Culturarchitecture by Surasak Kankhao

Page 1


Contents I

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

บทนา Introduction ประวัติศาสตร์ History

1-01

มรดกโลก World heritage site

1-03

ชุมชนเมืองมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์กาแพงเพชร Community World Heritage Site Kamphaeng Phet Historical Park

1-24

พิพิธภัณฑ์ Museum

พิพิธภัณฑ์เรือนไทยจังหวัดกาแพงเพชรเฉลิมพระเกียรติ Kamphaeng Phet Provincial Museum (Ruean thai museum )

2-03

เรือนจาเก่ากาแพงเพชร Old Prison Kamphaeng Phet

2-15

อาคารเพื่อการศึกษา Education

3-07

ศูนย์ปฏิบัติธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร Meditation center at Kamphaeng Phet Rajabhat University

3-17

DR

หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร Art and Culture Center at Kamphaeng Phet Rajabhat University

อาคารสานักบริการวิชาการและจัดหารายได้ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร 3-35 Center of academic service andraising revenue at Kamphaeng Phet Rajabhat University

II


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

พุทธศาสนสถาน Buddhist temple เจดีย์วัดป่าชัยรังสี Chedi at Wat Pa Chai Rangsi

4-11

เจดีย์วัดป่าไทรงาม Chedi at Wat Pa Sai Ngam

4-29

อาคารศาลานครชากังราว วัดคูยาง Sala NaKhorn Cha Kang Rao multi purpose building at Wat Ku Yang Monastery

4-59

เจดีย์วัดปากอ่าง Chedi at Wat Pak Ang Buddhist temple

4-73

อาคารพักอาศัยและพานิชยกรรม Residential & Commercial บ้านฝายริมปิง Baan Fai Rim Ping

5-05

กาแพงเพชรแอร์

5-25

Kamphaeng Phet Air

6-1

DR

ปัจฉิมบท Final Comments บรรณานุกรม Index

III


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

06

11

01 02 03 08

07

10

DR

03 04 05

Figure 1 ผังแสดงตาแหน่งที่ตั้ง โครงการวัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture Project

09 IV


โครงการวัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture Project พิพิธภัณฑ์เรือนไทยจังหวัดกาแพงเพชรเฉลิมพระเกียรติ Kamphaeng Phet Provincial Museum (Ruean thai museum )

02

เรือนจาเก่ากาแพงเพชร Old Prison Kamphaeng Phet

03

หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร Art and Culture Center at Kamphaeng Phet Rajabhat University

04

ศูนย์ปฏิบัติธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร Meditation center at Kamphaeng Phet Rajabhat University

05

อาคารสานักบริการวิชาการและจัดหารายได้ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร Center of academic service and raising revenue at Kamphaeng Phet Rajabhat University

06

เจดีย์วัดป่าชัยรังสี Chedi at Wat Pa Chai Rangsi Buddhist Forest Monastery

07

เจดีย์วัดป่าไทรงาม Chedi at Wat Pa Sai Ngam Buddhist Forest Monastery

08

อาคารศาลานครชากังราว วัดคูยาง Sala NaKhorn Cha Kang Rao multi purpose building at Wat Ku Yang Monastery

DR

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

01

09

เจดีย์วัดปากอ่าง

Chedi at Wat Pak Ang Buddhist temple

10

กาแพงเพชรแอร์ Kamphaeng Phet Air

11

บ้านฝายริมปิง Baan Fai Rim Ping

V


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR

Figure 2 ภาพประกอบวัฒนสถาปัตยกรรม Culturarchitecture illustration

VI


บทนา Introduction Culture

วัฒนธรรม

The primary meaning of “Culture” is any human activity pattern and/or symbolic identity that is repetitive and meaningful. The human condition throughout history has been one of growth and change caused by environmental, social, and personal development. Over time, social forces and interactions are one of the primary driving forces of change in order that humans achieve more prosperity.

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้าง เชิงสัญลัก ษณ์ที่ทาให้ กิจ กรรมนั้นเด่นชัดและมี ความสาคั ญ ไม่ว่า จะเป็ นวิธีก าร ดาเนินชีวิต ที่มีการพัฒนาด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามยุคสมัย และความเหมาะสม เพื่อความเจริญงอกงาม สืบต่อกันมาได้

