน�ำงานวิจัยของคณะต่างๆ จากสถานีวทิ ยุธรรมดาสูบ่ ทบาทแห่งการเป็น ‘สือ่ กลาง’ ทีค่ ำ� นึงถึง ในมหาวิทยาลัยมาเผยแพร่ผ่านทางสถานีวิทยุ ม.ก. เป็นการ ผลประโยชน์ของสาธารณะเป็นส�ำคัญ

ผศ.ดร.กัมปนาท น�ำทีมรับรางวัล TM NETWORK BEST PERPORMANCE เมือ่ วันที่ 2 ตุลาคม 2560 ผศ.ดร.กัมปนาท เพ็ญสุภา รักษาการแทนรองอธิการบดีฝา่ ยบริการวิชาการ พร้อมด้วย น.ส.รัตติญา ศริดารา ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานบริการวิชาการ และบุคลากรงานทรัพย์สนิ ทางปัญญา งานพัฒนาธุรกิจ ศูนย์ประสานงานและ อ�ำนวยความสะดวก Talent Mobility @ KU ส� ำ นั ก งานบริ ก ารวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ได้เข้าร่วมรับรางวัล TM NETWORK BEST PERPORMANCE หน่วยงานร่วมด�ำเนินการ Talent Mobility ดีเด่น ในงาน Talent Mobility Fair 2017 ณ ห้อง Ballroom Hall A ศูนย์ประชุม แห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ และ เครือข่ายความร่วมมือ

นักวิจัย มก.พัฒนาชุดตรวจหาสัตว์ ควบคุมโรคปากและเท้าเปื่อย ศ.สพ.ญ.พรทิพภา เล็กเจริญสุข และคณะ สัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พัฒนาชุดตรวจคัดกรอง KUcheck-F FMDVNSPELISA (mu3ABC ELISA) เพือ่ วินจิ ฉัย แยกสัตว์ทตี่ ดิ เชือ้ ออกจากสัตว์ทไ่ี ด้รบั วัคซีน และ ได้รับทุนต่อยอดจากส�ำนักงานพัฒนาการวิจัย การเกษตรเพือ่ พัฒนาชุดทดสอบเชิงพาณิชย์ ซึง่ ชุดตรวจวินจิ ฉัยนีเ้ ป็นเครือ่ งมือส�ำหรับตรวจคัดกรอง สัตว์ทตี่ ดิ เชือ้ ไวรัสโรคปากและเท้าเปือ่ ยได้อย่าง รวดเร็วและแม่นย�ำ ทัง้ ทีก่ ำ� ลังแสดงอาการและที่ ติดเชื้อแฝงไม่แสดงอาการ ลดความสูญเสียใน การเลี้ยงสุกร–โคเนื้อ และเพิ่มโอกาสในการส่ง ออกต่างประเทศ

PAGE 35


42

The CAFETERIA มาร์ก สะกดด้วยกอไก่

มหวรรณ พันธุมจินดา

ขุมทรัพย์ความอร่อยในรั้วเกษตรนั้นมีให้เฟ้นหาได้อย่างไม่รู้จบ The CAFETERIA ฉบับนี้จะพา คุณผู้อ่านทุกท่านไปดื่มด�่ำบรรยากาศกับ Cafe and Restaurant จ�ำนวน 2 ร้าน ที่นอกจากความ จัดจ้านของสไตล์การแต่งร้านแล้ว ความอร่อยก็ไม่เป็นสองรองใคร ซึ่งแต่ละร้านจะยั่วน�้ำลาย ขนาดไหน ต้องไปชิม!

