PBIC Annual 2020

Page 1

ANNUAL REPORT 2563/2020


(I)

สารจาก

สภามหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ มี ม ติ ใ ห้ ส ถาปนาวิ ท ยาลั ย นานาชาติปรีดี พนมยงค์ ขึนตังแต่ป พ.ศ. 2551 เปนเกียรติแด่ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ ผูป ้ ระศาสน์การมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ปจจุบน ั ในป พ.ศ. 2563 เปนเวลากว่า 12 ปแล้ว ทีวิทยาลัยได้ดําเนินการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และ บริการวิชาการแก่สงั คม ตรงตามจุดประสงค์ของการสถาปนา วิทยาลัยแห่งนี และได้ผลิตบัณฑิตทีมีความรู้ความสามารถ ด้านอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ในสาขาวิชาจีนศึกษา อินเดียศึกษา ไทยศึกษา และอาเซียนศึกษา ซึงเปนกําลังสําคัญ ในการพัฒนาสังคมในระดับชาติและระดับนานาชาติ

ป พ.ศ. 2563 เปนช่ ว งเวลาที ทั วโลกได้ รั บ ผลกระทบ จากวิกฤตเชือไวรัสโคโรนา (COVID-19) และวิทยาลัยก็ได้รบ ั ผลกระทบจากวิกฤตครังนีเช่นกัน ส่งผลให้นก ั ศึกษาแลกเปลียน จากทั วโลกไม่ ส ามารถเดิ น ทางเข้ า มาศึ ก ษาที วิ ท ยาลั ย ได้ นอกจากนัน นักศึกษาของวิ ทยาลั ยเองก็ ไม่สามารถเดิ นทางไปศึกษาแลกเปลี ยน ณ มหาวิ ทยาลั ย คู่สัญญาในต่างประเทศได้เช่นกัน ทําให้วิทยาลัยต้องปรับเปลียนรูปแบบการเรียนการสอนผ่านระบบ ออนไลน์แทน ทั งนี วิ ทยาลั ยได้ ให้ความสําคั ญต่อคุณภาพของการสอนออนไลน์โดยใช้งบประมาณ เพือลงทุนในโปรแกรมการสอนออนไลน์ทีมีประสิทธิภาพทีสุด เพือให้อาจารย์และนักศึกษาสามารถ สือสารกันได้อย่างราบรืน วิทยาลัยได้ถือโอกาสในภาวะวิกฤตินีพัฒนาคอร์สออนไลน์ต่างๆ ทีวิทยาลัย มีความเชียวชาญเพือรองรับโอกาสทีจะเกิดขีนในอนาคต ถึงแม้จะเกิดวิกฤติอย่างไรก็ตาม วิทยาลัยยังคง มุ่งมันที จะจั ดกิ จกรรมบริการวิ ชาการแก่สังคมและเผยแพร่งานวิ จัยของคณาจารย์ประจําวิ ทยาลั ย เพือประโยชน์ของสาธารณะชนผ่านการสัมมนาและเสวนาออนไลน์ไปทัวโลกด้วยเช่นกัน

คณบดี

วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ ยึ ด มั นในการบริ ห ารงานด้ ว ยหลั ก ธรรมาภิ บ าล เน้ น การสร้ า ง ความเข้มแข็งของบุคลากรทุกคนในวิทยาลัยให้ปฏิบต ั งิ านเพือบรรลุผลลัพธ์ตามวิสย ั ทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม ของวิทยาลัย โดยเฉพาะการสร้างค่านิยมหลักขององค์กร 5 ประการ หรือ CRICK ได้แก่ ChallengeRespect-Into Real Location-Customer First-Kaizen Mindset ซึงผู้บริหารได้ นาํ เข้ามาปรับใช้ ในการปฏิบัติงานเพือให้เกิดการปรับปรุ งการทํางานอย่างต่อเนือง โดยส่งเสริมให้บุคลากรมีความคิด ริเริมสร้างสรรค์ กล้าท้าทายต่อปญหาและอุปสรรคทีเกิดขึนในงานของตนเอง มีการยอมรับให้เกียรติ ซึงกันและกัน มีความตืนตัวทีจะลงไปดูหน้างานจริงตามหลักการ P-D-C-A เพือส่งมอบสิงทีดีทีสุดให้กับ ผูท ้ ีอยูถ ่ ัดไปในกระบวนการทํางาน และมี Kaizen Mindset คือ การพัฒนางานให้ดียงขึ ิ นอย่างต่อเนือง และในส่วนของคณาจารย์ประจําวิทยาลัยนัน วิทยาลัยได้สง่ เสริมและผลักดันให้คณาจารย์ผลิตผลงาน วิจย ั เพิมการตีพม ิ พ์ และสนับสนุนให้คณาจารย์มต ี ําแหน่งทางวิชาการทีสูงขึน กระผมขอขอบคุณทุกท่าน ทีร่วมกันฝาฟนวิกฤตเชือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ร่วมกัน และหวังเปนอย่างยิงว่า วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ จะมีความเจริญก้าวหน้าต่อไปได้อย่างต่อเนืองและยังยืน

(นายอัครพงษ์ คาคูณ) คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์


(II)

สารบัญ สารจากคณบดี

(I)

สารบัญ

(II)

01

วิสย ั ทัศน์และพันธกิจ

1

02

ความเปนมาของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์

3

03

แผนภูมโิ ครงสร้างและการแบ่งส่วนงาน

4

04 คณะกรรมการประจําวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์

5

05

คณะผูบ ้ ริหาร

8

06

บุคลากรสายวิชาการ

9

07

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

12

08

จํานวนบุคลากรทังหมด

15

09

กิจกรรมของวิทยาลัย

16

10

ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ

19

11

ผลการดําเนินการด้านการผลิตบัณฑิต

22

12

กิจกรรมนักศึกษา

30

13

ผลการดําเนินงานด้านวิจัย

32

14

โครงการบริการวิชาการแก่สงั คม

36

15

การปลูกฝงจิตวิญญาณธรรมศาสตร์

39

16

ผลการดําเนินงานด้านการบริหารและการจัดการ

40

17

งานประชาสัมพันธ์

48

18

การประกันคุณภาพการศึกษา

49


PBIC ANNUAL REPORT 2020

01

1

วิสย ั ทัศน์และพันธกิจ วิสย ั ทัศน์ / Vision สถาบันการศึกษาชันนําของอาเซียน และศูนย์กลางการพัฒนา องค์ความรูด ้ ้านอาณาบริเวณศึกษา เพือชนทุกชาติ ASEAN’s Leading Institute and Center of Knowledge Development in Area Studies for the People of all Nations พันธกิจ / Mission

1

เปน Platform ด้านอาณาบริเวณศึกษาเน้นไทยศึกษา จีนศึกษา และอาเซียน ศึกษาของธรรมศาสตร์ Pridi Index in Social Literacy เพือสร้างความรู้ความเข้าใจเรืองความเท่าทัน สั ง คม โดยสร้ า งความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการผ่ า นการทํา วิ จั ย กั บ มหาวิ ท ยาลั ย คู่สัญญาระดั บนานาชาติ PBIC Academy in Area Studies เพือส่งเสริมองค์ ความรู้ด้านอาณาบริเวณ ศึกษาให้แก่เยาวชนผ่านเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ผลิตตําราภาษาอังกฤษประกอบรายวิชาการศึกษาทัวไป English Textbook for TU10X Courses จัดการเรียนการสอน Online Courses ด้านอาณาบริเวณศึกษา ให้ TU GENNEXT

2

จัดการเรียนการสอน ผลิตบัณฑิตทีมีคุณลักษณะ GREATS สร้ า งสรรค์ บั ณ ฑิ ต เด่ น เปน Global Citizen เพื อให้ นั ก ศึ ก ษามี คุ ณ ภาพและ เปนผู้นาํ ทีมีวิสัยทัศน์เท่าทันกระแสการเปลียนแปลงของโลก วิ จั ย และพั ฒ นาหลั ก สู ต รไทยศึ ก ษา จี น ศึ ก ษา เพื อให้ มี คุ ณ ภาพและทั น สมั ย ตอบสนองต่อการเปลียนแปลงของโลก สร้ า งความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการกั บ สถาบั น การศึ ก ษาทั งในประเทศและ ต่างประเทศเพือพัฒนาการเรียนการสอน การแลกเปลียนอาจารย์และนักศึกษา


PBIC ANNUAL REPORT 2020

3

2

ส่งเสริมและเผยแพร่ผลงานวิจัยด้านอาณาบริเวณศึกษา ส่งเสริมให้อาจารย์ดังตังธงวิจัยเปน Great Teacher เพือให้อาจารย์มีผลงาน ตี พิมพ์ในวารสารระดั บนานาชาติ และมีเวที ให้อาจารย์ได้ สร้างชือเสียงและ สร้างประโยชน์ต่อวงการวิ ชาการในไทยและนานาชาติ PBIC Research Symposium ประจําป เพือนําเสนอองค์ความรู้ผ่านงานวิจัย ด้านอาณาบริเวณศึกษาทีตอบโจทย์และนําไปบูรณาการเพือประโยชน์ของสังคม เ ชิ ญ นั ก วิ ช า ก า ร ที มี ชื อ เ สี ย ง ชั น นํา ใ น ร ะ ดั บ โ ล ก ม า ป ร ะ จํา ที วิ ท ย า ลั ย PBIC+Big Name Co-author เพือยกระดับคุณภาพงานวิชาการให้มีผลงาน ตีพม ิ พ์ในวารสารระดับโลก

4

สถาบันวิชาการทีอุทิศตนเพือประชาธิปไตย สิทธิเสมอภาค และเสรีภาพ ส่งเสริมค่ านิยม ให้บริการทางวิ ชาการเพือสังคม นําไปสู่การสร้างประชาธิปไตย สิทธิเสมอภาค และเสรีภาพ ตามปณิธานของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์

5

นํา ระบบการบริ ห าร การจั ด การที ทั น สมั ย เปนสากลเพื อสร้ า งการทํา งาน แบบ Smart Work และการพัฒนาบุคลากรด้วยวัฒนธรรมองค์กรแบบ CRICK อั น จ ะ นํา ไ ป สู่ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ทํา ง า น ก า ร K A I Z E N แ ล ะ มี ค ว า ม สุ ข ในสถานที ทํา งาน (Happy Workplace)

ค่านิยม / Value 1

ความท้าทาย (Challenge)

2

ความเคารพซึงกันและกัน (Respect)

3

การลงไปดูหน้างาน (Into Real Location)

4

ส่งมอบสิงทีดีทีสุดให้คนต่อไป (Customer First)

5

การพัฒนาสิงต่างๆ ให้ดีขึน (KAIZEN Mindset)


PBIC ANNUAL REPORT 2020

02

3

ความเปนมา ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ เปนหน่วยงานในกํากับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับการจัดตังขึนเพือตอบสนองวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการเปน สถาบันชันนําของประเทศไทยในระดับนานาชาติ โดยจัดการศึกษาด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในระบบบูรณาการทีคํานึงถึงการกระจาย โอกาสให้ผู้ด้อยโอกาสในการเข้าศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ได้รับการ อนุมัติให้จัดตังเมือวันที 16 กรกฎาคม พ.ศ.