วัฒนธรรมการแสดงออกทางวัฒนธรรมสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ วัฒนธรรมทางวัตถุ เช่น เครื่อ งมือ เครื่อ งใช้ ที่อ ยู่อ าศัย ตลอดจนเครื่อ ง ป้องกันตัวจากภัยต่าง ๆ และวัฒนธรรมทางจิตใจเป็นเรื่องเกี่ยวกับการยึดเหนี่ยว จิตใจของมนุษ ย์ เพื่อ ให้ เกิดปั ญญาและมีจิตใจที่งดงาม เช่น ความเชื่อ ศีลธรรม จริยธรรม คติธ รรม ศิลปะและวรรณคดี ในขณะเดียวกันวัฒนธรรมบางรูปแบบ ประกอบไปด้วยทั้งทางวัตถุและทางจิตใจ ยกตัวอย่างเช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรม

DR

ที่มาของวัฒนธรรมอาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีก ทั้งระบบความเชื่อ เรื่อ งศาสนานั้นมีบ ทบาทที่ส าคัญในการพั ฒ นาวัฒนธรรมใน ประวัติศาสตร์มาโดยตลอด โดยวัฒนธรรมได้มีวิวัฒนาการและมีนิยามนับร้อยขึ้นอยู่ กับแหล่งที่มาของพื้นฐานที่แตกต่างกัน (อัลเฟรด ครูเบอร์ และไคลด์ คลักคอห์น ได้ รวบรวมนิยามของคา "วัฒนธรรม" ได้ถึง 164 ความหมาย ซึ่งได้ตีพิมพ์ลงในหนังสือ เรื่อ ง "วัฒนธรรม: การทบทวนเชิงวิก ฤติว่า ด้ว ยมโนทัศน์แ ละนิย าม Culture: A Critical Review of Concepts and Definitions" ) เป็นเรื่อ งของ จิต สติปัญญา และสัญลักษณ์ อันเป็นตัวแทนของสังคม ซึ่งได้หลอมรวมเพิ่มเติมจากความทับซ้อน ระหว่ า งความรู้ ศิ ล ปะ กฎเกณฑ์ การด าเนิ น ชี วิ ต วิ ถี ชี วิ ต ของการอยู่ ร่ ว มกั น ประเพณีและความเชื่อ โดยทุกนิยามต้องมุ่งเน้นให้วัฒนธรรมเป็นเหมือนสื่อกลางใน การสื่อสารผ่านยุคสมัยวัฒนธรรมด้านบวกหรือด้านลบก็ได้ถือเป็นเรื่องธรรมชาติ ของการสื่อสารที่สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน ปรับใช้และพัฒนาได้ ซึ่งความแตกต่างของ วัฒนธรรมไม่ใช่ปั ญหา เนื่อ งจากฐานความเชื่อ ของหลัก คาสอนในทุก ศาสนาที่มี แนวคิดในเชิงบวกทาให้ความต่างที่ผ่านการยอมรับแล้วนั้นสร้างความเข้มแข็งด้าน วั ฒ นธรรมให้ กั บ สั ง คม ส่ ว นการเปลี่ ย นแปลงของวั ฒ นธรรมอาจเกิ ด มาจาก สิ่งแวดล้อม การค้นพบ และการติดต่อสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอื่น (Acculturation) ในบริบ ทนี้ห มายถึ งการเปลี่ย นแทนลัก ษณะรากฐานจากวัฒนธรรมหนึ่งไปสู่อี ก วัฒนธรรมหนึ่ง ซึ่งเป็นกระบวนการที่สัมพันธ์ในระดับปัจเจกบุคคล รวมถึงการผสม กลมกลืน (การยอมรับเอาวัฒนธรรมอื่นมาเป็นของตนในระดับบุคคล) และการผ่าน ข้ามทางวัฒนธรรม (Transculturation) การเปลี่ย นแปลงทางวัฒนธรรมมีความ ซับซ้อนและมีผลกระทบระยะยาว โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสาคัญในการ สร้างความเข้าใจและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวผ่านการศึกษาการคงอยู่ของมนุษย์ ช่วยให้สามารถรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมที่เป็นจริง

VII

According to the many cultures that have been studied, the author considers two kinds of cultures. First is the tangible culture which includes physical constructs such as tools, , buildings, weapons, rituals, ceremonies….etc.. Second is the intangible culture which focuses on the ethereal and emotional, or the way an activity pattern makes one feel. Examples of the intangible elements, are spirituality, morality, ethics, literature, and traditions. In some cases cultural elements such as traditions, aesthetics, rituals can exist as both intangible and tangible. Culture can be influenced by other regions through colonization, trading, immigration, communication, and religion. Even the definition of culture has had an evolution with 164 definitions created by authors with different points of view. (Alfred Louis Kroeber and Clyde Kluckhohn, 1985) This proves that culture encompases the entireity of the human condition including, mind, knowledge , art, way of living, social interaction, tradition, and beliefs. All the definitions point to culture as the medium of communication through the different eras with language being just one aspect of that communication. (Alfred Louis Kroeber and Clyde Kluckhohn, 1985) It is the nature of communication to learn, adapt and develop. However the differences in cultures should not be a concern, and divergent cultures will continue to coexist in the future.One of the reasons is that most religions have similar positive social constructs. which give social strength and durability. Change of culture can be caused by environment, innovation, and acculturation. The meaning of acculturation is the assimilation of human activity patterns or symbolic identities from surrounding cultures. Understanding changing culture is complex and has long-term effects on the environment. This change is an important factor to comprehend human history. Only through the study of human persistence and development is a perspective created for noticing the change of culture.


