หนังสือชุมชนศรัทธา

Page 24

จุดประกายความร่วมมือ “นักพัฒนากับประชาชน”

พ.ศ. 2545

นั ก พั ฒ นาได้ ล งทำงานในพื้ น ที่ ด้ ว ยหลั ก คิ ด “ ป ร ะ ช า ช น ต้ อ ง ค้ น ห า แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ด้ ว ยตนเอง” ภายใต้ โ ครงการปฏิ บั ติ ก ารชุ ม ชนและเมื อ งน่ า อยู่ มู ล นิ ธิ ชุ ม ชนไท ซึ่งมีเป้าหมายมุ่งเน้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง เน้นกิจกรรม ที่เป็นรูปธรรม สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ท่ามกลาง การปฏิบัติจริง ด้วยกิจกรรมเล็กๆที่ทำกับกลุ่มแม่บ้านในชุมชนเมือง เขตเทศบาล เมื อ งปั ต ตานี จนกระทั่ ง ขยายงานสู่ ก ารแก้ ปั ญ หาที่ อ ยู่ อ าศั ย สำหรั บ คนจนในเขต สามจั ง หวั ด ชายแดนใต้ แ นวทางตามโครงการบ้ า นมั่ น คง จำนวน 96 พื้ น ที่ และต่ อ เนื่ อ งมาถึ ง การแก้ ปั ญ หาชุ ม ชนประมงพื้ น บ้ า นในบริ เวณชายฝั่ ง ทะเลของ จั ง หวั ด ปั ต ตานี และนราธิวาส จนกระทั่งการสร้างกระบวนการแก้ปัญหาที่ดินทำกิน ในบริเวณเทือกเขาบูโด การพัฒนาดังกล่าวได้พิสูจน์อย่างชัดเจนว่า การใช้กระบวนการพัฒนาที่ ประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มอย่ า งแท้ จ ริ ง แทนที่ ก ารมุ่ ง เอาชนะใจด้ ว ยวิ ธี ก ารสงเคราะห์ ในลั ก ษณะขาดเงื่ อ นไขของการเรี ย นรู้ จึ ง จะสามารถสร้ า งขบวนประชาชนที่ มี ความเข้ ม แข็ ง ได้ เป็ น ที่ เชื่ อ มั่ น และสามารถปรั บ ทั ศ นคติ ข องประชาชนที่ มี ต่ อ ชาติ บ้านเมืองได้อย่างแท้จริง

24


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.