ปจจุบัน วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ จั ด การเรี ย นการสอนหลั ก สู ต รนานาชาติ

2550 (การประชุ มสภามหาวิ ทยาลั ย ครังที 8/2550) และทํา พิ ธี เ ปดวิ ท ยาลั ย เมื อวั น ที 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 (วันปรีดี พนมยงค์) โ ด ย มี ส ถ า น ภ า พ เ ที ย บ เ ท่ า ค ณ ะ ต า ม พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2531 จั ด การศึ ก ษาที ให้ ค วามสํา คั ญ กั บ หลั ก สู ต รนานาชาติ เพื อผลิ ต บั ณ ฑิ ต

ซึงมีลักษณะผสมผสานระหว่างสาขาวิชา ต่ า ง ๆ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ รั ฐ ศาสตร์ ศิ ล ปะ ภาษาและวั ฒ นธรรม และเศรษฐศาสตร์ นอกจากนี ยั ง จั ด การ เรี ย นการสอนวิ ช าการศึ ก ษาทั วไปของ หลั ก สู ต รนานาชาติ ใ นระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ล ะ ดํา เ นิ น ก า ร วิ จั ย ใ ห้ บ ริ ก า ร ท า ง

ทีมีความรู้ความสามารถ ยึดมันในความเปน ธรรม การปกครองในระบอบประชาธิปไตย และการสร้างสรรค์ ประโยชน์เพือส่วนรวม ดั งปรากฏในแผนยุ ทธศาสตร์มหาวิ ทยาลั ย ธรรมศาสตร์ ฉบับที 10 พ.ศ. 2550 - 2554

วิ ช าการแก่ สั ง คมในสาขาวิ ช าที วิ ท ยาลั ย จัดการเรียนการสอน ตลอดจนการส่งเสริม ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม

วิ ทยาลั ยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ จั ดการเรียนการสอน ทั งในระดั บประกาศนียบัตร ปริญญาตรี และปริญญาโท รวม 4 หลักสูตร ดังนี

1 2 3

4

หลักสูตรจีนศึกษา (Chinese Studies Program)

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

หลักสูตรอินเดียศึกษา (Indian Studies Program)

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอินเดียศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

หลักสูตรไทยศึกษา (Thai Studies Program)

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรสองสถาบัน/หลักสูตรปรับปรุง 2562) ประกาศนียบัตรไทยศึกษา (Certificate in Thai Studies Program)

หลักสูตรอาเซียนศึกษา (ASEAN Studies Program)

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาเซียนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)


PBIC ANNUAL REPORT 2020

4

03 แผนภูมโิ ครงสร้างและการแบ่งส่วนงาน ตามประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลงวันที 2 พฤษภาคม 2561 เรือง “อํานาจ หน้าทีและการแบ่งหน่วยงานภายในสํานักงานเลขานุการวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ พ.ศ. 2561” แบ่งหน่วยงานเปน 4 งาน ดังนี

คณะกรรมการ

คณบดี

ประจําวิทยาลัย

ผูช ้ ว ่ ยคณบดี ฝายวิชาการ

รองคณบดี

ฝายบริหารและพัฒนา

รองคณบดี ฝายวิชาการ

รองคณบดี

ฝายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

รองคณบดี

ฝายกิจการนักศึกษา

เลขานุการวิทยาลัย

งานบริหาร และพัฒนา

งานบริการ การศึกษา วิชาการ หลักสูตร

หมวดการเงิน บัญชี และพัสดุ การเงิน บัญชี พัสดุ

งานวิจัย และวิเทศสัมพันธ์ วิจัย วิเทศสัมพันธ์ สือสารองค์กร

หมวดแผนและ ประกันคุณภาพ

หมวด บริหารทัวไป

แผนและงบประมาณ ประกันคุณภาพ การศึกษา

บุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที/ยานยนต์ สารบรรณ

กองกิจการ นักศึกษา สวัสดิการนักศึกษา ทุนการศึกษา ศิษย์เก่าสัมพันธ์


PBIC ANNUAL REPORT 2020

04

5

คณะกรรมการประจํา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ 9 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 มิถน ุ ายน 2563

1

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. นิธน ิ น ั ท์ วิศเวศวร

คณบดี

ประธานกรรมการ

2

ดร. เตช บุนนาค

ผูท ้ รงคุณวุฒิ

กรรมการ

3

นายชลิต มานิตยกุล

ผูท ้ รงคุณวุฒิ

กรรมการ

4

ดร. เทพรักษ์ เหลืองสุวรรณ

ผูท ้ รงคุณวุฒิ

กรรมการ

5

ดร. กิรฎ ิ า เภาพิจิตร

ผูท ้ รงคุณวุฒิ

กรรมการ

6

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. การดี เลียวไพโรจน์

ผูท ้ รงคุณวุฒิ

กรรมการ

7

รองศาสตราจารย์ ดร. อิสริยา บุญญะศิริ

ผูท ้ รงคุณวุฒิ

กรรมการ

8

รองศาสตราจารย์ ดร. ธงชัย สุวรรณสิชณน์

ผูท ้ รงคุณวุฒิ

กรรมการ

9

นางสาวพรทิพย์ กาญจนนิยต

ผูท ้ รงคุณวุฒิ

กรรมการ

10

ศาสตราจารย์ ดร. ศิรล ิ ักษณ์ โรจนกิจอํานวย

11

รองศาสตราจารย์ ดร. มุนน ิ ทร์ พงศาปาน

12

รองศาสตราจารย์ ดร. ภณิดา ซ้ายขวัญ

ผูป ้ ฏิบต ั ิงาน

ในมหาวิทยาลัย

ผูป ้ ฏิบต ั ิงาน

กรรมการ

ในมหาวิทยาลัย

กรรมการ

รองคณบดีฝาย บริหารและพัฒนา

กรรมการ

รองคณบดีฝาย วิชาการ

กรรมการ

(1 เมษายน - 30 มิถุนายน 2563)

รองคณบดีฝาย วิชาการ

กรรมการ

15

อาจารย์ชย ั พร พยาครุฑ

รองคณบดีฝาย กิจการนักศึกษา

กรรมการ

16

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. สุปรีดี ฤทธิรงค์

17

นางสาวยุพา ใช้กิจจา

18

นางสาวพรพิมล เติบไพบูลย์

ผูช ้ ว ่ ยเลขานุการ

19

นางสาวพรติมา ศรีวนิช

ผูช ้ ว ่ ยเลขานุการ

13 14

อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์ (ปฏิบัติงานถึงวันที 31 มีนาคม 2563)

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ชล บุนนาค

รองคณบดีฝาย วิจัยและวิเทศสัมพันธ์

กรรมการ

เลขานุการ

เลขานุการ


PBIC ANNUAL REPORT 2020

6

9 กุมภาพันธ์ 2563 ถึงปจจุบน ั

1

2

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ อัครพงษ์ คาคูณ

ดร. เตช บุนนาค

คณบดี ประธานกรรมการ

ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

3

4

นายชลิต มานิตยกุล

ดร. เทพรักษ์ เหลืองสุวรรณ

ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

5

6

ดร. กิรฎ ิ า เภาพิจิตร

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. การดี เลียวไพโรจน์

ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

7

8

รองศาสตราจารย์ ดร. อิสริยา บุญญะศิริ

รองศาสตราจารย์ ดร. ธงชัย สุวรรณสิชณน์

ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ


PBIC ANNUAL REPORT 2020

7

9 กุมภาพันธ์ 2563 ถึงปจจุบน ั

9

10

คุณพรทิพย์ กาญจนนิยต

ศาสตราจารย์ ดร. ศิรล ิ ักษณ์ โรจนกิจอํานวย

ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ

ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย กรรมการ

11

12

คุณปรีชา โพธิ

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. ดุลยภาค ปรีชารัชช

รองคณบดีฝายบริหารและพัฒนา กรรมการ

รองคณบดีฝายวิชาการ กรรมการ

13

14

อาจารย์ชย ั พร พยาครุฑ

นางสาวยุพา ใช้กิจจา

รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา กรรมการ

เลขานุการวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ เลขานุการ

15 นางสาวพรพิมล เติบไพบูลย์ ผู้ชว ่ ยเลขานุการ

16 นางสาวพรติมา ศรีวนิช ผู้ชว ่ ยเลขานุการ


PBIC ANNUAL REPORT 2020

05

8

คณะผูบ ้ ริหาร 9 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 มิถน ุ ายน 2563

1

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. นิธน ิ น ั ท์ วิศเวศวร

คณบดี

2

รองศาสตราจารย์ ดร. ภณิดา ซ้ายขวัญ

รองคณบดีฝายบริหารและพัฒนา

3

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. สุปรีดี ฤทธิรงค์

รองคณบดีฝายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

4

อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์

รองคณบดีฝายวิชาการ (ปฏิบัติงานถึงวันที 31 มีนาคม 2563)

รองคณบดีฝายวิชาการ

5

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ชล บุนนาค

6

อาจารย์ชย ั พร พยาครุฑ

รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา

7

นางพยอม ครุสาตะ

ผูช ้ ว ่ ยคณบดีฝายประกันคุณภาพ

(1 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563)

1 กรกฎาคม 2563 ถึงปจจุบน ั

1

2

3

4

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ อัครพงษ์ คาคูณ คณบดี

คุณปรีชา โพธิ

รองคณบดีฝายบริหารและพัฒนา

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. ดุลยภาค ปรีชารัชช รองคณบดีฝายวิชาการ

อาจารย์ชย ั พร พยาครุฑ

รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา


PBIC ANNUAL REPORT 2020

06

9

บุคลากรสายวิชาการ อาจารย์ประจํา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

1

Prof. Zhang Xizhen

M.A. (International Politics), Peking University, China

Ms. Wang Chunyu

2

3

4

M.A. (Chinese Language and Literature), Chinese Light Industry College, China

อาจารย์ ดร. อุษณีษ์ เลิศรัตนานนท์

Ph.D. (Diplomacy), Peking University, China

อาจารย์ ดร. เกียรติศก ั ดิ ฟงปรีชากุล

Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistic), Minzu University, China

อาจารย์การะเกตุ เนตรโพธิแก้ว

5

6

M.A. (Linguistics and Applied Linguistic), Beijing Normal University, China

อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์ Ph.D. (Finance), Peking University, China

อาจารย์ชย ั พร พยาครุฑ

7

M.A. (Modern and Contemporary Chinese History), Beijing Normal University, China


PBIC ANNUAL REPORT 2020

10

อาจารย์ประจํา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอินเดียศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

1

2

Dr. Shweta Sinha

Ph.D. (Remote Sensing and GIS), Asian Institute of Technology, Thailand

Dr. Mohammad Faheem

Ph.D. (Geography), Aligarh Muslim University, India

อาจารย์ ดร. ปรีดโี ดม พิพฒ ั น์ชูเกียรติ

3

Ph.D. (Geography and Earth Aciences), Aberystwyth University, United Kingdom

อาจารย์ประจํา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

1

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ อัครพงษ์ คาคูณ

M.A. (Southeast Asian Studies), Chulalongkorn University, Thailand

Dr. Thomas Richard Bruce

2

Ph.D. (History), School of Oriental and African Studies, University of London, United Kingdom

Mr. Joel Littler

3

MSc (Modern Japanese Studies), University of Oxford, United Kingdom (ปฏิบัติงานถึงวันที 31 สิงหาคม 2563)

อาจารย์ ดร. อรธิชา ดวงรัตน์

4

Ph.D. (Political Science), Mahidol University (เริมปฏิบัติงานเมือวันที 14 ตุลาคม 2563)


PBIC ANNUAL REPORT 2020

11

อาจารย์ประจํา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาเซียนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

1

2

Prof. Dr. Yang Baoyun

Ph.D. (Far East Studies) University of Paris VII, France

Asst. Prof. Dr. Yi Lin

Ph.D. (Sociology), Peking University, China

อาจารย์ประจํา (ลาศึกษาต่อ) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

อาจารย์กําพล ปยะศิรก ิ ล ุ

1

M.A. (Modern Chinese History), Peking University, China กําลังศึกษาต่อ Ph.D. (Comparative Politics), Peking University, China

อาจารย์จารุวรรณ เทียนมหาสาทิศ

2

M.Ed. (Higher Education), Peking University, China กําลังศึกษาต่อ Ph.D. (History), University of London, United Kingdom

อาจารย์ประจํา (ลาศึกษาต่อ) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) อาจารย์เกณฑ์ วิฑรู ชาติ

1

MSc (International Politics), School of Oriental and African Studies, University of London, United Kingdom กําลังศึกษาต่อ Ph.D. (History), The University of Edinburgh, United Kingdom


PBIC ANNUAL REPORT 2020

07

12

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

1

2

3

4

5

6

นางสาวยุพา ใช้กิจจา

รักษาการในตําแหน่งเลขานุการวิทยาลัย

นางฐิตารีย์ ฐิติเตชะนันท์ หัวหน้างานบริหารและพัฒนา

นางสาวพรพิมล เติบไพบูลย์

รักษาการหัวหน้างานบริการการศึกษา

นายชัยพร ปนงาม

รักษาการหัวหน้ากิจการนักศึกษา

นางสาววภัสร์ณิษา เรือนคํา

รักษาการหัวหน้างานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

นางสาวนภาพร สุรย ิ ะ นักวิชาการพัสดุ

นายปติพงษ์ ทรงบันดิษฐ์

7

8

นักวิชาการเงินและบัญชี

(ปฏิบัติงานถึงวันที 31 มกราคม 2563)

