BP นางศรีรักษ์ นันตะเสนีย์ โรงเรียนวัดหนองเสือ

Page 5

๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนาBP หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ โดยกระทรวงศึกษาธิการให้ความหมายโครงงาน ว่าเป็ นการทากิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง รวมทั้งร่ วมกาหนด แนวทางในการวัดและประเมินผล กระบวนการเรี ยนรู้แบบ Constructionism ก็มีลกั ษณะเป็ นการเรี ยนผ่านโครงงาน (Project Based Learning) เน้นการเรี ยนรู ้ผา่ นการสร้างสิ่ งที่เป็ นรู ปธรรม โดยจะใช้เทคโนโลยีหรื อไม่ใช้เทคโนโลยีก็ได้ เริ่ ม จากการคิดวางแผน ออกแบบและลงมือสร้างโครงงาน ซึ่งนักเรี ยนจะได้พบประสบการณ์และความรู้ที่ หลากหลายที่จบั ต้องได้ชีวิตจริ งแล้ว นักเรี ยนก็จะได้ผา่ นกระบวนการสะท้อนความคิด ด้วยการบันทึกประจาวัน การสนทนา Reflection ซึ่งเป็ นการให้นกั เรี ยนได้ฝึกฝนการทบทวน และเรี ยนรู้จากประสบการณ์และ กระบวนการที่ได้ผา่ นไป เพื่อนาไปปรับปรุ งพัฒนาตนเองและพัฒนาชิ้นงานอย่างต่อเนื่องต่อไป การจัดการ เรี ยนรู ้ในโครงงานจะมีการออกแบบให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสในการเรี ยนรู ้ผา่ นการคิด ลงมือปฎิบตั ิและสะท้อน ความคิด ที่แตกต่างกันไปในแต่ละระดับการเรี ยนรู ้ โดยมีหลักการพื้นฐานของโครงงานดังนี้ ๑. คิดและออกแบบด้วยตนเอง (Thinking or Designing) เพื่อฝึ กฝนการคิดและจินตนาการ การคิดอย่าง มีเป้ าหมาย เป็ นรู ปธรรม และการคิดในเชิงเหตุผล ๒. นักเรี ยนจะต้องเป็ นผูท้ ี่ลงมือทาด้วยตนเอง(Making or Doing) มีความเป็ นเจ้าของในสิ่ งที่เขาสร้าง อย่างเต็มที่ โดยอาจเริ่ มเรี ยนรู ้จากสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนมีความสนใจ หรื อจากปัญหาที่นกั เรี ยนมีความสนใจเป็ นพิเศษที่จะ ค้นหาวิธีแก้ โดยมี Facilitator หรื อผูอ้ านวยการเรี ยนรู ้ เป็ นผูค้ อยชี้แนะ ให้คาแนะนาและร่ วมเรี ยนรู ้ไปกับ นักเรี ยน ๓. กระบวนการสะท้อนความคิด (Reflecting or Contemplating) ซึ่งจะเป็ นการให้นกั เรี ยนได้ฝึกฝน สะท้อนความคิด ระลึกถึงสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ต่างๆ ที่ผา่ นไป ทาให้เกิดความตระหนักในสิ่ งที่ได้ เรี ยนรู้ ได้เรี ยนรู้เชิงประจักษ์ (เห็นได้ดว้ ยตนเอง) ว่าตนเรี ยนรู ้ได้อย่างไร และแก้ไขปั ญหาต่างๆ ได้อย่างไร การ สะท้อนความคิดนี้ เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญมาก เพราะเป็ นการฝึ กฝนกระบวนการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเองของ นักเรี ยน ที่จะค่อยๆ สั่งสมประสบการณ์จากการคิดทบทวนสิ่ งที่ตนเองได้ทา หรื อรับฟังมุมมองความคิดเห็นที่ แตกต่างจากเพื่อนหรื อครู “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทาง การดาเนิ นชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และ เมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้า แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวตั น์และความเปลี่ยนแปลง กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.