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR

Figure 3 ความสัมพันธ์ของที่มาและประเภทของวัฒนธรรม Type of culture

VIII


X

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR

Figure 6 ความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม Implementation of cultural relation with architecture

XIV


DR

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

Figure 7 เจดีย์วัดป่าชัยรังสี Chedi at Wat Pa Chai Rangsi

XVI


Culturarchitecture

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

Thai-style architecture originated long before history. Thai ancestors began settling in different locations, based on geography and common values. They developed patterns of living and types of architectures that were imperative to their survival in the environment, yet still reflected their core values. Monasteries (wat) are examples of structures built on a set core values or common belief system. The Thai Wats (e.g. viharn, bot, chedi, and stupa) signified rules and traditional beliefs in buddhism which influenced the physical designs, user functions and aesthetics of Thai culture. Later politics also began influencing the locals by later establishing a traditional design for Thai-style architecture. This happened over time but became more standardized throughout the 19th century BC. In retrospect, arts from Sukhothai, Lan Na, and Ayutthaya Kingdoms had flourished and been enhanced through each generation. Moreover, a variety of elements from different cultures (neighboring kingdoms) were incorporated into the local arts. This process resulted in the emergence of unique arts with systematic characteristics that were specific to each period. The systematic characteristics and application of these designs could not often be used to

DR

. These elements are then incorporated and amount to the unity of the architecture that was passed on through each generation. Some religious sites like sanctuaries, temples, viharns, or pagodas, have transformed over time. Thus changing the systematic characteristics of architectures and creating a set of symbolic customs and traditions that represent the Thai community. From the ideas of cultural heritage and environmental awareness, comes a paradigm shift which involves a change in perception and judgement in accordance with contemporary development. In the past few decades, the world has focused on human subsistence and means like living environments, cultural constituents, and psychological relationships to elevate one’s wellness. As a result, cultural heritage now not only refers to historic space, building, and gardens, but also includes all invented environments and factors, architectures, local residence, ecology, and activities. The nature of cultural activities is to exemplify and represent actions and accomplishments of humans throughout history. They confirm the coexistence of nature, humans, within a specific region and events reflecting the significance of history, peace, and ethnicity, resulting in the origin of the cultural heritage. Culturarchitecture is exclusive to an area and involves a distinctive timescale, meaning that it only exists through a particular time period. Culturarchitecture differs based on site location, cultural elements/ contents, settlements, local utilization, and chronological orders. It is deemed the main factor that connects each historic piece and location in the same period. Also, the Culturarchitecture can be an indication of aesthetics and delight in the physical development, which is the foundation of integration and architectural design related to an area. XVII