นางสาวนวิยา จีนท่าน นักวิชาการศึกษา


PBIC ANNUAL REPORT 2020

13

9

10

11

12

13

14

15

16

17

นางสาวฐิตินันท์ มหายศปญญา นักวิชาการศึกษา (กิจการนักศึกษา)

นางสาวพรติมา ศรีวนิช

นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวนรินทร์รต ั น์ พุม ่ แหยม นักวิชาการเงินและบัญชี

(ปฏิบัติงานถึงวันที 31 สิงหาคม 2563)

นางสาวชยุรต ั น์ วรตินันท์ บุคลากร

นางสาวอําภาพร ชยะสุนทร นักวิชาการเงินและบัญชี

นายธนสรรค์ เพ็ญจรูญ

นักวิชาการศึกษา (กิจการนักศึกษา)

(ปฏิบัติงานถึงวันที 13 พฤษภาคม 2563)

นางสาวศิรม ิ า ลิมปติกรานนท์ นักวิชาการเงินและบัญชี

นายณัฏฐ์นภัส เวียงเกตุ เจ้าหน้าทีบริหารทัวไป

นางสาวณัฐชา นันทนาสฤษดิ นักวิชาการศึกษา


PBIC ANNUAL REPORT 2020

14

18

19

20

21

22

23

24

นายอาณัติ หล้าดัม

นักประชาสัมพันธ์ (สือสารองค์กร) (ปฏิบัติงานถึงวันที 31 ตุลาคม 2563)

นายปณยศักดิ นิธิฐานุพงศ์ นักเทคโนโลยีสารสนเทศ

นางสาวรัตติยา กาญจนาภิญโญกุล เจ้าหน้าทีวิจัย

นางสาวกานต์ชนก จุลกิจวัฒน์ นักวิชาการศึกษา

นางสาววีนัส เวลาดี นักวิชาการศึกษา

นางสาวภัทรวดี พันธุ นักวิชาการเงินและบัญชี

นางสาวสโรชินี จันทรฤทธิ

นักวิชาการศึกษา (เริมปฏิบัติงานวันที 12 พฤษภาคม 2563)

นางสาวศุภรัตน์ เจริญศิริ

25

นักวิเทศสัมพันธ์ (เริมปฏิบัติงานวันที 14 พฤษภาคม 2563)


PBIC ANNUAL REPORT 2020

08

15

จํานวนบุคลากรทังหมด

ผูบ ้ ริหาร

4

อัตรา

ณ วันที 31 ธันวาคม 2563 ณ วันที 30 มิถุนายน 2563 จํานวน 6 อัตรา

บุคลากร

สายสนับสนุน

บุคลากร

วิชาการ

25

สายวิชาการ

18

อัตรา

อัตรา

(ลาศึกษาต่อ 3 คน)

ณ วันที 31 ธันวาคม 2563

จํานวนบุคลากรสายวิชาการ (อาจารย์ประจํา) จําแนกตามวุฒก ิ ารศึกษาและตําแหน่งทางวิชาการ

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

8

10

อาจารย์

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์


PBIC ANNUAL REPORT 2020

09

กิจกรรมของวิทยาลัย งานเฉลิมฉลองวันตรุษจีน “Thammasat Chinese New Year 2020 at PBIC” [27 มกราคม 2563] วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับโครงการวิเทศคดีศึกษา (อาเซียนจีน) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานเฉลิมฉลองวันตรุษจีน “Thammasat Chinese New Year 2020 at PBIC” เพือให้นักศึกษาชาวไทย และชาวต่ า งชาติ ร่ ว มเฉลิ ม ฉลองตามวั ฒ นธรรมของชาวจี น มี จั ด แสดง เชิดสิงโต ณ บริเวณลานด้านหน้าวิทยาลัย โดยได้รบ ั เกียรติจากผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ภาสพงศ์ ศรีพิจารณ์ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปนประธานในงานเฉลิมฉลองดังกล่าว

16


PBIC ANNUAL REPORT 2020

"PBIC Academy 2020" [7 กุมภาพันธ์ 2563] วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ จัดกิจกรรม “PBIC Academy 2020” เพือ เปดโอกาสให้คณาจารย์และนักเรียนชันมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าร่วมกิจกรรม แข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ และตอบปญหาวิชาการด้านอินเดียศึกษา จีนศึกษา และไทยศึกษา รวมทั งกระตุ้นและสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนเห็นความ สําคัญของการเรียนรู้ในรู ปแบบสหวิทยาการ นักเรียนทีได้รับรางวัลชนะเลิศ ตอบปญหาวิชาการ คือ นักเรียนจากโรงเรียนกสิณธรเซนต์ปเตอร์ และประเภท การกล่าวสุนทรพจน์ คือ นักเรียนจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์

สานสัมพันธ์นก ั ศึกษา ด้วยการทําไข่เจียว “Thais like Kai Jeow” [20 กุมภาพันธ์ 2563] วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ จัดกิจกรรม สานสั ม พั น ธ์ นั ก ศึ ก ษาด้ ว ยการทํา ไข่ เ จี ย ว “Thais like Kai Jeow” ณ บริเวณลานด้านหน้า วิ ท ยาลั ย เพื อให้ นั ก ศึ ก ษาทั งชาวไทยและ ชาวต่ า งชาติ ไ ด้ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ สร้ า งความ สัมพันธ์อันดีระหว่างกัน เกิดการแลกเปลียน เรียนรูท ้ างด้านภาษาและวัฒนธรรม

17


PBIC ANNUAL REPORT 2020

"PBIC on Tour" [9 พฤศจิกายน 2563] วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ จัดกิจกรรม “PBIC on Tour” โดยมีผู้ช่วย ศาสตราจารย์ อั ค รพงษ์ คาคู ณ คณบดี และนายปรี ช า โพธิ รองคณบดี ฝายบริหารและพัฒนา นํานักศึกษาและบุคคลภายนอกเข้าชมชมพิพิธภัณฑ์ ศิลปะไทยร่วมสมัย MOCA เพือประชาสัมพันธ์หลักสูตรไทยศึกษาของวิทยาลัย ให้เปนที รู้จักมากยิงขึน

พิธล ี งนามข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ [1 ธันวาคม 2563] วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ลงนามข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ทางวิชาการ ร่วมกับสถาบันเอเชียตะวันออก ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ เพือพัฒนาการเรียนการสอนจีนศึกษาในด้าน การพัฒนาหลักสูตร การแลกเปลียนคณาจารย์ และการผลิตตํารา

18


PBIC ANNUAL REPORT 2020

10

19

ความร่วมมือ กับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ว/ด/ป ทีลงนาม [ครังแรก]

College of International Education and Exchange (CIEE), Chongqing University

08/06/2554

ไม่ระบุ

08/06/2554 The College of International Cultural Exchange (CICE), Shanghai International Studies University (semester)

ต่ออัตโนมัติทุก 5 ป

04/05/2555 The College of International Cultural Exchange (CICE), Shanghai International Studies University (summer)

ไม่ระบุ

College of International Education of Shandong University (summer)

04/07/2557

ต่ออัตโนมัติทุก 5 ป

College of International Education of Shandong University (1 semester)

22/12/2557

ต่ออัตโนมัติทุก 5 ป

School of Humanities and Social Science, Xi’an Jiaotong University

29/10/2557

ไม่ระบุ

คณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยปกกิง (แลกเปลียนบุคลากร)

21/01/2558

20/01/2563

Huaqiao University

23/05/2558

22/05/2563

School of International Studies 23/06/2559 (SIS), Peking University

ต่ออัตโนมัติทุก 5 ป

School of International Relations, Sun Yat-sen University

18/12/2564

19/12/2559

College of Law and Politics, National Chung Hsing University

10/06/2562

19/03/2563

International Cultural Exchange 24/03/2560 School, Fudan University

ต่ออัตโนมัติทุก 1 ป

ว/ด/ป ทีหมดอายุ [ถ้ามี]

09/06/2567

ว/ด/ป ทีลงนาม [ครังแรก]

ว/ด/ป ทีหมดอายุ [ถ้ามี]

School of Global Studies and Collaboration, Aoyama Gakuin University

01/04/2558

ต่ออัตโนมัติทุก 1 ป

Bunkyo Gakuin University

02/04/2558

ต่ออัตโนมัติทุก 3 ป

ว/ด/ป ทีลงนาม [ครังแรก]

School of Political Science and 20/03/2560 International Relations, Central China Normal University

28/08/2561 Yunnan Around Asia International Education (YAAE)

ว/ด/ป ทีลงนาม [ครังแรก]

ว/ด/ป ทีหมดอายุ [ถ้ามี]

ว/ด/ป ทีหมดอายุ [ถ้ามี]

Faculty of Social and Political Sciences, Universitas Gadjah Mada

13/07/2558

ต่ออัตโนมัติทุก 5 ป

Faculty of Social and Political Sciences, Universitas Gadjah Mada and ASEAN Studies Program

13/07/2558

12/07/2563

Indian Council for Cultural Relations (ICCR)

ว/ด/ป ทีลงนาม [ครังแรก]

ว/ด/ป ทีหมดอายุ [ถ้ามี]

12/10/2561

11/10/2564

Shri Ram College of Commerce, 8/11/2561 University of Delhi

7/11/2566

Gauhati University

26/12/2561

25/12/2564

Indian Institute of Technology Indore

02/01/2563

01/01/2568

University of California

27/08/2566

School of Oriental and African Studies (SOAS), University of London

ว/ด/ป ทีลงนาม [ครังแรก]

ว/ด/ป ทีหมดอายุ [ถ้ามี]

20/08/2556

ต่ออัตโนมัติทุก 5 ป

ว/ด/ป ทีลงนาม [ครังแรก]

ว/ด/ป ทีหมดอายุ [ถ้ามี]

13/05/2562

12/05/2567


PBIC ANNUAL REPORT 2020

การต้อนรับคณะอาคันตุกะผูม ้ าเยือน Aoyama Gakuin University [10 มกราคม 2563] Assoc. Prof. Daisuke Saito และคณะผู้ แ ทน เข้าพบผูบ ้ ริหารของวิทยาลัยเพือขอบคุณทีวิทยาลัย ดูแลนักศึกษาจาก Aoyama Gakuin University เปนอย่ า งดี ต ลอดระยะเวลาที ศึ ก ษาที วิ ท ยาลั ย พร้อมทังแนะนําผู้ประสานงานคนใหม่ทีรับหน้าที ดู แ ลนั ก ศึ ก ษาที มาศึ ก ษาที ประเทศไทย โดยมี ผู้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . สุ ป รี ดี ฤ ท ธิ ร ง ค์ (รองคณบดี ฝ ายวิ จั ย และวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ ) นางสาว วภั ส ร์ ณิ ษ า เรื อ นคํา (รั ก ษาการหั ว หน้ า งานวิ จั ย แ ล ะ วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ์ ) แ ล ะ น า ง ส า ว ก า น ต์ ช น ก จุลกิจวัฒน์ (นักวิชาการศึกษา) ร่วมต้อนรับ

School of Oriental and African Studies (SOAS), University of London [18 กุมภาพันธ์ 2563] Ms. Rachel Humphreys ผู้แทนเข้าพบผู้บริหาร ของวิ ท ยาลั ย เพื อหารื อ เรื องการเตรี ย มพร้ อ ม ด้ านภาษาอั งกฤษสํา หรั บ นั ก ศึ ก ษาหลั กสู ต ร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา (หลักสูตร นานาชาติ ) ที จะไปเรี ย นในหลั ก สู ต ร 2+2 กั บ SOAS มหาวิ ทยาลั ยลอนดอน โดยมีอาจารย์ ดร. มณฑิ นี ธี ร ะมั ง คลานนท์ (รองคณบดี ฝ ายวิ ช า การ) Dr. Thomas Richard Bruce (หั ว หน้ า โครงการไทยศึ ก ษา) และนางสาวกานต์ ช นก จุ ลกิ จวั ฒน์ (นักวิ ชาการศึกษา) ร่วมต้ อนรับ

