SPECIAL EDITION
2
Royal GRACE กุลนิษฐ์ จะยะสกูล
ประชาสัมพันธ์ มก.
มก. จัดพิธถี วายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณฯ
เนือ่ งในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 66 พรรษา สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดพิธีถวายพระพรชัยมงคล เพื่อน้อมร�ำลึกถึง พระมหากรุณาธิคณ ุ ทีท่ รงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่อพสกนิกรชาวไทย และแสดงความส�ำนึกใน
พระมหากรุณาธิคณ ุ ทีท่ รงมีตอ่ นิสติ คณาจารย์ และชาวมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทั้งปวง เมือ่ วันที่ 26 กรกฎาคม 2561 ณ ห้อง ประชุมสุธรรม อารีกุล อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะผูบ้ ริหาร คณาจารย์ บุคลากร นิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
และนักเรียนโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ร่วมลงนามถวายพระพรและ ถวายพุ่มดอกไม้ โดยมี ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นตัวแทนชาวเกษตรศาสตร์เปิดกรวยดอกไม้ ธูปเทียน ถวายพุ่มดอกไม้ และน�ำคณะผู้บริหาร
คณาจารย์ บุคลากร และนิสติ กล่าวถวายราชสดุดี เฉลิมพระเกียรติถวายพระพรชัยมงคล และ ถวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและ เป็นพลังของแผ่นดิน โดยมีวงดนตรี KU Wind Symphony นิสติ ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จฯทรงปลูกต้นไม้รว่ มกับ มก.
วันที่ 27 กรกฎาคม 2561 เวลา 08.10 น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯทรงปลูกต้นไม้รว่ มกับ ผูบ้ ริหาร บุคลากร และนิสติ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เนือ่ งในวันอาสาฬหบูชา ณ สวนวรุณาวัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในโอกาสนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทรงปลูกต้นไม้ประจ�ำจังหวัดภายในสวนวรุณาวัน จ�ำนวน 5 ต้น ได้แก่ ต้นยางนา ต้นไม้ประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี, ต้ น สั ก ต้ น ไม้ ป ระจ� ำ จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ , ต้ น เกด ต้ น ไม้ ป ระจ� ำ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, ต้นศรีตรัง ต้นไม้ประจ�ำจังหวัดตรัง และต้นนนทรี ต้นไม้ประจ�ำจังหวัดนนทบุรี และเป็นต้นไม้ประจ�ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น
พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ใน รัชกาลที่ 9 ทรงปลูกต้นนนทรีจ�ำนวน 9 ต้น ณ หน้าหอประชุม เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2506 สวนวรุณาวัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นสวน รู ป แผนที่ ป ระเทศไทยมี พื้ น ที่ 6 ไร่ เป็ น สวนที่ ร วบรวมต้ น ไม้ ประจ�ำจังหวัดของประเทศไทย และเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ ทัง้ ยังเป็น พื้นที่ปอดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเป็นที่พักผ่อน หย่อนใจ ออกก�ำลังกาย วิ่ง เดินชมภายในสวน ต่ อมา สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทอดพระเนตรรุกขกรปฏิบัติงานของนิสิตชมรม รุกขกรเกษตรศาสตร์ หรือ KU Arborist และทอดพระเนตร นิทรรศการเกีย่ วกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กบั การมีสว่ นร่วม
ให้ความช่วยเหลือสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่ ประสบอุทกภัยจากการเสียหายของเขื่อนเซเปียน-เซน�้ำน้อย ทีแ่ ขวงอัตตะปือ-จ�ำปาสัก เมือ่ วันที่ 23 กรกฎาคม 2561 ทีผ่ า่ นมา นิทรรศการเกี่ยวกับต้นไม้ที่พระราชวงศ์ทรงปลูกในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และนิทรรศการป่าในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และทรงฉายพระฉายาลักษณ์ร่วมกับผู้บริหาร บุคลากรและ นิสิต หลังจากนัน้ นิสติ คณะวนศาสตร์จำ� นวน 150 คน ได้รว่ ม ปลูกต้นดอกกระเจียวจ�ำนวน 1,000 ต้น และต้นพุทธรักษาสีเหลือง จ�ำนวน 300 ต้น และไม้ป่าอีกจ�ำนวน 200 ต้น อาทิ ประดู่ มะค่า ยาง พยุง ชิงชัน เป็นต้น
5
The CONTENT Cover
2-3
7, 9
11
13
Royal GRACE
The REPORT
Some OTHER STORIES
14-15
16-17
KU x Data Science
DEEP ROOTED Nonsee
18-21
The INTERVIEW The Moment Capturer
Says
A Seminar Concert
The REPORT
KU Raptor Unit
Puen Pueng Pa Kaset Fair
22-23
24-27
The CAPTURE Leature Halls of KU
Special REPORT Say Hi! to KU78
28-34
The
STORY
KU Life Hacks!
35
IN NEW Look
Newer Means Better
36-37
38-39
Innovation Next!
On-shelf Innovations!
The REPORT
40-41
42-43
Cashless Society @ KU
The First Impression Mission
46
47
The INFOGRAPHIC
First IN
Main Auditorium of KU
BULLETIN Crew
The NISIT
Pick PIX #KU78
4.0
44-45
The CAFETERIA
The EDITORIAL สวัสดีครับ นนทรีช่อใหม่ ชาว KU78 ถึงแม้เวลาทีผ่ มเริม่ ต้นชีวติ เป็นน้องใหม่ในรัว้ มหาวิทยาลัยจะล่วงเลยผ่านมามากกว่า 30 ปีแล้วก็ตาม ผมก็ยังจ�ำภาพความสุข ความประทับใจ ความสนุกสนาน ในการท�ำกิจกรรมรับน้องและอีกมากมาย ในช่วงขวบปีแรก ของการเริ่มต้นการศึกษาครั้งใหม่ในชีวิตไว้มิเคยลืมเลือน สิ่งที่ผมอยากจะบอกถึงน้องใหม่ KU78 ใน วาระแห่งการเปลี่ยนถ่ายสถานะของตนเองครั้งส�ำคัญคือ ความส� ำ เร็ จ ในการก้ า วเข้ า มาเป็ น สมาชิ ก ในรั้ ว ขจี อันมีเกียรตินี้ถือเป็นเพียงจุดเริ่มต้น เพราะสิ่งที่ถือว่า เป็ น ที่ สุ ด ของความส� ำ เร็ จ ในคื อ การเป็ น บั ณ ฑิ ต แห่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่น�ำ‘ศาสตร์แห่งแผ่นดิน’ ที่คณาจารย์ ได้พร�่ำสอนออกไปรับใช้ชุมชน สังคม และ แก้ ไ ขปั ญ หาของพี่ น ้ อ งร่ ว มชาติ โ ดยเฉพาะพี่ น ้ อ ง เกษตรกรที่ถือว่าเป็นรากฐานส�ำคัญของประเทศ และ เป็นรากเหง้าเริ่มต้นแห่งการก่อตั้งมหาวิทยาลัยของเรา ซึ่ ง เป็ น ไปตามเจตจ� ำ นงของสามบู ร พาจารย์ ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง สถาบันแห่งนี้ ผ ม อ ย า ก ใ ห ้ น ้ อ ง ใ ห ม ่ ทุ ก ค น จ ด จ� ำ ประสบการณ์ดีๆ ทั้งความสุข ความสดใส ความซาบซึ้ง ความประทับใจและเหตุการณ์ต่างๆที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นกับ ตัวเองในขวบปีนี้ไว้ตลอดไป จงใช้เวลานี้เริ่มต้นเรียนรู้ อย่ า งมี คุ ณ ค่ า จงเปิ ด โลกใบใหม่ ข องน้ อ งใหม่ ด ้ ว ย ความกระตือรือร้นและกระหายใคร่รู้ จงใช้พลังของดิจิทัล อย่างรูเ้ ท่าทันในการสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ จงเก็บช่วงเวลาดีๆ นี้ไว้เป็นแรงผลักดันยามตกอยู่ในภาวะที่ชีวิตไม่เป็นตามที่ ตนเองต้องการหรือคาดหวัง และจงอย่าลืมความสุขสมใจ ทีไ่ ด้กา้ วมาเป็นส่วนหนึง่ ของเกษตรศาสตร์อนั น่าภาคภูมใิ จ เช่นเดียวกับรุ่นพี่ข องน้อ งใหม่ทั้งหลายอีกนับแสนทั่ว ประเทศไทยที่เคยประสบมาแล้ว ขอแสดงความยินดีกบั น้องใหม่ทกุ คนอีกครัง้ และขอฝาก KU BULLETIN ฉบับนีไ้ ว้เป็นเสมือนของขวัญ อีกชิน้ ทีม่ หาวิทยาลัยมอบให้ เพือ่ บอกเล่าเรือ่ งราว ข่าวสาร ผลงานอันเป็นทีน่ า่ ภาคภูมใิ จของประชาคมเกษตรศาสตร์ เป็ น ฉบั บ ที่ ที ม งานตั้ ง ใจท� ำ ให้ KU78 เพื่ อ ให้ ร ะลึ ก ถึ ง ความประทับใจในช่วงขวบปีแรกในรั้วนนทรี หวังว่าของขวัญชิ้นนี้จะถูกใจ KU78 ทุกคน นะครับ
(ผศ.รัชด ชมภูนิช) บรรณาธิการบริหาร KU BULLETIN รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายพัฒนายุทธศาสตร์และสื่อสารองค์กร
Facebook Fanpage 'KU BULLETIN'
Created by มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 | Executive Editor ผศ.รัชด ชมภูนิช | Editor-in-Chief นครินทร์ พันธุมจินดา | Assistant Editor กุลนิษฐ์ จะยะสกูล | Editorial Staff ธนกร เพชรพงษ์, นันท์นภัส พลเศรษฐเลิศ, ภากร ชยวัฑโฒ | Art Director มหวรรณ พั น ธุ ม จิ น ดา | Honorary Reporter อ.ปั ญ ญา เหล่ า อนั น ต์ ธ นา | Special Photographer ติ ณ ณภพ เชาว์ ว าทิ น | Information Supporting Team ประชาสั ม พั น ธ์ มก. | Advertising Coordinator รั ก พงศ์ มนต์ ภิ ร มย์ | Printed at มู น ไลท์ พริ้ น ท์ ติ้ ง 227,229 ซอย 51 ถนนพระรามที่ 2 แขวงท่าซ้าย เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 | Contact KUBULLETIN@hotmail.com และ facebook.com/KUBULLETIN
7
Says มหวรรณ พันธุมจินดา
ขอแสดงความยินดีกบั นิสติ ใหม่
KU 78 ทุกคน
ขอให้ตระหนักไว้เสมอว่า ภายในรัว้ นนทรีแห่งนี้
จะหล่อหลอมทุกคนให้ออกไป
เป็นบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ โดยมีสำ� นึกดี มุง่ มัน่ สร้างสรรค์ สามัคคี ตามอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ดร.กฤษณพงษ์ กีรติกร นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
9
Says มหวรรณ พันธุมจินดา
อยากให้นสิ ติ KU78
มีความภาคภูมใิ จทีไ่ ด้เข้ามาเรียน
ทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมือ่ เลือกทีม่ าอยูด่ ว้ ยกันแล้ว จะต้องสร้างพลังอันยิง่ ใหญ่
สร้างดอก สร้างผล เหมือนกับต้นนนทรี
ทีเ่ จริญเติบโตต่อไปในอนาคต
ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
KU DAIRY CENTER ศู น ย์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ น ม ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ก ษ ต ร ศ า ส ต ร์
#นมเกษตร
ศูนย์ผลิตภัณฑ์นม มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
www.dairy.ku.ac.th 02-579-9594
kudc@ku.ac.th นมเกษตร
x + # 11 * * c 7 8 ?! :" # @ ^ Z 0 +
! 7 d + x y ! @ & ^ : :" 8 0
;: X # @ * * ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก. และ Natanaelginting x Y 0 * 9 ! ? #
The REPORT ธนกร เพชรพงษ์
W X 2 0 7 ? @ ๅ ;: # * ^
% ") x !! * ? ^
@ \? } < X * % & ? !!
+ = x % ? 2 o :; > 8 # @ Y @
0 " ^ 7 !! ? @ +
X DATA SCIENCE
แปรรูปข้อมูลเพิ่มมูลค่า ‘ข้อมูล’ หรือ ‘Data’ มีอยูร่ อบตัวเรามากมาย ทัง้ ในรูปแบบ ของตัวเลข ข้อความ หรือแม้กระทัง่ รูปภาพ ซึง่ ทัง้ หมดล้วนแต่ถอื เป็น ทรัพยากรที่ล�้ำค่าในยุคที่เทคโนโลยีเป็นใหญ่ เพราะเมื่อน�ำเอา ข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์สังเคราะห์ก็จะพบอะไรซ่อนอยู่มากกว่า ที่เราคิด... Data Science เป็นการบูรณาการศาสตร์หลายๆ ศาสตร์เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สถิติ และ การจัดการ เพื่อแสวงหาประโยชน์จากข้อมูล ผ่านการน�ำผลจาก การวิ เ คราะห์ แ ละการสั ง เคราะห์ ข องข้ อ มู ล มาใช้ ใ นการสร้ า ง ความได้เปรียบทางการแข่งขันและเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
# Y + ! ?} 7 v 6
0 1 # +
การท�ำงานของ Data Science การจะน�ำเอาข้อมูลมาใช้ประโยชน์นั้น เริ่มต้นจะต้อง น�ำเข้าข้อมูล หรือ Ingest เช่น บันทึกข้อมูลการเข้าออกที่ท�ำงาน บันทึกข้อมูลการสั่งสินค้า ก่อนน�ำข้อมูลที่ได้มาปรับเปลี่ยน หรือ Transform ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมของข้อมูล คือ ท�ำให้ ข้อมูลมีความถูกต้องและสมบูรณ์มากขึ้น หรือที่เรียกว่า Data Cleansing จากนั้นจะเป็นการจัดเก็บข้อมูล หรือ Store อย่าง เป็นระบบ และสุดท้ายคือการวิเคราะห์ข้อมูล หรือ Analyze ซึ่งก็ คือการหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เราได้จัดเก็บมา เพื่อน�ำไปใช้ ประโยชน์ตามโจทย์ต่างๆที่เราต้องการ โดยผลจากการวิเคราะห์ ข้อมูลจะถูกน�ำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น กราฟิก แผนผัง ตาราง ฯลฯ
K U B U L L E T I N
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ Data Science “ส่วนงานในมหาวิทยาลัยมีการใช้ข้อมูลที่แตกต่างกัน ผู้บริหารระดับสูงใช้ข้อมูลในการก�ำหนดนโยบายและทิศทางของ มหาวิทยาลัย ผู้บริหารระดับกลางใช้ก�ำหนดวิธีในการปฏิบัติและ กลยุทธ์ ทางส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์เห็นความส�ำคัญของการใช้ ประโยชน์จากข้อมูล จึงได้จดั หลักสูตร ‘Data Science ส�ำหรับผูบ้ ริหาร’ เพือ่ ให้ผบู้ ริหารมีวสิ ยั ทัศน์ทกี่ ว้างไกลด้วยใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์ ข้อมูล และอีกหลักสูตรหนึง่ คือ ‘Data Science เพือ่ การบริหาร จัดการ’ ส�ำหรับนักวิเคราะห์ขอ้ มูลและนักวิชาการของแต่ละหน่วยงาน ให้สามารถใช้ความรูจ้ ากการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น จนน�ำไปสู่การวางแผนที่ดี รวมไปถึงสามารถคาดการณ์ สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตได้อย่างแม่นย�ำและมีความผิดพลาดน้อยลง ประโยชน์ของ Data Science ด้วย” รศ.ดร.สมชาย น�ำประเสริฐชัย ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักบริการ ประโยชน์ของ Data Science มีให้ใช้อย่างมากมายและ คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้แสดงทัศนะถึงทิศทาง หลากหลาย ยกตัวอย่างเช่นในกรณีของการรับนิสติ นักศึกษาเข้าสู่ การน�ำ Data Science มาใช้ภายในรัว้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รั้วมหาวิทยาลัยต่างๆ ถ้ามีการน�ำ Data Science มาปรับใช้ก็จะ ไว้อย่างน่าสนใจ ท�ำให้สามารถรูไ้ ด้วา่ นิสติ นักศึกษาทีเ่ ข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัยนัน้ มาจากการสมั ค รในรู ปแบบใด ซึ่ ง จะต่ อยอดต่ อไปได้ ว ่ านิ สิ ต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ของเรามีขอ้ มูลอยูอ่ ย่างมากมาย นักศึกษาทีเ่ ข้ามาด้วยระบบไหนทีม่ ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนรูท้ ดี่ กี ว่า ทัง้ ข้อมูลนิสติ และบุคลากร ทัง้ ข้อมูลด้านงานวิจยั รวมไปถึงข้อมูล และเมือ่ เชือ่ มโยงข้อมูลเหล่านีไ้ ด้ ก็อาจจะเป็นประโยชน์ตอ่ มหาวิทยาลัย ด้านการเงินต่างๆ หากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นำ� ประโยชน์ทไี่ ด้จาก ในการก�ำหนดโควต้าการรับนิสติ นักศึกษาในแบบต่างๆ ซึง่ วิธกี ารข้างต้น ข้อมูลเหล่านีม้ าต่อยอด สร้างสรรค์ และพัฒนา ตลอดจนเชื่อมโยง คือการใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้วยวิธกี ารน�ำผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ความรูต้ า่ งๆ ก็จะสร้างประโยชน์มากมาย ที่ได้ไปวางแผนหรือพยากรณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ให้แก่มหาวิทยาลัย ตลอดจนสร้างสังคมไทยให้มคี วามเจริญผาสุก ยิ่งๆขึ้นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
+ 1 ? > @ x #
z 2 5 # * \| ! o 2
13
Some OTHER STORIES กุลนิษฐ์ จะยะสกูล
ศูนย์ข่าวชุมชน มก.