1 - 32

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR


การออกแบบและการศึกษาผังแม่บทในพืน้ ที่เขตชุมชน เมืองกาแพงเพชรในพืน้ ที่ เมืองประวัติศาสตร์ โครงการการปรับ ปรุงเรือ นจ าเก่า เป็ นตัว อย่ า งที่ ดี ใ นการออกแบบ เนื่องจากสถานที่ตั้งอยู่ติดกับโบราณสถานสามารถออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้อง กับสถานที่ท่องเที่ยวอื่น ๆ ในพื้นที่ได้ จากสะพานข้ามคูเมืองโบราณจะเชื่อ ม พื้นที่เรือนจาเก่ากับพื้นที่ริมกาแพงเมืองเก่าในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์ สร้าง ความต่อเนื่องระหว่างพื้นที่ทั้งหมดเนื่องจากผู้ใช้จะสามารถเข้าถึงได้โดยตรงจาก อุทยานประวัติศาสตร์หรือโดยการเดิน บนทางเท้าบนถนนเทศาและผ่านหน้า เรื อ นจ าเก่ า ทางเดิ น ข้ า มคู เ มื อ งจะเกิ ด ประสบการณ์ ก ารรั บ รู้ ใ ห ม่ในการ ท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในบริบทใหม่ที่ไม่เคยเป็ นเส้นทางเชื่อ มโยงมาก่อ น นาไปสู่ สถานที่ทางประวัติศาสตร์อันเก่าแก่เช่นวัดพระแก้ววัดพระธาตุพิพิธภัณฑ์เรือน ไทยและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ วัฒนสถาปัตยกรรมในแผนแม่บทนี้พิจารณาและศึกษาจากโครงสร้า ง ของเมืองเดิมที่มีอยู่และพยายามที่จะอนุรักษ์ไว้ให้เป็นส่วนหนึ่งของมรดกของ กาแพงเพชรและเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ในอนาคต สิ่งนี้ทาให้มีแนวคิดหลัก ของโครงการคือการพัฒนาและส่งเสริมฐานความรู้ มุ่งเน้นไปที่กิจกรรมบริการ การศึกษาและการท่องเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นต้นแบบของการ พัฒนาเมืองที่ส ามารถอยู่ ร่ ว มกั บ การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง นี้ จ ะเป็ นประโยชน์ต่อพื้นที่ สาหรับคนรุ่นต่อไปของชุมชน การส่งเสริมเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่เป็นเมือง กาแพงเพชรจะทาให้ชุมชนเมืองกาแพงเพชรแตกต่ า งจากเมื อ งอื่ น ๆ และมี เอกลักษณ์ที่ยั่งยืนให้กับชุมชน การใช้ต้นแบบแนวคิดจากการเชื่อมโยงพื้นที่แบบเรือนไทยจากลักษณะ เรือ นไทยประกอบด้ว ยโครงสร้า งปิ ดล้อ มหลายหลังซึ่งเชื่อ มต่อ กันด้ว ยชาน ระเบียงทาหน้าที่เป็นพื้นที่เชื่อมระหว่างโซนต่าง ๆ แนวคิดนี้ได้ถูกใช้ในวางแผน พื้นที่ที่ แ ยกส่ ว นต่ า ง ๆ ของบ้ า น เป็ น พื้ น ที่ โ บราณสถานก าแพงเพชร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิพิธภัณฑสถานจังหวัดกาแพงเพชรเฉลิมพระเกียรติ (พิ พิ ธ ภัณฑ์เรือ นไทย) พื้ นที่เรือ นจ าที่ ไ ด้ รั บ การปรับปรุงใหม่และศูนย์บริการ นักท่องเที่ยว โดยศูนย์บริการนักท่องเที่ยว จะทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางศูนย์กลาง ที่เชื่อมโยงทั้งหมดเข้าด้วยกัน ภายในจะมีสิ่งอานวยความสะดวกและสถานที่ให้ เช่าจักรยานไฟฟ้าและพื้นที่จอดรับของรถรางไฟฟ้า เกิดเป็นวิถีการสัญจรใหม่ใน พื้นที่ จะเพิ่มมูลค่าและประสบการณ์การท่องเที่ยวที่ดีขึ้นให้กับผู้มาเยือน