WHAT Cafe and Restaurant WHERE อาคาร KU Green (ด้านข้างโรงอาหารกลาง 2) WHEN จ–ศ 7.30–21.00 น., ส–อา 10.00–21.00 น. PRICE ฿฿

Hotto Bun

Hotto Bun สร้างความโดดเด่นแปลกตาบนโลก ออนไลน์จากเมนู ‘บันไก่กรอบ’ เจ้าซาลาเปาใน รูปแบบเบอร์เกอร์ที่เป็นที่รู้จักโด่งดังในเวลาไม่กี่ อึดใจ ความนิยมชมชอบใน Hotto Bun ท�ำให้ พวกเขาตัดสินใจขยายสาขามายังมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และแน่นอน ก็ได้รับผลตอบรับ เป็นอย่างดีจากชาวเกษตร ความสวยงามจัดจ้านตามสไตล์คาเฟ่ ญีป่ นุ่ เผยโฉมให้เราเห็นตัง้ แต่กา้ วแรกทีเ่ ข้าเขตร้าน โซนที่นั่งถูกแบ่งออกเป็นบริเวณ Outdoor และ Indoor ซึง่ โซนภายนอกร้านจะเป็นสไตล์เรียบง่าย ใกล้ชิดธรรมชาติ ขณะที่ภายในถูกตบแต่งใน สไตล์ American Industrial ให้ความรู้สึกเท่ อบอุ่น และสุขุม มาทีเ่ มนูอาหารของ Hotto Bun กันบ้าง เริ่มกันที่ โซบะสลัดหมูทงคัตสึ (85฿) เมนูที่สื่อ ถึงความเป็นญี่ปุ่นสมัยใหม่ได้อย่างพอดี โซบะ เหนียวนุ่ม หมูทงคัตสึกรอบนอกนุ่มใน ผักสลัด กรอบฉ�ำ่ ผสานรสชาติอนั เป็นเอกลักษณ์ของน�ำ้ สลัดญีป่ นุ่ เมือ่ ทุกอย่างระเบิดรวมกันในปากแล้ว ต้องพูดออกว่าค�ำเดียวว่า “สุโค่ย!” เมนูต่อไป กับ เบนโตะข้าวหมูตนุ๋ (75฿) เมนูทเี่ หมาะส�ำหรับ คนกระเพาะใหญ่ เพราะทีร่ า้ นจัดมาให้แบบเน้นๆ แน่นๆ ทัง้ ข้าวญีป่ นุ่ และหมูตนุ๋ ฉีก ด้วยรสสัมผัส ทีแ่ ตกต่างกันท�ำให้สามารถกินเพลินๆจนหมดกล่อง ได้งา่ ยๆ ปิดท้ายสายคาวด้วยเมนูไฮไลต์ของร้าน บันไก่กรอบ (65฿) เมนูที่สร้างความแตกต่างได้ ตั้งแต่ค�ำแรกจนค�ำสุดท้าย ด้วยความหนึบนุ่ม รสหวานอ่อนๆของแป้งบัน ผสานความกรอบ มันรสชาติเลิศของไก่กรอบ ยิ่งกัดโดนซอสสูตร พิเศษของ Hotto Bun ยิ่งอร่อยคูณสอง! นอกจากเมนูของคาวแล้ว ร้าน Hotto Bun ยังมีเมนูไว้เสิร์ฟบรรดาลูกค้าสายหวาน หนึ่งใน เมนูเครื่องดื่มแนะน�ำที่ไม่ควรพลาดคือ Fifteen Frappe (85฿) น�้ำปั่นสีหวานรสชาติซ่อนเปรี้ยว ประดับประดาด้วยสารพันของจุบ๊ จิบ๊ ดูนา่ รักน่าถ่าย รูป และปิดท้ายมื้ออิ่มเอมนี้ด้วย Chocolate Kakigori (95฿) น�ำ้ แข็งไสแบบญีป่ นุ่ แท้ๆ เข้มข้น เต็มรสช็อคโกแล็ต ท็อปด้วยโฟมนมรสละมุน ราดซอสคาราเมลและช็อคโกแล็ต เมื่อน�้ำแข็ง เนื้อเนียนสัมผัสลิ้นและค่อยๆละลายอย่างช้าๆ สรวงสวรรค์ก็เหมือนลอยมาใกล้ๆ