มก. จัดเสวนาคอนเสิร์ต ‘วัฒนธรรมน�ำไทย: จากไทยนิยม สู่นิยมไทย’
'CULTURAL THAI: FROM ADOPTING THAI-ISM TO EMBRACING THAINESS'
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2561 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ร่ ว มกั บ กระทรวงวั ฒ นธรรม และสถานี โ ทรทั ศ น์ ThaiPBS ได้ จั ด งานเสวนานวั ต กรรม มนุษยศาสตร์ ครัง้ ที่ 2 ภายใต้หวั ข้อ ‘วัฒนธรรมน�ำไทย: จากไทยนิยม สูน่ ยิ มไทย’ ในรูปแบบของฟรี...เสวนาคอนเสิรต์ ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ก่อนเริ่มงานเสวนาคอนเสิร์ตได้มีกิจกรรม ‘ถนนสาย วัฒนธรรม’ พบกับการออกร้านจ�ำหน่ายผ้าไทย เครือ่ งประดับ และ อาหารไทย พร้อมจุดถ่ายภาพย้อนยุค และเมื่อถึงเวลา 18:00 น. ได้มีพิธีเปิดโดย พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี มี การบรรเลงเพลงโดยวงดนตรี ‘KU Wind Symphony’ บรรเลง ร่วมกับเครือ่ งดนตรีไทย ประกอบวีดทิ ศั น์ โดยแบ่งการแสดงออก เป็น 3 ชุดสุดยิง่ ใหญ่ ได้แก่ ชุดที่ 1 ‘ยอยศศรีอโยธยา’, ชุดที่ 2 ‘เสมอ นคราเทพยรังสรรค์’ และชุดที่ 3 ‘สถิตสวรรค์ศรีรัตนโกสินทร์’ รูปแบบของการจัดงานเสวนาคอนเสิร์ต ‘วัฒนธรรม น�ำไทย: จากไทยนิยม สู่นิยมไทย’ เป็นการเล่าเกร็ดความรู้ทาง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ อย่าง ‘ยุคทองอยุธยา’ ‘เพลงที่ใช้ในการรับ ราชทูตสยามในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14, ‘ภาพสะท้อนวัฒนธรรมไทย ในประวัตศิ าสตร์อยุธยาตอนปลายผ่านบทละคร’, ‘แนวคิดการเขียน เพลงประกอบละคร’ และ ‘บทละครสะท้อนวิถไี ทย ความรัก ครอบครัว’ โดย ศัลยา สุขะนิวัตติ์ ผู้เขียนบทละครโทรทัศน์ ดร.สุรัตน์ จงดา ผู้เชี่ยวชาญด้านผ้าไทยและประวัติศาสตร์ วิเชียร ตันติพิมลพันธ์ และสราวุ ธ เลิ ศ ปั ญ ญานุ ช ผู ้ เ ขี ย นเพลงประกอบละคร ผ่ า น การด�ำเนินรายการเสวนาโดย สายสวรรค์ ขยันยิ่ง นอกจากนี้ ในงานยั ง มี ก ารบรรเลงบทเพลง ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ค นไทยควรรู ้ จั ก อย่ า งเพลง ‘Entree des Siamois / Air des Siamois’ ซึ่งใช้ในการรับราชทูตสยามใน สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 โดยมีการแสดงจากการจ�ำลองการแต่งกาย สมัยอยุธยาโดยดาราและนางแบบกิตติมศักดิ์ อย่างเช่น ‘แพนเค้ก’ เขมนิจ จามิกรณ์ ศิษย์เก่าคณะมนุษยศาสตร์ มก. ซึง่ ผูเ้ ข้าร่วมงาน ก็ได้ร่วมกันแต่งกายด้วยชุดไทยเช่นกัน
คลิปเสวนาคอนเสิร์ตฯ โดย Thai PBS
PAGE 17
14
DEEP ROOTED Nonsee นันท์นภัส พลเศรษฐเลิศ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
KU Raptor Rehabilitation Unit หน่วยฟื้นฟูนกล่าเหยื่อฯ ภารกิจช่วยเหลือเพื่อรักษาสมดุลป่า สนับสนุนข้อมูลโดย สพญ.มะลิษา สันตวะกุล สัตวแพทย์ประจ�ำหน่วยฟื้นฟูนกล่าเหยื่อ และ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
หน่วยฟืน้ ฟูนกล่าเหยือ่ เพือ่ ปล่อยคืน ธรรมชาติ หรือ Kasetsart University Raptor Rehabilitation Unit คือหน่วยงานทีช่ ว่ ยเหลือ รักษา และฟื้นฟูสุขภาพของนกล่าเหยื่อหรือ นกนักล่าซึง่ เป็นสัตว์ปา่ คุม้ ครองของประเทศไทย เพื่อปล่อยกลับคืนสู่ธรรมชาติในถิ่นอาศัยและ ฤดูกาลทีเ่ หมาะสมต่อชนิดพันธุ์เกิดขึน้ จากความตัง้ ใจ ของ ผศ.นสพ.ดร.ไชยยันต์ เกษรดอกบัว หัวหน้า หน่วยฟื้นฟูนกล่าเหยื่อเพื่อปล่อยคืนธรรมชาติ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน ในปี 2550 เนือ่ งจากเมือ่ ไม่กปี่ ี ก่อนหน้า ได้ปรากฏรายงานการพบแร้งหิมาลัย ร่วงลงในพืน้ ทีภ่ าคใต้ของประเทศไทยเพราะหมดแรง ซึง่ เป็นเส้นทางทีแ่ ร้งเหล่านัน้ อพยพ โดยแร้งหิมาลัย เป็นนกบินได้ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ เป็นอันดับ 2 ของทวีปเอเชีย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองของประเทศไทยที่เสี่ยงต่อ การสูญพันธุ์ จากการรักษาแร้งหิมาลัยในวันนั้น หน่วยฟืน้ ฟูนกล่าเหยือ่ ก็เปิดรับรักษานกล่าเหยือ่ ทุกชนิดในประเทศไทย เช่นนกฮูก นกเค้าแมว นกเค้าจุด นกกลาง เหยีย่ วแดง เหยีย่ วด�ำ เหยีย่ วด�ำท้องขาว ไปจนถึงนกอินทรี โดยได้รบั การสนับสนุน พื้นที่ในการตั้งกรงฝึกบินขนาดเล็ก 4 กรงและ กรงฝึกบินขนาดใหญ่ 8 กรงจากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตก� ำ แพงแสน ได้ รั บ การสนับสนุนอุปกรณ์วนิ จิ ฉัย ยา และเวชพรรณต่างๆ จากโรงพยาบาลสัตว์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้ประสานงานร่วมกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ ให้เปิดรายวิชาเลือกการจัดท�ำหัตถการนกล่าเหยือ่ เบื้องต้น การท�ำงานของหน่วยฟืน้ ฟูนกล่าเหยือ่ เริม่ จากการรับนกล่าเหยือ่ เข้ามารักษาผ่าน 2 ช่องทาง คือช่องทางรับนกล่าเหยือ่ มาจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ ์ ชื โดยตรง ซึง่ สัตวแพทย์จาก กรมอุทยานฯ จะคัดนกที่มีแนวโน้มว่าสามารถ
ปล่อยกลับคืนธรรมชาติได้ มาให้หน่วยฟืน้ ฟูนก ล่าเหยือ่ ฯ อีกหนึง่ ช่องทางคือรับมาจากประชาชน ที่ติดต่อประสานงานเข้ามา หรือพานกล่าเหยื่อ ทีไ่ ด้รบั อันตรายมาส่งทีห่ น่วย หลังจากนัน้ ประชาชน จะต้องเขียนใบรับมอบสัตว์ป่าไว้เป็นหลักฐาน หากประชาชนอยากจะติดตามการรักษาสัตวแพทย์ จะแจ้งรหัสประจ�ำตัวสัตว์ทขี่ นึ้ ต้นด้วย KU ให้กบั ประชาชนทั่วไป ซึ่งในปัจจุบันมีนกล่าเหยื่อที่ลง ทะเบียนไว้ถึงรหัส KU 641 ในระหว่างการรักษา สัตวแพทย์จะ ประเมินก่อนว่านกป่วยหรือบาดเจ็บบริเวณใด หากตัวใดสุขภาพดี ไม่ได้อยูใ่ นภาวะวิกฤตก็จะกักโรค ไว้ประมาณ 7 วัน และส่งไปอยูใ่ นกรงฝึกบิน แต่หาก ตัวใดป่วย หรือในกรณีทเี่ ป็นลูกนก ก็จะอยูฟ ่ น้ื ฟู ทีค่ ลินกิ นกล่าเหยือ่ หรือ Raptor Clinic จนหายดี จึ ง จะส่ ง ไปยั ง กรงฝึ ก บิ น พร้ อ มตั ว อื่ น ๆ ส่ ว น การปล่ อ ยกลั บ คื น ธรรมชาติ สั ต วแพทย์ จ ะ ประเมินตามสภาพแวดล้อม เช่น เหยี่ยวแดง ปล่อยริมน�้ำ ตามแม่น�้ำ หรือริมทะเล เหยี่ยวขาว กับนกแฝกก็ปล่อยตามทุง่ นา หรือส�ำหรับบางตัว ที่ค่อนข้างเชื่องคนหรือไม่สู้คน หน่วยฟื้นฟูก็จะ ไปปล่อยในเขตหวงห้ามที่ไม่พบเจอคนอีกเลย การอยูก่ บั นกล่าเหยือ่ ในทุกๆวัน หน่วย ฟื้นฟูต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัยในการท�ำงาน เป็นอย่างมาก ทั้งความปลอดภัยของสัตว์และ ความปลอดภัยระหว่างคนกับสัตว์ อีกทัง้ ยังต้อง ค�ำถึงถึงเรือ่ งเวลา เพราะหากท�ำงานล่าช้าอาจจะ หมายถึ งการสู ญ เสี ย ชี วิต ของนกล่ าเหยื่ อได้ ไม่เพียงเท่านัน้ การถ่ายทอดความรูท้ ส่ี ตั วแพทย์ แต่ละท่านได้รำ�่ เรียนมาจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ ก็เป็นอีกหนึง่ ความท้าทายของหน่วยฟืน้ ฟูนกล่าเหยือ่ เนือ่ งจากประชาชนยังขาดความรูเ้ รือ่ งการดูแลรักษานก และขาดจิตส�ำนึกด้านการอนุรกั ษ์สตั ว์ปา่ ซึง่ แท้จริง แล้วนกล่าเหยื่อถือเป็นผู้ล่าสูงสุด มีหน้าที่ตาม ระบบนิเวศ เช่น นกแสกช่วยก�ำจัดหนูในสวนปาล์ม
ยิ่งมีนกแสกมาก ในสวนนั้นก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ สารเคมี หรือในกรณีแหล่งที่ใช้ปล่อยเหยี่ยวด�ำ เมือ่ ถึงฤดูกาลก็สามารถใช้พนื้ ทีบ่ ริเวณนัน้ เป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วดูนก เกิดการกระจายรายได้จากนักท่องเทีย่ ว ไปสู่ประชาชนในพื้นที่นั้นๆ การให้ความรู้กับ ประชาชนในแต่ละพืน้ ทีจ่ งึ เป็นอีกหนึง่ ภารกิจส�ำคัญ ของหน่วยฟื้นฟูนกล่าเหยื่อ การสนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ ทัง้ จาก ภาครัฐอย่างกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื ไปจนถึงหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตลอดจนแรงสนับสนุนจากนิสติ คณะต่างๆ ทีส่ นใจ เข้ามาช่วยเหลือ ล้วนมีส่วนท�ำให้หน่วยฟื้นฟู นกล่าเหยือ่ เติบโตขึน้ เป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลือ่ น วงการอนุรกั ษ์และสร้างความสมดุลให้กบั ธรรมชาติ เพื่ อการอยู ่ ร ่ ว มกั นกั บธรรมชาติ อย่ างยั่ ง ยื น ขณะที่ ภ าคประชาชนก็ ส ามารถเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการสนับสนุนหน่วยฟื้นฟูนกล่าเหยื่อได้ทั้ง การลงแรงกาย ช่วยสอดส่องดูแลธรรมชาติ หรือ หากพบเห็นนกล่าเหยือ่ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะวิกฤตก็สามารถ ติดต่อมาที่หน่วยฟื้นฟูนกล่าเหยื่อได้โดยตรง หรือถ้าสะดวกสนับสนุนเป็นแรงเงิน ก็สามารถ บริจาคได้ผ่านทาง ‘กองทุนวิจัยนกนักล่าเพื่อ การอนุรกั ษ์ (Raptor Fund)’ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ หรื อ ติ ด ต่ อ ที่ RaptorFundKU@gmail.com เพื่อสอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติม และส�ำหรับนิสิตนักศึกษาทีส่ นใจ เป็นส่วนหนึง่ ของหน่วยฟืน้ ฟูนกล่าเหยือ่ สามารถ ติดต่อขอฝึกงานได้ผา่ นทาง www.facebook.com/ KasersartUniversityRaptorUnit หรือตาม QR Code ด้านล่าง
Facebook Fanpage ‘หน่วยฟื้นฟูนกล่าเหยื่อฯ’
16
The REPORT นครินทร์ พันธุมจินดา
มหวรรณ พันธุมจินดา
Puen Pueng Pa Kaset Fair
‘เพือ่ นพึง่ (ภาฯ) เกษตรแฟร์’ เกษตรแฟร์เล็ก ทีไ่ ม่เล็กเหมือนชือ่
‘เกษตรแฟร์ ’ มหกรรมที่ อ ยู ่ คู ่ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ม าแสนนาน แต่ ไม่ใช่ทุกคนที่จะทราบว่า ‘เกษตรแฟร์’ ของเรา ไม่ได้จัดขึ้นเฉพาะช่วงปลายเดือนมกราคมยาว ต่อไปถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์อนั เป็นห้วงเวลาแห่ง การเฉลิมฉลองครบรอบขวบปีของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เท่านัน้ แต่ ‘เกษตรแฟร์’ ยังจัดขึน้ ในหลากหลายวาระ หลากหลายสถานที่ ทั้งที่ บางเขนและในทุกๆวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ หากนับเฉพาะที่บางเขน งาน ‘เกษตรแฟร์’ อาจมีดว้ ยกันถึงปีละ 2-3 ครัง้ นัน่ จึงเป็นที่มาของชื่อ ‘เกษตรแฟร์เล็ก’ หรือ ‘มินิ เกษตรแฟร์’ แต่ใครเล่าจะทราบว่า ‘เกษตรแฟร์เล็ก’ ที่ทุกคนเรียกกันจะมีเรื่องราวดีๆซ่อนอยู่แบบไม่ เล็กเลย... จุดเริ่มต้น ‘เกษตรแฟร์เล็ก’ ย้อนกลับไปเมือ่ ปี 2551 เป็นครัง้ แรก ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ไ ด้ ร ่ ว มจั ด งาน ‘เกษตรแฟร์’ กับมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย โดยในครัง้ นัน้ ได้จดั งาน ขึ้น ณ พระต�ำหนักวังสวนกุหลาบ บริเวณรอบ สวนอัมพร และบริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า และ ได้ใช้ชอื่ งานว่า ‘เพือ่ ไทย พ้นภัย พึง่ ใจ เพือ่ นพึง่ (ภาฯ) และสวนอัมพรเกษตรแฟร์ ประจ�ำปี 2551’ ซึง่ เป็นงานทีค่ วบรวมงาน ‘เพือ่ ไทย พ้นภัย พึง่ ใจ เพื่อนพึ่ง (ภาฯ)’ ซึ่งเป็นงานออกร้านของมูลนิธิ อาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยากฯ มาจัดร่วมกับ แนวคิดของงาน ‘เกษตรแฟร์’ ที่มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ได้จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ต่ อ มาในปี 2554 เป็ น ปี ท่ี เ ป็ น ดั่ ง จุดเริ่มต้นของงาน ‘เกษตรแฟร์เล็ก’ แบบเป็น รูปธรรม เนือ่ งจากมีการย้ายการจัดงานประจ�ำปี ของมูลนิธอิ าสาเพือ่ นพึง่ (ภาฯ) ยามยากฯ มาจัด ยั ง บริ เ วณมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และ ยังเป็นจุดเริ่มต้นของชื่องาน ‘เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) เกษตรแฟร์’ โดยในปีดังกล่าวได้มีการจัดงาน โดยมีไฮไลต์ส�ำคัญคือการยกตลาดน�้ำมากมาย หลากหลายแห่งมาไว้ยงั ใจกลางทุง่ บางเขน ท�ำให้
ประชาชนสนใจมาร่วมชมงานกันอย่างคับคั่ง ส่ง ผลให้ชื่อ ‘เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) เกษตรแฟร์’ คุ้นหู ประชาชนคนไทย จนถึงกับมีการตัง้ ฉายาให้งานนี้ เป็นดัง่ งาน ‘เกษตรแฟร์เล็ก’ ทีค่ รองใจคนทุกเพศ ทุกวัยได้อย่างไม่ยากเย็น วัตถุประสงค์หลัก ทุกจุดเริ่มต้นย่อมเกิดจาก ‘เจตนา’ เฉกเช่นเดียวกับงาน ‘เพือ่ นพึง่ (ภาฯ) เกษตรแฟร์’ ทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ หารายได้สมทบทุนมูลนิธอิ าสาเพือ่ นพึง่ (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ในการน�ำไป ช่วยเหลือผู้ประสบพิบัติภัยต่างๆ ตลอดจนเป็น ศูนย์กลางทีจ่ ะน�ำผลผลิตของราษฎรผูป้ ระสบภัย ที่สามารถกลับมาประกอบอาชีพได้ตามปกติมา จ�ำหน่าย นอกเหนือจากเหตุผลด้านจิตอาสา งาน ‘เพือ่ นพึง่ (ภาฯ) เกษตรแฟร์’ ยังเป็นดัง่ สถานที่ แห่งการเรียนรู้ มีการสาธิตทักษะการประกอบ อาชีพต่างๆ ตลอดจนเป็นสถานที่จัดแสดงผล การด� ำ เนิ น การของมู ล นิ ธิ ฯ ในการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย รวมไปถึงผลงานการน�ำนวัตกรรม และงานวิจยั ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทไ่ี ป ร่วมช่วยเหลือประชาชนทีต่ กทุกข์ได้ยากมาจัดแสดง เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) เกษตรแฟร์ 2561 ในปีนกี้ เ็ ป็นอีกหนึง่ ปีทมี่ ลู นิธเิ พือ่ นพึง่ (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ร่วมมือกับ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ในการจั ด งาน ‘เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) เกษตรแฟร์’ ขึ้นอีกครั้ง ซึ่งใน ครัง้ นีไ้ ด้จดั ขึน้ ภายใต้แนวคิด ‘แบ่งปัน พอเพียง ยั่งยืน’ ระหว่างวันที่ 21-30 มิถุนายนที่ผ่านมา ณ บริ เ วณส� ำ นั ก พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ละวั ฒ นธรรม การเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน โดยได้มกี ารแบ่งการจัดงานออกเป็นทัง้ สิน้ 11 โซน อาทิ โซนจ�ำหน่ายสินค้าหัตถกรรม สินค้าอุปโภค-บริโภค สินค้าโอท็อป โซนจ�ำหน่ายสัตว์เลีย้ ง โซนจ�ำหน่าย ต้นไม้และอุปกรณ์ทางการเกษตร โซนสวนสนุก โซนตลาดน�ำ้ และโซนจ�ำหน่ายสินค้าของมูลนิธฯิ ภายใต้ชื่อแบรนด์ ‘พึ่งพา’ ฯลฯ