DR

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

การศึ ก ษาผั งแม่บ ทในพื้ นที่ เขตชุ มชนเมือ งก าแพงเพชรในพื้ น ที่ เ มื อ ง ประวัติศาสตร์ มีพื้นที่เมืองที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวโดยมุ่งเน้นความเชื่อมโยงกับ กิ จ กรรมการใช้ ส อยภายในพื้ น ที่ โดยเป็ น ชุ ม ชนเมื อ งที่ มี วิ วั ฒ นาการ การ พัฒนาการอยู่ร่ว มกันกับพื้นที่ชุมชนกับพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์ก าแพงเพชร โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์ วัดพระแก้ว วัดมหาธาตุ ศาลหลักเมือง เขตคูเมือง กาแพงเมือง ศูนย์ราขการกาแพงเพชรเก่า ที่ว่าการอาเภอหลังเก่า ลานโพธิ์ (โครงการแลนมาร์คลานโพธิ์) สานักงานกาชาด ต้นสักทรงปลูก (ร.9) พิพิธภัณฑ์เรือนไทย พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ ชุมชนเก่าตามแนว ถนนเทศาและพื้นที่บริเวณต่อเนื่อง จึงมีความสาคัญและเชื่อมโยงตามแกนเส้นทาง การคมนาคม อี ก ทั้งยังมีกิจ กรรมที่เกิดขึ้ นตามความเจริญเติบโตของชุมชนเมือง ส่งผลต่อการขาดความต่อเนื่องของวัฒนธรรมและการเข้าถึงการสัญจรในเชิงการ ท่องเที่ ย วและการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ในพื้ น ที่ ข าดแผนผั ง แม่ บ ทการพั ฒ นาใน ภาพรวมทั้งการจัดการบริการพื้นฐาน ตลอดจนสิ่งอานวย ความสะดวก และพื้นที่ สันทนาการที่เป็นพื้นฐานการสนับสนุนการท่องเที่ยวในเชิงประวัติศาสตร์ ในการออกแบบผังแม่บทในพื้นที่เชตชุมชนเมืองกาแพงเพชรในพื้นที่เมือง ประวัติศาสตร์ ใช้แนวคิดหลักพื้นที่เชื่อมโยงพื้นที่เขตชุมชนถนนเทศาและลานโพธ์ เชื่อมพื้นที่เขตโบราณสถานในเขตคูเมือ งและก าแพงเมือ งเก่า ทั้งหมดผ่า นพื้น ที่ อาคารทัณฑสถานเก่าซึ่งเป็นการเริ่มต้น โดยการออกแบบการปรับใช้ประโยชน์ของ อาคารราชการเก่าที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและคุณค่าทางประวัติศาสตร์เป็ น พื้นที่สาธารณะเชื่อ มพื้ น ที่ อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ใ ห้ เ ป็ น เส้ น ทางศึ ก ษาวิ ถี ชี วิ ต วัฒนธรรมควบคู่กับประวัติศาสตร์ที่สาคัญของเมืองมรดกโลก สร้างความต่อเนื่อง ให้พื้นที่เหล่านั้น จากการสัญจรทางเท้าโดยเริ่มจากพื้นที่ริมถนนเทศาผ่า นหน้า โครงการแล้วใช้โครงการทัณฑสถานเก่าเป็นส่วนพื้นที่สาธารณะเชื่อม ข้ามคูเมือง เก่าและแนวกาแพงเมืองด้านหลังที่มีความสมบูรณ์และสวยงามที่สามารถเชื่อมไปสู่ พื้นที่ วัดพระแก้ว วัดพระธาตุ พิพิธภัณฑ์เรือนไทย และพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ การ ออกแบบวัฒนสถาปัตยกรรมในผังแม่บทนีค้ านึงถึงโครงสร้างเดิมเป็นหลักและอนุรักษ์ โดยต้องให้เกิดเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นกลมกลืนไปกับบริบทเดิม เพื่ อ เป็นสถานที่บันทึกทางประวัติศาสตร์ ส่งเสริมพัฒนากิจกรรมเศรษฐกิจฐานความรู้ กิจกรรมบริการทางการศึกษาและการท่องเที่ยว โดยมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน การพัฒนาอย่างเหมาะสม เป็นต้นแบบของพัฒนาชุมชนเมืองที่อยู่ร่วมกันกับพื้นที่ อนุรักษ์ผ่านการเชื่อมโยงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์จากอดีตสู่ปัจจุบัน และสืบ ทอดต่อไปในอนาคต ได้อย่างยั่งยืน

Figure 1-22 ผังแม่บทในพื้นที่เขตชุมชนเมืองกาแพงเพชรในพื้นที่เมืองประวัติศาสตร์ Master Plan in the Kamphaeng Phet Community Area

1 - 33


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR

Figure 2-16 ผังบริเวณเรือนจำเก่ำกำแพงเพชร Lay-Out Plan : Old prison Kamphaeng phet

2-22


Activities / Function

กิจกรรมภำยในโครงกำร ในส่วนด้ำนหน้ำโครงกำรเป็นศูนย์เยำวชน และผู้สูงวัยโดยกำรปรับปรุงอำคำรบ้ำนพักเก่ำของผู้คุมที่อยู่ภำยนอกทัณฑสถำน ออกแบบให้เป็นศูนย์เยำวชน สภำเยำวชน และพื้นที่ทำกิจกรรมของครูอำสำ และออกแบบให้เป็นศูนย์ผู้สูงวัยภำยในมีคำเฟ่ขำยผลิตภัณฑ์ภำยในชุมชนของ ผู้สูงอำยุวัตถุประสงค์หลัก ของกำรรวมกันของศูนย์ทั้งสอง เพื่อแก้ปัญหำของ ควำมต่ำงวัยจึงให้มีกิจกรรมร่วมกันมำกขึ้น ในส่ว นพื้นที่เป็นพื้นที่ก ำแพงเก่ำ คู่ขนำนกับแนวถนนทั้งบริ เวณด้ำ นในของโครงกำรจั ดเป็นนิทรรศกำรในร่ ม ก ำแพงด้ ำ นนอกเป็ น ส่ ว นแสดงงำนของศิ ล ปิ น งำนสรี ท อำร์ ท และป้ ำ ย ประชำสัมพันธ์ เชื่อมต่อกับพื้นที่ Co Working Space ซึ่งปรับปรุงจำกอำคำร เก่ำซึ่งเป็นอำคำรสำนักงำนทัณฑสถำนเป็นอำคำร คสล. สองชั้น มีพื้นที่เป็นคำ เฟ่ชุมชน ห้องประชุมสัมมนำ พื้นที่แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นและพื้นที่สำหรับ พบปะของชุมชนทำให้เกิดวัฒนธรรมกำรพบเจอแบบชำวบ้ำนในอดีตขึ้นใหม่ใน ชุ ม ชน บริ เ วณลำนกลำงแจ้ ง เป็ น พื้ น ที่ Garden and Play Ground มี พื้ น ที่ ขนำดใหญ่สำมำรถแบ่งออกเป็นสำมส่วน คือ หนึ่งป่ำอนุรักษ์ต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่ ศึกษำประวัติศำสตร์ด้ำนต้นไม้ที่เกี่ยวกับโบรำณคดีแสดงข้อมูลประวัติสำคัญ สวนป่ ำ นี้ จ ะช่ ว ยสร้ำ งควำมร่ ม รื่น ให้ กั บ พื้น ที่ ภ ำยในโครงกำร สำมำรถเพิ่ ม กิ จ กรรมภำยในโครงกำรเป็ น พื้ น ที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจกลำงเมื อ ง สองลำน กำรละเล่นแบบไทยเป็นกำรจั ดกำรละเล่นแบบไทยในอดีตเป็ นลัก ษณะลำน เอนกประสงค์ที่มีพื้นที่สำหรับกำรละเล่นแบบไทย เช่น กระโดดยำง อีมอนซ่อน ผ้ำ วิ่งเปี้ยว รีรีข้ำวสำร งูกินหำง ฯลฯ ในส่วนพื้นที่นี้ สำมำรถปรับใช้สำหรับจัด กิจกรรมประเพณี เช่น เทศกำรดนตรี กำรแสดงกลำงแจ้ง ตลำดชุมชน ลำนคน เดินและลำนศิลปะ

