วารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฉบับที่ 13 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 2012

Page 44

วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 13

38

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา July-December 2012

1.4 ตองเปนอิสรชน กอฎียฺตองมีความเปนอิสรชน ไมเปนทาสไมวาจะเปนทาสที่อยูในสภาพใด ถาบุคคลเหลานี้ถูกแตงตั้งใหเปน กอฎียฺทําหนาที่เกี่ยวกับการตัดสินคดี การตัดสินของพวกเขาจะไมเปนผล ทั้งนี้ดวยเหตุผลวา การเปนทาสนั้นทําให สภาพบุคคลสูญสิ้ นไมมีอํานาจปกครองดูแลแมกระทั่ง ตัวเอง ดังนั้ นเขาไมควรจะอยูในตําแหนงหนึ่งตํ าแหน งใดที่ เกี่ยวของกับการดูแลคนอื่นๆ และเปนเพราะทาสตองรับผิดชอบงานของเจานายของเขา ยิ่งไปกวานั้น หนาที่เกี่ยวกับ การตัดสินคดีเปนหนาที่ที่ตองใชความซื่อตรงและอํานาจ สิ่งนี้จะไมเกิดขึ้นถากอฎียฺเปนทาส ดังกลาวนี้เปนทัศนะของ นักกฎหมายสวนใหญ (al Mawardiy, มปป.: 65) สวนอิบนุหัซมฺนั้นมีทัศนะวาทาสสามารถเปนกอฎียฺไดและการตัดสิน ของเขาจะเปนผลตามกฎหมาย ทั้งนี้มีรายงานจากคํากลาวของทานนบีที่กลาววา "‫ﺔﹲ‬‫ﺑﹺﻴﺒ‬‫ ﺯ‬‫ﻪ‬‫ﺃﹾﺳ‬‫ ﻛﹶﺄﹶﻥﱠ ﺭ‬‫ﻲ‬‫ﺸ‬‫ﺒ‬‫ ﺣ‬‫ﺪ‬‫ﺒ‬‫ ﻋ‬‫ﻜﹸﻢ‬‫ﻠﹶﻴ‬‫ﻞﹶ ﻋ‬‫ﻤ‬‫ﻌ‬‫ﺘ‬‫ ﺍﺳ‬‫ﺇﹺﻥ‬‫ﻮﺍ ﻭ‬‫ﻴﻌ‬‫ﺃﹶﻃ‬‫ﻮﺍ ﻭ‬‫ﻌ‬‫ﻤ‬‫"ﺍﺳ‬ ความวา “ทานทั้งหลายจงเชื่อฟงและสยบตอผูนําแมวาผูนําของทานจะเปนทาสผิวดําผมหยิกก็ตาม” (บันทึกโดย al Bukhariy, Sahih, เลขที่: 4073) 1.5 เปนเพศชาย ทัศนะของนักกฎหมายสวนใหญ (Ahmad Muhammad Ali Dawud, 2004: 103) ถือวาไมอนุญาตใหเพศหญิง ดํารงตําแหนงเปนกอฎียฺโดยไมมีขอแมใดๆทั้งนี้ทานนบี  ไดกลาวไววา

"‫ﺃﹶﺓ‬‫ﺮ‬‫ ﺍﻣ‬‫ﻢ‬‫ﻫ‬‫ﺮ‬‫ﺍ ﺃﹶﻣ‬‫ﻟﱠﻮ‬‫ ﻭ‬‫ﻡ‬‫ ﻗﹶﻮ‬‫ﺢ‬‫ﻔﹾﻠ‬‫ ﻳ‬‫"ﻟﹶﻦ‬ ความวา “จะไมประสบความสําเร็จสําหรับกลุมชนที่มอบหมายการงานของพวกเขาตอผูหญิง” (บันทึกโดย al Bukhariy, Sahih, เลขที่: 4073) เหตุผลอีกอยางหนึ่งเปนเพราะวาตําแหนงกอฎียฺจําเปนตองคลุกคลีอยางเปนอิสระกับผูคนในสังคม รวมถึง นักกฎหมาย พยาน และคูพิพาท โดยเหตุนี้ ผูหญิงซึ่งโดยทั่วไปไมเปนที่อนุญาตที่จะคลุกคลีกับผูคนโดยไมจําเปน เนื่องจากอาจมีอันตรายหรื อผลเสียเกิดขึ้นจากการกระทําดังกลาวได ถาเธอถูกแตงตั้ง ใหเปนกอฎียฺ ผูแตงตั้งจะมี ความผิดและมีบาป สวนการตัดสินของเธอจะไมมีผลทางกฎหมาย สวนนักกฎหมายในสังกัดมัซฺฮับ หะนะฟยฺสวนใหญ (Ibnu al Humam, 1356: 391) มีทั ศนะว าถ าเธอถูกแตง ตั้ง ให เป นกอฎี ยฺก ารตัด สิน ของเธอจะมีผ ลเฉพาะคดี ที่ นอกเหนือจากคดีอาญาโดยมีเหตุผลวาเพราะนักกฎหมาย ไมยอมรับการเปนพยานของเธอในคดีหรือกรณีดังกลาว สวนทัศนะของอิบนุ ญะรีร อัฏฏ็อบรียฺ (Ibnu Rushd, 1959: 460) และ (Ibnu Hazam, มปป.: 631) วาอนุญาต ใหเพศหญิงดํารงตําแหนงเปนกอฎียฺโดยไมมีขอแมใดๆ โดยมีเหตุผลวา ทุกสิ่งทุกอยางเปนที่อนุญาตกระทําได เวนแต สิ่งที่มีหลักฐานวาไมอนุญาต ซึ่งการดํารงตําแหนงเปนกอฎียฺของผูหญิงถือวาอนุญาต เพราะไมมีหลักฐานหาม สวนหะ ดีษที่หามซึ่งนักกฎหมายสวนใหญนํามาเปนหลักฐานนั้นหมายถึงหามมอบหมายหนาที่เปนผูนําหรือเคาะลีฟะฮฺ ไมใช กอฎียฺ 1.6 ตองเปนผูที่มีคุณธรรม นักกฎหมายสวนใหญ (Ibnu Rushd, 1959: 460) เห็นวาคุณสมบัตินี้เปนเงื่อนไขสําหรับทุกตําแหนงในการ บริหารและการปกครอง หมายความวากอฎียฺต องปฎิบัติตามศาสนาอยางเครงครัด หั กหามตัวเองใหรอดพนจาก พฤติ กรรมที่เ ปน บาปใหญ เช นการมั กมากในกาม ไมมีพฤติก รรมที่ เป นบาปเล็ กที่ทํ าเปน อาจิณ และหางไกลจาก

อัล-นูร


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.