PAGE 13
Some
OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี
มก. เข้าถวายพระพร เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ฯ เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม 2561 ดร.ด�ำรงค์ ศรีพระราม รองอธิการบดีฝา่ ยบริหารกิจการภายในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ น�ำคณะบุคลากรของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เข้าถวายแจกันดอกไม้และลงนาม ถวายพระพร ศ.ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เนือ่ งในวันคล้าย วันประสูตแิ ละในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 61 ปี ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ หลักสี่ กรุงเทพฯ
GREATLY APPRECIATED มก. อุปสมบทหมู่ถวายเป็นพระราชกุศล เ มื่ อ วั น ที่ 2 ก ร ก ฎ า ค ม 2 5 6 1 ผศ.น.ท.หญิ ง ดร.งามลมั ย ผิ ว เหลื อ ง รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต เ ป ็ น ป ร ะ ธ า น ใ น โ ค ร ง ก า ร อุ ป ส ม บ ท ห มู ่ เฉลิมพระเกียรติและถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร และเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ นิ สิ ต และบุ ค ลากรได้ รั บ การฝึ ก ฝนอบรม หลั ก ธรรมค� ำ สอนจากพระสงฆ์ รวมทั้ ง การพั ฒ นาคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ในระหว่ า ง วันที่ 2 – 17 กรกฎาคม 2561 ณ วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ และ วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
PAGE 27
18
The INTERVIEW นครินทร์ พันธุมจินดา
มหวรรณ พันธุมจินดา, KU CSC PHOTO CLUB, ศูนย์ข่าวชุมชน มก., Facebook Fanpage 'SKUBA', MOENEWS และ www.kasetkaoklai.com
THE MOMENT CAPTURER
อาจารย์ปญ ั ญา เหล่าอนันต์ธนา ผูบ้ นั ทึกความทรงจ�ำในรัว้ บางเขน ความทรงจ�ำ สิ่งที่มีค่ามากส�ำหรับ มวลมนุษย์เพราะมันได้เก็บเรื่องราวทั้งร้ายดีไว้ ชวนให้เราหวนระลึกถึง โดยมากเรามักจะเลือก บันทึกความทรงจ�ำไว้เฉพาะสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ ตัวเรา รูปแบบของการบันทึกก็ปรับเปลีย่ นไปตาม ยุคสมัยบ้างก็วา่ ดี บ้างก็วา่ ไม่ดี แต่จะมีสกั กีค่ นทีจ่ ะ คอยเฝ้ า บั น ทึ ก เรื่ อ งราวรอบตั ว เพื่ อ คนอื่ น ? The INTERVIEW ของเราในฉบับนีจ้ ะพาผูอ้ า่ น ทุกท่านมารู้จักบุคคลทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังเลนส์ ผูค้ อย ลัน่ ชัตเตอร์หลายล้านครัง้ เพือ่ บันทึกเรือ่ งราวต่างๆ ในรั้วนนทรี บุคคลที่สามารถกล่าวได้ว่าแทบไม่มี เด็กเกษตรฯบางเขนคนไหนไม่มรี ปู อยูใ่ นคลังภาพ ของเขา และบุคคลผู้นี้ก็ไม่ใช่ใครที่ไหน เขาคือ อาจารย์ ป ั ญ ญา เหล่ า อนั น ต์ ธ นา ผู ้ บั น ทึ ก ความทรงจ�ำในรั้วบางเขนมาตลอด 2 ทศวรรษ สายเลือดเกษตรในตัวอาจารย์ปญ ั ญา “ผมเป็นคนชอบประดิษฐ์กเ็ ลยชอบวิศวะฯ พอเลือกวิศวะก็ต้องมาเลือกสาย ตอนนั้นบ้า คณิตศาสตร์มากก็เลยเลือกไฟฟ้า แล้วสมัยนัน้ คนจะเรียนวิศวะไฟฟ้าก็ตอ้ งเลือกจุฬา ลาดกระบัง เกษตร ด้วยความทีต่ อนนัน้ ผมไม่เก่งภาษาอังกฤษ เลย เพราะไปมุ่งแต่คณิต ฟิสิกส์ เคมี คะแนน เลยมาได้ที่ม.เกษตรฯ แม้ว่าจริงๆผมจะเรียนที่ กรุงเทพฯ แต่ไม่เคยมาแถวเกษตรเลย พอได้ มาเรียนก็รู้สึกได้ว่าไกลมาก ไกลจากบ้านผมที่ พระโขนง-อ่อนนุช พอปี 1 เทอมปลาย ก็เลยได้มา อยูห่ อพัก จากนัน้ ก็อยูย่ าวเลย เพราะชอบเกษตร มาก เรียนอยูเ่ กษตร จบไปแล้วก็สงิ อยูเ่ กษตร จน ณ บัดนีก้ ย็ งั กินนอนอยูใ่ นเกษตร (หัวเราะ) ผมรุน่ KU45 รหัส 28 ก็ 30 กว่าปีแล้วทีว่ นเวียนอยูท่ นี่ ี่ แม้แต่ตอนน�ำ้ ท่วมใหญ่ผมก็ยงั อยูท่ นี่ ี่ ไม่ทงิ้ บ้าน แน่นอน (หัวเราะ) อยูใ่ นเกษตรก็มเี รือ่ งราวเยอะแยะ ให้เล่าเต็มไปหมด” จุดเริม่ ต้นทีอ่ าจารย์ปญ ั ญาหันมาจับกล้อง “ยุคนั้นอินเทอร์เน็ตมาแล้ว เริ่มมี เว็บไซต์ มีเว็บบอร์ด ซึง่ จริงๆตัง้ แต่สมัยเรียนผมก็ ท�ำ Media Club (ปัจจุบนั คือ AGGIE TV นัน่ เอง) ถือเป็นเจ้าพ่อเรือ่ งสือ่ ยุคเก่าๆ เห็นหน้าอาจารย์ ปัญญาก็ต้องมีการแถลงข่าว การสัมภาษณ์ มีการเอาเคเบิ้ลทีวีโยงไปตามโต๊ะต่างๆในวิศวะ
ท�ำสตูดโิ อเอง พอมาเป็นยุคเว็บบอร์ดก็เลยเปิดเป็น ‘ศูนย์ขา่ วชุมชน ม.เกษตรศาสตร์’ ตอนประมาณ ปี2543 พอเปิดเว็บบอร์ดเราก็ซื้อกล้องตัวแรก รูส้ กึ ว่าจะเป็นยีห่ อ้ Casio ตัวเล็กๆ แล้วก็เปลีย่ น มาเป็น Kodak แล้วเราก็ขยายสาขาศูนย์ข่าว ชุมชน ม.เกษตรศาสตร์ ไปตามวิทยาเขตต่างๆ แล้วก็ซื้อแจกไปทีว่ ทิ ยาเขตต่างๆ ให้เขาถ่ายรูปส่ง มา คนทัว่ ไปก็ชอบเลย เพราะเวลาจะดูรูปก็ต้อง มาทีเ่ ว็บเรา” บทบาทผูส้ อื่ ข่าวแห่งศูนย์ขา่ วชุมชน “เรามีเว็บบอร์ดทีม่ หี อ้ งพูดคุยทุกสาขา ทุกคณะเยอะแยะมากมาย เราก็บันทึกไว้เป็น ประวัตศิ าสตร์ของม.เกษตร ท�ำเป็นฐานข้อมูลแบบ เรียงวันเรียงชัว่ โมง บันทึกลงฮาร์ดไดรฟ์แล้วท�ำใส่ แผ่น DVD ไว้ไปใส่ใน Time Capsule (หออนุสรณ์ 60 ปี มก. บริเวณสะดือเกษตร) ตอนนัน้ เราเป็น ที่แรกและที่เดียวที่ถ่ายทอดสดจากห้องเชียร์ ทุกห้องในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แม้แต่ ห้องเชียร์คณะวนศาสตร์ เพราะทุกคนอยากให้ เราไปถ่ายรูป การท�ำศูนย์ขา่ วชุมชน ม.เกษตรศาสตร์ ท�ำให้เราไม่ใช่แค่เป็นที่รู้จักเฉพาะที่ม.เกษตรฯ เพราะสมัยก่อนมีการประกาศผลเอ็นทรานซ์ที่ ม.เกษตรฯ เราก็จะมีการข่าว ท�ำให้เรารู้ก่อนว่า จะประกาศวันไหน ทุกคนก็เลยรูว้ า่ ต้องมาหาข่าว จากเว็บเรา เพราะเราเป็นศูนย์ข่าวที่ใกล้ชิดป้าย บอร์ดมากทีส่ ดุ (หัวเราะ) ท�ำให้อาจารย์แนะแนวทุก โรงเรียนตอนนัน้ รูจ้ กั เราเป็นอย่างดี ท�ำให้ม.เกษตรฯ ดังมากในช่วงนัน้ เป็นอานิสงส์ให้ ‘แบรนด์ซมั เมอร์ แคมป์’ มาจัดทีม่ หาวิทยาลัยเรา ยังไม่พอแค่นนั้ ยังมี ‘U-League’ ทีแ่ ข่งเชียร์ลดี เดอร์กนั เรานี่ เป็นศูนย์ขา่ วเชียร์ลดี เดอร์เลยนะ (หัวเราะ) แล้ว ผมนี่ซาดิสม์มาก ถ่ายทีเป็นหมื่นภาพ ท�ำให้ผม เชีย่ วชาญด้านเชียร์ลดี เดอร์มากเลยทัง้ ๆทีไ่ ม่ได้เป็น กรรมการ ผมจะรูห้ มดเลยว่าเขาจะท�ำท่ากันตอนไหน ท�ำให้เราได้จงั หวะพอดีทกุ ที ทุกมหาวิทยาลัยเลย รูจ้ กั เรา เขาจะได้ภาพจากเราทุกที เพราะสมัยนัน้ กล้องดิจิทัลแพงมาก จนหลังๆเขามาชวนให้เรา ไปถ่ายตามงานต่างๆ ทัง้ ๆทีไ่ ม่ใช่งานของเกษตร ไอ้เราก็สงสาร ก็เลยไปถ่ายให้เขา จนกลายเป็นที่ รูจ้ กั ในวงการ U-League”
อุปสรรคและวิธรี บั มือของอาจารย์ปญ ั ญา “แรกๆตอนไปถ่ายรูป ก็เคยโดนตั้ง ค�ำถามว่าผมเป็นใคร ท�ำไมต้องมาถ่ายรูป เพราะ ฉะนัน้ วิธแี ก้ปญ ั หาของอาจารย์ปญ ั ญาก็คอื ต้อง ปรากฏตัวให้เด็กรู้จักตั้งแต่งานแรกที่เข้ามาสู่ ม.เกษตรฯ ทัง้ งานก้าวแรกฯ งานอ้อมกอดฯ เรา ก็ใช้กล้องนีแ่ หละเป็นกลยุทธ์ เพราะเวลาเราถ่าย รูปเด็กทุกคนต้องมองมาทีก่ ล้อง ก็จะเล็งมาทีห่ น้า เราหมด เด็กก็จะจดจ�ำ (หัวเราะ) พอถ่ายรูปเสร็จ เด็กก็จะไปดูทเี่ ว็บของเรา ก็ตอ่ เนือ่ งเลย สามารถ สร้างการสือ่ สารได้แบบต่อเนือ่ ง ผมก็ทำ� แบบนีม้ า จนเด็กรูจ้ กั ทัง้ มหา’ลัยเลย จนหลังๆรุน่ พีก่ แ็ นะน�ำ อาจารย์ปญ ั ญาให้เองเลย เผลอแป๊บเดียว ผมท�ำ มาจะ 20 ปีแล้ว แต่หลังๆนีเ่ ริม่ ล�ำบากแล้ว เพราะ กล้องมันกลายเป็นสมาร์ตโฟน เด็กๆก็ถา่ ยรูปกัน ได้เอง บทบาทเราก็ตอ้ งเริม่ เปลีย่ นไป” อาจารย์ปญ ั ญาในบทบาททีห่ ลายคนไม่ร!ู้ “หลายคนไม่รว้ ู า่ อาจารย์ปญ ั ญาช่วยงาน บริหารม.เกษตรฯมา 10 กว่าปีแล้ว ผมเป็นผูช้ ว่ ย อธิการบดีแต่หน้าทีผ่ มชัดเจนคือเจ๊าะแจ๊ะไปเรือ่ ย (หัวเราะ) แล้วผมก็ต้องซ่อนตัวด้วย ไม่งั้นเดี๋ยว เด็กจะเกร็ง ผมก็พดู แบบสนิทๆได้เลย เพราะเขา ไม่รไู้ งว่าผมเป็นผูช้ ว่ ยฯ และอีกอย่างคือหลายๆ คนชิน เห็นหน้าเราก็นึกว่าเป็นช่างภาพประจ�ำ มหาวิทยาลัยไปแล้ว (หัวเราะ) เราก็เลยต้องการ คงสภาพแบบนีไ้ ว้ และการเป็นผูช้ ว่ ยฯก็เป็นเรือ่ งดี เพราะผมได้เห็นอะไรเยอะแยะ ท�ำให้เราช่วยงาน กิจการนิสติ ได้งา่ ยเลย เพราะเรามี Connection เยอะแยะ เพราะตัง้ แต่ KU รุน่ 50 เป็นต้นไปก็นา่ จะรูจ้ กั ผมกันหมดแล้ว ผมก็เลยจะท�ำตัวเองเป็นตัว เชือ่ ม Generation ทัง้ อาวุโสและรุน่ ใหม่” อาจารย์ปญ ั ญาเป็นนักประดิษฐ์มอื ฉมัง! “ถ้ า ให้ พู ด จริ ง ๆ ตอนเรี ย นรุ ่ น ผม ถือเป็นรุ่นหนูทดลอง เป็นรุ่นรอยต่อระหว่าง ไฟฟ้ากับคอมพิวเตอร์ เรียกว่าสาขาไฟฟ้าและ คอมพิวเตอร์ ทัง้ รุน่ มี 4 คน ผมเลยได้เปรียบได้ เรียนทัง้ สายไฟฟ้าและสายคอมพิวเตอร์ครบเซ็ต เลย ก็เลยท�ำสิง่ ประดิษฐ์ได้เยอะแยะเลย ช่วงก่อน ทีจ่ ะเรียนจบ ผมหันมาสนใจสิง่ ประดิษฐ์แบบเต็มตัว ไปฝังตัวอยู่ในหอคัมภีร์ ซึ่งจริงๆก็คือห้องแล็บ
สิ่งที่ส�ำคัญส�ำหรับผมคือ ต้องท�ำตัวให้เป็นประโยชน์ ต่อสังคม ทัง้ สังคมในเกษตร และสังคมภายนอก
ฝึกวิชากับอาจารย์นแี่ หละ พอจบออกมาผมก็ไป ท�ำงานกับบริษัทเอกชน แต่ท�ำได้ปีเดียวก็กลับ มาเป็นนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทันที เพราะรูเ้ ลยว่างานแบบนัน้ มันไม่เหมาะกับเรา เพราะผมชอบคิดอะไรใหม่ๆ ไม่ชอบงานประจ�ำ หลังจากนัน้ อีกปีผมก็สมัครเป็นอาจารย์ ช่วงนัน้ เป็นช่วงทีว่ ศิ วกรขาดแคลนมาก เปิดรับอาจารย์ เยอะมาก พอเปิดฉากเป็นอาจารย์ ผมก็ตงั้ ชมรม เลย เพราะเห็นมาตัง้ แต่สมัยเรียนว่าชมรมเด็กๆ เน้น Entertain ไม่กเ็ น้นไปออกค่าย มันยังขาด ชมรมแบบนักประดิษฐ์อยู่ ผมก็เอาเลย ตัง้ ชมรม เลย เป็นชมรม Robot อยูท่ วี่ ศิ วะ ตอนนัน้ จ�ำได้ ว่าเป็นช่วงทีห่ นังคนเหล็กออกพอดี ประทับใจมาก เราก็คิดไว้ว่าอนาคตต้องมาแนวเดียวกับหนัง คนเหล็กแน่ๆ พอมีเปิดแข่งขันเราก็ไป ไปแข่ง เยอะมาก มีทั้งล้มเหลวทั้งส�ำเร็จ จนถึงจุดหนึ่ง ทีม Robot ก็มแี ยกตัวออกไปท�ำอีกทีม เป็นทีม เฉพาะกิจ ชือ่ ทีม ‘SKUBA’ เพราะคนในทีมตัง้ เป้า อยากเป็นแชมป์โลก บ้ามาก ไม่มใี ครฝันมาก่อน ว่าเกษตรเนีย่ นะจะไปเอาดีทางหุน่ ยนต์ แถมหุน่ ยนต์ ของเราเป็นหุน่ ยนต์ AI จนปี 2552 เราได้แชมป์ โลกหุน่ ยนต์เตะฟุตบอล เป็นการประกาศศักดา ด้านหุน่ ยนต์ของเกษตร พอกลับมาก็เริม่ มีคำ� ถาม แนวเย้ยหยันว่าฟลุก้ เราก็ไม่หยุด ปีตอ่ ไปก็ไปเอา แชมป์โลกมาอีก จนเผลอแป๊บเดียว ได้แชมป์มา 4 สมัยซ้อน วงการหุ่นยนต์ของเกษตรก็เลยดัง จุดพลิกผันอีกจุดคือตอนปี 2554 ช่วงน�ำ้ ท่วมใหญ่ คนก็ประหลาดใจว่าอาจารย์ปญ ั ญาอยูใ่ นมหา’ลัย ได้ยงั ไง เพราะผมประดิษฐ์เรือสะเทิน้ น�ำ้ สะเทิน้ บก ไว้ใช้เอง ออกข่าวไปทั่ว เพราะผมเอาเรือไปช่วย ทั่วเลย ก็เลยได้มารู้จักกับมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก ก็เลยได้มาคลุกคลีกบั การท�ำสิง่ ประดิษฐ์ชว่ ยเกษตรกร เพราะสิง่ ทีผ่ มกังวลตอนนี้ คือโลกดิจทิ ลั มัน Disrupt ทุกวงการ การเกษตร ก็ต้องปรับตัว ก่อนที่ต่างชาติจะถล่มเราด้วย เทคโนโลยี เราก็ตอ้ งรีบประดิษฐ์ขนึ้ มาก่อน”
Connection ส�ำคัญ และต้องยิ้มแย้มแจ่มใส
อย่าเครียด และที่ส�ำคัญ
วิชาการต้องไม่ทิ้ง เพราะชีวิตใน การมาเป็นอาจารย์ ต้องครบถ้วน
วิจัยต้องเก่ง สอนต้องได้
กิจกรรมต้องสนับสนุน
ค�ำนิยามในสิง่ ทีอ่ าจารย์ปญ ั ญาเป็น “จับฉ่าย! (หัวเราะ) แต่เป็นจับฉ่ายที่สุดขั้ว (หัวเราะ) เอาแบบนี้ เรียกว่าพัฒนาตัวเองตลอดเวลา ไม่อยูน่ งิ่ เป็นคนไฮเปอร์ เหมือนเป็นลิง ผมอยูเ่ ฉยไม่ได้ เพราะผมพลังมีเหลือล้น สิง่ ทีไ่ ม่นา่ ท�ำ ก็จะท�ำ (หัวเราะ) แต่วธิ คี ดิ แบบนีท้ ำ� ให้ผมโดดเด่น เราต้องอยูโ่ ดดเด่นใน ความแตกต่างจากคนอืน่ ถ้าจะปิดทองหลังพระ ก็อย่าลืมปิดหน้าพระด้วย เราต้องท�ำทัง้ 2 ด้านจะได้ Balance กัน เหมือนอย่างทีผ่ มอยูห่ ลัง เลนส์ตลอด มีภาพผมปรากฏตามทีต่ า่ งๆน้อยมาก แต่ผมไปอยูท่ กุ งาน คนก็เลยจ�ำได้”
แก้ปัญหาการเกษตรด้วยเทคโนโลยี เพราะผมเชื่อว่าเกษตรกร ทุกวันนีไ้ ม่โบราณ อย่างน้อยทีส่ ดุ ลูกหลานพวกเขาก็ยงั พัฒนาได้ อีกเยอะ แต่ปัญหาตอนนี้คือบุตรหลานเกษตรกรไปอยู่ในภาค อุตสาหกรรมหมด ผมอยากท�ำให้พวกเขากลับมาสูภ่ าคการเกษตร เพราะฉะนัน้ เกษตรต้องเป็นเกษตรแบบ 4.0 ต้องใช้เทคโนโลยีทไี่ ม่แพง เพราะทุกคนจะได้จบั ต้องได้ อีกเรือ่ งทีผ่ มอยากท�ำคือเรือ่ ง Smart City คือเมืองทีม่ คี วามปลอดภัยและความสะดวกสบาย อย่างเรือ่ ง CCTV ที่ ถ่ายภาพป้ายทะเบียนส่งไปตามบ้าน เราก็เป็นทีป่ รึกษาโครงการนีม้ า 10 ปีแล้ว จนเราท�ำเองได้ นีค่ อื 2 ภารกิจของผม และอีก 2-3 ปีขา้ ง หน้า จะเห็นอาจารย์ปญ ั ญาจากโลก Robotic จะเข้าสูโ่ ลก Biotic ความฝันของอาจารย์ปญ ั ญา พอผมท�ำเรือ่ งการเกษตรก็ตอ้ งคิดเรือ่ งแปรรูปให้สุดทาง ซึ่งก็คือ “ปี 2552 ผมได้รางวัลข้าราชการดีเด่นแห่งชาตินี่คือ ยา เพราะมั น คื อ การแปรรู ป ผลผลิ ต การเกษตรให้ เ พิ่ ม มู ล ค่ า สุดขั้วของชีวิตข้าราชการแล้วนะ เพราะฉะนัน้ ตอนนีผ้ มเริม่ เฉยๆ มากกว่าหมืน่ เท่า ท�ำให้ตวั ผมต้องผลักดันตัวเอง ทัง้ ๆทีเ่ กลียดชีวะ แล้ว ผมท�ำ StartUp ให้เด็กๆไป 8-9 บริษทั โอเค แต่ตอนนีท้ ผี่ มตัง้ ใจ มากทีส่ ดุ ตัง้ แต่เรียนมา แต่ตอนนีผ้ มต้องมาอ่านหนังสือชีวะ แถม มากๆเลยคืออยากแก้ปัญหาให้เกษตรกร เพราะชือ่ มหาวิทยาลัย ตอนนีห้ อ้ งในชมรมทีผ่ มอยูค่ รึง่ หนึง่ เป็นหนังสือเกษตรกรรมเพราะ เกษตรศาสตร์มนั ค�ำ้ คออยู่ ผมไม่ได้มาสนใจเพราะเทรนด์คนอยาก ผมถือว่าผมมาสุดทางสาขาวิชาทีผ่ มอยูแ่ ล้ว ตอนนีต้ อ้ งบูรณาการ มาท�ำการเกษตรมากขึ้น เพราะการเกษตรมันโหดมาก ผมอยาก ไปศาสตร์อนื่ แล้ว”