There is an exhibition walkway using the old wall running parallel to the road. While the inner wall provides an indoor exhibition hall, the outer wall is an outdoor exhibition for local artists to publish their work, street art, and publicity signs for people who pass by. An indoor co-working space is the recreation of the twostory building of the old prison office as a community cafe, seminar room, sharing, and meeting space. It will provide office services such as meeting rooms, printers, public computers, and the internet. An exchange area for people will be constructed to foster a culture of collaboration for the villagers as it existed in the past. The garden and playground area is large and will be divided into three parts. The first area involves the conservation of a large tree. The large tree has historic and archeological value as a central meeting place of the prison. This forest plantation will provide a shady area for multiple leisure activities. The second area is a traditional Thai play area. Visitors can play Thai-style games such as rubber jumping, emon hiding, running cloth, oval, Khao San, Ngon Hang, etc. The third is an open space for festivals, music, open-air performances, community markets, pedestrian courts, and art courts.

DR

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

กิจกรรมภำยในโครงกำร

2-18

กำแพงเมืองเก่ำด้ำนหลังโครงกำร ฝั่งถนนรำชดำเนิน 2 Old wall : Ratchadamnoen 2 rd.

lift bridge

2-17 Figure 2-17 กำรเปิดพื้นที่สำธำรณะใหม่ New public spaces

historical park

2-19

prison

Figure 2-18 สะพำนยกที่เชื่อมกับอุทยำนประวัติศำสตร์ Lifted bridge connecting the historical park

2-23

Figure 2-19 กำแพงเมืองเก่ำ ฝั่งอุทยำนประวัติศำสตร์ Old Wall in the historical park


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

Figure 3-20 ภาพแสดงช่องเปิดระหว่างยอดฉัตร 7 ชั้น ที่ส่งผลด้านแสงสว่างและสร้างมิติแสงเงา ของพื้นที่โดยรอบต่อพระประธาน (พระพุทธวิธานปัญญาบดี) The photo shows the opening skylights that shine into the Ho-Phra and creates a dimension from light and shadow to the Buddha statue Figure 3-21 พิธีบวงสรวงพระพุทธวิธานปัญญาบดีพระประจามหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร วันที่ 28 ธันวาคม 2560 Sacrifice Phra putta vithan punyabodi, the university’s Buddha statue ceremony on 28 December 2017

