KU e-Magazine July 2019

Page 1

วันเข้ าพรรษา

เป็ นวันที่พระภิกษุเริ่มการอธิษฐานอยู่ประจําในวัด โดยไม่ ไปค้ างแรมที่อ่ ืนตลอด 3 เดือนในฤดูฝน เพื่อไม่ ให้ พระสงฆ์ จาริกไปเหยียบยํ่าข้ าวกล้ าในนา ของชาวบ้ าน อาจทําให้ เกิดความเสียหายได้

July 2019 issue ฉบับเดือนกรกฎาคม


Editor’s talk "เข้ าพรรษา" แปลว่า "พักฝน" หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ต้องอยูป่ ระจํา ณ วัดใดวัดหนึง่ ระหว่างฤดูฝน โดยเหตุที่พระภิกษุในสมัยพุทธกาล มีหน้ าที่จะต้ อง จาริ กโปรดสัตว์ และเผยแผ่พระธรรมคําสัง่ สอนแก่ประชาชนไปในที่ตา่ ง ๆ ไม่ จําเป็ นต้ องมีที่อยูป่ ระจําแม้ ในฤดูฝน ชาวบ้ านจึงตําหนิวา่ ไปเหยียบข้ าวกล้ า และพืชอื่น ๆ จนเสียหาย พระพุทธเจ้ าจึงได้ ทรงวางระเบียบการจําพรรษาให้ พระภิกษุอยูป่ ระจําที่ตลอด 3 เดือน ในฤดูฝน โดยแบ่งเป็ นปุริมพรรษา หรื อวัน เข้ าพรรษาแรก เริ่ มตังแต่ ้ วนั แรม 1 คํ่า เดือน 8 ของทุกปี หรื อถ้ าปี ใดมีเดือน 8 สองครัง้ ก็เลือ่ นมาเป็ นวันแรม 1 คํ่า เดือน 8 หลัง และออกพรรษาในวันขึ ้น 15 คํ่า เดือน 11 และปั จฉิมพรรษา หรื อวันเข้ าพรรษาหลัง เริ่ มตังแต่ ้ วันแรมคํ่า 1 เดือน 9 จนถึงวันขึ ้น 15 คํ่าเดือน 12 อย่างไรก็ตามหากมีกิจธุระ คือเมื่อเดินทางไปแล้ วไม่สามารถจะกลับได้ ในเดียวนัน้ ก็ทรงอนุญาตให้ ไปแรมคืนได้ คราวหนึง่ ไม่เกิน 7 คืน เรี ยกว่า "สัต ตาหะ" หากเกินกําหนดนี ้ถือว่าไม่ได้ รับประโยชน์แห่งการจําพรรษา จัดว่า พรรษาขาด สําหรับข้ อยกเว้ นให้ ภิกษุจําพรรษาที่อื่นได้ โดยไม่ถือเป็ นการขาดพรรษา เว้ นแต่เกิน 7 วัน ได้ แก่ 1. การไปรักษาพยาบาลภิกษุ หรื อบิดามารดาที่เจ็บป่ วย 2. การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้ สกึ ได้ 3. การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ ชํารุด 4. หากทายกนิมนต์ไปทําบุญ ก็ไปฉลองศรัทธาในการบําเพ็ญกุศลของ เขาได้ นอกจากนี ้ ระหว่างการเดินทางตรงกับวันหยุดเข้ าพรรษาพอดี พระภิกษุ สงฆ์เข้ ามาทันในหมูบ่ ้ าน หรื อหากเป็ นในเมืองก็พอจะหาที่พกั พิงได้ ตามสมควร แต่ถ้ามาไม่ทนั ก็ต้องพึง่ โคนไม้ ใหญ่เป็ นที่พกั แรม ชาวบ้ านเห็นพระได้ รับความ ลําบากเช่นนี ้ จึงช่วยกันปลูกเพิง เพื่อให้ ทา่ นได้ อาศัยพักฝน รวมกันหลาย ๆ องค์ ที่พกั ดังกล่าวนี ้เรี ยกว่า "วิหาร" แปลว่า ที่อยูส่ งฆ์ เมื่อหมดแล้ ว พระสงฆ์ ท่านออกจาริ กตามกิจของท่าน ครัน้ ถึงหน้ าฝนใหม่ทา่ นก็กลับมาพักอีก เพราะ สะดวกดี แต่บางท่านอยูป่ ระจําเลย บางทีเศรษฐี มจี ิตศรัทธาเลือ่ มใสใน พระพุทธศาสนา ก็เลือกหาสถานที่สงบเงียบไม่หา่ งไกลจากชุมชนนัก โดยสร้ าง เป็ นที่พกั เรี ยกว่า "อาราม" ให้ เป็ นที่อยูข่ องสงฆ์ดงั เช่นปั จจุบนั นี ้ ทังนี ้ ้ โดยปกติเครื่ องใช้ สอยของพระตามพุทธานุญาตให้ มปี ระจําตัวนัน้ มี เพียงอัฐบริ ขาร อันได้ แก่ สบง จีวร สังฆาฏิ เข็ม บาตร รัดประคด หม้ อกรองนํ ้า และมีดโกน และกว่าพระท่านจะหาที่พกั แรมได้ บางทีก็ถกู ฝนต้ นฤดูเปี ยกปอน มา ชาวบ้ านทีใ่ จบุญจึงถวายผ้ าอาบนํ ้าฝนสําหรับให้ ทา่ นได้ ผลัดเปลีย่ น และ ถวายของจําเป็ นแก่กิจประจําวันของท่านเป็ นพิเศษในเข้ าพรรษา นับเป็ นเหตุ ให้ มีประเพณีทําบุญเนื่องในวันนี ้สืบมา แหล่งข้ อมูล : https://hilight.kapook.com/view/13698