20


PBIC ANNUAL REPORT 2020

Aoyama Gakuin University [4 สิงหาคม 2563] Mr. Eric Masanobu Matsunaga และคณะผูแ ้ ทน ประชุมออนไลน์ร่วมกับผู้บริหารของวิทยาลัยเพือ หารือเรืองแผนการเดินทางมาศึกษาของนักศึกษา จาก Aoyama Gakuin University ในภาคการ ศึกษาที 1/2564 โดยมี ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์อค ั รพงษ์ คาคู ณ (คณบดี ) Dr. Thomas Richard Bruce (หัวหน้าโครงการไทยศึกษา) อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์ (อาจารย์ประจําวิทยาลัย) นางสาว ศุภรัตน์ เจริญศิริ (นักวิเทศสัมพันธ์) และนางสาว กานต์ ช นก จุ ล กิ จ วั ฒ น์ (นั ก วิ ช าการศึ ก ษา) ร่ ว ม ประชุม College of ASEAN Studies, Guangxi University for Nationalities [10 สิงหาคม 2563] Mr. Ye Xingyi และคณะผู้แทน ประชุ มออนไลน์ ร่วมกับผู้บริหารของวิทยาลัยเพือหารือเรืองความ ร่วมมือทางด้านวิชาการในระดับปริญญาโท โดยมี ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ อั ค รพงษ์ คาคู ณ (คณบดี ) Prof. Dr. Yang Baoyun (อาจารย์ประจําวิทยาลัย) อาจารย์ ดร. มณฑิ นี ธี ร ะมั ง คลานนท์ (อาจารย์ ประจําวิทยาลัย) นางสาวยุพา ใช้กิจจา (รักษาการ ในตําแหน่งเลขานุการวิทยาลัย) และ นางสาวศุภรัตน์ เจริญศิริ (นักวิเทศสัมพันธ์) ร่วมประชุม

21


PBIC ANNUAL REPORT 2020

11

22

ผลการดําเนินงานด้านการผลิตบัณฑิต วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ จั ด การเรี ย น การสอนในระดับประกาศนียบัตร ปริญญาตรี และ ปริ ญ ญาโท รวม 4 หลั ก สู ต ร และเปนหน่ ว ยงาน ที จั ดการเรียนการสอนวิ ชาศึกษาทั วไป (General Education Program) ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร นานาชาติของมหาวิทยาลัยอีกด้วย

1 2 3

4

หลักสูตรจีนศึกษา (Chinese Studies Program) ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรอินเดียศึกษา (Indian Studies Program) ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอินเดียศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรไทยศึกษา (Thai Studies Program) ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรสองสถาบัน/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) ประกาศนียบัตรไทยศึกษา (Certificate in Thai Studies Program) หลักสูตรอาเซียนศึกษา (ASEAN Studies Program) ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาเซียนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

หลักสูตรระดับปริญญาตรี

1

หลักสูตรจีนศึกษา (Chinese Studies Program)

หลั กสูตรจี นศึกษา เปนหลั กสูตรที ผลิ ตบัณฑิ ตระดั บปริญญาตรี จั ดการเรียนการสอน ในลั กษณะ “สหวิ ทยาการ” (Interdisciplinary) ผสมผสานความรู้ทางสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และการบริหารธุ รกิ จ เข้ากั บทั กษะภาษาอั งกฤษและภาษาจี นที ใช้เปน สือในการเรียนการสอน เพือให้บัณฑิ ตมีความรู้ความสามารถพร้อมตอบสนองตลาด แรงงานและการศึกษาขันสูงต่อไป หลักสูตรกําหนดให้นก ั ศึกษาไปศึกษาทีมหาวิทยาลัยคู่สญ ั ญา ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ แ ก่ Peking University, Fudan University, Shanghai International Studies University และ Shandong University โดยมีระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา


PBIC ANNUAL REPORT 2020

2

หลักสูตรอินเดียศึกษา (Indian Studies Program)

หลั ก สู ต รอิ น เดี ย ศึ ก ษาเปนหลั ก สู ต ร ระดับปริญญาตรีแห่งแรกของประเทศ ไทย มี ก ารเรี ย นการสอนในลั ก ษณะ “สหวิ ทยาการ” (Interdisciplinary) ที เ กี ย ว ข้ อ ง กั บ อิ น เ ดี ย ทั ง ใ น ด้ า น ประวั ติ ศ าสตร์ อารยธรรม ปรั ช ญา ระบบเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สั ง คมและวั ฒ นธรรม โดยใช้ ทั ก ษะ ภาษาอั ง กฤษและภาษาฮิ น ดี เ ปนสื อ ในการเรียนการสอน หลักสูตรนีได้รับ การสนั บ สนุ น จากรั ฐ บาลอิ น เดี ย ทั ง ในด้านอาจารย์สอนภาษาฮินดี ทุนการ ศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี และทุ น นักศึกษาแลกเปลียนด้านวัฒนธรรม ห ลั ก สู ต ร กํา ห น ด ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ต้ อ ง ไ ป ศึ ก ษ า ที ม ห า วิ ท ย า ลั ย คู่ สั ญ ญ า ณ สาธารณรัฐอินเดีย โดยมีระยะเวลา 1 ภาคการศึ ก ษา

23

3

หลักสูตรไทยศึกษา (Thai Studies Program)

หลั ก สู ต รไทยศึ ก ษาเปนหลั ก สู ต รที ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ระดั บ ปริ ญ ญาตรี จั ด การเรี ย น ก า ร ส อ น ใ น ลั ก ษ ณ ะ “ ส ห วิ ท ย า ก า ร ” (Interdisciplinary) ผสมผสานความรู้ทาง ศาสตร์ต่างๆ และเพือเตรียมพร้อมสําหรับ ยุ ค ที เอเชี ย และเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ กําลังมีบทบาทต่อเศรษฐกิจสังคมโลกอย่าง สูงขึน วิ ท ยาลั ย ได้ ล งนามข้ อ ตกลงความมื อ ทาง วิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ School of Oriental and African Studies (SOAS), University of London สหราชอาณาจักร เพือจัดการศึกษาหลักสูตร สองปริญญา (2+2) Bachelor of Arts in Thai Studies (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) และ Bachelor of Arts in Southeast Asian Studies (SOAS), University of London นอกจากนี วิทยาลัยได้จัดการเรียนการสอน หลั กสูตรไทยศึกษา (ประกาศนียบัตรไทย ศึ ก ษา) ซึ งมี เ นื อหาเกี ยวกั บ ภาษาไทย วัฒนธรรมไทย และกลุ่มวิชาอืนๆ เกียวกับ ประเทศไทย กลุ่มผู้เรียนเปนนักศึกษาชาว ต่ างชาติ ชาวต่ างชาติ ทีเข้ามาทํางานและ อาศัยอยู่ในประเทศไทย และนักศึกษาใน หลั ก สู ต รนานาชาติ นอกจากนี หลั ก สู ต ร ประกาศนียบัตรไทยศึกษาได้ จัดโครงการ ระยะสัน (Short Program) ทีมีเนือหาเกียว กั บ ประเทศไทยและวั ฒ นธรรมไทย ตาม ความต้ อ งการของมหาวิ ท ยาลั ย คู่ สั ญ ญา หรือเปดสอนวิชาทีมีเนือหาเหมาะสมสําหรับ ผูเ้ รียนชาวต่างชาติกลุ่มต่างๆ


PBIC ANNUAL REPORT 2020

24

หลักสูตรระดับปริญญาโท

4

หลักสูตรอาเซียนศึกษา (ASEAN Studies Program)

หลักสูตรอาเซียนศึกษาเปนหลักสูตรระดับปริญญาโททางด้านอาเซียนศึกษา ทีมีจุดเด่น ด้ า นเนื อหาที มุ่ ง เน้ น การสร้ า งความเข้ า ใจภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ โดยไม่ ไ ด้ มุ่งศึกษาเฉพาะความรู้ในเชิงพืนที เท่ านัน แต่ ยังรวมถึ งการศึกษาและทําความเข้าใจ ผ่านมุมมององค์กรความร่วมมือระดับภูมิภาคอย่างอาเซียน เพือให้เกิดการพัฒนาองค์ ความรูร้ ว ่ มสมัยเกียวกับภูมภ ิ าคนิยม (Regionalism) ในกระแสโลกอย่างชัดเจนมากขึน เนือหาของหลักสูตรเน้นการศึกษาทีหลากหลาย ใช้แนวทางการศึกษาเชิง “สหวิทยาการ” (Interdisciplinary) ที ครอบคลุมครบทั งมิติการเมือง เศรษฐกิ จ และสังคมวั ฒนธรรม รวมทั งยังมีการเรียนการสอนภาษาของประเทศสมาชิกในกลุ่มประเทศอาเซียน อาทิ ภาษาพม่า ภาษาเวียดนาม และภาษาอินโดนีเซีย หลั กสูตรนีศึกษานอกเวลาราชการ ระยะเวลาการศึกษาตามหลั กสูตร 2 ปการศึกษา โดยผู้เรียนสามารถเลือกศึกษาตามความสนใจทังในระบบการศึกษาแบบวิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระ

หลักสูตรวิชาศึกษาทัวไป หลั ก สู ต รวิ ช าศึ ก ษาทั วไปของมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ที นั ก ศึ ก ษาชั นปที 1 ทุ ก คน จะต้องศึกษา แบ่งออกเปน 2 ส่วน คือ ส่วนที 1 เปนหลักสูตรกลางของมหาวิทยาลัยทีกําหนดให้นก ั ศึกษาทุกคนต้องเรียน จํานวน 21 หน่วยกิต ส่วนที 2 เปนส่วนทีคณะ/โครงการดําเนินการเอง จํานวน 9 หน่วยกิต ทั งนี ในระเบี ย บก่ อ ตั งวิ ท ยาลั ย ได้ กํา หนดให้ วิ ท ยาลั ย เปนผู้ จั ด การเรี ย นการสอน หลั ก สู ต รวิ ช าศึ ก ษาทั วไป ส่ ว นที 1 ให้ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ ที ก่ อ ตั ง ตั งแต่ ป การศึ ก ษา 2552 เปนต้นไป


PBIC ANNUAL REPORT 2020

25

จํานวนนักศึกษา นักศึกษาของวิทยาลัยภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2562 มีจํานวนทังสิน 379 คน และในภาคเรียนที 1 ปการศึกษา 2563 มีจํานวนทังสิน 313 คน ดังกราฟต่อไปนี

229

จํานวนรวม

ภาคเรียนที 2/2562

ภาคเรียนที 2/2562

379

ภาคเรียนที 1/2563

313

คน คน

87

202

35

10

36

ภาคเรียนที 1/2563

15 จีนศึกษา

อินเดียศึกษา

69

9

0

ไทยศึกษา

ไทยศึกษา

(ปริญญาตรี)

(ประกาศนียบัตร)

อาเซียนศึกษา

จํานวนรายวิชาทีเปดสอน วิทยาลัยได้ดําเนินการจัดการเรียนการสอนภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2562 รวมทังสิน 54 รายวิชา และในภาคเรียนที 1 ปการศึกษา 2563 รวมทังสิน 53 วิชา ดังกราฟต่อไปนี 15

จีนศึกษา

16 11

อินเดียศึกษา

14 17

ไทยศึกษา

14

(ปริญญาตรี)

2

ไทยศึกษา (ประกาศนียบัตร)

วิชาศึกษาทัวไป

จํานวนรวม

0 9 9

ภาคเรียนที 2/2562

54

รายวิชา

ภาคเรียนที 1/2563

53

รายวิชา


PBIC ANNUAL REPORT 2020

26

จํานวนผูส ้ า ํ เร็จการศึกษา ในปการศึกษา 2562 วิทยาลัยมีผส ู้ าํ เร็จการศึกษาจากหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิ ช าจี น ศึ ก ษา (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) เปนรุ่ น ที 8 จํา นวน 73 คน หลั ก สู ต ร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอินเดียศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) เปนรุน ่ ที 3 จํานวน 14 คน หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าไทยศึ ก ษา (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) เปนรุ่ น แรก จํา นวน 10 คน และมี ผู้ สาํ เร็ จ การศึ ก ษาจากหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาอาเซียนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) เปนรุน ่ ที 6 จํานวน 1 คน ดังนี

ปการศึกษา ทีสําเร็จการศึกษา (รหัสนักศึกษา)

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

จีนศึกษา

อินเดียศึกษา

ไทยศึกษา

อาเซียนศึกษา

2555 (52)

78

-

-

-

2556 (53)

80

-

-

-

2557 (54)

83

-

-

5

2558 (55)

63

-

-

7

2559 (56)

96

11

-

2

2560 (57)

87

5

-

11

2561 (58)

77

10

-

3

2562 (59)