Brainwake Green Kasetsart Brainwake Cafe ร้านกาแฟปลุก สมองชือ่ ดังทีไ่ ม่ได้มดี เี ฉพาะรสชาติอาหาร จุดเด่น ของ Brainwake ในแต่ละสาขาก็จะมีความแตกต่าง กันออกไป เช่นเดียวกับ Brainwake Green Kasetsart ทีห่ ยิบยกความ Green มาเป็นจุดขาย เพือ่ ให้เข้ากับบรรยากาศทีต่ งั้ บริเวณอาคาร KU Green และวัตถุดบิ ทีเ่ ลือกสรรมาปรุงอาหารทีเ่ ป็นพืชผล อินทรีย์ ทั้งเมล็ดกาแฟและผักนานาชนิด เมือ่ ก้าวเข้าไปในร้านก็จะพบกับบรรยากาศ อบอุน่ และเป็นกันเอง มีมมุ ต่างๆให้จบั จองนัง่ ปัน้ อารมณ์ ทัง้ ริมเคาน์เตอร์ ริมหน้าต่าง โต๊ะด้านในเน้นความ เป็นส่วนตัว หรือจะนัง่ เสพบรรยากาศด้านนอกก็ ชิลล์ ไปอีกแบบ ทางด้านเมนูอาหารก็มีให้บริการใน หลากหลายสไตล์ทั้งคาว หวาน เครื่องดื่ม และ ของกินจุบจิบ ส่วนมากเน้นเมนูที่ราคาย่อมเยา เพือ่ เอาใจเด็กๆจากโรงเรียนสาธิตฯและนิสติ เกษตร ซึ่งความโดดเด่นของ Brainwake ในทุกสาขา คือการให้บริการเมนูอาหารเช้าในทุกช่วงเวลา เราจึงจะขอเริ่มด้วยเมนูที่เป็นสูตรลับเฉพาะของ Brainwake ซึ่ ง ก็ คื อ เมนู Egg Benedict with Smoked Salmon (99฿) ไข่ดาวน�้ำ เนื้อเนียน ไข่แดงเหลวฉ�่ำ ตัดรสเปรี้ยวๆมันๆ ของซอส Hollandaise ปรุงพิเศษจากเชฟ ประจ�ำร้าน ผสานความเค็มอ่อนๆและรสชาติ อันเป็นเอกลักษณ์ของแซลม่อนรมควัน แกล้ม กั บ ผั ก โขมและ English Muffin อบสดๆ ใหม่ๆ เข้ากันอย่าบอกใคร! จานต่อมาคือเมนู