Content July 2019

ฉบับเดือนกรกฎาคม 2562 Care & Share :

3-4

ข่ าวและกิจกรรมของ มก. :

5-6

ข่ าวและกิจกรรมของ สบค. :

7

KNOWLEDGE :

8

เกษตรนวัตกรรม

9

InfoGraphic :

10

พระราชกรณียกิจ:

11

- KU Community by Workplace

- ขอเชิญลงนามถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาส พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พ.ศ. 2562 - พิธีถวายพระพรชัยมงคล วันคล้ ายวันประสูติ สมเด็จเจ้ าฟ้าฯ กรมพระศรี สวางค วัฒนวรขัตติยราชนารี

- สบค. ปิ ดทําการ 1-3 มิ.ย. 62 - สบค. นําเสนอผลงาน “KU-KM สัญจร” - สบค. บริ การถ่ายภาพติดบัตร - สบค. ปรับปรุ ง Gateway และเปิ ดใช้ งานระบบ Firewall ใหม่ - สบค. จัดงาน “KU Community by Workplace” - สบค. ร่ วมงาน “วันรํ าลึก ร.8 ทรงหว่านข้ าว” - สบค. ปรับปรุ งพื ้นที่ลานอเนกประสงค์ ชัน้ 1 - สบค. ปิ ดให้ บริ การนอกเวลาราชการ - สบค. แสดงความยินดีวนั สถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ ครบรอบปี ที่ 38 - สบค. แจ้ งสมาชิกเครื อข่ายนนทรี - KU79 กับ KUWiN-WPA - สบค. ร่ วมโครงการปฐมนิเทศนิสติ ใหม่คณะสัตวแพทย์ - สายครี เอทีฟ จะทํางานให้ ทนั โลก 4.0 ได้ อย่างไร? - การใช้ ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ ของปูเพื่อการประมงที่ยงั่ ยืน - การใช้ งานเครื อข่ายไร้ สาย ของ มก. ตอนที่ 1 - ธงประจําพระองค์ “สมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ”

ที่ปรึกษา รศ.ดร. สมชาย นําประเสริฐชัย ผู้อํานวยการสํานักบริการคอมพิวเตอร์ ผศ. ปรีดา เลิศพงศ์วิภษู ณะ รองผู้อํานวยการสํานักบริการคอมพิวเตอร์ ผศ.ดร. มณฑล ฐานุตตมวงศ์ รองผู้อํานวยการสํานักบริการคอมพิวเตอร์ รศ.ดร. วรเศรษฐ สุวรรณิก รองผู้อํานวยการสํานักบริการคอมพิวเตอร์ บรรณาธิการ : นายพงศกร แสงวงศกร กองบรรณาธิการ : นางศศิธร พูนเพิ่มสิริ นางอโนมา สุวรรณาภิชาติ นางกรองแก้ ว อามาตย์เสนา นายณฐภัทร นกแก้ ว นางสุนิสา สิงห์แก้ ว นายอติรัตน์ วิชิตสงคราม นายชัยวัฒน์ แซ่ลิ ้ม และนายธนพล สุขจิตต์ สํานักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวง ลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทร 0-2562-0951-6 ต่อ 622989 HELPDESK โทร 622541-3 ,622999 e-Mail บรรณาธิการ pongsakorn.s@ku.ac.th


