econcmic

Page 2

 เงินคงคลัง ณ สินเดือนกรกฎาคม 2555 มีจ่านวน 463,865  ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2555 รัฐบาล มีรายได้ทังสิน 1,923,995 ล้านบาท และมีรายจ่ายทังสิน 2,133,179 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทังสิน 209,184 ล้านบาท เมือรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณทีเกินดุล 10,536 ล้านบาท และหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ รายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง รายจ่ายเพือวางระบบบริหารจัดการน่าจ่านวน และรายจ่ายเงินกู้เพือฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสร้างพืนฐาน (DPL) 6,862 20,238 4,639 และ 962 ล้านบาท ตามล่าดับแล้ว ท่าให้ ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทังสิน 231,349 ล้านบาท

ฐานะการคลัง อปท.  ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน ณ ไตรมาสที 3 ประจ่าปงบประมาณ 2555 คาดว่า จะมีรายได้รวม 93,106 ล้านบาท (รายได้ทีจัดเก็บเอง 13,407 ล้านบาท รายได้ภาษีทีรัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 61,677 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 18,022 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจ่านวน 113,756 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. ขาดดุล 20,650 ล้านบาท  ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถินในช่วง 9 เดือนแรกของปงบประมาณ 2555 คาดว่า จะมีรายได้รวม 364,925 ล้านบาท (รายได้ทีจัดเก็บเอง 32,320 ล้านบาท รายได้ภาษีทีรัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 144,259 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 188,346 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจ่านวน 302,900 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 62,025 ล้านบาท

สถานะหนี้สาธารณะ  หนีสาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สินเดือนมิถุนายน 2555 มีจ่านวน 4,791.5 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.3 ของ GDP ประกอบด้วย หนีระยะยาว 4,582.3 พันล้านบาท และหนีระยะสัน 209.2 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 95.6 และ 4.4 ของหนีสาธารณะคงค้าง ตามล่าดับ โดยร้อยละ 93.0 ของหนีสาธารณะคงค้างเป็นหนีในประเทศและส่วนทีเหลือร้อยละ 7.0 เป็นหนีต่างประเทศ

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)  กระทรวงการคลังได้ก่าหนดกรอบความยังยืนทางการคลัง โดยมีตัวชีวัดประกอบด้วย ยอดหนี สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนีต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดท่า งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ากว่าร้อยละ 25  การวิเคราะห์กรอบความยังยืนในระยะปานกลาง (ปงบประมาณ 2555 – 2559) - สัดส่วนหนีสาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปงบประมาณ 2555 อยู่ทีร้อยละ 43.0 และเพิมขึนเป็นร้อยละ 46.1 ในปงบประมาณ 2559 - ระดับภาระหนีต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 9.3 ในปงบประมาณ 2555 แต่เพิมขึนเป็นร้อยละ 11.2 ในปงบประมาณ 2559 - รัฐบาลจัดท่างบประมาณแบบขาดดุลเนืองจากความจ่าเป็นในการใช้จ่ายของรัฐ เพือขับเคลือนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ อย่างไรก็ดี แนวโน้มการจัดท่างบประมาณ แบบขาดดุลจะลดลงตามล่าดับเพือเข้าสู่งบประมาณแบบสมดุลในอนาคต -2-


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.