22
The CAPTURE นครินทร์ พันธุมจินดา
ติณณภพ เชาว์วาทิน
LECTURE HALLS OF
ศูนย์เรียนรวม ศูนย์รวมรอยยิ้ม สรรพวิชา และคราบน�้ำตา
สถานที่ที่เด็กเกษตรทุกคนต้องเคยไปเยือน สถานที่ที่รวบรวมเพื่อนใหม่ต่างคณะให้ได้ ท�ำความรู้จัก รวบรวมความรู้นานาศาสตร์ให้ได้ศึกษา สถานที่ที่เป็นดั่งจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุดของชีวิตนิสิตในรั้วเกษตรศาสตร์ คอลัมน์ The CAPTURE คอลัมน์ที่ปล่อย ให้ภาพท�ำหน้าที่คอลัมนิสต์ในฉบับนี้เป็นคราวของสถานที่คุ้นตาอย่าง ‘ศูนย์เรียนรวม’ แห่งรั้วนนทรีบางเขน ที่เด็กเกษตรทุกคนทุกวิทยาเขตต้องเคยมาอย่างน้อยครั้งหนึ่งใน ชีวิตนิสิตเกษตร หากเป็นเด็กบางเขนก็อาจจะรู้จักสถานที่เหล่านี้จากการมาปฐมนิเทศ หรือเล่าเรีย นวิ ชาต่ า งๆ และส� ำ หรั บ นิ สิ ตเกษตรหลากหลายวิ ทยาเขต ที่ แ ห่ ง นี้ คื อ ทีแ่ ห่งค�ำร�ำ่ ลา เพราะในพิธพ ี ระราชทานปริญญาบัตร ว่าทีบ่ ณ ั ฑิตทุกคนล้วนต้องตัง้ แถวรอ เพือ่ เคลือ่ นขบวนไปยังอาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ ณ ศูนย์เรียนรวมเหล่านี้
24
Special นครินทร์ พันธุมจินดา
REPORT ประชาสัมพันธ์ มก., KU PHOTO CLUB, KU CSC PHOTO CLUB, อบ.ก. ศรีราชา, อบ.ก. ก�ำแพงแสน และ มหวรรณ พันธุมจินดา
KU78 นนทรีช่อใหม่แห่งรั้วเกษตร ‘เฟรชชี’่ ชีวติ ในช่วงมหาวิทยาลัยทีห่ ลายต่อหลายคนยกให้เป็นช่วงเวลาทีด่ ที สี่ ดุ ซึง่ ‘เฟรชชี’่ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นนั้ จะต้องผ่านกิจกรรมมากมายหลากหลายเพือ่ หล่อหลอมสายเลือดสีเขียวให้เข้มข้น และเพือ่ สร้างจิตส�ำนึกของความเป็นลูกเกษตรให้สมกับ อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยของเกษตรศาสตร์ทวี่ า่ ‘ส�ำนึกดี มุง่ มัน่ สร้างสรรค์ สามัคคี’
เพื่อนนทรีช่อใหม่ KU78 KU78 นนทรีชอ่ ใหม่ทเี่ ป็นดัง่ ความหวัง ของประเทศไทยที่ก�ำลังก้าวสู่การเปลี่ยนแปลง ของการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี เพือ่ ให้พร้อมกับการเปลีย่ นแปลงในยุค 4.0 และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กต็ ระหนักถึงความส�ำคัญ ข้อนีเ้ ป็นอย่างดี กิจกรรมแรกๆทีน่ สิ ติ ปี 1 KU78 จะได้พบในรั้วมหาวิทยาลัยจึงต้องเป็นอะไรที่ ‘ร่วมสมัย’ และ ‘ตอบโจทย์’ ในปีนี้กิจกรรม ‘รับน้อง’ ในระดับ มหาวิทยาลัยของ เกษตรฯ บางเขน ได้สร้าง ความแปลกใหม่โดยการควบรวมมาจัดในวันเดียว จากปกติที่งาน ‘ก้าวแรกสู่ศาสตร์แห่งแผ่นดิน’ และ งาน ‘สู่อ้อมกอดนนทรี’ ในปีก่อนๆ จะมี การจัดในวันและเวลาทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ ความเข้มข้น ของการรวบกิจกรรมทั้ง 2 มาอยู่ในวันเดียว ท� ำ ให้ เ หล่ า บรรดาน้ อ งใหม่ จ ะสามารถซึ ม ซั บ บรรยากาศและมีอารมณ์ร่วมได้แบบต่อเนื่อง โดยการจัดกิจกรรมดังกล่าวนี้มีขึ้นไปเมื่อวันที่ 1-2 สิงหาคมที่ผ่านมา ซึ่งได้แบ่งนิสิตชั้นปีที่ 1 จากคณะต่างๆออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆ โดยใน แต่ละกลุม่ ก็จะเข้าร่วมงานในแต่ละส่วนแบบสับเปลีย่ น หมุนเวียนไปใน 1 วัน โดยในปีนไี้ ด้กำ� หนดให้เหล่า เฟรชชี่สวมเสื้อสีเขียว เพื่อแสดงถึงสายเลือด เกษตรศาสตร์ที่ไหลเวียนอยู่ในตัวทุกคนตั้งแต่ วันแรกในรั้วมหาวิทยาลัย
ก้าวแรกสูเ่ กษตรฯ ก้าวแรกสูศ่ าสตร์แห่งแผ่นดิน กิจกรรม ‘ก้าวแรกสูศ่ าสตร์แห่งแผ่นดิน’ เป็นกิจกรรมทีใ่ ห้นอ้ งใหม่ KU78 ทุกคนจะได้เรียนรู้ ข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอน นานากิจกรรม หรือแม้กระทั่งข้อคิดที่อยากให้ นิสติ ใหม่ยดึ ถือเป็นแนวทาง ซึง่ กิจกรรมภายในงาน มีมากมายหลายส่วน เช่น กิจกรรมแนะน�ำศาสตร์ แห่งแผ่นดิน แนะน�ำมหาวิทยาลัย ระบบการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย กิจกรรมให้ ข้อคิดการใช้ชวี ติ แก่นสิ ติ ใหม่ กิจกรรมร้องเพลง มหาวิทยาลัย กิจกรรมเล่นเกมตอบค�ำถามผ่าน สมาร์ตโฟนซึ่งเป็นอีกหนึ่งหัวใจส�ำคัญของงาน นอกจากนีย้ งั ได้มพ ี ธิ ปี ลูกต้นไม้ประจ�ำรุน่ KU78 ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่กระท�ำสืบทอดกันมา ด้วย การปลูกต้นไม้เพื่อเป็นสัญลักษณ์ ไว้ประจ�ำรุ่น ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อีกด้วย
สู่อ้อมกอดแห่งรั้วนนทรี อีกหนึ่งกิจกรรมที่นิสิตใหม่ KU78 ต้องเข้าร่วมคือกิจกรรม ‘สู่อ้อมกอดนนทรี’ หรือในอีกชื่อว่า ‘KU First Date’ เป็นกิจกรรม ที่ จั ด ขึ้ น โดยองค์ ก ารบริ ห าร องค์ ก ารนิ สิ ต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีเป้าหมายเพือ่ เป็นการต้อนรับและแสดงความยินดีแก่นสิ ติ ใหม่ โดยที่กิจกรรมทั้งหมดเป็นกิจกรรมแบบฐานที่ เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งสอดแทรก ความรู้ ความสนุกสนาน และมิตรภาพ เพื่อ ส่ ง เสริ ม ให้ นิ สิ ต ใหม่ เ กิ ด ความรู ้ ค วามเข้ า ใจ สร้างความรัก และความภาคภูมิใจในความเป็น เกษตรศาสตร์มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังท�ำให้ได้ พบกับเพื่อนต่างคณะ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ ใหม่ๆ ซึง่ กิจกรรมทัง้ หมดรับผิดชอบโดยพีๆ่ นิสติ จากองค์กรกิจกรรมต่างๆ ทั้งสโมสรนิสิตคณะ ชมรมนิสิต และกลุ่มนิสิตพี่เลี้ยงอาสาสมัคร กิจกรรมส�ำคัญอีกหนึง่ กิจกรรมทีก่ ำ� ลัง จะเกิ ด คื อ ‘Freshy Day Freshy Night’ กิจกรรมรับน้องที่ถือเป็นวันของเฟรชชี่ KU78 อย่ า งแท้ จ ริ ง ซึ่ ง กิ จ กรรมนี้ จ ะมี ขึ้ น เมื่ อ ไหร่ ต้ อ งติ ด ตามที่ Facebook Fanpage ของ องค์การบริหาร องค์การนิสิต มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน อย่างใกล้ชิด!
SI RACHA CAMPUS
CHALERMPHRA SAKON NAK PROV CAM
KAMPHAENG SAEN CAMPUS
PAGE 17
Some
OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี
นิสิตคณะสัตวแพทย์ฯได้รับคัดเลือก เป็นนิสิตรางวัลพระราชทาน
AKIAT KHON VINCE MPUS
ตามที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้แต่ละมหาวิทยาลัยแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมิน และคัดเลือกนิสิตรับรางวัลพระราชทานระดับ อุดมศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2560 ทางมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ได้คดั เลือกให้ ธนพล สันติวฒ ั นธรรม นิสติ ชัน้ ปีที่ 5 คณะสัตวแพทยศาสตร์ เป็นตัวแทน ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะนิสิต รางวัลพระราชทาน ประจ�ำปีการศึกษา 2560
YOU DID IT! มก. จัดอบรมหลักสูตรผู้ประกาศฯ ระดับสูง รุ่นที่ 8
สีสันวิทยาเขต ไม่เพียงแต่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนอย่างเดียวทีม่ กี จิ กรรมส�ำหรับต้อนรับน้องใหม่ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในวิทยาเขตอืน่ ๆก็ได้มกี ารจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ขนึ้ ซึ่งแต่ละแห่งก็จะมีรูปแบบการจัดงานที่แตกต่างกันออกไป วิทยาเขตก�ำแพงแสน มีการจัดงาน ‘Freshy Day 2018: First Touch on Our Galaxy’ กิจกรรมรับน้องที่เน้นสร้าง ความประทับใจ ประหนึง่ เปิดโลกใหม่ให้กบั เฟรชชี่ KU78 กิจกรรมนี้ มีขึ้นเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคมที่ผ่านมา ขณะที่ในวันที่ 5 กรกฎาคม ก็ได้มงี าน ‘Freshy Night 2018: Second Time in the Milky Way’ ซึง่ เป็นการแสดงดนตรีตอ้ นรับน้องใหม่จากนิสติ วง AGGIE BAND ศิลปินวง Polycat, Slur และอีกมากมาย วิทยาเขตศรีราชา เช่นเคยกับกิจกรรม ‘รับขวัญลูก พระพิรุณ’ ซึ่งในปีนี้จะจัดขึ้นในเดือนสิงหาคม นอกจากนั้นยังมี กิจกรรม ‘สอนน้องร้องเพลง’ ทัง้ ในระดับคณะและระดับวิทยาเขต ก่อนปิดท้ายด้วยงาน ‘อ้อมกอดนนทรี’ ในวันที่ 18 สิงหาคม วิ ท ยาเขตเฉลิ ม พระเกี ย รติ จั ง หวั ด สกลนคร มี การจัดกิจกรรม ‘อ้อมกอดน้องพี่ สานไมตรีนนทรีอสี าน (KU.CSC LOVE U MORE)’ ในวันที่ 29 กรกฎาคมที่ผ่านมา นอกจากนี้ยัง มีกิจกรรม ‘I WANT TO BE KU78’ ซึ่งเป็นอีกกิจกรรมต้อนรับ น้องใหม่ ทั้งกิจกรรมนันทนาการ และกิจกรรมสอนน้องร้องเพลง มหาวิทยาลัย โดยกิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นในวันที่ 30 กรกฎาคม และ 31 สิงหาคม
เมือ่ วันที่ 6-8 กรกฎาคม ทีผ่ า่ นมา คณะมนุษยศาสตร์ มก. ได้มกี ารจัดฝึกอบรมหลักสูตร ‘ผูป้ ระกาศใน กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์’ ระดับสูง รุน่ ที่ 8 โดยมีการบรรยายให้ความรูจ้ ากวิทยากร ผูม้ ปี ระสบการณ์ และการฝึก Workshop การอ่านข่าว จากห้องสตูดโิ อจริง ณ ห้องปฏิบตั กิ ารวิทยุโทรทัศน์ ภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีพิธีมอบใบ ประกาศนียบัตรแก่ผเ้ ู ข้าอบรมระดับสูง รุน่ ที่ 8 โดย ดร.ปาริชาติ ภูตริ ตั น์ รองคณบดีฝา่ ยกิจการพิเศษ และสือ่ สารองค์กร คณะมนุษยศาสตร์ มก. โดย การอบรมในรุน่ นีเ้ ป็นการฝึกอบรมแบบเข้มข้น เน้น การบรรยายพร้อมกับ Workshop เชิงปฏิบัติ การเพือ่ เตรียมความพร้อมก่อนลงสูส่ นามสอบจริง เพือ่ ก้าวเข้าสูก่ ารเป็นผูป้ ระกาศข่าวต่อไป
PAGE 37
28
The
STORY
กุลนิษฐ์ จะยะสกูล
นครินทร์ พันธุมจินดา, มหวรรณ พันธุมจินดา, ติณณภพ เชาว์วาทิน, อ.ปิติรัตน์ ยศวัฒน, KU CSC PHOTO CLUB ชมรมถ่ายภาพ ม.เกษตร ศรีราชา, มก.กพส., มก.ศรช., USC trojans, nativenation.us และ YHTYE.com
KU Life Hacks! )especially for KU78) แฮ็คชีวิตมหา’ลัย เฟรชชี่รีบอ่านให้ไว!
ส�ำหรับนิสิตปี 1 KU78 ที่เพิ่งก้าวเข้ามาใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์แห่งนี้ครั้งแรก มันคงจะมีความกังวลอยู่ไม่น้อย แต่ไม่ต้องห่วง! The KU STORY ฉบับนี้ จะมาแอบบอกทริคเล็กๆ เรื่องลัดๆ ทีค่ ิดว่าน้องใหม่ควรรู้ ในแบบฉบับรุ่นพี่บอกรุ่นน้อง เพื่อให้น้องๆใช้ชีวติ ในมหา’ลัย นี้ได้ราบรื่นที่สุด พอรู้แล้วก็ออกไปใช้ชีวิตเฟรชชี่ให้คุ้มค่า เพราะอย่าลืมว่า ความรู้สึกนี้จะมีได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น! (พี่ปีโตจะแอบอ่านก็ได้นะ เผื่อยังไม่รู้ ;P)
Motorcycle วินมอ’ไซค์ รถจักรยานยนต์รบั จ้าง หรือทีเ่ ราเรียกสัน้ ๆว่า ‘วินมอ’ไซค์’ ซึง่ ‘พีว่ นิ ’ ของมอเราจะแตกต่าง จากข้างนอก เฟรชชี่ที่ยังไม่คุ้นชินก็ต้องสังเกตให้ดีๆ เพราะพี่วินที่สวมเสื้อกั๊กสีชมพูจะมีเรตราคา ทีเ่ ป็นธรรม ตามทีม่ หา’ลัยก�ำหนด ถ้าไปขึน้ เสือ้ กัก๊ สีอนื่ อาจถูกโกงราคาก็เป็นได้ อีกสิง่ ทีน่ อ้ งๆควรรู้ คือในช่วงเวลาคับคัง่ อย่างตอนเช้าของวันทีม่ กี ารเรียนการสอน จะมีผคู้ นมาเข้าแถวรอขึน้ วินมอ’ไซค์ เป็นจ�ำนวนมาก ทุกๆคนต้องเผื่อเวลาไว้ให้ดี เพราะนอกจากจะต้องรอคิวนานแล้ว บางสถานที่ที่เรา จะไป อยู่ในเขตการเรียนการสอน พี่วินมอ’ไซค์ก็ไม่สามารถขับไปส่งถึงที่ได้ พี่เขาจะส่งที่ที่ใกล้ที่สุด แล้วเราจะต้องเดินต่อเข้าไปเอง
Bike
จักรยาน การสัญจรในมหา’ลัยของเรามีหลายวิธดี ว้ ยกัน แต่การขีจ่ กั รยานเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของ ม.เกษตรฯ แม้ว่าสมัยนี้จะไม่นิยมขี่เท่าสมัยก่อน แต่ก็มีการรณรงค์ให้หันมาขี่กันมากขึ้น ทั้งการท�ำ เส้นทางจักรยานทั่วมหาวิทยาลัย หรือการน�ำ MOBIKE จักรยานอัจฉริยะ มาไว้ให้นิสิตได้ใช้บริการ ซึ่งเราสามารถใช้ได้ง่ายๆ เพียงแค่มีแอปพลิเคชั่นไว้ปลดล็อค และพิเศษ! ตอนนี้มีโปรโมชั่นเพียง เดือนละ 100 บาท ใช้บริการกี่ครั้งก็ได้! สนใจไปติดต่อที่ KU BOOK CENTER ได้เลย!
Car Park
ที่จอดรถ การขับรถยนต์มาเรียนเป็นอีกหนึง่ ทางเลือกทีน่ ยิ มกันมากในหมู ่ นิสิต บ้ า นไกล แต่ ปั ญ หา ของการขับรถมามหา’ลัยก็คอื การหาทีจ่ อดรถยากประดุจดัง่ งมเข็มในมหาวิทยาลัย แม้วา่ ทางม.เกษตรฯ จะสร้างอาคารจอดรถรองรับในส่วนนี้ โดยจะมีการให้จองทีจ่ อดรถแบบรายเดือน ซึง่ ต้องใช้ความไวใน การจองสูงมาก เพราะเต็มไวมากกกก แต่ถา้ ใครจองไม่ทนั ก็ยงั สามารถเข้าไปจอดในอาคารได้ ถ้ายังมี ทีว่ า่ ง และจะคิดค่าจอดเป็นรายชัว่ โมงแทน ซึง่ นิสติ ส่วนใหญ่จะไม่คอ่ ยชอบจอดในอาคารเพราะอยูไ่ กลจาก ศูนย์กลางมอ ต้องเดินหรือขึน้ ตะลัยต่ออีกที แถมราคาก็ไม่คอ่ ยถูกใจเงินในกระเป๋า ดังนัน้ นิสติ ส่วนใหญ่ ก็มกั จะหาทีจ่ อดในมอทีม่ อี นั น้อยนิด เพราะส่วนใหญ่จะมีไว้ให้สำ� หรับอาจารย์และบุคลากรเท่านัน้ มีนสิ ติ บางคนต้องตืน่ แต่เช้าเพือ่ ขับมาจองทีจ่ อดรถทัง้ ทีต่ วั เองมีเรียนบ่าย หรือบางคนก็ไปจอดรถในทีห่ า้ มจอด ก็ต้องโดนล็อกล้อและไปจ่ายค่าปรับที่กองยานฯกันตามระเบียบ
KU Shuttle Bus
t r a s t e Kas hen Bangk
รถตะลัย น้องใหม่คงสงสัยใช่มั้ยว่ารถตะลัยคืออะไร? รถตะลัย ก็คอื ชือ่ เล่นทีเ่ ด็กเกษตรนิยมเรียกรถโดยสารประจ�ำมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ย่อมาจาก ‘รถตะเวนทั่วมหาวิทยาลัย’ เป็นรถ สวัสดิการ ให้บริการฟรี มีทงั้ หมด 5 สายด้วยกัน แต่ละสายก็จะวิง่ เส้นทางที่แตกต่างกันไป ซึ่งรถตะลัยสาย 4 จะเป็นสายยอดนิยม เพราะขับผ่านใจกลางมอ ทัง้ ศร.1 และ ศร.3 รวมถึงใครจะไปคณะมนุษย์ฯ คณะสังคมฯ ก็ต้องขึ้นตะลัยสายนี้ ส่วนใครอยู่หอพักนิสิตซอย พหลโยธิน 45 (หอในนอก) ก็ตอ้ งคุน้ ชินกับรถตะลัยสาย 5 ทีจ่ ะวิง่ ไปกลับ หอสมุด–หอในนอก แต่ถา้ หากใครจ�ำสายรถตะลัยยังไม่ได้ ก็ไม่ตอ้ งกลัว! เพราะเรามีตวั ช่วยอย่างแอปพลิเคชัน่ ‘KU Smart Bus’ ที่จะบอกเส้นทางและต�ำแหน่งปัจจุบันของรถแต่ละสาย แอปดีๆ แบบนี้เหมาะที่จะมีติดเครื่องเป็นที่สุด!