3

“KU Community by Workplace” เมื่อวันศุกร์ ที่ 28 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 เวลา 14.00-16.00 น. สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดงานเสวนาวิชาการ Trend Talk ครัง้ ที่ 7 เรื่ อง “KU Community by Workplace” วิทยากรโดย รศ.ดร.วรเศรษฐ สุวรรณิก รองผู้อํานวยการสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ และผู้ก่อตัง้ KU Workplace ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ ห้ อง 408 ชัน้ 4 อาคารสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ “Workplace คือ โซเชียลเน็ตเวิร์คที่สามารถนํามาใช้ ภายในองค์กรได้ เป็ นสินค้ าของเฟซบุ๊ค สามารถโพสต์ ข้ อความได้ การแชทเพื่อสือ่ สารระหว่างกันได้ และการบูรณาการให้ เป็ นบอทเพื่อดึงข้ อมูลจากระบบอื่น ๆ เข้ ามาใช้ งาน ใน Workplace ได้ โดย Workplace แบบเก่าของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยูท่ ี่ http://kasetsart.facebook.com และใน เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2562 จะเป็ นแบบใหม่อยูท่ ี http://kasetsart.workplace.com Workplace ใช้ เพื่อการสือ่ สารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ เป็ นอีเมลผ่านหน้ าเพจเฟซบุ๊ค สามารถกดไลค์ กดแชร์ ได้ และใช้ ไลฟ์ สดได้ ถึง 4 ชัว่ โมง โดยข้ อมูลทังหมดจะถู ้ กเก็บไว้ บนเซิร์ฟเวอร์ ” หัวข้ อ “การผสานการทํางานของ Workplace” วิทยากรโดย คุณพิชญ์ วิมกุ ตะลพ หัวหน้ างานพัฒนาระบบ สารสนเทศ ฝ่ ายระบบสารสนเทศ สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ ได้ กล่าวเกี่ยวกับ 1. การผสานการทํางานกับระบบฟี ดข่าว เช่น การสร้ างบอทถ่ายทอดกลุม่ เพื่อเพิ่มฟี ดเนื ้อหาของข่าวให้ กบั ผู้ที่ ต้ องการจะอ่านภายในกลุม่ ได้ เช่น การผสานการทํางานกับระบบหนังสือเวียนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แต่ยงั มี ปั ญหาเกี่ยวกับวันที่โพสต์จะแสดงไม่ตรงกับความเป็ นจริง รวมถึงการไม่แสดงจํานวนคน และผู้ใช้ Workplace ผ่าน สมาร์ ทโฟนมักจะถูกให้ ดาวน์โหลดข้ อมูลเป็ นไฟล์ .pdf และในขณะนี ้ได้ ทําการปรับปรุงการผสานการทํางานกับระบบ หนังสือเวียนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในรูปแบบใหม่แล้ ว 2. การผสานการทํางานกับบริ การ Google Alert เป็ นการแสดงเรื่ องต่าง ๆ ที่เป็ นเรื่ องใหม่ ๆ ในสือ่ อินเทอร์ เน็ต โดยปรากฏเป็ นผลลัพธ์ในการค้ นหาหัวข้ อ เช่น ข่าวของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บนอินเทอร์ เน็ต โดย Google Alert จะแสดงข่าวต่าง ๆ ให้ ปรากฏขึ ้นบนหน้ า Workplace และ Google Alert จะทําการตรวจสอบ url ต่าง ๆ ทีม่ ผี ้ กู รอก ไว้ บนหน้ า Workplace ทุก 5 นาที 3. การผสานการทํางานกับบอท วิทยากรได้ ดําเนินการผสานการทํางานกับระบบการขอใช้ รถยนต์ของสํานัก บริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีการแจ้ งเตือนผ่านบอท เพื่อให้ สง่ ข้ อความไปยังผู้เกี่ยวข้ องทาง Workplace Chat


4

“KU Community by Workplace” 4. การผสานการทํางานกับ Visitor Bot วิทยากรได้ ดําเนินการผสานการทํางานกับระบบลงทะเบียนสําหรับ ผู้มาติดต่อบุคลากรของสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยผู้มาติดต่อที่เคาน์เตอร์ ชัน้ 7 อาคารสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ ประชาสัมพันธ์จะแจ้ งผู้มาติดต่อแจ้ งชื่อ-นามสกุล อีเมล วัตถุประสงค์ในการมา ติดต่อ เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับอะไร โดยจะมีคลิปวิดีโอสัน้ ๆ แสดงให้ บคุ ลากรของสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ เห็นผ่านการ chat