77

14

10

1

นอกจากนี วิทยาลัยได้มีการสํารวจข้อมูลการได้งานทําของบัณฑิตรุ่นปการศึกษา 2561 หลั ก สู ต รจี น ศึ ก ษา มี นั ก ศึ ก ษาสํา เร็ จ การศึ ก ษาทั งหมด 77 คน มี ผู้ ต อบแบบสอบถาม จํานวน 54 คน (คิ ดเปนร้อยละ 70.13) ได้ งานทําหลั งสําเร็จการศึกษาจํานวน 39 คน ประกอบอาชีพอิ สระและมีกิจการของตนเองจํานวน 7 คน และบัณฑิ ตที ลาศึกษาต่ อ จํานวน 8 คน หลักสูตรอินเดียศึกษา มีนักศึกษาสําเร็จการศึกษาทังหมด 10 คน มีผู้ตอบแบบสอบถาม จํานวน 7 คน (คิดเปนร้อยละ 70.00) ได้งานทําหลังสําเร็จการศึกษาจํานวน 3 คน และ บัณฑิตทีลาศึกษาต่อจํานวน 1 คน สําหรับสาขาวิชาอาเซียนศึกษา มีมหาบัณฑิตสําเร็จการศึกษาและตอบแบบสอบถาม ทังหมด 3 คน (คิดเปนร้อยละ 100.00) และได้งานทําหลังสําเร็จการศึกษาทังหมด


PBIC ANNUAL REPORT 2020

27

ทุนการศึกษา

แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเภททุน ทุนส่งเสริมการวิจัย ความเปนนานาชาติ และการศึกษา (ทุนเต็มจํานวน) ทุนการศึกษาช่วย เหลือ COVID-19 ภาคการศึกษา 1/2563

รายชือนักศึกษาทีได้รบ ั ทุน

จํานวนเงิน (บาท)

1

นางสาวภัทรวรรณ ขามรัตน์ หลักสูตรอินเดียศึกษา

2

นางสาวภัทรวรรณ ขามรัตน์ หลักสูตรจีนศึกษา

1

นางสาวกุลวนิดา เคนวัง หลักสูตรจีนศึกษา

2,500

2

นางสาวปริญาภรณ์ ยมวรรณ หลักสูตรจีนศึกษา

2,500 2,500

4

นางสาวซึงแฮ แช หลักสูตรจีนศึกษา นางสาวศมนวรรณ์ พิทักษ์ความดี หลักสูตรจีนศึกษา

5

นางสาววรรณวลี ฤทธิอินทร์ หลักสูตรไทยศึกษา

2,500

6

นายณัฐพล เมฆโสภณ หลักสูตรอาเซียนศึกษา

2,500

3

60,000 60,000

2,500

แหล่งทุน: กองทุนบริจาค วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ปการศึกษา 2563 ประเภททุน ทุนกู้ยม ื เพือชําระค่าเทอม ของนักศึกษา

รายชือนักศึกษาทีได้รบ ั ทุน

จํานวนเงิน (บาท)

1

นางสาวรมัณยา ทองกําเหนิด หลักสูตรอินเดียศึกษา

103,970

2

นางสาววิระตี ไกรทอง หลักสูตรไทยศึกษา

112,500


PBIC ANNUAL REPORT 2020

28

แหล่งทุน: วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ประเภททุน ทุนเรียนดี

รายชือนักศึกษาทีได้รบ ั ทุน

จํานวนเงิน (บาท)

1

นายปองณัฐ พานิชกุล หลักสูตรอินเดียศึกษา

10,000

2

นางสาวสราวีย์ บรูเซอร์แฟนเกอร์โน หลักสูตรจีนศึกษา

10,000

3

นางสาวภัทรวรรณ ขามรัตน์ หลักสูตรอินเดียศึกษา

10,000

4

นางสาวจินตภา บรรณประดิษฐ์ หลักสูตรไทยศึกษา

10,000

5

นางสาวรติ นักฟอน หลักสูตรไทยศึกษา

10,000

6

นางสาวสมัชญา สุขเจริญ หลักสูตรจีนศึกษา

10,000

7

นางสาวภิญญดา โนรีแพทย์ หลักสูตรจีนศึกษา

10,000

8

นางสาวธนวรรณ โพธิสุนทร หลักสูตรอินเดียศึกษา

10,000

9

นายเรมิงตัน สมิทธ์ หลักสูตรไทยศึกษา

10,000


PBIC ANNUAL REPORT 2020

พิธม ี อบทุนการศึกษา

1

พิ ธีม อบทุ น การศึก ษาและขอบคุ ณ ผูใ้ ห้ทน ุ การศึกษา [11 มีนาคม 2563]

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ได้รบ ั เกียรติจาก Her Excellency Mrs. Suchitra Durai เอกอั คร ราชทู ต สาธารณรั ฐ อิ น เดี ย ประจํา ประเทศไทย และรองศาสตราจารย์เกศินี วิ ฑูรชาติ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปนประธานร่วมในพิธี เปดงานมอบทุนการศึกษาและขอบคุณนักธุ รกิ จ ชาวอินเดียในประเทศไทยทีสนับสนุนทุนการศึกษา แก่ นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รอิ น เดี ย ศึ ก ษา รหั ส 2559 จนสําเร็จการศึกษา ณ ห้องประชุมสัญญา ธรรมศักดิ ตึ กโดม มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร์ ท่ าพระจั นทร์ เพื อให้ นั ก ศึ ก ษาที ได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาดั ง กล่ า ว มี โ อ ก า ส ไ ด้ พ บ ป ะ แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม ข อ บ คุ ณ แก่ผู้ทีสนับสนุนทุนการศึกษา

2

พิธม ี อบทุนเรียนดี [28 สิงหาคม 2563]

วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ ส่ ง เสริ ม และ สนั บ สนุ น ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามมุ่ ง มั น ตั งใจศึ ก ษา เล่าเรียน แสดงให้เห็นถึงความสําคัญในการรักษา ระดับผลการเรียนและความภาคภูมิใจทีได้รับจาก ความเพียรพยายาม โดยเชิญผู้ปกครองร่วมแสดง ความยิ น ดี ใ นพิ ธี ม อบใบประกาศนี ย บั ต รให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาที มี ผ ลการเรี ย นดี ที สุ ด จํา นวน 9 คน พร้อมรับประทานอาหารกลางวั นร่วมกั น ณ ห้อง PBIC210-211 วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ อาคารอเนกประสงค์ 3 ชั น 2 มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ท่ าพระจั นทร์ และวั นที 2 กั นยายน 2563 ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์อัครพงษ์ คาคูณ คณบดี วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ นํานักศึกษาทีได้ รั บ ทุ น เรี ย นดี ทั งหมดเข้ า พบ รองศาสตราจารย์ เกศินี วิฑรู ชาติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื อรั บ โอวาสและคํา แนะนํา เกี ยวกั บ การใช้ ชี วิ ต ในสังคมปจจุบน ั

29


PBIC ANNUAL REPORT 2020

12

30

กิจกรรมนักศึกษา โครงการอบรมพัฒนาทักษะ "Soft Skill Transcript" [กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2563] วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ เล็งเห็นความสําคัญ เรืองการพัฒนาทักษะของนักศึกษาซึงสามารถพัฒนา ได้ ด้ ว ยการทํา ความเข้ า ใจและฝกฝนอย่ า งถู ก ต้ อ ง ทังด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ การพัฒนาศักยภาพความ เปนผู้ นาํ การทํา งานเปนที ม ทั ก ษะการอยู่ ร่ ว มกั บ ผูอ ้ นในสั ื งคม รวมถึงการให้คําแนะนําปรึกษาจากเพือน สู่เพือน เพือให้นักศึกษาได้นาํ ไปประยุกต์ใช้ในสังคม ปจจุบน ั ทีมีการเปลียนแปลงอยูต ่ ลอดเวลา กิจกรรมนี จั ด ขึ นในรู ป แบบปกติ แ ละออนไลน์ อ ย่ า งต่ อ เนื อง 3 ครัง ผ่านแอพพลิ เคชัน Facebook Live 1

1

โครงการพัฒนาทักษะด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ โดยผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. นิธน ิ น ั ท์ วิศเวศวร เมือวันที 26 กุมภาพันธ์ 2563

2

โครงการปรับตัวเมือต้องใช้ชว ี ิตในสถานการณ์

2

โควิ ด -19 โดยอาจารย์ ไ พศาล แย้ ม วงษ์ เมื อ วั น ที 15 เมษายน 2563 ผ่ า นแอพพลิ เ คชั น Facebook Live

3

โครงการสร้ า งโอกาสในวิ ก ฤตโควิ ด -19 โดย อาจารย์ฐานพล พวงมาลี เมือวันที 29 พฤษภาคม 2563 ผ่านแอพพลิเคชัน Facebook Live

3


PBIC ANNUAL REPORT 2020

31

"Meet the Dean" [เมษายน - พฤษภาคม 2563] ผู้ บ ริ ห ารของวิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ ประสงค์ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษารั บ ทราบผลการดํา เนิ น งาน ในระยะเวลาที ผ่านมา ทิ ศทางการบริหาร ประกาศ สวัสดิการ การปรับปรุงทางด้านกายภาพ การสนับสนุน กิ จกรรมต่ างๆ เปดโอกาสให้นักศึกษาของวิ ทยาลั ย ได้ มี ส่ ว นร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะ ต่างๆ รวมถึงรับฟงปญหา ข้อแนะนํา และตอบปญหา นักศึกษาโดยผู้บริหารของวิทยาลัย อีกทัง เพือเสริม สร้างความสัมพันธ์อน ั ดีระหว่างผูบ ้ ริหารและนักศึกษา ของวิ ท ยาลั ย กิ จ กรรมนี จั ด ขึ นในรู ป แบบออนไลน์ ผ่านแอพพลิ เคชัน ZOOM ซึงได้ รับความสนใจจาก นักศึกษาของวิทยาลัยเปนอย่างมาก "PBIC Family" [พฤษภาคม - มิถน ุ ายน 2563] วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ เล็ ง เห็ น ความ สํา คั ญ เรื องการแลกเปลี ยนประสบการณ์ ร ะหว่ า ง ศิ ษ ย์ เ ก่ า กั บ ศิ ษ ย์ ป จจุ บั น เพื อสร้ า งความสั ม พั น ธ์ อันดี สร้างแรงจูงใจ แรงบันดาลใจ รวมถึงถ่ายทอด ประสบการณ์การไปศึกษาแลกเปลียนในต่างประเทศ ให้ศษ ิ ย์ปจจุบน ั ทราบ กิจกรรมนีจัดขึนในรูปแบบออนไลน์ อย่างต่อเนือง 2 ครัง ผ่านแอพพลิเคชัน Facebook Live และ YouTube Live เพือเผยแพร่และประชาสัมพันธ์

1

หลั ก สู ต รของวิ ท ยาลั ย ให้ เ ปนที รู้ จั ก และเข้ า ถึ ง กลุ่มนักเรียนทีสนใจเข้าศึกษาทราบ 1

PBIC Family หลั ก สู ต รอิ น เดี ย ศึ ก ษา หั ว ข้ อ “คุยกั บพีกะเพรา...อิ นเดี ยศึกษาในมุมที คุณ ไม่เคยรู้” โดย ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา เมือวันที 8 พฤษภาคม 2563 ผ่านแอพพลิเคชัน Facebook Live

2

PBIC Family หลักสูตรจีนศึกษา หัวข้อ “เปด ประสบการณ์ในแดนมังกรกับพีปง...เรียนรูจ ้ ีน ศึกษา น่าค้นหาอย่างไร” โดย ศิษย์เก่าหลักสูตร จี นศึกษา เมือวั นที 23 มิถุนายน 2563 ผ่าน แอพพลิเคชัน Facebook Live และ YouTube Live

2


PBIC ANNUAL REPORT 2020

13

ผลการดําเนินงานด้านวิจัย ป 2563 วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ ให้ ค วามสํา คั ญ กั บ การดํา เนิ น งานด้ า นวิ จั ย เพือพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มม ี าตรฐานในระดับสากล โดยคณาจารย์ของวิทยาลัย ได้ผลิตผลงานวิจย ั ทีมีคณ ุ ภาพและนําผลทีได้มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ให้มป ี ระสิทธิภาพยิงขึน ดังรายละเอียดต่อไปนี

