คู่มือการออกแบบระบบไฟฟ้า

Page 75

บริษัท เมกกะ – เจ จากัด หม้อแปลงไฟฟ้า 71

หลักดิน ( Ground Rod ) หลักดินที่เ ราพบกัน ท่าไปในท้อ งตลาดคื อ หลักดินทองแดง เหล็กหุ้มด้ว ยทองแดง หรือ เหล็กชุ บ สังกะสีมีลักษณะเป็นแท่งกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5/8 นิ้ว ( 16 มม. ) ยาว 8 ฟุต แต่ความจริงแล้วยังมีหลักดิน ชนิดอื่น ๆ อีกที่ทาหน้าที่เป็นหลักดินได้เช่นเดียวกัน หลักดินที่กาหนดเป็นมาตรฐานไว้ในกฎการเดินสายและ ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวงมีดังนี้ 1. แท่งเหล็กอาบโลหะขนิดกันผุกร่อน แท่งเหล็กหุ้มทองแดง แท่งทองแดง ที่มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 16 มม. ยาวไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร ปลายข้างหนึ่งปักลึกลงดินไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร 2. แผ่นโลหะที่มีพื้นที่สัมผัสดินไม่น้อยกว่า 1800 ตร.มม. ถ้าเป็นเหล็กอาบโลหะชนิดผุกร่อนต้องหนา ไม่น้อยกว่า 6 มม. ถ้าเป็นโลหะอื่นที่ทนต่อการผุกร่อนต้องหนาไม่น้อยกว่า 1.5 มม. ฝังลึกจากผิวดินไม่น้อยกว่า 1.6 เมตร 3. โครงอาคารที่เป็นโลหะ วัดค่าความต้านทานระหว่างหลักดินกับดินไม่เกิน 5 โอห์ม 4. หลักดินชนิดอื่นต้องได้รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้านครหลวงก่อน ในกฎการเดินสายและการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง กาหนดค่าความต้านทาน ระหว่างหลักดินกับดินไว้ไม่เกิน 5 โอห์ม จุดที่ต่อดินเข้ากับหลักดินต้องอยู่ในที่ซึ่งเข้าถึงได้ และการต่อต้องมั่นคง แข็งแรง แต่ถ้าจุดต่อนี้ฝังอยู่ในคอนกรีต ตอกหรือฝังในดิน ก็ไม่จาเป็นต้องให้เข้าถึงได้ Divin Head

Rod

Rod Copper Pin Spike

รูปที่ 5.5 Ground Rod


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.