5. การผสานการทํางานกับ Trello เป็ นบริ การหนึง่ จาก PartNer ของ Workplace ซึง่ มีอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก เป็ นโพสต์อิท โดยระบบจะดึงข้ อมูลมาแสดงใน Workplace และสามารถเขียนข้ อมูลเพิ่มเติมที่ต้องการโพสต์เพิ่มได้ ด้ วย และภายในงานเดียวกันก็จะทําให้ สามารถติดตามโครงการต่าง ๆ ได้ หัวข้ อ “Workplace กับการจัดการความรู้” วิทยากรโดย คุณอําไพ แจ้ งบุญ หัวหน้ างานธุรการ ฝ่ ายบริ หาร และธุรการ สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ กล่าวว่า “Workplace กับการจัดการความรู้ เป็ นการวิเคราะห์ปัญหา การแก้ ไขปั ญหา และการดูที่ผลลัพธ์ โดยเก็บ รวบรวมข้ อมูลต่าง ๆ ที่เป็ นปั ญหาไว้ เป็ นหมวดหมูบ่ น Workplace และแยกออกเป็ นกลุม่ ธุรการ กลุม่ อาคารสถานที่ หากเราเป็ นหัวหน้ ากลุม่ ธุรการ และไม่ได้ อยูใ่ นพื ้นที่ปฏิบตั งิ าน แต่มีคนในกลุม่ ธุรการไปร่วมปฏิบตั ิงานอยูใ่ นพื ้นที่ นัน้ ๆ ก็สามารถรายงานผลการปฏิบตั ิงานได้ ทงเสี ั ้ ยง ภาพนิ่ง ภาพเคลือ่ นไหว ผ่าน Workplace ได้ ทนั ที ในส่วนของเมนูการสร้ างเอกสาร สามารถสร้ างเอกสารเกี่ยวกับข่าวที่แม่บ้านของสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ เก็บเงินที่มีผ้ ทู ําหล่นไว้ ได้ โดยผู้ดแู ลสามารถบันทึกเสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลือ่ นไหว เพื่อสร้ างเอกสารเป็ นข้ อมูลที่เก็บ รวบรวมไว้ วา่ มีผ้ มู ารับเงินที่แม่บ้านเก็บได้ และได้ สง่ เงินถึงเจ้ าของเรี ยบร้ อยแล้ ว” หัวข้ อ “การใช้ ไม้ กนั สัน่ มือถือสําหรับการบันทึกวิดีโอเพื่อนําขึ ้น Workplace” วิทยากรโดย คุณอติรัตน์ วิชิตสงคราม งานสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ฝ่ ายฝึ กอบรมและสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ กล่าวว่า “การใช้ ไม้ กนั สัน่ มือถือสําหรับการบันทึกวิดีโอเพื่อนําขึ ้น Workplace นัน้ ต้ องดูทรี่ ายละเอียดของไม้ กนั สัน่ ว่าวัสดุเป็ นยางหรื อพื ้นผิวเหล็ก เพราะถ้ าวัสดุเป็ นพื ้นผิวเหล็กจะให้ ความรู้สกึ เวลาจับมีความแข็งแรง และต้ องดูจดุ ล็อกสําหรับการปรับความยาว รวมถึงจุดสลักล็อคขาตัง้ ในส่วนของเมนูตา่ ง ๆ ควรศึกษาดูก่อนว่าสามารถควบคุม ปุ่ มต่าง ๆ ได้ ด้วยนิ ้วมือ ทังนี ้ ้เพื่อความสะดวกรวดเร็ วในการใช้ งาน ต้ องดูวา่ มีการรับประกัน และการสอนการใช้ งาน ฟรี ด้วยหรื อเปล่า”


6

ขอเชิญลงนามถวายพระพรเนื่องในโอกาส พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พ.ศ. 2562

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอเชิญบุคลากร และ นิสติ ร่วมลงนามถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสพระราช พิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ตังแต่ ้ บดั นี ้ จนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2562 ณ บริ เวณห้ องโถงชัน้ G อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งข้ อมูล : https://www.ku.ac.th


5

แหล่งข้ อมูล : https://www.ku.ac.th


สบค. ปิ ดทําการ

7

สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ ขอแจ้ งปิ ดทําการจุด บริ การ HELPDESK และห้ องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ KITS - Kasetsart IT Square ระหว่างวันที่ 1-3 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562

สบค. นําเสนอผลงาน “KU-KM สัญจร” เมื่อวันพุธที่ 5 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 เวลา 9.00 น. คุณชิดชนก สายชุมอินทร์ หัวหน้ าสํานักงานเลขานุการ เป็ น ตัวแทนสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ ในการนําเสนอผลการดําเนินงานการจัดการความรู้ของหน่วยงานในโครงการ KU-KM สัญจร เรื่ อง "การติดตามผลการดําเนินงานการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2561” ณ ห้ อง ประชุมกําพล อดุลวิทย์ ชัน้ 2 อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สบค. บริการภาพถ่ ายติดบัตร สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บริ การถ่ายภาพติดบัตร เพื่อใช้ ในการสมัครเรี ยน หรื อการ ้ 1 – 2 นิ ้ว ในราคาโหลละ 60 บาท สมัครงาน ด้ วยกล้ อง DSLR คุณภาพสูง พร้ อมแต่งภาพให้ มีความสวยงาม ขนาดตังแต่ (ถ่ายภาพสําหรับการทําวีซา่ ครึ่งโหล ราคา 60 บาท) ้ ทุกท่านสามารถใช้ บริ การได้ ที่ บริ เวณชัน้ 2 Counter Services อาคารสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ เวลาทําการตังแต่ วันจันทร์ ถึงวันศุกร์ เวลา 8.30-16.30 น. (ตามวันและเวลาราชการ) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่ ฝ่ ายบริ การสารสนเทศ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2562-0951-6 ต่อ 622541-3