Facts & Hacks ในแอปฯ KU Smart Bus มีตะลัยสายที่ 6 ด้วยนะ! แต่ ความเป็นจริงรถสายนัน้ ไม่ใช่รถตะลัย แต่เป็นรถรับ–ส่งนิสติ และบุคลากรของร้าน Too Fast To Sleep @KU ทีจ่ ะออกวิง่ ทุกๆ 15 นาที ตลอด 24 ชม. และทีพ่ เิ ศษ คือในช่วงกลางคืนจะมีการออกไปส่งถึงหน้าประตูพหลฯ และประตูงามฯ 1 ใครที่อ่านหนังสือหรือท�ำงานใน ร้านจนดึกดืน่ ก็ไม่ตอ้ งกลัวว่าจะกลับไม่ได้อกี ต่อไป
Facts & Hacks ตะลัยจะมีดว้ ยกัน 2 แบบ คือ ‘รถมินบิ สั ’ ทีม่ จี ดุ เด่น คื อ สามารถเบี ย ดตั ว เองเข้ า ไปเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ผู้โดยสารได้ เพราะรถตะลัยแบบนี้จะนั่งหรือจะยืน ก็แล้วแต่สะดวก (อารมณ์เดียวกับรถเมล์นนั่ เอง) แบบต่อ ไปคือ ‘รถราง’ ซึง่ จะเป็นรถทีเ่ ห็นบ่อยทีส่ ดุ รถแบบนี้ จะมีทนี่ งั่ จ�ำกัดแถวละห้าคน อนุโลมให้นงั่ ตักกันได้ แต่ ห้ามยืนเด็ดขาด! และอีกไม่นาน รถตะลัยจะมีแบบที่ 3 แล้ว! ตะลัยรุน่ ล่าสุดเป็นรถโดยสารพลังงานไฟฟ้าปรับอากาศ ให้นสิ ติ ได้นงั่ กันแบบเย็นสบายแถมรักษ์โลกอีกต่างหาก
Main Library หอสมุด ส�ำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือที่เด็ก เกษตรเรียกกันสัน้ ๆว่า ‘หอสมุด’ เป็นสถานทีท่ มี่ ดี มี ากกว่าหนังสือ เจ๋งๆ เพราะทุกๆชั้นของที่แห่งนี้มีอะไรดีๆซ่อนอยู่เพียบ! เริม่ ทีช่ นั้ 1 ซึง่ มี ‘Eco Library’ ห้องสมุดรักษ์สงิ่ แวดล้อม แห่งแรกของประเทศไทยทีใ่ ห้บริการกับทุกๆคนไม่เว้นแม้แต่บคุ คล ภายนอก ภายในประดับตกแต่งโดยใช้สงิ่ ประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ สวยงามน่านัง่ มัก่ มาก อีกโซนทีน่ า่ สนใจคือ ‘ห้องสมุดในสวน’ โซน ทีใ่ ห้เราอ่านหนังสือท่ามกลางธรรมชาติ จะนัง่ พักหรือหามุมถ่ายรูป ก็เก๋ ไปอีกแบบ นอกจากนีช้ นั้ 1 ยังเป็นทีต่ งั้ ของ ‘ห้องอินเทอร์เน็ต’ ทีใ่ ห้บริการคอมพิวเตอร์แบบฟรีๆ และยังมีโซนให้ยมื แล็บท็อปและ แท็บเล็ต เผื่อใครอยากเอาไปท�ำงานกับเพื่อนๆภายในหอสมุด ก็ สะดวกฝุดๆ ชั้น 2 เรียกได้ว่าคือแหล่งบันเทิงชั้นดีของมหา’ลัย เพราะมีโรงหนังขนาดเล็กให้ดู หรือถ้าใครชอบความเป็นส่วนตัว ก็สามารถจองเครื่องคอมฯเพื่อดูหนังคนเดียวได้ นอกจากนี้ยังมี บริการให้ยืมหนังกลับไปดูที่บ้านได้อีกด้วย ชัน้ 3 และ ชัน้ 4 เป็นทีอ่ า่ นหนังสือแบบ ทีค่ นจะเยอะมาก ช่วงสอบ ถึงขนาดทีว่ า่ เปรียบโต๊ะเหล่านีก้ บั ขุมทรัพย์ทคี่ นต้องแย่ง กันครอบครอง นอกจากจะมีโต๊ะทีพ ่ นื้ ทีส่ ว่ นกลางแล้ว ยังมีบริการ ห้องอ่านหนังสือแบบส่วนตัวอีกด้วย ซึง่ มีทงั้ แบบเดีย่ วและแบบกลุม่ ใครที่ต้องการสมาธิมากๆก็สามารถจองกันได้
Canteen บาร์ มหา’ลัยของเราอุดมสมบูรณ์เรือ่ งอาหาร มาก เพราะทัง้ โรงอาหารกลางและโรงอาหารคณะ มีกระจายอยูท่ วั่ พืน้ ที่ 800 กว่าไร่ แต่ทแี่ ปลกแตกต่าง คือเรามักเรียกโรงอาหารว่า ‘บาร์’ ซึง่ มีบาร์หลัก อยู่ 2 ที่ คือ ‘บาร์ใหม่’ และ ‘บาร์ใหม่กว่า’ บาร์ใหม่ จะอยู่ใจกลางมอ ส่วนบาร์ใหม่กว่าจะอยู่ใกล้กับ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ทัง้ สองบาร์นเี้ วลาเย็นๆ จะมีการขายอาหารตามซุม้ รถเข็นข้างนอก เรียกกันว่า ‘บาร์มืด’ เป็นแหล่งอาหารชั้นดีส�ำหรับนิสิตที่ ต้องท�ำกิจกรรมกันถึงดึกดืน่ นอกจากนีย้ งั มีบาร์ ตามคณะต่างๆ ทัง้ บาร์วดิ ยา บาร์บริหาร บาร์เกษตร (หรือบาร์ซอย) ฯลฯ
Facts & Hacks - บาร์ทเี่ นืองแน่นไปด้วยสาวๆต่างคณะในตอนกลางวัน ต้องยกให้บาร์วดิ วะ (บางคนเรียก บาร์อนิ เตอร์ หรือ บาร์ IUP) เพราะนอกจากจะมีอาหารให้อมิ่ ท้องแล้วยัง มีอาหารตาให้สาวๆอิม่ ใจอีกด้วย (หนุม่ ๆก็ดว้ ย( - ใครอยากหาทีก่ นิ ข้าวแบบแอร์เย็นๆท่ามกลางอากาศร้อนๆ ในตอนเทีย่ ง แนะน�ำให้ไปกินข้าวทีโ่ รงอาหารกลางทัง้ 2 แห่ง คือบาร์ใหม่และบาร์ใหม่กว่า แต่ตอ้ งมาช่วงเทีย่ งนะ ไม่อย่างนัน้ ก็ตอ้ งไปนัง่ ทีห่ น้าพัดลมแทน 5555
Facts & Hacks - ตอนนีบ้ าร์ใหม่มโี ซนเอาใจคนโสด เป็นโซนโต๊ะบาร์ สไตล์คาเฟ่ จะนัง่ กินข้าวคนเดียวแบบชิลๆ หรือจะนัง่ ถ่ายรูปชมวิวเก๋ๆก็ได้ - หลายคนสงสัยว่าท�ำไมต้องเรียกว่า ‘บาร์ใหม่’ เพราะ ก่อนจะมีบาร์ใหม่ เคยมี ‘บาร์เก่า’ มาก่อน โดยบาร์เก่า จะตั้งอยู่บริเวณสนามรักบี้ในปัจจุบัน เนื่องด้วย ความคับแคบ บาร์ใหม่เลยถูกสร้างมาแทนที่
Facts & Hacks - หอสมุดจะเปิดบริการ 24 ชัว่ โมงในช่วงสอบ ใคร อยากติวเข้มก็สามารถเข้าไปอ่านหนังสือกันได้ แล้ว ก็อย่าลืมเสือ้ กันหนาว หรือผ้าห่มกันมาด้วย เพราะ ( เดีย๋ วจะไม่ แอร์ในส�ำนักหอสมุดหนาวมากกกก สบายตอนสอบ - การเข้ามาในหอสมุดง่ายนิดเดียว เพียงแค่ใช้บตั ร นิสติ แตะไปทีป่ ระตูทางกัน้ แค่นกี้ เ็ ข้าได้แล้ว ส่วน บุคคลภายนอกหรือนิสติ ทีล่ มื น�ำบัตรนิสติ มาก็ ต้องเสียค่าเข้า ยกเว้นบริเวณ Eco Library ทีท่ กุ คน สามารถเข้าฟรี - บริเวณเดียวทีส่ ามารถกินอาหารได้ คือ ห้องสมุด ในสวน นอกจากนัน้ ห้ามน�ำอาหารเข้าไปเด็ดขาด
Lecture Hall
ศร. ‘ศร.’ (อ่านว่า สอ-รอ) อีกหนึ่งสถานที่ที่เฟรชชี่ควรจะ ต้องรู้จัก โดย ศร. ย่อมาจาก ‘ศูนย์เรียนรวม’ มีทั้งหมด 4 แห่ง ด้วยกัน ‘ศร.1’ จะเป็นอาคารทีเ่ ก่าทีส่ ดุ อยูใ่ กล้กบั ส�ำนักหอสมุด, ‘ศร.2’ อาคารทีน่ อ้ ยคนจะรูว้ า่ นีค่ อื ศร.2 แม้จะผ่านกันเกือบทุกวัน ศร.2 เป็นอาคารสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าทีอ่ ยูร่ ะหว่าง ศร.3 กับ ศร.4, ‘ศร.3’ เป็นอาคารรูปทรงแปดเหลี่ยมที่นิสิตทุกคนต้องได้มาเรียน มี ห้องเรียนขนาดใหญ่ทจี่ นุ สิ ติ ได้มากถึง 300 คน และสุดท้าย ‘ศร.4’ หรือชือ่ จริงๆคือ ‘อาคารเฉลิมพระเกียรติ 4 รอบพระชันษาจุฬาภรณ์’ อาคารเรียนรวมทีใ่ หม่ทส่ี ดุ โดยตกแต่งโถงอาคารด้วยเครือ่ งเรือน รักษ์โลกจาก ScrapLab ทีเ่ ราสามารถนัง่ พักผ่อนได้ตามอัธยาศัย หรือจะนั่งเล่นกับหมาขวัญเด็กเกษตรอย่าง ‘จีนแดง’ หมารูปร่าง คล้ายหมูที่วันๆเอาแต่นอน
Facts & Hacks - ศร. 3 และ ศร.4 เป็น 2 อาคารเรียนรวมทีม่ ี ลิฟต์ให้บริการ สิง่ ทีค่ วรรูส้ ำ� หรับนิสติ ทีม่ เี รียน ที่ ศร.4 ควรจะเผือ่ เวลาให้ดี เพราะลิฟต์ของทีน่ ป่ี อ๊ ป มาก (ก็อาคารมันหลายชัน้ อะ( - ห้องน�ำ้ ของศร.4 เป็นห้องน�ำ้ ส่วนกลางทีน่ สิ ติ นิยมมาปลดทุกข์มากทีส่ ดุ ด้วยความเงียบและมี ให้เลือกหลายชัน้ - รอบๆ ศร. จะมีการปลูกต้นนนทรีประจ�ำรุน่ ถ้า ว่างๆก็ลองไปเดินหาดูวา่ ต้นนนทรีประจ�ำรุน่ ของ ตนเองอยูต่ รงไหน
Facts & Hacks - วิธดี หู อ้ งเรียน จะได้ไม่หลงเวลาเข้าเรียน เลข ตัวแรกคือเลขอาคาร ตัวถัดมาคือชัน้ และ 2 ตัวหลังคือเลขห้อง เช่น LH3-201 ก็คอื ศร.3 ชัน้ 2 ห้อง 01 เป็นต้น - ตอนนี้ ศร.1 ก�ำลังปิดปรับปรุงชัว่ คราว เรา มารอลุน้ ศร.1 โฉมใหม่ไปพร้อมๆกันเถอะ
Kamphaeng Saen ก�ำแพงแสน วิทยาเขตก�ำแพงแสน จ.นครปฐม มีเนือ้ ที่ 7,851 ไร่ ใหญ่กว่าเกษตรฯบางเขนเกือบ 10 เท่า ที่นี่เปิดการเรียนการสอนทั้งหมด 6 คณะ คือ คณะเกษตร ก�ำแพงแสน, คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน, คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์, คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนาศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ การกีฬา และคณะสัตวแพทยศาสตร์ ซึ่งเป็นคณะที่ขยายการด�ำเนินงานมาจากบางเขน โดยจะเปิด ท�ำการสอนเฉพาะนิสิตในชั้นปีที่ 4-6
n e a S g n e a Kamph Campus
Facts & Hacks - ทีค่ ณะเกษตร มีตงั้ แต่ ฟาร์มหมู ไก่ วัว แพะ แกะ กวาง และ นกกระจอกเทศ - สามารถใส่ชดุ นอนและหอบหมอนมาเรียนได้ ถ้ามีคลาสดึก ถึงเทีย่ งคืน - มีผลไม้กนิ ฟรีตลอดปี อยากกินผักฟรีให้ไปแปลงฝึกงาน หรือแปลง 311 ภาควิชาพืชสวน อยากกินข้าวโพดฟรีตอ้ ง ไปหาเด็กพืชไร่ แต่กแ็ ล้วแต่ความสามารถในการเก็บและ การหลบหลีกพีย่ าม - มีตลาดนัดภายในวิทยาเขต ชือ่ ว่า ‘ตลาดนัดยูคา’ หรือที่ นิยมเรียกอีกชือ่ ว่า ‘ตลาดนัดสะเดา’ เปิดทุกวัน แต่วนั พุธ จะพิเศษหน่อยจะเป็นตลาดนัดใหญ่ มีของขายมากกว่าปกติ อาจารย์และเด็กเกษตรจะต้องไปเดินหลังเลิกเรียนกันเกือบ ทุกอาทิตย์ เวลาชวนจะเรียกสัน้ ๆว่า “ไปเดากันมัย้ ”
Facts & Hacks - เป็นสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในการมาถ่ายรูปคู่กับ ‘ต้นชมพูพนั ธุท์ พิ ย์’ หรือ ‘ตาเบบูญา่ สีชมพู’ บนถนนวัฒนา เสถียรสวัสดิ์ ทีม่ ที งั้ หมด 580 ต้น รวมระยะทางกว่า 2 กิโลเมตร โดยช่วงทีด่ อกชมพูพนั ธุท์ พิ ย์บานคือประมาณปลายเดือน กุมภาพันธ์ถงึ ต้นเดือนมีนาคม ในช่วงนัน้ จะคึกคักเป็นพิเศษ จนทางมหา’ลัยได้จดั ให้กลายเป็นเทศกาลประจ�ำวิทยาเขต ตัง้ แต่ปี 2557 เป็นต้นมา - ด้วยขนาดพืน้ ทีท่ กี่ ว้างใหญ่ นิสติ ทีน่ คี่ วรจะมียานพาหนะส่วนตัว ไม่อย่างนัน้ ตายแน่ 5555 (แต่นสิ ติ คณะเกษตรปี 1 ช่วงเดือน แรกห้ามใช้รถทุกประเภท ต้องเดินเรียนเท่านัน้ แต่หลังๆก็ อนุโลมให้ใช้จกั รยานได้
Facts & Hacks - รถตะลัยของวิทยาเขตจะเป็นแบบรถไถพ่วงรถลาก ได้ อารมณ์บา้ นทุง่ สุดๆ จะได้นงั่ เฉพาะทัวร์วทิ ยาเขต กับงาน เกษตรแฟร์เท่านัน้ แต่นสิ ติ คณะเกษตรจะพิเศษหน่อย จะ ได้นงั่ ตอนงานบายเนียร์ดว้ ย - โรงอาหารกลาง 1 ทีน่ จี่ ะเรียกว่า ‘สนามหลวง’ เพราะคน จะเจ๊าะแจ๊ะจอแจ - นิสติ น้อยคนทีจ่ ะรูว้ า่ ในมอมี ‘โดมแมลง’ ด้วย ซึง่ เป็นโดม แมลงทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก - ณ บริเวณสระน�ำ้ หน้าคณะเกษตร เป็นทีต่ งั้ ของ ‘พระพิรณุ ทรงนาค‘ สั ญ ลั ก ษณ์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เป็ น ประติมากรรมพระพิรุณทรงนาคแบบเดียวกับที่เกษตร กลางบางเขน จากทัง้ หมด 5 องค์ทวั่ ประเทศ
)
Si Racha
ศรีราชา วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ที่ 199 ไร่ เดิมที เป็นพื้นที่สาธารณประโยชน์บ้านน�้ำซับ ซึ่งทางกระทรวงมหาดไทย ได้มอบให้กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้เป็น ‘ไร่ฝึกหัดนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์’ ต่อมาได้ปรับเปลีย่ นสถานะไปเรือ่ ยๆ จนพัฒนาเป็น ‘มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา’ ใน ปัจจุบัน ซึ่งที่นี่เปิดการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เพือ่ รองรับการพัฒนาพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลตะวันออก โดยเปิดเป็นคณะทั้งหมด 5 คณะ ได้แก่ คณะวิทยาการจัดการ, คณะวิศวกรรมศาสตร์ ศรีราชา, คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา, คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา และคณะพาณิชยนาวีนานาชาติ
Facts & Hacks - วิทยาเขตศรีราชาเน้นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและบริหารธุรกิจ - วิทยาเขตศรีราชามีภเู ขาเป็นของตัวเอง ชือ่ ‘เขาน�ำ้ ซับ’ ท�ำให้มี ฉากหลังทีต่ งั้ ตระหง่านสวยงามจนเป็นภาพจ�ำของวิทยาเขต ซึง่ มีคำ� ว่า ‘เกษตร’ ตระหง่านอยูบ่ นเขาน�ำ้ ซับ ุ ’ เป็นโครงการหนึง่ เดียวในรัว้ - ประเพณี ‘รับขวัญลูกพระพิรณ เกษตรศาสตร์จากทุกวิทยาเขตทีใ่ ห้นสิ ติ ปี 1 ทุกคนเข้าร่วมสักการะ พระพิรณ ุ ซึง่ เป็นดัง่ สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย เป็นศูนย์รวม จิตใจ และเป็นดัง่ การเริม่ ต้นในการเป็นนิสติ เกษตรศาสตร์ - วิทยาเขตศรีราชาเป็นส่วนหนึง่ ใน ‘ดิจทิ ลั พาร์ค’ เป็นพืน้ ทีท่ ดสอบ คลืน่ 5G ในประเทศไทย และอนาคตจะเป็นศูนย์กลางด้านดิจทิ ลั และ StartUp ในพืน้ ทีร่ ะเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรือ EEC
Facts & Hacks -‘สะพานดาว’ เป็นจุดชมวิวทีส่ วยมาก โรแมนติกสุดๆ เป็นหนึง่ ใน สถานทีข่ นึ้ ชือ่ ของเด็กเกษตรฯศรีราชา - เด็กเกษตรสามารถไปวิง่ ออกก�ำลังกายบนเขาน�ำ้ ซับได้ แต่ให้ ระวังลิงด้วย ‘ - โรงอาหารทีว่ ทิ ยาเขตศรีราชา เรียกกันเล่นๆว่า ‘หัวล�ำโพง - หอในทีน่ ไี่ ม่มเี วลาเปิดปิด ุ ทรงนาค’ - ณ บริเวณสวนสมุนไพรเดิม เป็นทีต่ งั้ ของ ‘พระพิรณ สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นประติมากรรม พระพิรุณทรงนาคแบบเดียวกับที่เกษตรกลางบางเขน จาก ทัง้ หมด 5 องค์ทวั่ ประเทศ
Facts & Hacks - รอบๆวิทยาเขตศรีราชา มีตน้ มะม่วงเยอะมาก บางคนว่าเยอะกว่าต้นนนทรีเสียอีก แถมมะม่วงทีน่ อี่ อกลูกดกมาก โดยมะม่วงแถวประตู 2 จะรสชาติจะมันๆ ส่วนแถว ประตู 1 จะออกเปรีย้ วๆ - เกษตรฯ ศรีราชา มีตลาดนัดในมอ เรียกว่า ‘ไนท์ใน’ และ ‘ตลาดนัด KU’ ถือเป็น แหล่งข้าวแหล่งน�ำ้ ชัน้ ดีของคนในมอ - ทุกวันอังคารและศุกร์ จะมีฉายหนังฟรี
Si Racha Campus
Facts & Hacks - วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เป็นศูนย์กลางเกษตร ในภาคอีสาน - อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ที่ อุทยานหนองหารเฉลิมพระเกียรติ บนพืน้ ที่ 700 ไร่ เป็นทีท่ ี่ รวบรวมพันธุบ์ วั และไม้นำ�้ ในเขตพืน้ ทีอ่ สี านตอนบน นับเป็นอุทยานบัว ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย นับเป็นความภาคภูมใิ จของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร - ประตูทางเข้าหน้ามหาวิทยาลัยจะมี ‘ซุม้ ประตูพญานาค’ เป็น สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ ซึ่งพญานาคเป็นเสมือน สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ชี่ าวลุม่ น�ำ้ โขงนับถือเทิดทูน และยังเป็นสัตว์พาหนะ ของพระพิรณ ุ ซึง่ เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ชาววิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เรียกแทนตัวเอง ว่า ‘นนทรีอสี าน‘
Facts & Hacks - เนือ่ งจากพืน้ ทีว่ ทิ ยาเขตมีพนื้ ที่ 4,000 ไร่ ประกอบด้วยผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์กว่า 1,000 ไร่ จึงสร้าง ‘ อุทยานธรรมชาติวทิ ยาป่าเต็งรังเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินนี าถ‘ ขึน้ - บนพืน้ ที่ 2,000 ไร่ ทางม.เกษตรได้สร้าง ‘อุทยานเกษตร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ‘ เพือ่ จัด ท�ำฟาร์มตัวอย่างในภาคอีสาน ข้างในมีทงั้ ฟาร์มไก่ดำ� KU ฟาร์มแกะ ฟาร์มแพะ ฟาร์มกวาง ฟาร์มพืช ‘ - กิจกรรมแห่ดาวท่าแร่ ‘ ประเพณีขนึ้ ชือ่ ของชาวสกลนคร เรียกว่าเป็นประเพณีแห่ดาวทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก ก็วา่ ได้
Sakon Nakhon สกลนคร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร จัดตั้งเพื่อ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เนื่อง ในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติปีที่ 50 และสนองนโยบายของ รัฐบาลทีต่ อ้ งการกระจายโอกาสทางการศึกษาไปสูภ่ มู ภิ าคของประเทศ โดยเปิดท�ำการเรียนการสอนทัง้ หมด 4 คณะ คือ คณะทรัพยากร ธรรมชาติ แ ละอุ ต สาหกรรมเกษตร, คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ วิศวกรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ และ คณะสาธารณสุขศาสตร์ โดยพื้นที่ 4,700 ไร่ ของวิทยาเขตนี้จะ เรียกว่า ‘วนานันทอุทยาน’ หรือ อุทยานแห่งการเรียนรู้
ChalermphrakiaPtrovince Sakon Nakhon Campus Facts & Hacks ุ ทรงนาค’ สัญลักษณ์ - ตรงข้ามอ่างสกล เป็นทีต่ งั้ ของ ‘พระพิรณ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นประติมากรรมพระพิรณ ุ ทรงนาค แบบเดียวกับทีเ่ กษตรกลางบางเขน จากทัง้ หมด 5 องค์ทวั่ ประเทศ - สะดือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือ ‘หมุดวิทยาเขต’ อยูต่ รง ถนนใจกลางมหา’ลัย ว่ากันว่าถ้านิสติ คนใดเดินไปเหยียบหรือขับ รถเหยียบคนๆนัน้ จะเรียนไม่จบ - มีรนั เวย์สนามบินเก่าในมหา’ลัย เดิมใช้ในการสนับสนุนโจมตีทาง อากาศในสงครามเวียดนาม ทีน่ วี่ วิ สวยมากๆ - ตรงข้ามรันเวย์ จะเป็นหอคอยวิทยาเขต แต่ทจี่ ริงเป็นแทงค์เก็บน�ำ้ ประปาของวิทยาเขต ทีผ่ ลิตได้ถงึ วันละ 20,000 ลูกบาศก์เมตร นอกจากนีย้ งั มีลฟิ ต์ให้ขนึ้ ไปชมทัศนียภาพของวิทยาเขตได้อกี ด้วย
35
IN NEW Teddy B
Look
KU App และ KU Life App
NEWER MEANS BETTER APP แอปฯใหม่มาแรงที่นิสิตเกษตร ต้องมีติดเครื่อง! KU App แอปพลิ เคชั่ น ที่ เริ่ ม มาจากความร่ ว มมื อ ระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กับธนาคารไทยพาณิชย์ โดย มีแนวคิดที่จะพัฒนาแอปฯที่สามารถอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ นิสติ อาจารย์ บุคลากรของม.เกษตรฯ รวมทัง้ บุคคลทัว่ ไปได้อย่าง ครบวงจร เรี ย กได้ ว ่ า เป็ น แอปฯที่ จ ะมาเป็ น ทุ ก อย่ า งเพื่ อ เกษตรศาสตร์ โดยในตัวแอปฯได้มีการใส่ Feature ต่างๆไว้ อย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็น Feature ปฏิทินตารางเรียนและ ตารางกิจกรรมที่สามารถตั้งค่าการแจ้งเตือนไว้ส�ำหรับกิจกรรม ที่ไม่อยากพลาด, Feature เช็คชื่อเข้าเรียนที่ใช้แค่ QR Code, Feature จองสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆในรั้วมหาวิทยาลัยที่ จองได้งา่ ยๆแค่ปลายนิว้ และทีข่ าดไม่ได้สำ� หรับคนทีแ่ พ้ความใหญ่โต ของม.เกษตรฯ นัน่ ก็คอื Feature แผนที่ ทีแ่ สดงรายละเอียดของ ม.เกษตรฯแบบทุกซอกทุกมุม รับรองไม่หลงแน่นอน! KU App ให้บริการทั้ง 2 ระบบ ทั้ง iOS และ Android ใครยังไม่มีติดเครื่องก็รีบไปโหลดกันได้เล้ย ถ้าพลาดแล้วจะหาว่า ไม่เตือนนะ ;)
PAPERLESS SOCIETY IS COMING
สังคมไร้กระดาษ สะดวก รวดเร็ว รักษ์โลก!