ผลงานทีได้รบ ั การตีพม ิ พ์ในวารสาร/หนังสือทีได้รบ ั การรับรองคุณภาพ

1

An Investment Decision: Expected and Earned Yields for Passive Income Real Estate Investors อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์ Cogent Business and Management (ปที 7 ฉบับที 1 หน้า 1-26)

2

The Effects of Foreign Direct Investment on Income Inequality of Thailand อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์ Southeast Asian Journal of Economics (ปที 8 ฉบับที 1 หน้า 107-138)

3

Tripura in Thai and Cambodian Epigraphy: Evidence from Indian Literature ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ อัครพงษ์ คาคูณ Journal of the Siam Society (ปที 108 ฉบับที 2 หน้า 150 - 166)

4

An Analysis of Consumer Preference Towards Thai Products on Chinese E-Commerce Platform อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์ Thammasat Review (ปที 23 ฉบับที 2 หน้า 1-21)

5

The Study of the Concepts of Professional Standards and Qualifications for Chinese Language Teachers อาจารย์ ดร. เกียรติศก ั ดิ ฟงปรีชากุล วารสารปญญาภิวัฒน์ (ปที 12 ฉบับที 1 หน้า 304-314)

32


PBIC ANNUAL REPORT 2020

6

33

Improving food security through Sustainable Agricultural Practices and Strengthening Local Biodiversity Management A Case Study of Indigenous Practices from India อาจารย์ ดร. Shweta Sinha International Journal of Advanced Research (ปที 8 ฉบับที 5 หน้า 209-219)

7

การแบ่งเส้นเขตแดนระหว่างประเทศบนเกาะบอร์เนียว และปญหาข้อพิพาทซาบาห์ ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ อัครพงษ์ คาคูณ หนังสือ อุษาคเนย์ On the Move (หน้า 272 - 300)

ผลงานทีได้รบ ั การตีพม ิ พ์ในรายงานสืบเนืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

1

มหาอํานาจกับขบวนการชาตินย ิ มจีนในยุคสงครามเกาหลี อาจารย์ ชัยพร พยาครุฑ 70 ป ไทยกั บ สงครามเกาหลี : มุ ม มองจากเอกสารของเกาหลี จี น ญี ปุ น สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลี ย จั ดโดยโรงเรียนนายร้อยพระจุ ลจอมเกล้ า ร่วมกับสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)


PBIC ANNUAL REPORT 2020

34

ผลงานของอาจารย์ นักศึกษา ทีสร้างชือเสียงให้กับวิทยาลัย ในป พ.ศ. 2563 อาจารย์ประจําวิทยาลัยได้รบ ั เชิญให้เปนวิทยากรบรรยาย อาจารย์พเิ ศษ หรือกรรมการตัดสินจากทังหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก รายละเอียดดังนี

ลําดับ

วัน/เดือน/ป

รายละเอียด

ผูจ ้ ัดงาน

1

5 เม.ย. 2563 19 เม.ย. 2563

อ. ดร. Shweta Sinha วิทยากรบรรยายวิชา “GS763 Society, Innovation, and Sustainable Development”

วิทยาลัยโลกคดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2

20 เม.ย. 2563

อ. ชัยพร พยาครุฑ แขกรับเชิญรายการคนสวยเรียนสูง ออนแอร์ ตอนที 5 “Hashtag the Movement: ปนกันยังไงให้จีนสะดุ้ง”

ทีมงานเพจ “คนสวยเรียนสูง” เผยแพร่ทางเพจ Facebook

3

3 ส.ค. 2563

อ. ดร. เกียรติศก ั ดิ ฟงปรีชากุล ผูพ ้ ิจารณาบทความ เรือง “ผลของการใช้เกมส์เพือพัฒนาทักษะ การสือสารภาษาจีน”

สถาบันเอเชียตะวันออก ศึกษา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์

4

30 ส.ค. 2563 6 ก.ย. 2563 13 ก.ย. 2563

อ. ดร. Shweta Sinha วิทยากรบรรยายวิชา “GS602 Arts and Science of Sustainability”

วิทยาลัยโลกคดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

5

4 ก.ย. 2563 11 ก.ย. 2563 18 ก.ย. 2563 25 ก.ย. 2563 9 ต.ค. 2563

อ. ดร. Shweta Sinha วิทยากรบรรยายวิชา “GS283 Technology for Developing Countries”

วิทยาลัยโลกคดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

6

26 ต.ค. 2563

อ. ดร. Shweta Sinha ผูด ้ ําเนินรายการในการอบรมภายใต้ โครงการวิจัย “Adoption of Digital Applications in the

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

7

11 พ.ย. 2563

อ. ดร. Mohammad Faheem วิทยากรบรรยายวิชา “PO335 Indian Foreign Policy”

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ

8

26 ธ.ค. 2563

อ. ดร. เกียรติศก ั ดิ ฟงปรีชากุล กรรมการตัดสินการประกวดสุนทรพจน์ ภาษาจีนระดับประเทศ (รอบตัดสิน)

ศูนย์การศึกษาและความ ร่วมมือด้านภาษาระหว่าง ประเทศ


PBIC ANNUAL REPORT 2020

35

อาจารย์ทสร้ ี างชือเสียงให้กับวิทยาลัย ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร. Lin Yi อาจารย์ ประจําวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชาวต่างชาติคนแรกของ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ได้ รั บ รางวั ล จาก การตีพม ิ พ์ผลงานวิจัย เรือง “Understanding Post-study migration Plans of International Students through the Lens of Family Business Strategies: Evidence from Thailand-to-China Students, Journal of Population and Social Studies, Volume 27, Issue 4, October 2019, pages 288306.” จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นักศึกษาทีสร้างชือเสียงให้กับวิทยาลัย นักศึกษาชันปที 4 หลักสูตรจีนศึกษา วิทยาลัย นานาชาติปรีดี พนมยงค์ จํานวน 3 คน ได้รับ รางวั ล จากการแข่ ง ขั น แปลล่ า ม จี น ไทยไทยจี น ครั งที 9 จั ด ขึ นระหว่ า งวั น ที 7 - 14 พฤศจิ ก ายน 2563 รู ป แบบออนไลน์ โดย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง 3 ห น่ ว ย ง า น ไ ด้ แ ก่ 1) สมาคมศิษย์เก่ ามหาวิ ทยาลั ยประเทศจี น 2) สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 3) สมาคมครู ภาษาจีนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

1

2

3

(ภาพ) 1. นางสาวสมัชญา สุขเจริญ ทําคะแนนในอันดับที 7 2. นางสาวรชยา สิริพงษ์สกุล ทําคะแนนในอันดับที 14 3. นายพงษ์กรณ์ โชคประเสริฐนาม ทําคะแนนในอันดับที 32


PBIC ANNUAL REPORT 2020

36

โครงการบริการวิชาการแก่สงั คม วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ดําเนินงานด้านบริการวิชาการแก่สังคมอย่างต่อเนือง เปนประจําทุกป ทังการบรรยายสาธารณะในศาสตร์ทีเปนความเชียวชาญของวิทยาลัย เกี ยวข้ อ งกั บ การเรี ย นการสอนและการวิ จั ย รวมถึ ง สถานการณ์ ป จจุ บั น ที น่ า สนใจ ในป 2563 วิทยาลัยได้ดําเนินโครงการบริการวิชาการแก่สงั คม จํานวน 6 โครงการ ดังนี

1

2

3

4

5

6

โครงการสัมมนาด้านการวิจัย เรือง “Status of Social Science research in India: Issue and Challenges" โดย Dr. Tosib Alam ในวันที 30 มกราคม 2563 Ambassador's Talk on “Pakistan-Thailand Relations” โดย H.E. Mr. Asim Iftikhar Ahmad เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามปากีสถานประจําประเทศไทย ในวันที 25 กุมภาพันธ์ 2563 Ambassador’s Talk on "Indo-Thai Relations and Importance of Indian Studies Programme" โดย H.E. Mrs. Suchitra Durai ในวันที 11 มีนาคม 2563 โครงการเสวนาวิชาการ เรือง "Internationalization At Home (IAH)" ผ่าน YouTube Live โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. การดี เลี ยวไพโรจน์ คุณพรทิ พย์ กาญจนนิยต ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. ร่มเย็น โกไศยกานนท์ และ คุณลักขณา ดอกเขียว ในวันที 8 มิถน ุ ายน 2563 โครงการสัมมนาวิชาการ เรือง "India-ASEAN Relations: Challenges and Prospects" โดย ศาสตราจารย์ ดร. จรัญ มะลูลีม และ Dr. Mohammad Faheem ในวันที 9 ตุลาคม 2563 งานเสวนาเปดตัวหนังสือ "เมียนมา การเมืองการปกครองระยะเปลียนผ่าน" โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดุลยภาค ปรีชารัชช ศาสตราจารย์ ดร. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศาสตราจารย์ ดร. สุเนตร ชุตินธรานนท์ และ รองศาสตราจารย์ ดร. นภดล ชาติประเสริฐ ในวันที 9 พฤศจิกายน 2563


PBIC ANNUAL REPORT 2020

Ambassador's Talk on “Pakistan-Thailand Relations” จั ดขึนเมือวั นที 25 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุ ม สัญญา ธรรมศักดิ ตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ได้รบ ั เกียรติจาก His Excellency Mr. Asim Iftikhar Ahmad เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลาม ปากีสถานประจําประเทศไทย และรองศาสตราจารย์ เกศินี วิฑูรชาติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปนประธานร่วมในพิธีเปดงาน ทังนี His Excellency Mr. Asim Iftikhar Ahmad เปนผูน ้ าํ บรรยายให้ความรู้ เกี ยวกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสาธารณรั ฐ อิ ส ลาม ปากีสถานกับประเทศไทยในมิตต ิ า่ งๆ เพือสร้างเครือข่าย แ ล ะ ก ร ะ ชั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ใ ห้ แ น่ น แ ฟ น ยิ ง ขึ น ได้รับความสนใจจากคณาจารย์ นักศึกษา และบุคคล ภายนอกเปนอย่างมาก

Ambassador’s Talk on "Indo-Thai Relations and Importance of Indian Studies Programme" จัดขึนเมือวันที 11 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุมสัญญา ธรรมศักดิ ตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก Her Excellency Mrs. Suchitra Durai เอกอั ค รราชทู ต สาธารณรั ฐ อิ น เดี ย ประจํา ประเทศไทย และรองศาสตราจารย์ เ กศิ นี วิ ฑู ร ชาติ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปนประธานร่วม ในพิธีเปดงาน ทังนี Her Excellency Mrs. Suchitra Durai เปนผู้ นาํ บรรยายให้ ค วามรู้ เ กี ยวกั บ ความ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสาธารณรั ฐ อิ น เดี ย กั บ ประเทศไทย ในมิตต ิ า่ งๆ เพือสร้างเครือข่ายและกระชับความสัมพันธ์ ให้แน่นแฟนยิงขึน รวมถึ งความสําคั ญของการเรียน อิ น เดี ย ศึ ก ษาในประเทศไทย ได้ รั บ ความสนใจจาก คณาจารย์ นักศึกษา และบุคคลภายนอกเปนอย่างมาก

37


PBIC ANNUAL REPORT 2020

โครงการสัมมนาวิชาการ เรือง "India-ASEAN Relations: Challenges and Prospects" จัดขึนเมือวันที 9 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมวิทยาลัย นานาชาติปรีดี พนมยงค์ อาคารอเนกประสงค์ 3 ชัน 2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยศาสตราจารย์ ดร. จรัญ มะลูลม ี ผูท ้ รงคุณวุฒภ ิ ายนอก และ Dr. Mohammad Faheem อาจารย์ประจําหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ส า ข า วิ ช า อิ น เ ดี ย ศึ ก ษ า ( ห ลั ก สู ต ร น า น า ช า ติ ) ร่วมบรรยายให้ความรูเ้ กียวกับแนวโน้มด้านการพัฒนา เศรษฐกิจและความร่วมมือระหว่างสาธารณรัฐอินเดีย และภูมภ ิ าคอาเซียนในศตวรรษที 21