สบค. ร่ วมงาน “วันรําลึก ร.8 ทรงหว่ านข้ าว” เมื่อวันพุธที่ 5 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 ผศ.ดร.มณฑล ฐานุตตมวงศ์ รองผู้อาํ นวยการสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ ร่วมงาน วันรํ าลึก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จทรงหว่านข้ าว ณ เกษตรกลาง บางเขน เมื่อวันที่ 5 มิถนุ ายน พ.ศ. 2489 ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สบค. ปรั บปรุ ง Gateway

และเปิ ดใช้ งานระบบ Firewall ใหม่ สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ แจ้ งปรับปรุง Gateway และเปิ ดใช้ งานระบบ Firewall ใหม่ ในวันอาทิตย์ที่ 9 มิถนุ ายน 2562 เวลา 17.00 น. - 21.00 น. ในระหว่างการดําเนินการอาจไม่ได้ รับความสะดวกในการใช้ บริ การระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ จึงขออภัยผู้ใช้ บริ การมา ณ ที่นี ้ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ ที่ e-mail และสามารถติดตามประกาศล่าสุดได้ ทเี่ ฟซบุ๊ก สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย helpdesk@ku.ac.th เกษตรศาสตร์ แหล่งข้ อมูล : https://www.facebook.com/ocs.ku


8

สบค. ปิ ดให้ บริการนอกเวลาราชการ

สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ ขอแจ้ งปิ ดให้ บริ การนอกเวลาราชการ (16.30-20.30 น.) จุดบริ การ HELPDESK และ ห้ องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ KITS - Kasetsart IT Square ในวันเสาร์ ที่ 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 ถึงวันเสาร์ ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยจะเปิ ดให้ บริ การตามวันและเวลาปกติ (เวลา 8.30-20.30 น.) ในวันจันทร์ ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

สบค. แสดงความยินดีวันสถาปนา คณะมนุษยศาสตร์ ครบรอบปี ที่ 38 เมื่อวันจันทร์ ที่ 17 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 เวลา 8.30 น. รศ.ดร.สมชาย นําประเสริ ฐชัย ผู้อํานวยการสํานักบริ การ คอมพิวเตอร์ ร่วมแสดงความยินดีเนื่องในวันคล้ ายวันสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ ครบรอบปี ที่ 38 ณ อาคารจุฬาภรณ์ พิศาลศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์

สบค. ปรั บปรุ งลานอเนกประสงค์ ชัน้ 1 เมื่อวันอังคารที่ 18 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 เวลา 8.30 น. สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ ปรับปรุงลานอเนกประสงค์ ชัน้ 1 อาคารสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ โดยดําเนินการเปลีย่ นหลอดไฟ LED เพื่อการประหยัดพลังงาน ลดภาวะโลกร้ อน และมี แสงสว่างเพิ่มขึ ้น เหมาะสําหรับการอ่านหนังสือ และช่วยถนอมสายตาอีกด้ วย

แจ้ งสมาชิกเครื อข่ ายนนทรี สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ ขอแจ้ งเตือน ให้ สมาชิกเครื อข่ายนนทรี ทกุ ท่านทราบว่า ขณะนี ้ได้ มีสแปมเมล์ ใช้ ช่ือผู้สง่ : ซ่อมบํารุงทีม <webwarning111@gmail.com> ส่งเมล์ Subject : เรี ยนผู้ใช้ Ku webmail แอบอ้ าง โดยการแจ้ ง สมาชิกว่า “มีการอัพเดทเซิร์ฟเวอร์ และให้ คลิกลิงค์ไปยังเว็บหลอกลวง แล้ วให้ กรอกข้ อมูลส่วนตัวนัน” ้ สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ จึงขอเรี ยนต่อสมาชิกทุกท่าน ให้ ทราบทัว่ กันว่า สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ ไม่มีนโยบายที่ จะให้ ผ้ ใู ช้ เครื อข่ายนนทรี กรอกรายละเอียดต่าง ๆ ตามอีเมล แต่อย่างใด ถ้ าท่านได้ รับจดหมายลักษณะนี ้ ขอความกรุณา อย่าเปิ ดหรื อคลิกลิงค์กรอกรายละเอียดใด ๆ กับจดหมายดังกล่าว

KU79 กับ KUWiN-WPA

สํานักบริ การคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอต้ อนรับนิสติ ใหม่ KU79 ด้ วยการบริ การเชื่อมต่อเครือข่าย ไร้ สายแบบปลอดภัยกับ KUWiN-WPA ได้ ที่เว็บไซต์ https://ocs.ku.ac.th/new/?page_id=935