กระแสรักษ์โลก+กระแสดิจิทัลมาแรง องค์กรต่างๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนเริม่ หันมาให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งเล็กๆทีไ่ ม่เล็ก ซึง่ ก็คอื พฤติกรรมการใช้กระดาษ ทีส่ นิ้ เปลืองทัง้ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรเงิน และทรัพยากรเวลา! มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ของเราก็ไม่นอ้ ยหน้า รณรงค์การลดใช้กระดาษอย่างเป็นจริงเป็นจัง โดยเริ่มต้นจาก ‘ใบรับเงินเดือน’ ของอาจารย์และบุคลากรภายใน มหาวิทยาลัย ที่เปลี่ยนจากกระดาษมาเป็นไฟล์ดิจิทัลที่ส่งผ่าน ระบบ KU E-mail Address และแอปพลิเคชั่น KU Life โดย ส�ำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก. นีแ่ หละจุดเริม่ ต้นเล็กๆทีจ่ ะกลายเป็น จุดเปลี่ยนอันยิ่งใหญ่ สู่ Paperless Society แบบเต็มตัวใน อนาคตภายในรั้วนนทรี!
36
The REPORT ภากร ชยวัฑโฒ และ นครินทร์ พันธุมจินดา
มหวรรณ พันธุมจินดา และ นครินทร์ พันธุมจินดา
INNOVATION NEXT
!
ก้าวต่อไปผลักดันงานวิจัย สู่ภาคธุรกิจและสังคม ผลงานวิจัยถือเป็นอีกหนึ่งผลผลิต ทีส่ ำ� คัญของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึง่ ในอดีต ผูค้ นมักมองว่างานวิจยั ต่างๆเมือ่ ท�ำเสร็จแล้วมักจะถูก น�ำไป ‘ขึน้ หิง้ ’ เพราะจับต้องได้ยากและไม่ตอบโจทย์ สังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ตระหนักถึง ข้อนี้เป็นอย่างดี จึงพยายามปรับเปลี่ยนทิศทาง ของงานวิจยั ให้สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้งา่ ยขึน้ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลทีพ่ ยายามสนับสนุน เศรษฐกิจทีพ ่ งึ่ พานวัตกรรมมากขึน้ นับเป็นเวลากว่า 10 ปี ทีม่ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ได้รว่ มมือกับบรรดาผูป้ ระกอบการ ในการน�ำองค์ความรูท้ มี่ ไี ปพัฒนาต่อยอดจนสามารถ น�ำไปสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ทตี่ อบสนองความต้องการ ของสังคมได้อย่างมากมาย และในช่วงไม่กี่ปีที่ ผ่านมานี้ นโยบายจากภาครัฐและเอกชนก็เริม่ หันมา ให้ความส�ำคัญกับแนวคิดการท�ำงานในลักษณะ ผสมผสานมากขึ้น บวกกับเทคโนโลยีที่พัฒนา อย่างรวดเร็ว ท�ำให้อนาคต ความร่วมมือของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กบั องค์กรต่างๆจะยิง่ มี ความเด่นชัดมากยิง่ ขึน้ เราลองมาดูกนั ว่าปัจจุบนั อนาคต แนวโน้ม และทิศทาง ที่จะเกิดขึ้นกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในวิถที างแห่งนวัตกรรม นั้นจะเป็นเช่นไร
PAGE 27
Some
OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี
คณะประมง เปิดเส้นทางจักรยานใหม่ เพื่อ รองรับเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว
งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง ผศ.ดร.กั ม ปนาท เพ็ ญ สุ ภ า รั ก ษาการแทนรอง อธิการบดีฝา่ ยบริการวิชาการ ได้เล่าให้ KU BULLETIN ฟังว่า ใน ปัจจุบนั งานวิจยั ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์หลายโครงการได้ ถูกน�ำไปพัฒนาเพือ่ ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆมากมาย ซึง่ สะท้อน ให้เห็นว่าผลงานวิจยั ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นนั้ ตอบโจทย์ ความต้องการของสังคม “ทุกโครงการวิจยั ทีเ่ ราท�ำ ท้ายทีส่ ดุ แล้วเราพยายามดึง เรือ่ งของแนวคิดให้ออกมาในเชิงพาณิชย์มากขึน้ หลายๆโครงการ เราท�ำเป็น Prototype หรือ แบบจ�ำลองแนวคิดทางธุรกิจ เพือ่ รอ ให้มีหน่วยงานหรือผู้ที่สนใจมาซื้อสิทธิ์ไปท�ำต่อ ยกตัวอย่างเช่น สถาบันผลผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (KAPI) ก็จะมีงานวิจยั ทีเ่ ป็นผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วกับเครือ่ งส�ำอางปล่อยออกมา มากยิ่งขึ้น ตอนนี้ก็มีการขายสารสกัดจากเปลือกมังคุดให้กับ ประเทศบราซิลด้วย ถือว่ามีการประกอบธุรกิจจากงานวิจัยที่เป็น รูปธรรมมากขึ้นกว่าแต่ก่อน” ปูรากฐานสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม โครงการเพื่อสร้างสรรค์ พัฒนา และต่อยอดงานวิจัย ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ด�ำเนินการอยู่ในขณะนี้ ไม่ว่าจะเป็น โครงการ Innovation Hub – Agriculture and Food เพือ่ สร้าง เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมของประเทศตามนโยบายประเทศไทย 4.0 หรือที่นิยมเรียกกันสั้นๆว่า ‘โครงการ Inno Hub’ และ ‘โครงการ Thailand 4.0’ หรือ โครงการเกษตร อาหาร และเทคโนโลยี ชีวภาพเพื่อการขับเคลื่อน Thailand 4.0 ซึ่งทั้ง 2 โครงการ เป็นโครงการใหญ่ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐใน การด�ำเนินการวิจัยเพื่อส่งเสริมการผลิตนวัตกรรมป้อนสู่ตลาด เป็นการปูรากฐานเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมของ ประเทศไทย ซึ่งขณะนี้ทั้ง 2 โครงการอยู่ในช่วงด�ำเนินการและ รอการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ก่อนจะส่งไม้ตอ่ ให้ ‘ส�ำนักงานบริการวิชาการ’ มาเป็นตัวกลางในการเจรจาระหว่าง นักธุรกิจ ผูป้ ระกอบการ และนักวิจยั ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง เพือ่ บรรลุถงึ ข้อตกลงและสัญญา ซึง่ ในปัจจุบนั มีองค์กรธุรกิจราว 19 แห่งทีเ่ ข้าคิว รอเจรจาเพือ่ ทีจ่ ะต่อยอดผลงานวิจยั ต่างๆไปสูร่ ะดับการออกตลาด สู่สาธารณะ
สู่สายตาสังคม การแสดงผลงานวิจยั ในหลากหลายพืน้ ทีข่ องมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ทงั้ งาน ‘KU Research to Business Expo (R2B)’ และ ‘ตลาดนัดงานวิจยั ’ ล้วนจัดขึน้ เพือ่ เป็นช่องทางให้บรรดานักวิจยั ได้เผยแพร่ผลงานเด่นๆออกสูส่ ายตาสังคม ถือเป็นการเปิดโอกาส ให้เกิดการเจรจาเชิงพาณิชย์ระหว่างนักวิจยั กับผูป้ ระกอบการและ หน่วยงานต่างๆ เพื่อน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด ซึ่ง มีผลงานมากมายที่ได้รับความสนใจอันเนื่องมาจากการจัดงานใน ลักษณะดังกล่าว ตัวอย่างผลงานวิจัยที่ได้รับความสนใจจากภาคสังคม ก็คอื งานวิจยั 'Smart CCTV' ของ อ.ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา ซึง่ เป็นงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับระบบ AI หรือระบบปัญญาประดิษฐ์ ทีน่ ำ� มา ประยุกต์ใช้กับกล้องวงจรปิด โดยมีหน่วยงานจากภาครัฐอย่าง กระทรวงกลาโหม และ กระทรวงมหาดไทย ให้ความสนใจ โดยมี ความต้องการทีจ่ ะน�ำองค์ความรูด้ งั กล่าวไปพัฒนากล้องวงจรปิด ทีใ่ ช้งานอยูภ่ ายในประเทศเพือ่ ทีจ่ ะช่วยลดอัตราการเกิดอาชญากรรม ที่มีในสังคม ก้าวต่อไป งานวิจยั และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นอกจากจะเจาะตลาดในกลุ่มของผู้ประกอบการเชิงพาณิชย์แล้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะหันไปเพิม่ ความร่วมมือกับหน่วยงาน ภาครัฐมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ จะเพิม่ ความสนใจไปทีก่ ลุม่ วิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม หรือกลุ่ม SMEs โดยจะเจาะลึกลงไปทีก่ ลุม่ ของเกษตรกรรายย่อย ผู้ประกอบการรายย่อย และเหล่าบรรดา StartUp เพือ่ มุง่ เน้นการพัฒนาองค์ความรูใ้ นเรือ่ งของเกษตรกรรม และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงการพัฒนาแอปพลิเคชั่น เพื่อที่ กลุ่มเกษตรกรจะได้น�ำความรู้ที่ได้นั้น ไปใช้ในการท�ำการเกษตร จริงๆ ซึ่งระบบการท�ำงานในลักษณะนี้จะมีความเป็นขั้นเป็นตอน แบบทรงประสิทธิภาพมากขึน้ กว่าในอดีต ท�ำให้งา่ ยต่อการต่อยอด และพัฒนาให้เติบโตขึ้นไปในอนาคต สอดคล้องกับแนวทางแห่ง อนาคตในแง่ของความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ Stakeholder หรือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ซึ่งมีด้วยกัน ทั้งหมด 5 กลุ่ม นั่นก็คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน เกษตรกร บุคคล ทั่วไป และนิสิต
เมื่อวันที่ 25 พ.ค. 61 ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นประธานเปิดทางจักรยานของคณะประมง โดยมี รศ.ดร.เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์ คณบดีคณะประมง ร่วมกล่าวเปิดโครงการ ซึง่ เส้นทางจักรยานนีเ้ กิดขึน้ จากนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มุ่งส่งเสริมการใช้จักรยานใน การสัญจรภายในมหาวิทยาลัย มีการปรับปรุง ภูมิทัศน์และมีเส้นทางจักรยานรองรับการเป็น มหาวิทยาลัยสีเขียว ท�ำให้เกิดการลดมลพิษทาง อากาศ ลดการใช้พลังงานเชื้อเพลิง ตลอดจน รณรงค์และสร้างความตระหนักในการออกก�ำลังกาย เพือ่ สุขภาพอย่างยัง่ ยืนให้กบั นิสติ บุคลากร ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
COOPERATION
มก. จับมือ ดอยค�ำ ร่วมพัฒนาส่ง เสริมและสนับสนุนด้านการศึกษา เมือ่ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2561 ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ กับ พิพฒ ั พงศ์ อิศรเสนา ณ อยุธยา กรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ดอยค�ำ ผลิตภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี โดยสาระส�ำคัญในการลงนามครัง้ นี้ เพือ่ ร่วมมือ ด้ า นการจั ด การศึ ก ษา การใช้ ท รั พ ยากรทาง การศึกษาร่วมกัน ตลอดจนสร้างเครือข่ายและ สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนผลงาน มีการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนนักเรียน ห้องพิเศษ ‘Young Smart Farmer’ รวมทั้ง ความร่ วมมื อ ในการคั ด เลื อ กนั ก เรี ย นโควต้ า ทุนการศึกษา จ�ำนวน 11 ทุน เข้าศึกษาต่อในสาขา ต่างๆของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร PAGE 39
38
4.0 กุลนิษฐ์ จะยะสกูล
ภาณิศา หวังสุข
ถ่านกัมมันต์จากชานอ้อยเพื่อสิ่งแวดล้อม โดย ผศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มิรินจากข้าวไทย โดย ประมวล ทรายทอง และคณะ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
CHEW D แผ่นวุน้ ลดคอเลสเตอรอลและต้านอนุมลู อิสระพร้อมบริโภค โดย ประภัสสร รักถาวร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
การผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อยเพือ่ สิง่ แวดล้อม เป็นนวัตกรรมใหม่ เพือ่ ใช้ในการบ�ำบัดหรือก�ำจัดสารทีป่ นเปือ้ นอยูใ่ นน�ำ้ เสียโดยอาศัย การดูดซับ ซึง่ ถ่านกัมมันต์มคี วามสามารถในการดูดซับสูงเนือ่ งจากมี พืน้ ผิวมาก มีความจุในการดูดซับสูง สามารถดูดู ซับโลหะชนิดต่างๆได้ หากน�ำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมก็จะช่วยในการลดปริมาณโลหะหนัก และลดปริมาณน�ำ้ เสียก่อนทิง้ นอกจากนีถ้ า่ นกัมมันต์ยงั สามารถ ใช้ในการดูดสีและดูดกลิน่ ซึง่ งานวิจยั ชิน้ นีใ้ ช้วธิ ที างกายภาพโดยใช้ ไอน�ำ้ โดยมีตน้ ทุนในการผลิตอยูท่ รี่ าคาประมาณ 20 บาท/กิโลกรัม
ปัจจุบนั อาหารญีป่ น่ ุ ได้รบั ความนิยมเพิม่ มากขึน้ ท�ำให้มกี ารน�ำเข้าวัตถุดบิ และเครือ่ งปรุงรสจากต่างประเทศ คณะนักวิจยั จากสถาบันค้นคว้าและ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจึงได้วจิ ยั และพัฒนาการผลิต ‘มิรนิ ’ ซึง่ เป็น เครือ่ งปรุงรสส�ำคัญของชาวญีป่ น่ ุ โดยพัฒนาจากการใช้พนั ธุข์ า้ วเหนียว ในประเทศไทย ซึง่ เป็นสายพันธุข์ า้ วทีม่ ปี ริมาณ Amylopectin สูงและ สามารถปลูกได้ในทุกพืน้ ทีข่ องประเทศไทย โดยกระบวนการผลิตมี การใช้สายพันธุเ์ ชือ้ ราทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ นการผลิต Enzyme ย่อยแป้งได้สงู เจริญเติบโตได้ดี และไม่สร้างสปอร์ ท�ำให้มริ นิ ทีไ่ ด้มคี ณ ุ ภาพใกล้เคียงกับ ผลิตภัณฑ์มริ นิ ต้นต�ำรับ
CHEW D หรือ ชิว ดี คือแผ่นวุน้ ลดคอเลสเตอรอลและต้านอนุมลู อิสระพร้อมบริโภคจากผง ‘Super Healthy Powder’ ซึง่ ผลิตจาก ธรรมชาติ 100% เป็นนวัตกรรมทีเ่ กิดจากการเสริมฤทธิร์ ว่ มกันของ สารออกฤทธิท์ างชีวภาพจากเชือ้ จุลนิ ทรียท์ มี่ ปี ระโยชน์และจากพืช สมุนไพรไทย อุดมไปด้วยสาร Lovastatin และสาร Anthocyanin ที่มีคุณสมบัติลดคอเลสเตอรอลและต้านอนุมูลอิสระได้อย่าง มีประสิทธิภาพได้ในขณะเดียวกัน โดยปริมาณทีแ่ นะน�ำให้บริโภค ต่อวันคือ 1-2 แผ่น ด้วยปริมาณการบริโภคทีน่ อ้ ยจึงมีความสะดวก ส�ำหรับพกพาซึ่งสอดคล้องกับวิถีการด�ำเนินชีวิตของคนเมืองที่ เต็ ม ไปด้ ว ยความรี บ เร่ ง และเคร่ ง เครี ย ดจนส่ ง ผลกระทบต่ อ สุขภาพในที่สุด