3-20

History and culture

แนวคิดในการออกแบบวัฒนสถาปัตยกรรมที่เป็นสถานที่สักการะบูชาที่ เป็นศูนย์กลางยึดเหนี่ยวจิตใจศูนย์ปฏิบัติธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ใช้ แนวคิดจากประเพณีและวัฒนธรรมการบวงสรวงและการประกอบพิธีกรรมของ ชาวเมืองกาแพงเพชรและประชาชนทั่วไปตามเทศกาลและพิธีสาคัญต่าง ๆ ตาม ประเพณี ไ ทยที่ สื บ เนื่ อ งมาแต่ โ บราณคื อ การบวงสรวงศาลพระอิ ศ วรและ ศาลหลั ก เมื อ งก าแพงเพชร 2 ซึ่ ง เป็ น โบราณสถานที่ ส าคั ญ ในพื้ น ที่ อุ ท ยาน ประวัติศาสตร์กาแพงเพชรที่มีความสาคัญ ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมในวัน เปลี่ยนจุลศักราช วันขึ้นปีใหม่ พิธีเข้ารับตาแหน่งของข้าราชการระดับสูงและบุคคล สาคัญในจังหวัดกาแพงเพชร ประชาชนชาวกาแพงเพชรต่างมีความเลื่อมใสศรัทธา และเชื่อกันว่า ศาลหลักเมืองและศาลพระอิศวรเป็นผู้คุ้มครองประชาชนในจังหวัด กาแพงเพชร ให้ปลอดภัยจากภยันตรายต่าง

Culturarchitecture of a place of worship and spiritual renewal, will be influenced by worship ceremonies and other important festivals as design elements. An ancient Kamphaeng Phet ceremony that has been passed down through the generations is called “Worship of Sacred Shiva Shrine and Kamphaeng Phet City Pillar Shrine ceremony”. The Kamphaeng Phet City Pillar Shrine is said to be a sacred place.17 The Shiva shrine and Kamphaeng Phet Shrines are an important archaeological site of the Kamphaeng Phet Historical Park. The date of the commemoration of the era. New year's day Inauguration ceremony of high-ranking officials takes place here. People in Kamphaeng Phet Province have faith in the power of the Shrine. Kamphaeng Phet City Pillar Shrine is nearly 700 years old, according to an ancient inscription. People believe if you make a wish to be successful it will come true. They also believe that Shiva Shrine is the protector of the people in Kamphaeng Phet Province. It keeps them safe from various dangers.

DR

ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม

2.ศาลหลักเมืองกาแพงเพชร : รายละเอียดเพิ่มเติม ประวัติศาสตร์ หน้าที่ 2-23 Kamphaeng Phet City Pillar Shrine : Details History page. 2-23

3 - 23


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA ฐานสูงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

ฐานหอพระจตุรมุข

rectangular base

DR

Cruciform base

Figure 3-23 การออกแบบฐานประทักษิณและฐานหอพระที่พัฒนาจากรูปแบบสถาปัตยกรรมหอพระแบบจตุรมุข จากศาลหลักเมืองและฐานสูงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากฐานศาลพระอิศวร Diagram shows the base design. The Pra Taksin and Ho-Phra bases are inspired by the city pillar shrine (Jaturamul style) and Shiva shrine(height base rectangular).

3 - 25


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA สถานที่ประดิษฐาน พระพุทธวิธานปัญญาบดี เดิม Old location Buddha Shrine

สถาบันวิจัยและพัฒนา Research and Development Center

DR

ศูนย์ปฏิบัติธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร MEDITATION CENTER AT KAMPHANG PHET RAJABHAT UNIVERSITY

Figure 3-27 ผังบริเวณแสดงแนวความคิด แนวแกนและการเชื่อมโยงของ ที่ตั้งโครงการที่สอดคล้องกับบริบทเดิมในมหาวิทยาลัย The plan shows the idea of the axis and integration of project and existing context.

บริบทและสภาพแวดล้อม

ออกแบบหอพระที่ตั้งอยู่ภ ายในสระน้าของมหาวิทยาลัย ให้ อยู่ในแนวแกน เดียวกับหอประชุมใหญ่ เพื่อ ก่อ ให้ เ กิดความเป็ นอั นหนึ่ งอันเดียวกันในการออกแบบ หอพระถูกออกแบบให้มีทางเดินยื่นไปในสระน้าไปยังศาลาประดิษฐานองค์พระพุท ธ วิธานปัญญาบดี ส่วนบริเวณระเบียงภายนอกใช้เป็นลานประทักษิณใช้ประกอบพิธีกรรม โดยรอบ เกิดเป็นจุดหลักสาคัญที่สามารถมองเห็ นได้จากทุกมุมมองโดยรอบบริเวณสระ น้าและแนวทางสัญจรหลักภายในมหาวิทยาลัย 3 - 28


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

ศูนย์ปฏิบัติธรรม MEDITATION

หอประชุมที ปังกรรัศมีโชค Dipangkorn Rasmijoti Auditorium

ศาลา ริมนา

ศาลา ริมนา

ลานกิจกรรมริมนา

ลานกิจกรรมริมนา

DR

หอประชุมทีปังกรรัศมีโชค

ผังแสดงความสัมพันธ์ด้านที่ตังโครงการ Site location diagram

Figure 3-28 การวางแนวแกนที่สัมพันธ์กับอาคารและบริบทที่สาคัญ The spindle orientation in relation to the building and context sensitive.