สบค.ร่ วมโครงการปฐมนิเทศนิสติ ใหม่ คณะสัตวแพทย์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 27 มิถนุ ายน 2562 เวลา 10.45 น. คุณพจีจินต์ อาวรณ์ ผู้ช่วยผู้อํานวยการสํานักบริ การ คอมพิวเตอร์ ให้ ความรู้และแนะนําการบริ การของสํานักบริ การคอมพิวเตอร์ สาํ หรับนิสติ ในโครงการปฐมนิเทศนิสติ ใหม่และ พบผู้ปกครอง ประจําปี 2562 KU79 ณ ห้ องบรรยาย 2 (นิสติ ) ชัน้ 1 อาคารเรี ยนและปฏิบตั ิการ คณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน แหล่งข้ อมูล : https://www.facebook.com/ocs.ku


9 สายครี เอทีฟจะทํางานให้ ทันโลก 4.0 ได้ อย่ างไร? สายครี เอทีฟที่ต้องเค้ นสมอง หาไอเดียในการนําเสนองานอยูเ่ สมอ แน่นอนว่าขุมพลังคํา หรื อวิธีคิดไม่ได้ จะคิด ออกมาได้ ทกุ ครัง้ การเตรี ยมตัวให้ พร้ อมเพื่อให้ ไอเดียบรรเจิดในช่วงเวลาแห่งการทํางาน ต้ องมีการฝึ กฝนให้ กลายเป็ น อุปนิสยั ติดตัว ที่ไอเดียต้ องผุดขึ ้นให้ ได้ ทกุ เมื่อ สําหรับผู้ที่เจนจัดในเส้ นทางอาชีพนี ้ อาจจะหาวิธีการออกหาไอเดียได้ ดี แต่ สําหรับมือใหม่ยอ่ มมีความกังวล และมีความไม่มนั่ ใจในผลงานทีค่ ิดออกมา จะว่าไปแล้ ว โลกก็หมุนเร็ วขึ ้นทุกที ทันทีที่ก้ม หน้ าก้ มตาทํางาน ปั จจุบนั ก็จะขับเคลือ่ นไปจนเราไม่ร้ ูตวั แต่การเกาะติดกระแสคือคุณสมบัตหิ นึง่ ที่สายครี เอทีฟพึงมี ได้ แก่ 1. ทันโลก ทันยุก 4.0 คุณควรเพิ่มข้ อมูลในคลังสมองด้ วยการเสพข่าวให้ มากเข้ าไว้ เพราะความเปลีย่ นแปลง เกิดขึ ้นอยูต่ ลอดเวลา ที่เราจะนําข้ อมูลดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ อย่างสร้ างสรรค์ รวมถึงบทความที่เป็ นประโยชน์ตา่ ง ๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับการเขียนในสายงานของคุณ เช่น วิธีสร้ างคอนเทนต์ให้ ปังด้ วยวิธีงา่ ย ๆ การแก้ ปัญหาสําหรับความคิดอุดตัน ให้ กลับมาคิดได้ อย่างลืน่ ไหล หรื อกลยุทธ์คอนเทนต์ตีตลาด สร้ างจุดเด่นให้ กบั แบรนด์สนิ ค้ า เป็ นต้ น 2. แลกเปลี่ยนความคิดกับคนทํางานสายเดียวกัน การรู้อะไรอยูค่ นเดียว โดยที่ไม่มีการพูดคุยเพื่อแชร์ ประสบการณ์ อาจทําให้ ความคิดของคุณเดินทางมาถึงทางตันได้ เพราะฉะนันคุ ้ ณควรแลกเปลีย่ นไอเดียกับคนทํางาน สายเดียวกัน หรื อพูดคุยว่าไอเดียของคุณนันดี ้ หรื อไม่ดี อย่างไร เพื่อเพิ่มพูนความรู้ใหม่ ๆ และยังทําให้ คณ ุ ลดความกังวล ใจลงไปได้ อีกด้ วย 3. รี แลกซ์ ให้ สมองได้ พักบ้ าง สมองถ้ าคิดมากจนเกินไป อาจทําให้ เกิดอาการล้ า ควรผ่อนคลายให้ สมองได้ พัก ด้ วยการออกไปเดินชมวิว มองจุดที่เป็ นสีเขียว เช่น ต้ นไม้ ดอกไม้ ที่สวยงาม เพื่อเป็ นการชาร์ จพลัง ทิ ้งความเครี ยด และเดินหน้ าทํางานได้ อย่างคล่องตัว 4. ตามไปกดถูกใจในเฟซบุ๊กยอดนิยม ในช่วงเวลาที่คณ ุ ได้ พกั ควรเข้ าไปติดตามเพจเฟซบุ๊กยอดนิยมว่า ในขณะนี ้ผู้คนสนใจอะไรกันอยู่ การติดตามอ่านคอมเมนต์เพื่อจะได้ ร้ ูทนั ความคิดของคนยุคใหม่ ทําให้ เกิดไอเดีย ตอบสนองได้ ตรงจุดตามความชอบของผู้คน รวมถึงการใช้ คํายอดฮิต ซึง่ มีสว่ นดึงดูดใจผู้คนได้ งา่ ยต่อคอนเทนต์ของคุณ ส่วนเพจยอดนิยมต่าง ๆ ได้ แก่ The Standard, The Cloud, you like คลิปเด็ด และลงทุนแมน เป็ นต้ น 5. ขยันเขียนบล็อก การเขียนบล็อกทุกวัน จะทําให้ คณ ุ ชินกับการใช้ ความคิด มีสมาธิเงียบ ๆ ในการหาข้ อมูล หรื อประเด็นที่นา่ สนใจถ่ายทอดไว้ เป็ นเรื่ องเล่า หรื อจะเป็ นการนําแหล่งข้ อมูล รูปภาพ วิดีโอที่นา่ สนใจ เก็บบันทึกไว้ ใน บล็อกส่วนตัวของคุณ ซึง่ มันอาจจะมีประโยชน์ในการหยิบข้ อมูลออกมาประยุกต์คิดในชัว่ โมงงาน ซึง่ มันจะช่วยให้ คณ ุ ทํางานเสร็ จเร็ วขึ ้นนัน่ เอง ไม่วา่ ครี เอทีฟจะอยูใ่ นช่วงวัยไหน ก็สามารถบ่มเพาะไอเดียสร้ างสรรค์ตามเคล็ดลับที่นําเสนอไว้ เบื ้องต้ นได้ งา่ ย ๆ และถ้ าคุณเป็ นเด็กจบใหม่ แน่นอนว่าคุณต้ องไฟแรง แต่อาจขาดความลึก ความแหลมคมของไอเดีย ส่วนคนที่มี ประสบการณ์ก็อาจจะเจอกับปั ญหาไอเดียวนไปวนมาได้ ทางที่ดีคณ ุ ควรรี บเสพข้ อมูลใหม่ ๆ เพื่อให้ ไอเดียทันโลก 4.0