Bionix Rice Enchanting Serum ผงสารสกัด Anthocyanin สูงจากซังข้าวโพดม่วง KPSC 903 โดย ดร.ศุมาพร เกษมส�ำราญ โดย ดร.อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร Bionix Rice Enchanting Serum เป็นผลิตภัณฑ์เครือ่ งส�ำอาง บ�ำรุงผิวรูปแบบ 2in1 ทีม่ สี ว่ นผสมของสารจากธรรมชาติและเม็ดบีด ทีใ่ ช้นวัตกรรมในการกักเก็บสารส�ำคัญไว้ภายใน ช่วยรักษาคุณภาพ และคุณสมบัติของสารสกัดให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น โดยใน ผลิตภัณฑ์ประกอบด้วยเม็ดบีด 2 ประเภท คือ เม็ดบีดสีขาวทีก่ กั เก็บ น�ำ้ มันร�ำข้าว และ เม็ดบีดสีเหลืองทองทีก่ กั เก็บ Hydrolyzed Protein จากร�ำข้าว ซึง่ มีคณ ุ สมบัตกิ ระตุน้ คอลลาเจน ลดเรือ้ นริว้ รอย และ เพิม่ ความชุม่ ชืน้ ให้แก่ผวิ หน้า ผลิตภัณฑ์เหมาะกับทุกสภาพผิวแม้แต่ ผิวแพ้งา่ ย เนือ่ งจากใช้สารจากธรรมชาติถงึ 90 % และไม่มสี ว่ นผสม ของน�ำ้ หอม
สารสกัดจากซังข้าวโพดม่วงพันธุ์ KPSC 903 มีสาร Anthocyanin ในปริ ม าณที่ สู ง มี ฤ ทธิ์ ต ้ า นอนุ มู ล อิ ส ระได้ ดี และไม่ มี พิ ษ ต่ อ เซลล์ผิวหนัง จึงได้ท�ำการวิจัยต่อยอดใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต เครื่องส�ำอางเพื่อสุขภาพผิว ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้จากงานวิจัยนี้ ประกอบด้วย ‘ผงสารสกัด Anthocyanin สูงจากซังข้าวโพดม่วง KPSC 903’ มีคณ ุ สมบัตติ า้ นอนุมลู อิสระ ช่วยป้องกันการเกิดริว้ รอย ก่อนวัยจากสารอนุมูลอิสระและช่วยท�ำให้ผิวหน้ากระจ่างใส ดู สุขภาพดี พร้อมทัง้ ช่วยลดการอักเสบของผิวหนัง และ ‘ผลิตภัณฑ์ เซรัม่ บ�ำรุงผิวหน้า Purple Corn Serum’ ช่วยบ�ำรุงผิวและลดเลือน ริว้ รอยบนใบหน้า
Smart CCTV System โดย อ.ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา ภาควิชาไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ Smart CCTV System หรือ ระบบปัญญาประดิษฐ์ของกล้องวงจรปิด เป็นระบบทีจ่ ะพัฒนาขึน้ โดยน�ำหลักการของ Deep Learning มา ประยุกต์ใช้ในการประมวลผลภาพ ซึง่ ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก คือ ระบบวิเคราะห์ภาพ ทีส่ ามารถแยกแยะวัตถุตา่ งๆออกจากภาพทีเ่ ห็น และแยกประเภทของวัตถุทเี่ ห็น โดยสามารถน�ำมาวิเคราะห์และจัดเก็บ รูปพรรณสัณฐานของวัตถุนนั้ ได้, ระบบการจัดเก็บ ทีส่ ามารถลงบันทึก เวลา บักทึกรูป บันทึกรูปรูปพรรณสัณฐานของวัตถุตา่ งๆในรูปแบบ ฐานข้อมูลได้, ระบบค้นหา ทีส่ ามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ และ ระบบแจ้งเตือน ทีส่ ามารถตัง้ เงือ่ นไขทีเ่ กิดขึน้ ได้ เช่น ห้ามจักรยานยนต์ วิง่ บนทางเท้า ห้ามจอดรถในทีห่ า้ มจอด
PAGE 37
Some
OTHER STORIES เรื่องราวรอบรั้วนนทรี
On - shelf Innovations ! งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง! ผลงานวิจัยจากนักวิจัยมือฉมังของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีด้วยกันมากมาย คอลัมน์ KU 4.0 ในฉบับนี้ ขอเลือกสรรผลงานวิจยั และนวัตกรรมทีไ่ ด้รบั ความสนใจจากภาคเอกชนใน การน�ำเอาไปต่อยอด ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆเพือ่ เพิม่ ทางเลือกให้แก่ผบู้ ริโภค เน้นย�ำ้ ความตัง้ ใจ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่ตั้งใจผลิต ‘งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง’ ออกสู่สาธารณะขอบคุณ ข้อมูลดีๆจาก ผศ.ดร.กัมปนาท เพ็ญสุภา รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริการวิชาการ
มก. และ ธ.ไทยพาณิชย์ ร่วมรับรางวัล ยอดเยี่ยมส�ำหรับบริการบริหารเงินสด โมเดลสถาบันการศึกษาต้นแบบสูส่ งั คมไร้เงินสด จุดประกายคนรุ่นใหม่ ขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ เศรษฐกิจยุคดิจิทัลไร้เงินสด ที่ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ร่วมมือกับ ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้รบั รางวัลยอดเยีย่ มส�ำหรับบริการ บริหารเงินสด (Best Cash Management Solution) ประจ�ำปี 2018 จาก The Asset นิตยสาร การเงินทีม่ ชี อื่ เสียงระดับสากล เมือ่ วันที่ 30 เมษายน ที่ผ่านมา ณ ห้อง Grand Ballroom โรงแรม Four Seasons เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ซึง่ ถือว่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นสถาบันการศึกษา แห่งแรกที่ได้รับรางวัลนี้
ทีมวิจยั คณะสถาปัตย์ฯ มก. รับรางวัล Silver Medal Award ณ นครเจนีวา
ชิปไม้รมควันที่ผลิตจากไม้ไทย โดย ดร.กนิฐพร วังใน ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร ชิปไม้รมควัน ใช้สำ� หรับเครือ่ งรมควันแบบมือถือเพือ่ รมควันอาหาร ให้มกี ลิน่ เฉพาะ โดยชิปไม้รมควันทีผ่ ลิตจากไม้ไทยนัน้ มีราคาถูกกว่า ชิปไม้นำ� เข้าถึง 5 เท่า ซึง่ ชิปไม้รมควันทีผ่ ลิตจากไม้ไทยมีทงั้ หมด 4 ชนิด ได้แก่ ‘ไม้สะเดา (Neem)’ ให้กลิน่ แบบ Sweet & Fruity เหมาะกับ การรมควันผักสลัด เครือ่ งดืม่ หรือเนยแข็ง, ‘ไม้ขเี้ หล็ก (Copper Pod)’ ให้กลิ่นที่ดีเหมาะกับการรมควั น อาหารทั่ วไป, ‘ไม้ ยู คาลิ ปตั ส (Eucalyptus)’ ให้กลิน่ แบบ Classic BBQ เหมาะกับรมควันอาหาร ประเภทเนือ้ สัตว์และอาหารประเภทบาร์บคี วิ และ ‘ไม้กระถินณรงค์ (Earleaf Acacia)’ ให้กลิน่ แบบ Strong & Earthy เหมาะกับรมควัน อาหารประเภทเนือ้ สัตว์
Cassava Chips Mixed with Fruits/Vegetables โดย ผศ.ดร.ศศิธร ตรงจิตภักดี ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร และ พิศมัย ศรีชาเยช สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร Cassava Chips Mixed with Fruits/Vegetables หรือ มันส�ำปะหลัง แผ่นอบกรอบผสมผักผลไม้ เป็นผลิตภัณฑ์ขนมขบเคีย้ วอบกรอบ ที่ไม่ผ่านกระบวนการทอด ปราศจากโปรตีนกลูเตนของแป้งสาลี (Gluten-Free) ไม่มกี ารเติมสีและวัตถุกนั เสีย ผลิตจากมันส�ำปะหลัง (พันธุ์ 5 นาที) ผสมผักหรือผลไม้ ซึง่ มีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ อย่างเช่นมันส�ำปะหลังแผ่นอบกรอบผสมผักโขมและชีส มันส�ำปะหลัง แผ่นอบกรอบผสมพริกและกระเทียม มันส�ำปะหลังแผ่นอบกรอบผสม ทุเรียน และมันส�ำปะหลังแผ่นอบกรอบผสมกล้วยและช็อคโกแลต
เมือ่ วันที่ 11-15 เมษายน 2561 ดร.โสภา วิศษิ ฏ์ศกั ดิ์ หัวหน้าทีมวิจยั พร้อมด้วย ณัฏรี ศรีดารานนท์ นิสิตปริญญาเอก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รับรางวัล Silver Medal Award ในชือ่ ผลงาน ‘โดมแสงนวลระบายอากาศ ประหยัดพลังงาน Indirect Light Sky Dome with Natural Ventilation’ ในสาขา Building/ Architecture/Civil Engineering/Construction/ Materails/Woodwork จากการประกวดผลงาน วิจัย สิง่ ประดิษฐ์ และนวัตกรรมระดับนานาชาติ ‘46th International Exhibition of Inventions Geneva’ ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ซึ่ง โดมแสงนวลระบายอากาศประหยัดพลังงาน เป็น อุปกรณ์ประหยัดพลังงานทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และส่งเสริมสุขภาวะทีด่ ภี ายในอาคาร ใช้สำ� หรับติด ตัง้ บนหลังคาอาคารเพือ่ รับแสงธรรมชาติแบบทางอ้อม และมีระบบระบายอากาศแบบธรรมชาติ
40
The INFOGRAPHIC นครินทร์ พันธุมจินดา
กุลนิษฐ์ จะยะสกูล และ มหวรรณ พันธุมจินดา
จากการที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันการศึกษาชั้นน�ำของประเทศไทย และ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารพาณิชย์ระดับแนวหน้าของประเทศ ได้เห็นความส�ำคัญของการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการเงินเพื่อ ตอบสนองรูปแบบการใช้ชวี ติ และเพือ่ สนับสนุนแนวคิด ‘ประเทศไทยไร้เงินสด’ ซึง่ เป็นเทรนด์เศรษฐกิจยุคดิจทิ ลั KU BULLETIN จึงขอรวบรวมเหตุการณ์ส�ำคัญของเส้นทางแห่งอนาคตที่ทั้ง 2 องค์กรส�ำคัญของประเทศไทย ตั้งใจร่วมสร้างกันขึ้นมา ถือเป็นการประเดิมคอลัมน์ The INFOGRAPHIC ซึ่งเป็นคอลัมน์ใหม่ที่จะมาน�ำเสนอ เรื่องราวซับซ้อนให้เข้าใจง่ายขึ้นในไม่กี่หน้ากระดาษ!
4.0 CASHLESS SOCIETY @ KU KEY MILESTONE SEP60
JAN61 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) ส่งมอบ EV Car หรือ Smart Electronic Shuttle Bus รถโดยสารประจำ� มหาวิทยาลัยให้กบั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จำ�นวน 6 คัน เพือ่ เพิม่ ปริมาณให้เพียงพอต่อความต้องการของ มหาวิทยาลัย ซึง่ เป็นรถโดยสารระบบไฟฟ้าทีต่ อบโจทย์ใน ด้านการประหยัดพลังงาน ลดมลภาวะทางอากาศและเสียง ตลอดจนสร้างสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูใ้ นทุกมิติ
เข้าร่วมกิจกรรมเยีย่ มชมคณะวิชา (KU Open House) และนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครัง้ ที่ 22 ประชาสัมพันธ์โครงการ KU 4.0: Cashless Society @ KU
KASETFAIR 2018 มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ร่วมกับธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) แถลงข่าวพิธี ลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือกับเดินหน้าสร้างสังคม ไร้เงินสด Cashless Society @ KU
DEC60 x โครงการ KU 4.0: Cashless Society @ KU ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน)
งานสัมมนา KU 4.0 Smart U Smart Life ประชาสัมพันธ์โครงการ KU 4.0: Cashless Society @ KU ซึ่งเป็น โครงการที่สร้างสรรค์นวัตกรรมการ เงินดิจิทัล เพื่อสร้างระบบนิเวศใหม่ใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จดุ ประกาย คนรุน่ ใหม่ให้เข้าถึง Cashless Society และขับเคลือ่ นประเทศไทยเข้าสูเ่ ศรษฐกิจ ยุคดิจทิ ลั ไร้เงินสด
กิจกรรมนำ�ร่องการใช้จา่ ยแบบไร้เงินสดใน ‘งานวันเกษตร แห่งชาติ ประจำ�ปี 2561’ เพือ่ ก้าวเข้าสูส่ งั คมไร้เงินสดแบบ ฉบับ KU 4.0 อย่างสมบูรณ์แบบ โดยผู้เข้าร่วมชม งานสามารถจับจ่ายซือ้ สินค้าจากร้านค้าภายในงานผ่าน การสแกน QR Code ด้วยแอปพลิเคชันของธนาคาร นอกจากนีย้ งั มีโปรโมชัน่ สำ�หรับผูใ้ ช้ SCB Easy App ได้ รับเงินคืน 60 บาทเมือ่ ใช้จา่ ยครบ 300 บาท รวมถึงมีการ แจกรางวัลเพื่อส่งเสริมให้ผู้เยี่ยมชมงานใช้จ่ายแบบ ไร้เงินสดมากยิง่ ขึน้
MAR61 ประชาสัมพันธ์ KU APP ซึง่ เป็นแอปพลิเคชันทีถ่ กู ออกแบบมาให้ตอบโจทย์ ชีวิตรุ่นใหม่ของนิสิตและบุคลากรของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในทุกที่ ทุก เวลา ด้วยฟังก์ชน่ั ทีห่ ลากหลาย ทัง้ ตรวจ สอบตารางเรียน-ปฏิทนิ การใช้จา่ ยกับ ร้านค้าภายในมหาวิทยาลัยโดยไม่ต้อง ใช้เงินสด ใช้แทนเครื่องยืนยันตัวตน ตลอดจนให้ บ ริ ก ารแผนที่ภ ายในรั้ว มหาวิทยาลัย
เริ่ ม ใช้ ง าน KU APP กั น คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร์ เ ป็ น คณะแรก เริ่ ม การทำ�บั ต รใหม่ Smart I D C a r d ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
FEB61
APR61 Smart Locker และ Smart Car Parking สำ�หรับนิสิตและ บุคลากร ในวิทยาเขตบางเขน เริ่ ม การทำ�บั ต รใหม่ Smart ID Card สำ�หรั บ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์วิทยาเขตกำ�แพงแสน, สุพรรณบุรี และสกลนคร อัพเดตเวอร์ชั่นของ KU APP ให้มีความสมบูรณ์ในการใช้งานยิ่งขึ้น
MAY61 เริ่ ม ให้ KU APP สามารถ ดาวน์ โ หลดผ่ า น App Store สำ�หรั บ มื อ ถื อ ระบบ iOS และ Play Store สำ�หรับมือถือระบบ Android เริ่ ม การทำ�บั ต รใหม่ Smart ID Card ในมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ผู้บริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ฯ รั บ รางวั ล ยอด เยี่ยมสำ�หรับบริการบริหารเงินสด (Best Cash Management Solution) ปี 2018 จาก The Asset นิตยสารการเงินที่มีชื่อ เสี ย งระดั บ สากลจากการร่ ว มกั น พั ฒ นา ระบบการดำ�เนินธุรกรรมทางการเงินแบบ อิเล็กทรอนิกส์ที่ครบวงจร
JUN61
AUG61
มีแผนในการขยายฟังก์ชั่นการ ใช้งาน Smart ID Card สำ�หรับ นิ สิ ต และบุ ค ลากร ในวิ ท ยา เขตอื่ น ๆได้ แ ก่ กำ�แพงแสน สุ พ รรณบุ รี สกลนคร และ ศรีราชา
มี แ ผ น เ ริ่ ม ใ ช้ ง า น S m a r t HR Payday ซึ่ ง เป็ น ระบบที่ รวบรวมข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ในการบริ ห ารจั ด การบุ ค ลากร ในมหาวิทยาลัย
...