Context and location concepts

The Ho-Phra(Buddha hall) is designed to sit on concrete pillars in the university pond. It will be arranged in the same axis of the main auditorium There is an extension walkway leading into the Ho-Phra. The Ho-Phra is surrounded by a Lan Pra Taksin, the balcony that is designed for use for religious activities such as walking meditation. Therefore It will be a landmark seen from every angle around the pond and main roads within the university. 3 - 29


5 - 30

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม การออกแบบเกิดจากการศึกษาแนวคิดอัตลักษณ์และสัญลักษณ์ของสถาปัตยกรรม บนพื้นที่มรดกโลก สถานที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่เชื่อมต่อกับอุทยานประวัติศาสตร์กาแพงเพชร ที่มีบ ริบทของเมือ ง ทาให้อ าคารต้อ งเป็ นสถานที่สาคัญ ที่ห่อ หุ้มเอกลักษณ์อั นโดดเด่ น ของวัดพระนอนไว้ วัดพระนอน 5เป็นหนึ่งในโบราณสถานที่ใช้ศิลาแลงในการก่อสร้าง โดยก่อสร้างด้วยศิลาแลงที่ใหญ่ที่สุดในพื้นที่นั้น มีเสาศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ หน้าตัด 1 ตารางเมตรภายในพระอุโบสถ เสาศิลาแลงนี้มีขนาดใหญ่มากและเป็นโครงสร้าง ที่เป็นเอกลักษณ์ของ

DR

ส่วนบนของเสามีรูสาหรับรองรับโครงหลังคาที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะที่สาคัญ ที่ปรับเปลี่ยนมาจากแบบของตัวอาคาร วัสดุต่าง ๆ ที่ถูกนามาจากโบราณสถานในพื้น ที่ มรดกโลกแสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมรวมไปถึง รูปแบบ สี วัสดุต่าง ๆ จากโบราณสถานในพื้นที่มรดกโลก รวมทั้งการใช้รายละเอียดด้านองค์ประกอบอื่น ๆ จาก งานศิลปะหัตกรรมที่มีความโดดเด่นจากพื้นที่มรดกโลกและพื้นที่โดยรอบ ยกตัวอย่างเช่น วัสดุพวกนี้ รวมไปถึงการใช้รูปทรงและสัดส่วนของช่องเปิดอาคาร กระเบื้องสันเชิงชายเป็น องค์ป ระกอบสาคัญ ของโครงสร้า งหลังคาบ้ า นไม้ ที่พ บจากการขุ ดแต่งที่วัดช้า งรอบ 6 จังหวัดกาแพงเพชร ด้านหน้าเป็นอิฐทรงสามเหลีย่ มทีม่ ลี กั ษณ์คล้ายรูปเทพพนม ลายดอกบัว และลายช่อดอก อิฐนั้นเป็นหนึ่งในวัสดุที่ถูกใช้ในกาแพงเพชร อิฐถูกปั้นให้มีลักษณะนูนซึ่ง เป็นศิลปะในสมัยอยุธยาและสมัยสุโขทัยตอนปลาย ส่วนประกอบอื่นๆรวมไปถึงลวดลาย จากศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านรูปแบบลายเสื้อผ้าโบราณ

5. วัดพระนอน : รายละเอียดเพิ่มเติม ประวัติศาสตร์ หน้าที่ 1-19 6. วัดช้างรอบ : รายละเอียดเพิ่มเติม บทนา หน้าที่ 1-21

Figure 5-29 แบบจาลองแสดงรายละเอียดผนังและช่องเปิดอาคาร Model picture showing wall and opening

5 - 31


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR

Figure 5-31 แสงและเงาที่เกิดจากแสงธรรมชาติ Light and shading from the natural light Figure 5-32 แสงและเงาที่เกิดจากแสงประดิษฐ์ Light and shading from an artificial light

5 - 35

5-32


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA local textile

Eaves Wat Chang Rob

Elements included patterns from local crafts, cloth designs Facade

Interior

DR

Interior

The angle maximizes the energy savings and preventing heat from building up; while creating the desired aesthetic.

Exterior

Exterior

Another important aspect of the openings is that they extend outward and create more interior space inside the building

การออกแบบช่องเปิดที่เกิดจากมุมมองจากภายในและสัมพันธ์กับพื้นที่ใช้สอย ทาให้เกิดมิติใหม่จากมุมองศาที่แตกต่างกันกับพื้นผิวอาคาร Figure 5-33 แนวความคิดในการออกแบบพื้นผิวอาคาร Facade design

5 - 36


5 - 44

AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR


AF T WW CO W. PP HA Y : RC 20 .AS 21 IA

DR


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.