แหล่งข้ อมูล : https://board.postjung.com/1151423


10 การใช้ ประโยชน์ จากความหลากหลายทางชีวภาพ ของปูเพื่อการประมงที่ย่ ังยืน ผศ.พันธุ์ทพ ิ ย์ วิเศษพงษ์ พันธ์ และคณะ ปูเป็ นสัตว์นํ ้าที่มีบทบาทสําคัญต่อระบบนิเวศทางทะเล และเป็ นสัตว์เศรษฐกิจทีม่ ีความสําคัญของประเทศไทย อย่างเช่น ปูม้า (Portunus pelagicus) ที่นิยมจับมาบริ โภค และถือว่าเป็ นสัตว์นํ ้าที่มีมลู ค่าสูงที่สดุ แต่การทําประมง อวนจมปูนนั ้ ไม่ได้ มีปมู ้ าที่ติดอวนจมปูมาเพียงชนิดเดียว ส่วนใหญ่เป็ นปูชนิดที่ไม่เป็ นที่นิยมนําไปบริ โภค นอกจากนี ้ยังมี สัตว์นํ ้าอื่น ๆ ที่พลอยจับได้ ติดมากับอวนจมปูอีกมากมาย ซึง่ บางส่วนอาจนํามาบริ โภคได้ แต่สว่ นใหญ่จะถูกทิ ้ง จึงทําให้ สัตว์นํ ้าทังที ้ ใ่ ช้ ประโยชน์ได้ และเหลือทิ ้งมีปริ มาณลดลง ส่งผลให้ ราคาสัตว์นํ ้าแพงขึ ้น อีกทังยั ้ งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ และจํานวนพันธุ์สตั ว์นํ ้า อันก่อให้ เกิดการทําประมงอย่างไม่ยงั่ ยืนอีกด้ วย จึงเป็ นที่มาของการศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพของปูที่ได้ จากอวนจมปู จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันธุ์ทิพย์ วิเศษพงษ์ พนั ธ์ ภาควิชา วิทยาศาสตร์ ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะ ได้ เริ่ มศึกษาตังแต่ ้ ความรู้พื ้นฐาน เช่น ความ หลากชนิด ความชุกชุม และการแพร่กระจายของปูในแต่ละพื ้นที่ และช่วงฤดูกาล เป็ นต้ น รวมถึงศึกษาการใช้ ประโยชน์จาก ความหลากหลายทางชีวภาพของปู ได้ แก่ ศึกษาและพัฒนาปูชนิดอื่น ๆ มาเป็ นอาหารทางเลือกทดแทนปูม้าและปูทะเลที่จบั ได้ ลดลงอย่างต่อเนื่องและมีราคาแพง โดยมีการศึกษาปริ มาณกรดไขมันจากทังปู ้ ที่มีการซื ้อขายเพื่อบริ โภคและปูที่พลอยจับ ได้ จากอวนจมปูแต่ถกู ทิ ้งไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ และศึกษาการนําไปใช้ ประโยชน์ ทังในรู ้ ปของตัวดูดซับสีย้อมคองโกเรดและ มาลาไคกรี น ปูป่นใช้ เลี ้ยงกุ้งเครย์ฟิช และปุ๋ ยชีวภาพในการปลูกผักสลัดและแตงกวา เพื่อเป็ นการสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กบั ปูที่ เหลือทิ ้ง และศึกษาชีวประวัติเบื ้องต้ นของปูดาวเพื่อพัฒนาเป็ นแหล่งอาหารทางเลือกเพื่อการบริ โภค นอกจากนี ้ยังมีการ ประเมินองค์ประกอบชนิดสัตว์นํ ้าพลอยจับได้ และเหลือทิ ้งด้ วย เพื่อให้ เกิดการจัดการทรัพยากรปูและสัตว์นํ ้าต่าง ๆ และ นําไปใช้ ประโยชน์อย่างสูงสุดและคุ้มค่า จากการศึกษา พบว่า ชายฝั่งจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์มีปหู ลากหลายชนิดถึง 95 ชนิด ซึง่ แพร่กระจายแตกต่างกันไปตามแต่ละพื ้นที่และฤดูกาล ปูที่พบชุกชุมมี 4 ชนิด คือ ปูม้า ปูบึ ้ง ปูก้านตายาว และปูกระดุม ลายส้ ม และส่วนใหญ่เป็ นปูหายากมีความเสีย่ งที่จะสูญพันธุ์ การทําประมงอวนจมปูพบสัตว์นํ ้าพลอยจับได้ และถูกทิ ้งสูง มาก และพบว่ามีปหู ลายชนิดที่ถกู ทิ ้งโดยไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ สูงถึงร้ อยละ 88.42 ของจํานวนชนิดปูทงหมด ั้