งานเสวนาเปดตัวหนังสือ "เมียนมา การเมืองการปกครองระยะเปลียนผ่าน" จั ด ขึ นเมื อวั น ที 9 พฤศจิ ก ายน 2563 ณ ห้ อ ง PBIC 210-211 วิ ทยาลั ยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ อาคาร อเนกประสงค์ 3 ชั น 2 มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ท่ า พระจั น ทร์ งานเสวนาเปดตั ว หนั ง สื อ เล่ ม ใหม่ ของผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร. ดุ ล ยภาค ปรี ช ารั ช ช รองคณบดีฝายวิชาการ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาร่วมเสวนา ได้ แก่ ศาสตราจารย์ ดร. ชาญวิ ทย์ เกษตรศิ ริ รองศาสตราจารย์ ดร. นภดล ชาติประเสริฐ และศาสตราจารย์ ดร. สุเนตร ชุตินธรานนท์ ซึงวิทยาลัยเปนเจ้าภาพร่วม กับศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา สถาบันเอเชีย ตะวันออกศึกษา และโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศึ ก ษา คณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ได้รับความสนใจจากคณาจารย์ นักศึกษา และบุคคล ภายนอกเปนอย่างมาก

38


PBIC ANNUAL REPORT 2020

15

การปลูกฝงจิตวิญญาณธรรมศาสตร์ และทํานุบาํ รุงสังคม ประชาธิปไตย คุณธรรม ศิลปวัฒนธรรมให้แก่ประชาชน วิ ทยาลั ยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ ได้ ดําเนินการจั ดกิ จกรรมทํานุบาํ รุ ง ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมมาโดยตลอด ในป 2563 วิ ท ยาลั ย ได้ เ ข้ า ร่ ว ม กิจกรรมของมหาวิทยาลัย ดังนี พิธไี หว้ครู ประจําป 2563 ปาเจราจริ ย าโหนติ คุ ณุ ต ตรานุ ส าสกา.... พิ ธี ไ หว้ ค รู ประจํา ป 2563 ปที 86 ของการก่ อ ตั งมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ นั ก ศึ ก ษาได้ ร่ ว มกั น สื บ สานประเพณี อั น งดงาม แสดงตนเปนศิ ษ ย์ เ พื อการศึ ก ษาเล่ า เรี ย น และพัฒนาตน เพือการได้ กระทําสิงที เปนประโยชน์ต่อไปในภายหน้า จั ด ขึ นเมื อวั น ที 8 ตุ ล าคม 2563 ณ อาคารกิ ต ติ ย ากร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

39


PBIC ANNUAL REPORT 2020

40

16 ผลการดําเนินงานด้านการบริหารและการจัดการ รายงานการเงิน ตารางแสดงสินทรัพย์และหนีสินของวิทยาลัย ระหว่างปงบประมาณ 2560 - 2563 ปงบประมาณ

รายการ สินทรัพย์รวม หนีสินรวม

2560

2561

2562

2563

162,051,077.97

162,051,077.97

162,051,077.97

162,051,077.97

22,404,399.06

23,035,912.27

14,314,909.63

34,700,827.23 หน่วย : บาท

ปงบประมาณ

รายการ

2560

2561

2562

2563

ร้อยละการ เปลียนแปลง ของสินทรัพย์รวม เมือเทียบกับปก่อน

1.44

5.12

-5.79

9.77

ร้อยละการ เปลียนแปลง ของหนีสินรวม เมือเทียบกับปก่อน

13.12

-30.89

-37.85

142.36

ตารางแสดงรายได้ของวิทยาลัย ระหว่างปงบประมาณ 2560 - 2563 ปงบประมาณ

รายการ

2560

2561

2562

2563

รายได้จากการจัด การเรียนการสอน

67,781,521.32 ร้อยละ 97.56

ร้อยละ

60,632,260.50 96.95

51,561,438.43 ร้อยละ 94.29

46,160,947.92 ร้อยละ 96.97

รายได้อืนๆ

1,698,681.63

1,904,951.77

3,120,430.90

1,443,230.78

ร้อยละ

รวมรายได้

2.44

69,480,202.95

ร้อยละ

3.05

62,537,212.27

ร้อยละ

5.71

54,681,869.33

ร้อยละ

หน่วย : บาท

หน่วย : บาท

3.03 หน่วย : บาท

47,604,178.70


PBIC ANNUAL REPORT 2020

41

อาคารสถานที วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ตังอยูท ่ อาคารอเนกประสงค์ ี 3 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่ าพระจั นทร์ แบ่งเปน 2 ชัน โดยวิ ทยาลั ยได้ ดําเนินการปรับปรุ งกายภาพเพือให้เกิ ด ประโยชน์ใช้สอยอย่างเต็มที บริเวณชัน 1 เปนพืนทีของสํานักงานบริหารและสํานักงาน เลขานุการวิทยาลัย รวมถึงศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้จีนศึกษา (PBIC Learning Center) ส่วนบริเวณชัน 2 เปนห้องประชุม สํานักงานอาจารย์ และห้องบรรยาย รายละเอียดดังนี สถานที 1

ห้องนันทนาการสําหรับนักศึกษา (Junior Combination Room)

2

ศูนย์สง่ เสริมการเรียนรูจ ้ ีนศึกษา (PBIC Learning Center) ประกอบด้วย ห้องอ่านหนังสือ ห้องประชุมงานกลุ่ม จํานวน 3 ห้อง (Co-Working Spaces) โถงห้องสมุด มุมถ่ายเอกสาร

3

สํานักงานอาจารย์ ประกอบด้วย ห้องทํางานอาจารย์ ห้องนันทนาการและรับประทาน อาหารสําหรับอาจารย์

พืนที (ตารางเมตร) ก่อนปรับปรุง

หลังปรับปรุง

0

95

0

35

0 75 0

30 95 7.2

120

305

0

48

0 0

21 25

0

80

30

47

1,038

763

เดิม พักรวมและกันด้วยพาร์ติชัน ใหม่ ห้องทํางานส่วนตัว 30 ห้อง

4

ห้องประชุม ประกอบด้วย ห้องประชุม 8 ทีนัง จํานวน 1 ห้อง ห้องประชุม 10 ทีนัง จํานวน 1 ห้อง ห้องประชุมปรีดี พนมยงค์ 35 ทีนัง จํานวน 1 ห้อง เดิม ห้องประชุม 1 ห้อง ใหม่ ห้องประชุม 3 ห้อง

5

ห้องรับรอง จํานวน 2 ห้อง

6

ห้องบรรยาย จํานวน 8 ห้อง (ห้อง PBIC205 ห้องท่านผูห ้ ญิง พูนศุข พนมยงค์)

7

ห้องทํางานนักวิจย ั อาคันตุกะ จํานวน 1 ห้อง

0

26

8

ห้องนา

75

78

9

พืนทีสํานักงานเลขานุการวิทยาลัย

144

244


PBIC ANNUAL REPORT 2020

42

งานพัฒนาบุคลากร บุคลากรสายวิชาการเข้าร่วมโครงการอบรม/ประชุม/สัมมนาเชิงปฏิบต ั ิการต่างๆ รายละเอียดดังนี วันที

กิจกรรม / โครงการ

ผูจ ้ ัดงาน

18 มี.ค. 2563

Workshop on Online Teaching

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

2 มิ.ย. 2563

PBIC Annual Research Workshop 2020

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

8 - 9 ธ.ค. 2563

เตรียมความพร้อมรับการตรวจ ประเมินหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN-QA

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการเข้าร่วมโครงการอบรม/ประชุม/สัมมนาเชิงปฏิบต ั ิการต่างๆ รายละเอียดดังนี วันที

กิจกรรม / โครงการ

ผูจ ้ ัดงาน

17 ม.ค. 2563

Microsoft Excel ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: บุคลากรสาย สนับสนุนวิชาการทุกคน

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

5 ก.พ. 2563

พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และผลกระทบต่อมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: นายปณยศักดิ นิธฐ ิ านุพงศ์

สํานักงานศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือสาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต

24 ก.พ. 2563

การใช้งานระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: 1. นางสาวชยุรต ั น์ วรตินน ั ท์ 2. นายณัฏฐ์นภัส เวียงเกตุ

สํานักงานศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือสาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต

29 ก.พ. 2563

E-Government Procurement การใช้และแนวปฏิบต ั ิล่าสุด ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: นางสาวนภาพร สุรย ิ ะ

บริษัท อารยะ กรุป ๊ จํากัด


PBIC ANNUAL REPORT 2020

วันที

43

กิจกรรม / โครงการ

ผูจ ้ ัดงาน

23 ก.ค. 2563

การดําเนินการเก็บข้อมูลตาม ตัวบ่งชี: ตัวชีวัดที 5.2 การดําเนินการ "มหาวิทยาลัยยังยืน" ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: 1. นางสาวนภาพร สุรย ิ ะ 2. นางสาวพรติมา ศรีวนิช

กองแผนงาน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต

5 ส.ค. 2563

"การปฐมพยาบาลเบืองต้นและ การช่วยชีวิตขันพืนฐาน" ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: 1. นายชัยพร ปนงาม 2. นายณัฏฐ์นภัส เวียงเกตุ

กองบริหารศูนย์รงั สิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

8 ก.ย. 2563

การดําเนินการเก็บข้อมูลตาม ตัวบ่งชี: ตัวชีวัด 5.2 การดําเนินการ "มหาวิทยาลัยยังยืน" ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: 1. นางสาวนภาพร สุรย ิ ะ 2. นางสาวพรติมา ศรีวนิช

กองแผนงาน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต

16 - 17 ธ.ค. 2563

HR for Non-HR ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: 1. นางสาวชยุรต ั น์ วรตินน ั ท์ 2. นางสาวรัตติยา กาญจนาภิญโญกุล

บริษัท อินจีเนียส ซิมมูเลชัน จํากัด

18 ธ.ค. 2563

Inner Self Listening ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ทุกคน

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

22 - 24 ธ.ค. 2563

สัมมนาบุคลากร ประจําป งบประมาณ 2564 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ: บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการทุกคน

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์


PBIC ANNUAL REPORT 2020

Workshop on Online Teaching เพื อส่ ง เสริ ม ให้ ค ณาจารย์ เ ห็ น ความสํา คั ญ ของการ จัดการศึกษาผ่านระบบออนไลน์ ซึงเปนการศึกษาแบบ ไร้พรมแดน ขยายโอกาสให้กับผู้เรียนเพือให้เกิดการ เรียนรูต ้ ลอดชีวต ิ (Life-Long Learning) สามารถปรับตัว ต่อการเปลียนแปลงของสังคมโลก และเปนพลเมือง ที สร้ า งความยั งยื น ให้ กั บ ประเทศ ด้ ว ยสถานการณ์ การแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื อไวรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ทําให้เกิดวิถช ี วี ต ิ แบบใหม่ (New Normal) และเพือให้การจัดการศึกษาผ่านระบบออนไลน์ของ วิทยาลัยเปนไปอย่างมีคณ ุ ภาพและเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด วิทยาลัยได้เชิญ รองศาสตราจารย์ ดร. พิษณุ ตู้ จิ น ดา ผู้ อํา นวยการสํา นั ก งานวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีขันสูง มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร์ มาเปน วิ ท ยากรบรรยายให้ ค วามรู้ แ ก่ ค ณาจารย์ ที สนใจ เมือวันที 18 มีนาคม 2563 ทังในรูปแบบปกติและออนไลน์ PBIC Annual Research Workshop 2020 เพือส่งเสริมให้คณาจารย์ผลิ ตผลงานวิ จัย ได้ รับการ ตี พิ ม พ์ ใ นฐานข้ อ มู ล ที เปนที ยอมรั บ และเผยแพร่ สูช ่ ุมชน/สังคม/ประเทศชาติ วิทยาลัยได้เชิญวิทยากร มาบรรยายให้ความรูแ ้ ก่คณาจารย์ในหัวข้อต่างๆ ดังนี 1) ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. สุปรีดี ฤทธิรงค์ รองคณบดี ฝายวิ จั ย และวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ หัวข้อ “Information Session about Doing Research at PBIC” และ 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชล บุ น นาค ผู้ อํา นวยการโครงการ SDG Move หั ว ข้ อ “SDG Research Framework Data collections Online Research Tools” เมือวันที 2 มิถน ุ ายน 2563 ในรูปแบบออนไลน์