ข้าวไข่ข้นภูเขาไฟ (75฿) เมนู Signature ของ Brainwake ที่มีจุดเด่นที่การน�ำเสนอในแบบ ฉบับภูเขาไฟด้วยไข่แดงเยิม้ ๆออนท็อปผสมผสาน พาร์เมซานชีสรสชาติกลมกล่อม ใครทีช่ อบไข่ขน้ ต้องลอง! และส�ำหรับเมนูที่เราแนะน�ำอยากให้ ทุ ก คนได้ ไ ปลองลิ้ ม ก็ คื อ เมนู ธ รรมดาๆอย่ า ง Caesar Salad (90฿) แต่ขนึ้ ชือ่ ว่า KU BULLETIN แนะน�ำทั้งทีต้องไม่ธรรมดา! เพราะเมนูน้ีจัดเต็ม ไปด้วยความอร่อย ทัง้ ผักกาดคอสทีก่ รอบและสด น�้ำสลัดสูตรลับ เบค่อนหอมมัน มะเขือเทศราชินี ฉ�่ำหวาน และขนมปัง Crouton กรุบกรอบ เมื่อ ทั้งหมดผสานกับ Poached Egg เยิ้มๆ คือ ความเข้ากันแบบเอาอะไรมาแลกก็ไม่ยอม! เมือ่ ของคาวเสร็จสิน้ ก็ได้เวลาของหวาน! Brainwake Green Kasetsart จัดเต็มทั้งเมนู ร้อนและเย็น ไล่เรียงกันทีเ่ มนูอบร้อนๆหอมกรุน่ อย่าง Brownie (55฿) เมนูยอดฮิตตั้งแต่เริ่ม ก่อตั้งสาขาแรก จุดเด่นของบราวนี่แบบฉบับ Brainwake คือท�ำเองทุกกระบวนการ ความอร่อย และความหอมหวานมันจึงจัดเต็มในทุกอณูสมั ผัส ใครไม่ สั่ งถื อ ว่ า ผิ ด ! ต่ อไปคื อเมนู เ ฉพาะของ Brainwake กับ Brainwake Cheese Cake (95฿) ความหวานหอมของแคร็กเกอร์ชนั้ ล่างเข้ากันได้ดกี บั ครีมชีสเนียนนุม่ ความหวานมันลงตัวท้าให้ทุกคน ได้ชิม แต่ถ้าใครไม่ชอบรสชาติหวานๆ แนะน�ำ ให้ กิ น คู ่ กั บ กาแฟขมๆหอมๆ รั บ รองเข้ า กั๊ น เข้ า กั น สุ ด ท้ า ยกั บ เมนู น�้ ำ แข็ ง ไสสไตล์ ญี่ปุ่น Brainwake Kinako Ice (55฿) น�้ ำ แข็ ง ไส

Volcano Omelette on Rice

75.-

WHAT Cafe and Restaurant WHERE อาคาร KU Green (ด้านข้างโรงอาหารกลาง 2) WHEN จ–ศ 7.00–17.00 น., ส–อา 9.00–18.00 น. PRICE ฿฿

ทีผ่ สานเอารสชาติหวานหอมของ ‘คินาโกะ’ หรือ ผงถั่วเหลืองคั่ว ซึ่งเป็นรสชาติต้นต�ำรับในหลาย เมนูของหวานของชาวญี่ปุ่น เมนูน้ีเสิร์ฟพร้อม 'ชิราทามะ' (ก้อนแป้งเหนียวหนึบ) ถั่วแดงกวน และ 'คุโระมิตสึ' (น�้ำเชื่อมสีอมด�ำของญี่ปุ่น)

Caesar Salad

90.-

Egg Benedict with Smoked Salmon

99.-


44

The HIDEOUT นครินทร์ พันธุมจินดา

นครินทร์ พันธุมจินดา

ZOOLOGY MUSEUM

พิพิธภัณฑ์สัตววิทยา ขุมทรัพย์ล�้ำค่าที่รอให้ชาวเกษตรไปเยือน กว่า 846 ไร่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ได้ซุกซ่อนสถานที่น่าค้นหาไว้อย่าง มากมาย ทั้งสถานที่ใกล้ชิดธรรมชาติแปลกตา มุมมองแปลกใหม่ของแต่ละคณะ ตลอดจนสถานที่ ที่พ่วงเรื่องราวน่าแปลกใจ ซึ่งจะหมุนเวียนเปลี่ยนกันมาน�ำเสนอผู้อ่านทุกท่าน และใน KU BULLETIN ฉบับนี้ เป็นคิวของแหล่งเรียนรู้ที่น่าตื่นตาตื่นใจ พิพิธภัณฑ์ที่รวบรวมโมเดล สัตว์หลากหลายชนิด ทัง้ ตะโขง ช้าง และโลมา!


พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สั ต ววิ ท ยา ตั้ ง อยู ่ ใ นบริ เ วณคณะ วิทยาศาสตร์ ฝั่งติดกับถนนระพีสาคริก เป็นพิพิธภัณฑ์สังกัด ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มีสถานะเป็น 1 ใน 12 แหล่ง เรียนรู้ภายในรั้วเกษตรศาสตร์ บางเขน สถานที่แห่งนี้เริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2509 โดยมีจุด ประสงค์เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของนิสิตและบุคคลที่สนใจ และยัง เป็นแหล่งข้อมูลและพัฒนางานวิจยั ด้านความหลากหลายของสัตว์ โดยได้มกี ารจัดแสดงตัวอย่างสัตว์ในหลากหลายรูปแบบ ทัง้ สัตว์มี กระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลัง ซึง่ ได้มกี ารเก็บรวบรวม ตัวอย่างตัง้ แต่ครัง้ เริม่ ก่อตัง้ รวมไปถึงมีสว่ นจัดแสดงนิทรรศการ ทั้งถาวรและชั่วคราว เช่น นิทรรศการวิวัฒนาการของอาณาจักร สัตว์ในประเทศไทย หรือนิทรรศการ Animal Diversity ที่ก�ำลัง จัดแสดงอยู่ ณ ขณะนี้ ความน่ า ตื่ น ตาตื่ น ใจของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง นี้ มี ด ้ ว ย กั น หลากหลาย เริ่มตั้งแต่ส่วนโถงจัดแสดง ที่มีการจัดแสดง โมเดลสัตว์ที่เกิดจากการน�ำซากสัตว์มาผ่านกระบวนการที่เรียก ว่า ‘สตัฟฟ์’ หรือการท�ำให้ซากสัตว์ดูเหมือนมีชีวิต ซึ่งใครที่ไป

เยี่ยมเยือนจะได้เห็นสัตว์หลากหลายชนิดรอต้อนรับเราอยู่ในโซน จัดแสดงนี้ โดยมีไฮไลต์คือ ปลาอะราไพม่า โลมาปากขวด ตะโขง และลูกช้างเอเชีย นอกเหนือจากนั้นยังมีการจัดแสดงความหลากหลาย ทางชีวภาพของสัตว์ในวงศ์ต่างๆที่พิพิธภัณฑ์สัตววิทยาได้มีการ เก็บตัวอย่างไว้ ซึ่งจะมีทั้งตัวอย่างที่เสมือนจริง ตัวอย่างที่อยู่ใน รูปแบบของการต่อกระดูก และตัวอย่างกระโหลกของสัตว์ อีกหนึง่ ความน่าสนใจของพิพธิ ภัณฑ์แห่งนีค้ อื ผลงาน การค้นพบสัตว์ชนิดใหม่ๆของโลกหลากหลายสายพันธุ์ เช่น แมลงชีปะขาว ปาดเรียวมลายู พยาธิตัวตืด ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดที่ จัดแสดงล้วนแล้วแต่เป็นผลงานจากหยาดเหงื่อของอาจารย์สาย เลือดสีเขียวทั้งสิ้น ใครทีส่ นใจอยากไปเห็นด้วยตาตัวเอง พิพธิ ภัณฑ์แห่ง นี้เปิดให้เข้าชมตามวันและเวลาราชการ โดยสามารถโดยสารรถ โดยสารประจ�ำวิทยาเขต หรือ ‘รถตะลัย’ สาย 1 และสาย 2 ลงป้าย ศูนย์เรียนรวม 1 ก่อนเดินเท้าอีกไม่ไกล ซึ่งพิพิธภัณฑ์สัตววิทยา จะอยู่ฝั่งตรงข้ามของศร.1


Pick PIX มหวรรณ พันธุมจินดา

2

16

treeeatmeright#KasetFair2018

mart_chakorn Waiting for someone #เกษตรแฟร์61 #kasetfair2018 #hollandlop

รูปภาพทีม่ คี วามสวยงามให้ความรูส้ กึ และความหมาย มากมาย คอลัมน์ Pick PIX ในฉบับนี้ เราได้ ประมวลภาพบรรยากาศและความน่าประทับใจ ผ่ า นช่ า งภาพบนโลกออนไลน์ ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ มี แ ค่ ความสวยงามเพียงอย่างเดียว แต่ยงั แฝงไปด้วย ความรู ้ สึ ก และความหมายที่ สื่ อ ออกมาผ่ า น #kasetfair2018 และ #เกษตรแฟร์61 ซึ่งจะมี ความน่าสนใจและความน่าประทับใจขนาดไหน ไปชมพร้อมๆกันเลย!