42
The NISIT นันท์นภัส พลเศรษฐเลิศ
อบ.ก. บางเขน
อบ.ก. กับภารกิจ ‘รัก’ น้องใหม่ การเปลีย่ นสถานะจากนักเรียนไปเป็น นิสติ นักศึกษาในสถาบันใดสถาบันหนึง่ ย่อมต้อง มีการปรับตัวและผ่านกระบวนการหล่อหลอม ขัดเกลา จนพวกเขาเหล่านั้นกลายเป็นส่วนหนึ่ง ของสถาบันนั้นอย่างเต็มตัว เกษตรศาสตร์ก็ เช่นกัน เรามี ‘กิจกรรม’ หรืออาจเรียกได้ว่าเป็น ‘ประเพณี’ ที่ช่วยให้นิสิตได้ท�ำความรู้จักสถาบัน และเพื่อนร่วมสถาบัน รวมถึงได้สร้างความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันให้เกิดขึ้น เราเรียกกิจกรรม หรือประเพณีนั้นสั้นๆสืบต่อกันมาว่า ‘รับน้อง’ ในทุกๆปี นิสิตชั้นปีที่ 1 จะเข้าร่วม กิจกรรมต้อนรับน้องใหม่ โดยมีองค์การบริหาร องค์การนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือ อบ.ก. เป็นหัวเรือใหญ่ในการจัดงาน กิจกรรม ต้อนรับน้องใหม่ของมหาวิทยาลัยทีจ่ ดั ขึน้ โดยนิสติ กลุ ่ ม นี้ แบ่งออกเป็น 2 กิจกรรมใหญ่ๆ ได้แก่ กิจกรรม ‘สู่อ้อมกอดนนทรี’ และ กิจกรรม ‘Freshy Day Freshy Night’ ซึ่งมีรูปแบบ กิจกรรมทีแ่ ตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยมีโจทย์หลัก คือให้น้องๆปี 1 ได้รู้จักมหาวิทยาลัยในแง่มุม ต่างๆ รวมทัง้ ได้รจู้ กั เพือ่ นและรุน่ พีต่ า่ งคณะเพิม่ มากขึ้น ณปภั ช เสโนฤทธิ์ ในฐานะนายก องค์การบริหาร องค์การนิสิต มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน อธิบายการเตรียมงาน ต้อนรับน้องใหม่ทกี่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ให้ KU BULLETIN ฟังว่า กระบวนการต่างๆเริม่ ขึน้ เมือ่ เดือนเมษายน ที่ผ่านมา โดยเริ่มจากการประชุมผู้น�ำนิสิตทั้ง 4 วิทยาเขต เพื่อวางแนวทางการจัดกิจกรรมรับ น้องประชุมเชียร์ ให้เ ป็นไปในทิ ศทางเดี ย วกั น รวมถึงก�ำหนดวันเวลาในการจัดกิจกรรมให้ชดั เจน ซึ่ ง องค์ ก ารบริ ห าร องค์ ก ารนิ สิ ต ของแต่ ล ะ วิทยาเขตมีอิสระในการเสนอความคิดเห็นและ ออกแบบงานรับน้องอย่างสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้น ภายในวิทยาเขตที่รับผิดชอบ หน้าทีแ่ ละความท้าทายของการบริหาร องค์การนิสติ ไม่ใช่แค่การระดมความคิดและประสาน งานกับคณะผู้บริหารของมหาวิทยาลัย แต่รวม ถึงวางแผนเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการรับน้อง ประชุมเชียร์ในแต่ละปีให้มคี วามสนุกสนาน สร้าง ความเข้าใจอันดีระหว่างรุ่นพี่-รุ่นน้อง และเพื่อ สร้างภาพจ�ำที่ดีให้การรับน้องของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป นายก อบ.ก. เล่าแผนคร่าวๆให้เราฟังว่า ปี นี้ กิ จ กรรม ‘สู ่ อ ้ อ มกอดนนทรี ’ จะจั ด ขึ้ น ใน วันที่ 1-2 สิงหาคม ซึง่ เป็นวันเดียวกันกับกิจกรรม ‘ก้าวแรกสูศ่ าสตร์แห่งแผ่นดิน’ (หรือชือ่ เดิมคือ ‘ก้าวแรกสูบ่ ณ ั ฑิตยุคใหม่’) ซึง่ ‘สูอ่ อ้ มกอดนนทรี’
KUSAB THE FIRST IMPRESSION MISSION จะถูกจัดขึ้นภายใต้แนวคิด IDKU โดยมอบหมายให้สโมสรนิสิต แต่ละคณะออกแบบกิจกรรมประจ�ำฐานให้สอดคล้องกับความหมาย ของอัตลักษณ์มหาวิทยาลัย ซึง่ ได้แก่ I หรือ Integrity หมายถึง ความส�ำนึกดี, D หรือ Determination หมายถึงความมุ่งมั่น, K หรือ Knowledge Creation หมายถึงความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ และ U หรือ Unity หมายถึง ความสามัคคี ขณะที่กิจกรรม ‘Freshy Day Freshy Night’ จะจัดขึ้นพร้อมกับ ‘วันพัฒนา มหาวิทยาลัย’ โดยในช่วงเช้าจะเป็นการท�ำกิจกรรมจิตอาสาเพือ่ ช่วย ให้มหาวิทยาลัยของพวกเราสะอาดและน่าอยู่ ส่วนในช่วงเย็นน้องๆ Freshy จะได้สนุกสนานกับการแสดงหลากหลายทั้งจากชมรม นิสิตและจากศิลปินมืออาชีพ เรียกได้ว่าเป็นงานขนาดใหญ่ทตี่ อ้ ง อาศัยความร่วมมือร่วมใจจากหลากหลายภาคส่วนของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในการเนรมิต ‘ความประทับใจ’ ให้เหล่าน้องใหม่ สายเลือดนนทรี กิจกรรมทีบ่ รรดาน้องปี 1 ได้สมั ผัสเพียง 1 หรือ 2 วันนัน้ ล้วนผ่านกระบวนการคิดและวางแผนมาเป็นระยะเวลาหลายเดือน โดยมีองค์การนิสติ ทีป่ ระกอบไปด้วยสมาชิกจากหลากหลายคณะ ร่วมระดมความคิดเห็นในการปรับประยุกต์กจิ กรรมรับน้องให้เท่าทัน กับยุคสมัยโดยยึดหลักการของการรับน้องอย่างสร้างสรรค์ตาม แนวคิดทีป่ รารถนาให้นอ้ งๆได้อยูร่ ว่ มกัน สร้างสรรค์สงิ่ ต่างๆร่วมกัน ไม่สร้างความรุนแรง ไม่ท�ำร้าย ไม่ข่มขู่ จนท�ำให้น้องรู้สึกว่าไม่ ปลอดภัยในบ้านหลังใหม่ที่พวกเขามีสถานะเป็นหนึ่งในสมาชิก ในขณะเดียวกันน้องๆทุกคนก็จะได้เพื่อนใหม่ต่างคณะ ต่างชั้นปี ได้รู้จักมหาวิทยาลัยและมีความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ สถาบันสีเขียวแห่งนี้ นอกจากเรื่องการท�ำงานที่องค์การบริหาร องค์การ นิสติ จะต้องเป็นทัง้ ผูน้ ำ� นิสติ และเป็นผูต้ ามทีด่ ี เราได้เห็นความตัง้ ใจและ เต็มใจในการสละเวลาของสมาชิกแต่ละคนเพือ่ งานของมหาวิทยาลัย และเพือ่ ผลประโยชน์ของนิสติ โดยเฉพาะในกิจกรรมรับน้อง ซึง่ เป็น กิจกรรมแรกๆที่ อบ.ก. คณะใหม่จะได้แสดงศักยภาพ เราจึงไม่ได้ เห็นแค่ขนั้ ตอนการท�ำงาน แต่ยงั เห็นถึงคุณค่าของงานจากประโยค สั้นๆของ นายกองค์การบริหาร องค์การนิสิต ในฐานะตัวแทนคน ท�ำงานทั้งหมดที่ว่า “คนภายนอกมองว่าเด็กเกษตรมีความอดทน กล้าหาญ นั่นไม่ใช่แค่สิ่งที่เขามอง แต่เราเป็นอย่างนั้นและเป็นอย่างนั้นผ่าน กระบวนการรับน้อง”
44
The CAFETERIA มาร์ก สะกดด้วยกอไก่
มหวรรณ พันธุมจินดา และ นครินทร์ พันธุมจินดา
WHAT
Japanese Restaurant / Sushi and Sashimi WHERE ชัน้ 1 อาคารจอดรถงามวงศ์วาน 1 WHEN ทุกวัน 10.00 - 20.00 น., PRICE ฿ / ฿฿
SALMON KING สรวงสวรรค์ของสาวกปลาเนื้อส้มในรั้วบางเขน!
สารภาพจากใจเลยว่า ‘Salmon King’ ร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น ขนาดเล็ ก ๆ ที่ จุ ค นได้ เ พี ย ง 20 กว่าที่ ท�ำให้ The CAFETERIA ของเรา ‘ทึง่ ’ จนอยากหวนกลับไปลิ้มชิมรสอีกหลายๆรอบ ความพิเศษของร้านนี้ไม่ใช่แค่ความสดใหม่ของ วั ต ถุ ดิบ ที่ เ น้ น ใช้ แ ต่ ‘ของสด’ แต่ ยั ง รวมถึ ง ความใส่ใจที่ประหนึ่งท�ำเสิร์ฟคนในครอบครัว หลากหลายเมนูถกู พัฒนาขึน้ จากความหลงใหล ในอาหารญีป่ นุ่ ของเจ้าของร้าน ผ่านการถ่ายทอด รสชาติจากฝีมอื ฉมังของเชฟทีพ ่ ถิ พ ี ถิ นั ในทุกๆจาน แม้แต่ซอสและโชยุกล็ ว้ นปรุงใหม่เพือ่ ท�ำให้รสชาติ ที่ก�ำลังจะเดินทางเข้าปากสมบูรณ์แบบที่สุด เมนูทอี่ ยากแนะน�ำให้ ‘หลงรัก’ ร้านนี้ เหมือนกับเราคือ แซลมอนคิง ซาชิมิ (450฿) ปลาดิบหลากชนิดแสนสดทีเ่ สิรฟ ์ มาแบบล้นๆในชาม ที่ประดับประดาสวยงาม ทุกชิ้นคือความดีงาม เพราะทัง้ ฉ�ำ่ สด และไม่คาว พระเอกทีเ่ ราขอพูดถึง เป็นพิเศษคือ ‘ปลาซาบะดอง’ เมนูซาชิมทิ ี่หลาย คนปฏิเสธเพราะความยากในการจัดการกับความคาว แต่ไม่ใช่กบั ทีน่ ี่ ปลาซาบะดองของ Salmon King คือความลงตัวของรสชาติทตี่ ดั รสกันอย่างพอดี กลิน่ หอมอ่อนๆของเลมอน ผสานรสชาติเค็มปลาย เป็นเมนูธรรมดาทีแ่ สนพิเศษจากความตัง้ ใจท�ำเอง ทุกขัน้ ตอน ต่อมาทีเ่ มนู แซลมอนคิง โรลอโวคาโด (40฿/ค�ำ) เมนูในหมวด ‘ซูชิรายค�ำ’ ซึ่งเป็นอีก หนึ่งจุดเด่นของร้านในเรื่องราคาที่ถูกใจเงินใน กระเป๋า เพราะเริม่ ต้นแค่เพียงค�ำละ 12 บาทเท่านัน้ ! ความโดดเด่นของ แซลมอนคิง โรลอโวคาโด คือ การผสานหลากหลายรสสัมผัสใน 1 ค�ำ อโวคาโด นุ่มละมุนรสมัน เนื้อแซลมอนเด้งดึ๋ง ข้าวญี่ปุ่น เนื้อหนึบ และซอสสูตรพิเศษหวานมันเค็ม เมื่อ ทัง้ หมดรวมตัวกันอยูใ่ นปากคือการปะทุแห่งรสชาติ ความสุ ข ไปต่ อ กั บ เมนู ข ายดี แซลมอนโรล ซอสสไปซี่ (120฿) เมนูที่เพิ่มรสจัดจ้านให้ต่อม รับรสมีชวี ติ ชีวามากยิง่ ขึน้ ตัวซอสท�ำเองแต่งแต้ม ให้ เ มนู แ ซลมอนไม่ ซ�้ ำ ซาก เรี ย กได้ ว ่ า เผลอ แป๊บเดียวถึงกับหมดจานได้ง่ายๆ และสุดท้าย กับ แซลมอนคิงเทมปุระสลัด ไซส์ M (100฿) เมนูสลัดในสไตล์ญี่ปุ่นเสิร์ฟมาพร้อมเทมปุระ แซลมอนชิ้นหนา เมนูสลัดของ Salmon King สามารถเลือกจับคูก่ บั น�ำ้ สลัดท�ำเองจากน�ำ้ สลัด 3 สูตร 3 สไตล์ ได้แก่ น�้ำสลัดโชยุ น�้ำสลัดครีม และน�้ำสลัดงาญี่ปุ่น
signature dish
Salmon King Sashimi *
หมายเหตุ ร้ า น Salmon King สนั บ สนุ น นโยบายมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ในการสนับสนุนให้ นิสิตใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ด้วย การรับนิสิตเข้าเป็นพนักงานพิเศษ ต้องยกนิ้วให้เลย
best seller dish
Salmon Roll w/ Spicy Sauce
サ | モ ン ・ キ ン グ
ขุมทรัพย์ความอร่อยในรั้วเกษตรนั้นมีให้เฟ้นหาได้อย่างไม่รู้จบ The CAFETERIA ฉบับนี้จะพาคุณผู้อ่านทุกท่านไปแหวกว่าย ในสายน�ำ้ ตามล่าปลาเนือ้ ส้ม! และดืม่ ด�ำ่ กับมินคิ าเฟ่ทมี่ ชี อื่ เหมือน ผลส้ม! แต่ละร้านจะยั่วน�้ำลายขนาดไหน ต้องไปชิม!
best seller dish
Orangery Juice
signature dish
Kai Khan
WHAT Mini Cafe WHERE ชัน้ 1 อาคารจอดรถงามวงศ์วาน 1 WHEN จ-ศ 7.00 - 19.00 น., ส-อา 08.00 – 18.00 น. PRICE ฿
RANGERY CAFE มินิคาเฟ่ชื่อส้มๆ ที่ไม่ได้มีดีแค่น�้ำส้ม!
ร้านคาเฟ่เล็กๆทีซ่ อ่ นตัวอยูใ่ นอาคารจอดรถงามวงศ์วาน 1 Orangery Cafe เสิรฟ์ สารพัดเมนูทงั้ อาหารเช้า ของว่าง อาหารจานหลัก และหลากหลายเมนูเครือ่ งดืม่ ความโดดเด่นของร้านนีค้ อื การผสมผสาน รสชาติอาหารทัง้ ไทยและเทศให้ออกมาได้อย่างมีเอกลักษณ์ เริม่ ต้น เบาๆด้วยเมนูขายดีอย่าง Fries Cheese (49฿) มันฝรัง่ แท่งทอดกรอบ ราดซอสชีสเข้มข้นหอมมัน ยิง่ กินก็ยงิ่ มันจนยากทีจ่ ะหยุด! มาต่อ กันทีเ่ มนูอมิ่ ก�ำลังดีกบั Kai Khan หรือ ไก่ขนั (79฿) เมนูชอื่ น่ารัก ทีเ่ สิรฟ ์ สเต็กไก่มาในขันสีสม้ ตัวไก่ถกู หมักมาอย่างจัดจ้าน ขับรส สมุนไพรหลากหลายชนิดในค�ำเดียว เมือ่ กินแกล้มกับมันฝรัง่ ทอด หอมๆและสลัดผักทีเ่ สิรฟ ์ เคียงกันมา ยิง่ ช่วยท�ำให้จานนีม้ มี ติ ทิ าง รสชาติทหี่ ลากหลายมากยิง่ ขึน้ เอาใจคนชอบกินเส้นกันบ้างกับเมนู
Spaghetti Bolognese (50฿) ที่แตกต่างจากร้านอื่นๆด้วย การใช้สปาเก็ตตีเ้ ส้นเล็กเหนียวนุม่ ซึง่ ท�ำให้ตวั ซอสสามารถแทรก เข้าไประหว่างตัวเส้นได้อย่างออกรส ตัวซอส Bolognese ท�ำออกมา ได้นวลลิน้ คนชอบมะเขือเทศคงฟินไปตามๆกัน ซึง่ นอกจากซอสตัวนี้ แล้ว ทางร้านเสิรฟ ์ ยังเมนูสปาเก็ตตีก้ บั ซอสอีก 2 แบบ คือ Spaghetti Carbonara (85฿) และ Spaghetti Spicy (80฿) ให้เลือกชิม ปิด ท้ายเมนูของคาวด้วย Pizza Pang เมนูมหาชนทีค่ นุ้ ลิน้ คนไทย แต่ ความพิเศษของ Pizza Pang คือการน�ำอาหารอย่าง ‘พะแนง’ และ ‘สะเต๊ะ’ มาเป็นทางเลือกให้ลองลิม้ ชิมรสพิซซ่าแบบผสมผสาน ซึง่ เมนู Pizza Pang นี้ เริม่ ต้นทีร่ าคา 69 บาท มีแป้งให้เลือก 2 แบบทัง้ บาง กรอบและหนานุม่ มีขนาดให้เลือก 3 ไซส์ คือ S M และ L และมีทอ็ ปปิง้
best seller dish
Fries Cheese Spaghetti Bolognese
ให้เลือกถึง 8 หน้า โดยทาง The CAFETERIA ของเราขอเลือกเป็น Pizza Pang Spinach M (99฿) พิซซ่าแป้งบางกรอบโรยหน้าด้วย ผักโขมเต็มๆค�ำ อัดแน่นด้วยชีสชัน้ หนาหอมกรุน่ เมือ่ กัดลงไปก็ทำ� ให้ เราค้นพบว่า “พิซซ่าทีเ่ ราตามหาอยูท่ นี่ นี่ เี่ อง!” ก่อนกลับเราขอล้างปากด้วยเมนู Signature Drink ของ Orangery Cafe อย่าง Orangery Juice (40฿) น�ำ้ ผักผลไม้คนั้ สด แยกกากปราศจากการปรุงแต่งเพิม่ เติม คัน้ สดๆมาเสิรฟ ์ แบบแก้วต่อ แก้ว! เมนูเครือ่ งดืม่ แก้วนีเ้ ป็นการผสมผสานรสชาติของ 3 ส่วนผสมที่ ลงตัว ทัง้ ส้มซันคิสต์ แอปเปิล้ และแคร์รอต ให้ความรูส้ กึ สดชืน่ ทันที หลังดืม่ รสชาติละมุน หวานนิด เปรีย้ วหน่อย เป็นทางเลือกในการปิด มือ้ อาหารทีด่ ี ขอแนะน�ำ!
Pizza Pang Spinach M
46
First IN กุลนิษฐ์ จะยะสกูล
หอจดหมายเหตุ มก.
หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
MAIN AUDITORIUM OF สืบเนือ่ งจากการที่ หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รบั รางวัลอนุรกั ษ์ศลิ ปะ สถาปัตยกรรม ประจ�ำปี 2561 ของสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ คอลัมน์ First IN KU ฉบับนี้ ขอพาผู้อ่านทุกท่านย้อนไปสู่จุดเริ่มต้นของอาคาร หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาคารที่เป็นเสมือนอีกหนึ่งสัญลักษณ์ของ รั้วนนทรีแห่งนี้
หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถูกออกแบบโดย ศิรชิ ยั นฤมิตรเรขการ เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบ ไทยประเพณีประยุกต์ผสมผสานลักษณะของ สถาปัตยกรรมตะวั น ตกแนว Neo-Classic อาคารมีลกั ษณะสมมาตร มีความเรียบง่าย ตรงไป ตรงมา เน้นประโยชน์ใช้สอย ลดการประดับประดา หรือตกแต่งด้วยองค์ประกอบที่มีความหมายใน เชิงสัญลักษณ์ ได้รับการวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2497 โดยจอมพล ป. พิบลู สงคราม สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2500 หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แรกเริม่ ใช้เป็นสถานทีร่ บั พระราชทานปริญญาบัตร ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2500 – 2519 ก่อนจะปรับเปลีย่ นสถานะ ไม่ได้ใช้เป็นสถานทีร่ บั พระราชทานปริญญาบัตร เนื่องจากมีความจุไม่เพียงพอต่อจ�ำนวนนิสิตที่ เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ต่อมาได้บรู ณะ อาคารให้ เ ป็ น ที่ ร องรั บ กิ จ กรรมและพิ ธี ก าร
ในกิจการของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย ห้อง ประชุมใหญ่ 500 ทีน่ งั่ ห้องพิธกี ารและจัดเลีย้ ง ห้ อ งประชุ ม ระดั บ บริ ห าร ห้ อ งรั บ รองเสด็ จ ฯ และที่ ป ระทั บ พระบรมวงศานุ ว งศ์ มี ส ่ ว นจั ด แสดงนิ ท รรศการ ทั้ ง นิ ท รรศการถาวรและ นิทรรศการหมุนเวียนในกิจการเผยแพร่ผลงาน ของมหาวิทยาลัย รวมทัง้ สิง่ อ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ และยังใช้เป็นทีจ่ ดั กิจกรรมนันทนาการและ สันทนาการในวันส�ำคัญต่างๆ ทั้งในส่วนอาคาร และพื้นที่โดยรอบ หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นับเป็นอาคารตัวอย่างของการอนุรักษ์ยุคหลัง การเปลีย่ นแปลงการปกครองในประเทศไทยทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับการรักษาคุณค่าทางศิลปกรรม คุณค่าทางสถาปัตยกรรม คุณค่าทางวิชาการ และ คุณค่าทางสังคม ท�ำให้อาคารแห่งนีร้ กั ษาบทบาท การเป็นศูนย์รวมและเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ไว้ได้
47
Pick PIX มหวรรณ พันธุมจินดา
52
156
vivat_estt #KU78 #E74
kanyanutltanaynak #KU78
รูปภาพเป็นสิง่ ทีส่ อื่ ถึงความสวยงาม ความรูส้ กึ และ ความหมายต่างๆมากมาย คอลัมน์ Pick PIX ฉบับ พิเศษต้อนรับ KU78 ฉบับนีจ้ งึ ขอเลือกสรรรูปภาพที่ ไม่ได้มเี ฉพาะความสวยงามเพียงอย่างเดียว แต่ยงั แฝง ไปด้วยอารมณ์และเรือ่ งราวทีเ่ จือกลิน่ อายของความรัก ความสามัคคี และความสนุกสนานของบรรยากาศ ต้อนรับน้องใหม่แห่งรัว้ นนทรี เหล่าช่างภาพบนโลก ออนไลน์จะถ่ายทอดออกมาได้กินใจขนาดไหน เชิญชมไปพร้อมๆกันได้เลย ;)
191
jarajoyy.unw มหาลัยมันไม่งา่ ยนะ แต่ พ วกแกท� ำ ได้ แ น่ นอน #ku78 #KUfirstdate2018 #hugofku2018 #อ้อมกอดนนทรี2561
69
fppjswh #ku78
147
16
kkhunsaaaaa #KU78 #kukps #kufreshy #freshynight
pan_kjd วิศวะดงตาล #ku78
19 pammantana เรามากันเป็นรุน่ เรา รักกัน รัก ทอ. รักการผลิต #มาก่อนเป็นพี่ #มาหลังเป็นน้อง #มาพร้อมเป็นเพื่อน #KU78
38 lab_ngae ก้าวแรกสูศ่ าสตร์แห่ง แผ่นดิน #KU78 #KUCSC23
25 petch_tittisak ปลูกข้าววันแม่ เก็บเกี่ยววันพ่อ #เกษตรและสิ่งแวดล้อม #KU78