44


PBIC ANNUAL REPORT 2020

เตรียมความพร้อมรับการตรวจ ประเมินหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA เพื อเตรี ย มความพร้ อ มให้ ค ณาจารย์ พ ร้ อ มรั บ การตรวจประเมินหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA ทัง 3 หลักสูตรนานาชาติทวิี ทยาลัยได้จด ั การเรียนการสอน ซึงหลั กสูตรศิลปศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิ ชาจี นศึกษา เตรียมพร้อมขอรับการตรวจประเมิน ในปการศึกษา 2563 เปนหลักสูตรแรก วิทยาลัยได้เชิญ รองศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. อรสิริ ชืนทรวง อาจารย์ประจํา คณะสั ต วแพทยศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และเปนผู้ ต รวจประเมิ น AUN-QA ระดั บ อาเซี ย น ประจําประเทศไทย มาเปนวิทยากรอบรมให้ความรู้ แก่คณาจารย์ เมือวันที 8 - 9 ธันวาคม 2563 ณ ห้อง ประชุ ม วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ อาคาร อเนกประสงค์ 3 ชั น 2 มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

Inner Self Listening เพื อส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพของบุ ค ลากรสาย สนั บ สนุ น วิ ชาการให้ มี ค วามสามารถในการคิ ด วิ เคราะห์ แก้ ไขปญหาด้ วยตนเอง และพัฒนาความ รูค ้ วามสามารถในการปฏิบต ั งิ านให้ดย ี งขึ ิ นตาม Kaizen Mindset วิ ท ยาลั ย ได้ เ ชิ ญ อาจารย์ จุ รี พิ พั ฒ นรั ง คะ ครู แ ละกระบวนการด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณ มาเปนผู้ นาํ จัดอบรมและทํากิจกรรมต่างๆ เมือวันที 18 ธันวาคม 2563 ณ ห้ อ งท่ า นผู้ ห ญิ ง พู น ศุ ข พนมยงค์ อาคาร อเนกประสงค์ 3 ชัน 2 วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

45


PBIC ANNUAL REPORT 2020

สัมมนาบุคลากรประจําป งบประมาณ 2564 ณ จังหวัดเชียงใหม่ เพือส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการได้ศก ึ ษา กระบวนการบริหารจัดการขององค์กรอืนๆ เพือนํามา ปรั บ ใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ใ นการปฏิ บั ติ ง าน วิ ท ยาลั ย ได้ศก ึ ษาดูงาน ณ อุทยานดาราศาสตร์สริ น ิ ธร สํานักงาน ใหญ่ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การ มหาชน) เปนศูนย์ความเปนเลิศด้านการศึกษา ค้นคว้า วิ จั ย และพั ฒ นาทางดาราศาสตร์ รวมถึ ง เปนแหล่ ง ท่องเทียวเชิงวิชาการทีสําคัญของประเทศและภูมภ ิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และศึกษาดูงาน ณ พระตําหนัก ดาราภิ รมย์ แหล่ งศึกษาเรืองราวทางประวั ติศาสตร์ ที สําคั ญ รวมถึ งศึกษาเรืองราวทางพระพุทธศาสนา ณ วัดปาดาราภิรมย์ พระอารามหลวงแห่งที 7 ในจังหวัด เชียงใหม่ เมือวันที 22 - 24 ธันวาคม 2563 นอกจากนี ผู้บริหารและบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ มีโอกาส แลกเปลี ยนแนวคิ ด ทั ศ นคติ รวมถึ ง สรุ ป ภาพรวม จากการปฏิบัติงานตลอดปทีผ่านมา เพือนําไปพัฒนา ความรู้ ค วามสามารถในการปฏิ บั ติ ง านให้ ดี ยิ งขึ น ตาม Kaizen Mindset

46


PBIC ANNUAL REPORT 2020

47

พิธม ี อบรางวัลบุคลากรดีเด่น ประจําป 2563 เพื อเสริ ม สร้ า งขวั ญ และกํา ลั ง ใจในการปฏิ บั ติ ง าน ให้แก่บุคลากรของวิทยาลัย โดยคัดเลือกจากผูท ้ ีได้รบ ั คะแนนในการประเมินผลการปฏิบัติงานระดับสูงสุด ของบุคลากรสายวิชาการ 1 คน และบุคลากรสายสนับสนุน วิ ช าการ 1 คน โดย ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ อั ค รพงษ์ คาคูณ คณบดี มอบใบประกาศเกี ยรติ คุณพร้อมเงิ น รางวั ล จํา นวน 10,000 บาท ให้ แ ก่ บุ ค ลากรดี เ ด่ น สายวิชาการ ได้แก่ อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์ อาจารย์ประจําหลักสูตรจีนศึกษา และบุคลากรดีเด่น สายสนับสนุนวิชาการ ได้แก่ นางฐิตารีย์ ฐิติเตชะนันท์ หัวหน้างานบริหารและพัฒนา เมือวั นที 22 ตุลาคม 2563 ณ ห้ อ งท่ า นผู้ ห ญิ ง พู น ศุ ข พนมยงค์ อาคาร อเนกประสงค์ 3 ชัน 2 วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

อาจารย์ ดร. มณฑินี ธีระมังคลานนท์ อาจารย์ประจําหลักสูตรจีนศึกษา

นางฐิตารีย์ ฐิติเตชะนันท์ หัวหน้างานบริหารและพัฒนา


PBIC ANNUAL REPORT 2020

17

งานประชาสัมพันธ์ วิ ทยาลั ยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ ได้ เข้าร่วมประชาสัมพันธ์หลั กสูตรที วิ ทยาลั ย จัดการเรียนการสอนตามสถานศึกษาต่างๆ เพือให้กลุ่มเปาหมายได้รู้จักวิทยาลัย และสนใจหลักสูตรของวิทยาลัยมากยิงขึน ดังนี

งานนิทรรศการการศึกษาในประเทศ

1 2

Dek-D’s Tcas Fair งานรวมพลเด็ก TCAS แห่งชาติ วันที 31 ตุลาคม 2563 ณ ศูนย์การค้า Union Mall ชัน 6 University Fair 2020 หลักสูตรนานาชาติ วันที 13 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม)

3 4 5

แนะแนวการศึกษา “รูก ้ อ ่ นได้เปรียบ เตรียมความพร้อมสู่ TCAS’64” วันที 17 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงเรียนสารสาสน์วิเทศราชพฤกษ์ วันวิชาการ 100 ป เซนต์คาเบรียล วันที 26 - 27 พฤศจิกายน 2563 Thammasat Sustainability Festival & Open House 2020 วันที 26 - 28 พฤศจิกายน 2563 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต

48


PBIC ANNUAL REPORT 2020

18

49

การประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ป รี ดี พนมยงค์ ได้ รั บ การตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ระดั บ หลั ก สู ต ร ประจํา ปการศึ ก ษา 2562 ตามระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิ ช าอาเซี ย นศึ ก ษา (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) เมื อวั น ที 29 กั น ยายน 2563 ส่ ว นอี ก 3 หลักสูตรใช้ระบบ AUN-QA ซึงยังไม่ได้รับการตรวจประเมิน ผลการตรวจประเมินใน แต่ละองค์ประกอบ สรุ ปได้ดังต่อไปนี

องค์ประกอบ

คะแนนเฉลียของผลการตรวจประเมิน

องค์ประกอบที 1 การกํากับมาตรฐาน

ผ่าน

องค์ประกอบที 2 บัณฑิต

4.59

องค์ประกอบที 3 นักศึกษา

2.00

องค์ประกอบที 4 อาจารย์

2.94

องค์ประกอบที 5 หลักสูตร การเรียนการ สอน การประเมินผูเ้ รียน

2.75

องค์ประกอบที 6 สิงสนับสนุนการเรียนรู้

3.00

คะแนนเฉลียรวม

3.00

สําหรับหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาเซียนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) ตามมติสภามหาวิทยาลัย ครังที 4/2562 วันที 29 เมษายน 2562 รับทราบเรืองการงดรับ นักศึกษาและขอไม่ปรับปรุงหลักสูตรตังแต่ปการศึกษา 2561 เปนต้นไป จนกว่านักศึกษา จะสําเร็จการศึกษาครบทุกคน


PBIC ANNUAL REPORT 2020

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ตามทีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้มีประกาศคณะกรรมการ ประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เรืองกําหนดแนวทางการประเมินคุณภาพ การศึกษาเพือการดําเนินการทีเปนเลิศ (EdPEx) ไปใช้ในการประกันคุณภาพภายใน ลงวันที 2 เมษายน 2556 เพือเปนหลักในการส่งเสริมสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษา ทีมีความเข้มแข็งได้มก ี ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพือไปสูค ่ วามเปนเลิศ เมือวันที 27 พฤศจิกายน 2563 นับเปนครังที 3 ทีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ซึงเปนหน่วยงานในกํากั บของมหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร์ ได้ รับการตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาตามกรอบ EdPEx โดยมีคณะกรรมการตรวจประเมินฯ จํานวน 5 ท่าน ดังนี 1. ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. พนาสัณฑ์ เกาะสุวรรณ์ 2. รองศาสตราจารย์ ดร. วีรยา ฉิมอ้อย 3. รองศาสตราจารย์ ดร. พวงผกา คงวัฒนานนท์ 4. รองศาสตราจารย์ ดร. อัศนีย์ เปลียนศรี 5. ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. ศราวุธ แรมจันทร์ คะแนนประเมินด้านกระบวนการหมวด 1- 6 อยู่ในระดับ Band 2 ส่วนด้านผลลัพธ์ หมวด 7 อยู่ในระดั บ Band 1 คณะกรรมการตรวจประเมินฯ ได้ ให้ข้อสังเกตและ แนวคิ ดโดยรวมเพือที วิ ทยาลั ยสามารถนํามาใช้เปนแนวทางในการพัฒนาองค์ กร ทังในส่วนทีเปนจุดเด่นหรือแนวปฏิบัติทีดีและโอกาสเพือการพัฒนา ดังบทสรุปและ ผลการตรวจประเมินในภาพรวม (Key Theme) ต่อไปนี จุดเด่นหรือแนวปฏิบต ั ท ิ ดี ี ในส่วนกระบวนการดําเนินงานขององค์กร ผูบ ้ ริหารวิทยาลัย และบุ ค ลากรแสดงถึ ง ความมุ่ ง มั นในการพั ฒ นาวิ ท ยาลั ย โดยใช้ มุ ม มองเชิ ง ธุ ร กิ จ และนําไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการวิทยาลัย ให้ความสําคัญกับการนําองค์กร อย่างมีวส ิ ย ั ทัศน์ผา่ นการกําหนดวิสย ั ทัศน์ โดยมีการรับฟงความคิดเห็นจากประชาคม ในวิ ท ยาลั ย และถ่ า ยทอดวิ สั ย ทั ศ น์ ไ ปสู่ ก ารปฏิ บั ติ ผ่ า นการสื อสารด้ ว ยช่ อ งทาง ที หลากหลายไปสู่บุคลากร และวิ ทยาลั ยให้ความสําคั ญกั บความเปนเลิ ศที มุ่งเน้น ผู้เรียน ผ่านการกําหนดยุทธศาสตร์ในการผลิตบัณฑิตธรรมศาสตร์ทีมีคุณลักษณะ GREATS และมี ค วามสามารถในการทํา งานระดั บ นานาชาติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ม าตรฐาน ของความเปนมืออาชีพ

50


PBIC ANNUAL REPORT 2020

โอกาสพัฒนาทีสําคัญหรือประเด็นทีสมควรพิจารณาทบทวน ในส่วนกระบวนการดําเนินงาน วิทยาลัยมีโอกาสในการพัฒนากระบวนการในการบริหารจัดการให้เปนระบบในหลาย ด้ า น เช่ น วิ ธี ก ารที ผู้ นาํ ระดั บ สู ง ปฏิ บั ติ ด้ ว ยตนเองในการชี นํา และทํา ให้ วิ ท ยาลั ย มีความยังยืน การคํานึงเรืองความผาสุกและประโยชน์สุขของสังคมให้เปนส่วนหนึง ในการปฏิบต ั งิ านประจําวัน วิธก ี ารทีเปนระบบในเรืองดังกล่าว อาจช่วยในการบริหาร จัดการวิทยาลัยให้เปนแบบองค์รวม เพือให้บรรลุพน ั ธกิจ มีความสําเร็จอย่างต่อเนือง ในการนี วิ ทยาลั ยขอขอบคุณคณะกรรมการตรวจประเมินสําหรับข้อคิ ดเห็นที จะ นําไปสู่การพัฒนาวิทยาลัยให้มีการดําเนินงานด้วยความเปนเลิศต่อไป

51



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.