25 teera.n ต.เต่ า #มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์_บางเขน #วันเกษตร แห่งชาติ #ใครไม่แฟร์เกษตรแฟร์ #KasetFair2018 #Samsung_S7เอง #JPEG #TeeraNoisakran

16

42

tem_mial #ประมงซี ฟู ้ ด2561 #kasetfair2018 #ysctistr

dekchaimoss ออกทะเล ขึ้น เขา ลงห้วย ตามล่าเมอร์เมด กับ ยูนิคอน ในที่สุดก็ได้มา #เพ้อเจ้อยาวเช้าคืองานของเรา #kasetfair2018

40

72

hapuyfluffy น�้ำน้องเค้าอร่อยๆ จริงๆคะ หวานเปรีย้ วรสชาติกลมกล่อม มากกก 5555 #kasetfair2018 #เกษตรแฟร์จบรูปผู้ไม่จบ

natwadeeschnak แคปชั่นไม่มี ไอดี ไ ลน์ แ ทนได้ ม ะ? #garlic #garlicconfit #garliclovers #KasetFair2018

3,549 grazilla1412 ดูหอยในหม้อนัน่ สิ จะไม่ ซือ้ ได้หรอ บูท 103 โซนนิสติ เกรซอยู่ ถึงพน. มาซือ้ กันเยอะๆเด้อ #ไม่ๆไม่ใช่เด็กเกษตร #แต่ตอนนี้ ต้องมาเกษตรนะ #kasetfair2018

20 dododao ชีวติ ติดรีววิ #อิตาเลีย่ น โซดาสายไหม #เกษตรแฟร์61

7 toeytoey_c Wanna hug this fluffy guy #Kasetfair2018

#kasetfair2018

46


335

18

bamboo_boobam KASETFAIR #เพือ่ นโสดทักได้ #ลงใหม่ไฉไล กว่าเดิม #kasetfair2018

fukthong_lek ชีวติ ติดรีววิ #ไอติม เรี ย กเพื่ อ นลงเข่ ง #ชื่ น ละมุ ม #เกษตรแฟร์ 6 1

272 jib.h วันสุดท้ายแล้ว มากันเยอะๆ นะงับบบ #kasetfair2018

23

ptk_kla แซลมอนไข่กง้ ุ - pizza cone #pizza #pizzacone #salmon #cheese #yummy #kasetfair2018

262

preawprww วันสุดท้ายแล้น ร้าน "ICE HERE" บูท33 หน้าสหกรณ์นะงับ #kasetfair2018 #icehere

38

tanggy_goofyman ดึกแล้วลงได้ เฟรนช์ฟรายชีส1ฟุต #Kasetfair2018 #เฟรนช์ฟรายคุณอัม้

63

nutsu_the_nerd ปีนเี้ ขามาธีมฮาวาย กันหรอ นึกว่ามาเดินชายหาด #ใครไม่แฟร์แต่เกษตรแฟร์ #Kasetfair2018

24

nuttz_njm #wrizzapop #kasetfair2018

52

nanny_nananu อันนีก้ นิ สองคน ก�ำลังดีเลย #taco #icecream #milo #kasetfair2018 #เกษตรแฟร์2561

23 namtiptipp The Best!!!! #ไอติ ม เห็ ด #เกษตรแฟร์ 6 1 #kasetfair2018



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.