ภาพที่ 1 การนําเปลือกปูไปพัฒนาเป็ นตัวดูดซับสีย้อมในรูปแบบของเปลือกปูและถ่ านกัมมันต์

แหล่งข้ อมูล : https://www3.rdi.ku.ac.th/?p=50135


11


12

ธงประจําพระองค “สมเด็จพระเจาอยูหัว”

ธงประจําพระองค์ สมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระราช สมภพวันจันทร์ จึงใช้ สีเหลืองเป็ นสีพนื ้ ธง ธงสี เหลือง ตราพระปรมาภิไธยย่ อ ว.ป.ร. มีอุณาโลม เลข ๑๐ ภายใต้ พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่ งรัศมี ธงประจําพระองค์ เป็ นธงประเภทหนึง่ ของพระราชวงศ์ไทย ซึง่ ประดับร่วมกับธงชาติไทยเพื่อถวายพระเกียรติแก่พระ ราชวงศ์ไทย ปรากฏใช้ อยูท่ กุ แห่งในประเทศไทย ต่างจากธงอีกประเภทหนึง่ ซึง่ เรี ยกรวมกันตามกฎหมายธงในปั จจุบนั ว่า ธงพระ อิสริ ยยศ อันเป็ นธงทีใ่ ช้ ในพิธีการต่าง ๆ เป็ นการพิเศษ และใช้ ในสถานที่เฉพาะแห่ง โดยหลักแล้ ว ธงประจําพระองค์ มีลกั ษณะ เป็ น ธงสีพื ้นตามวันพระราชสมภพหรื อสีที่ตามพระประสงค์ของพระองค์นนั ้ ๆ ประดับด้ วยเครื่ องหมายพระปรมาภิไธยย่อหรื อพระ นามาภิไธยย่อ ส่วนพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์อื่น ก็มีธงประจําพระองค์ในลักษณะดังกล่าวเช่นเดียวกัน แต่มกั มิได้ พบเห็นบ่อย นัก นอกจากในงานพิธีซง่ึ พระบรมวงศานุวงศ์พระองค์นนั ้ ๆ เสด็จพระราชดําเนินไปเป็ นองค์ประธาน ธงประจําพระองค์เหล่านี ้ไม่ เพียงแต่ใช้ ประดับในพระราชพิธีและพิธีการต่าง ๆ ที่เป็ นทางการเท่านัน้ แต่ใช้ อยูท่ วั่ ไปอย่างไม่เป็ นทางการด้ วย ประชาชนชาว ไทยในทุกชนชัน้ และทุกหนแห่งนิยมประดับธงดังกล่าวร่วมกับธงชาติไทย เพื่อถวายพระเกียรติและแสดงความจงรักภักดีตอ่ พระมหากษัตริ ย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ แหล่งข้ อมูล : https://www.sanook.com/campus/1395109


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.